pp care สูติ 1 normal

22
การพยาบาลมารดาหลังคลอด กลุมการพยาบาล โรงพยาบาลบางน้ําเปรี้ยว ความหมายของระยะหลังคลอด หมายถึง ระยะเวลาตั้งแตเด็กคลอดจนถึง 6 สัปดาหหลังคลอด ซึ่งเปนชวงที่มีการปรับตัวทั้ง ดานกายวิภาคและสรีระวิทยาของอวัยวะตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการคลอด และภาวะจิตใหกลับคืนสูสภาพ เหมือนขณะไมตั้งครรภ นอกจากนี้ยังรวมถึงการปรับตัวดานบทบาทของความเปนมารดาและการควบ บทบาทการเปนภรรยาไวดวย อาจเรียกระยะนี้วาเปนระยะไตรมาสที่ 4 ของการตั้งครรภ การ เปลี่ยนแปลงในระยะหลังคลอดที่ถือวาเปนภาวะปกติ แตอาจสงผลใหเกิดความผิดปกติขึ้นได ถาไม เขาใจหรือปฏิบัติตัวไมถูกตอง การแบงระยะหลังคลอด การที่ตองแบงระยะหลังคลอด เนื่องจากระยะหลังคลอดเปนชวงที่คอนขางนานคือ 6 สัปดาห หลังจากเด็กและรกคลอดครบ ดังนั้นมารดาหลังคลอดจึงมีความเสี่ยงที่จะเกิดความผิดปกติทั้งทาง รางกายและจิตใจ จึงแบงระยะหลังคลอดเปน 2 ระยะ 1. ระยะแรก (Immediate pureperium) เปนระยะหลังคลอด 24 ชั่วโมงแรก มารดาหลังคลอด ตองไดรับการดูแลอยางใกลชิดในเรื่อง การหดรัดตัวของมดลูก เพื่อปองกันการตกเลือดหลังคลอด บาง รายอาจมีอาการปวดมดลูก ปวดแผลฝเย็บ ในระยะนี้มารดาหลังคลอดจะออนเพลียจากการใชพลังงาน ในการเบงคลอด ทําใหตองการการพักผอนและในขณะเดียวกันก็มีความรูสึกตื่นเตนในการปรับบทบาท การเปนมารดา ตองการทราบเพศ และสํารวจรูปรางลักษณะของบุตร เปนชวงเริ่มตนในการสรางความ รัก ความผูกพันกับบุตร ในระยะนี้ควรสงเสริมใหบิดามารดาและบุตรไดมีโอกาสอยูใกลชิดกัน 2. ระยะหลัง (Late pureperium) เปนระยะหลังจากระยะแรกจนถึง 6 สัปดาห มารดาหลังคลอด เริ่มปรับตัวไดดีขึ้น โดยความตองการระยะนี้คือ ตองการใหอวัยวะตางๆ ของรางกายกลับคืนสูสภาพ ปกติ และตองการสรางสัมพันธภาพกับสมาชิกใหมตลอดจนปรับความสัมพันธระหวางสมาชิกใน ครอบครัวกับสมาชิกใหม ในระยะนี้มารดาควรไดรับคําแนะนําในเรื่องการปฏิบัติตนหลังคลอดและการ เลี้ยงดูบุตร

Upload: puk-songphon

Post on 02-Oct-2014

686 views

Category:

Documents


3 download

Tags:

TRANSCRIPT

Page 1: PP care  สูติ 1 Normal

การพยาบาลมารดาหล ังคลอด

กลุมการพยาบาล โรงพยาบาลบางนํ้าเปร้ียว

ความหมายของระยะหลังคลอด หมายถึง ระยะเวลาต้ังแตเด็กคลอดจนถึง 6 สัปดาหหลังคลอด ซ่ึงเปนชว งท่ีมีกา รปรับตัว ท้ัง

ดานกายวิภาคและสรีระวิทยาของอวัยวะตาง ๆ ท่ีเก่ียวของกับการคลอด และภาวะจิตใหกลับคืนสูสภ า พเหมือนขณะไมต้ังครรภ นอกจากน้ียังรวมถึงการปรับตัวดานบทบาทของความเปนมา รดา และกา รคว บบทบาทการเปนภรรยาไวดว ย อา จ เ รีย กระย ะ น้ีวา เปนระย ะไ ตรมา สท่ี 4 ของกา รต้ังครรภ กา รเปล่ียนแปลงในระยะหลังคลอดท่ีถือวาเปนภาวะปกติ แตอาจสงผลให เ กิดคว า มผิดปกติข้ึนไ ด ถา ไ มเขาใจหรือปฏิบัติตัวไมถูกตอง การแบงระยะหลังคลอด

การท่ีตองแบงระยะหลังคลอด เน่ืองจากระยะหลังคลอดเปนชวงท่ีคอนขา งนา นคือ 6 สัปดา หหลังจากเด็กและรกคลอดครบ ดังน้ันมารดาหลังคลอดจึงมีคว า ม เ ส่ีย งท่ีจะ เ กิดคว า มผิดปกติท้ังทา งรางกายและจิตใจ จึงแบงระยะหลังคลอดเปน 2 ระยะ

1. ระยะแรก (Immediate pureperium) เปนระยะหลังคลอด 24 ช่ัวโมงแรก มา รดา หลังคลอดตองไดรับการดูแลอยางใกลชิดในเร่ือง การหดรัดตัวของมดลูก เพ่ือปองกันกา รตกเ ลือดหลังคลอด บา งรายอาจมีอาการปวดมดลูก ปวดแผลฝเย็บ ในระยะน้ีมารดาหลังคลอดจะออนเพลีย จา กกา รใชพลังงา นในการเบงคลอด ทําใหตองการการพักผอนและในขณะเดียวกันก็มีความรูสึกต่ืนเตนในกา รปรับบทบา ทการเปนมารดา ตองการทราบเพศ และสํารวจรูปรางลักษณะของบุตร เปนชวงเร่ิมตนในกา รสรา งคว า มรัก ความผูกพันกับบุตร ในระยะน้ีควรสงเสริมใหบิดามารดาและบุตรไดมีโอกาสอยูใกลชิดกัน

2. ระยะหลัง (Late pureperium) เปนระยะหลังจากระยะแรกจนถึง 6 สัปดาห มารดาหลังคลอดเร่ิมปรับตัวไดดีข้ึน โดยความตองการระยะน้ีคือ ตองการใหอวัยวะตางๆ ของรา งกา ย กลับคืนสูสภ า พปกติ และตองการสรางสัมพันธภาพกับสมาชิกใหมตลอดจนปรับคว า มสัมพันธระหวา งสมา ชิกในครอบครัวกับสมาชิกใหม ในระยะน้ีมารดาควรไดรับคําแนะนําในเร่ืองการปฏิบัติตนหลังคลอดและกา รเล้ียงดูบุตร

Page 2: PP care  สูติ 1 Normal

2

การเปล่ียนแปลงทางกายภาพและสรีระวิทยาของอวัยวะตางๆ ในระยะหลังคลอด 1.มดลูก 1.1 ขนาด หลังคลอดทันที บริเวณยอดมดลูกจะหดรัดตัวทําใหมดลูกลดตํ่าลงมา อยูระ ดับสะดือหรือตํ่ากวา มดลูกจะประกอบไปดวยกลามเน้ือมดลูกปกคลุมดว ย Serosa และภ า ย ในบุดว ย Basal deciduas ผนังดานหนาและหลังจะมาใกลชิดกัน วัดความหนาได 4 ถึง 5 เซนติเมตร ใน 2 วันแรกประมา ณ 1 สัปดาหระดับยอดมดลูกจะอยูระหวางสะดือกับหัวเหนา ภายใน 2 สัปดาหมดลูกจะเคล่ือนตัวลงมา ในอุงเชิงกรานทําใหคลําไมไดเหนือหัวเหนา และจะมีขนาดเทากอนต้ังครรภภายใน 4 สัปดาห 1.2 นํ้าหนัก ระยะหลังคลอดทันทีมดลูกหนักประมาณ 1 กิโลกรัม 1 สัปดาหหลังคลอดจะหนักประมา ณ 500 กรัม สัปดาหท่ี 2 หนัก 300 กรัม และตอมาเหลือเพียง 100 กรัม 1.3 เยื่อบุโพรงมดลูก ภายใน 2 ถึง 3 วันหลังคลอด Decidua จะแบงเปน 2 ช้ัน ช้ันผิวบน (Superficial layer) จะหลุดสลายไปและลอกตัวออกเปนสวนของนํ้าคาวปลา (Lochia) ช้ันลา ง (Basal layer) ประกอบดว ย เยื่อบุโพรงมดลูกซ่ึงมี Endometrial gland อยูจะเปนตัวสรางเยื่อบุโพรงมดลูกใหมมาปกคลุมบริเวณท่ีไมมีเ ยื่อบุโพรงมดลูกภายใน 10 วันหลังคลอด 1.4 บริเวณท่ีรกเกาะ หลังคลอดรก ตําแหนงท่ีรกเกาะมีขนาดเทาฝามือ ซ่ึงจะลดลงอยางรวดเร็ว ภา ย ใน 2 สัปดา ห จะเหลือเพียง 3-4 เซนติเมตร บริเวณเสนเลือดท่ีมาเล้ียงตรงตําแหนงท่ีรกเกาะจะมีกา รอุดตันปลา ย เสนเลือด จากน้ันเยื่อบุโพรงมดลูกจะขยายตัวออกไปปกคลุม 1.5 หลอดเลือดของตัวมดลูก หลังคลอด ขนาดของเสนเลือดภายนอกมดลูกจะลดขนาดลงเทากับกอนคลอด สว นเสนเ ลือดภายในมดลูกหลังคลอดน้ันจะมี Hyaline change และเกิดการอุดตันเสนเลือดท่ีเล็กกวาจะทํา งา นแทนท่ีเสนเลือดเกาท่ีถูกอุดตันจะสลายไปเชนเดียวกับการตกไขและการสลา ย ตัว ของ Corpus luteum แต เสนเลือดท่ีถูกอุดตันบางแหงอาจคงอยูเปนเวลานาน ทําใหแยกจากมดลูกของสตรีท่ีไ ม เคย ต้ังครรภไ ดจ า กการตรวจทางพยาธิวิทยา 1.6 ปากมดลูกและตัวมดลูกสวนลาง ทันทีหลังคลอดปากมดลูกและตัวมดลูกสวนลางจะบางตัวลดแนบติดกัน บริเว ณ External os จะฉีกขาดทางดานขาง ซ่ึงจะยังคงอยูตลอดไปแสดงวาเคยคลอดบุตรภายใน 2-3 วัน ปากมดลูกจะหดรัดตัวจนเหลือขนาดเพียง 2 น้ิว และ 1 น้ิว ภายใน 1 สัปดาห

Page 3: PP care  สูติ 1 Normal

3

2. ชองคลอดและปากชองคลอด ชองคลอดจะมีขนาดเล็กลง แตจะไมเทากับกอนต้ังครรภ รอยยนของผนังชองคลอด (Rugae) จะเร่ิมปรากฏภายในสัปดาหท่ี 3 เยื่อพรหมจา รี จะ เ ห็นเปนเ พีย งต่ิงเ น้ือเ ล็กๆ เ รีย กวา Myrtiform caruncles 3. เยื่อบุชองทองและผนังหนาทอง เยื่อบุชองทองท่ีคลุมมดลูกจะยนเปนแนว บริเวณท่ีปกคลุม Broad และ Round ligaments จะคลุมอยางหลวม ๆ ผนังหนาทองจะนุมและหยอน การเปล่ียนแปลงกลับคืนเหมือนกอนต้ังครรภจะใช เ ว ลา หลา ยสัปดาห แตละเร็วข้ึนถาออกกําลังกายชวย (รอยแตกของผนังหนาทองจะไมหายไป) กลามเ น้ือผนังหนาทองอาจแยกตัวทําใหสวนกลางไมมีกลามเน้ือ มีแตเยื่อบุชองทอง Fascia ไ ขมันและผิว หนังเทา น้ันเรียกวา Diastasis recti 4. ระบบทางเดินปสสาวะ เยื่อบุกระเพาะปสสาวะจะบวมและมีเสนเลือดมาเล้ียงมาก กระเพาะปสสาวะจะมีความจุเพ่ิมและไมไวตอความดันท่ีเพ่ิม ดังน้ันอาจเกิดภาวะ Overdistention และปสสาวะออกไมหมด และหา กมีการใชยาชาขณะคลอดและการกระทบกระเทือนเสนประสาทขณะคลอด รวมท้ังการโปงพองและขย า ยของหลอดไตทําใหเกิดภาวะติดเช้ือของระบบทางเดินปสสาวะไดงาย โดยท่ัวไปหลอดไ ตและกรว ย ไ ตจะลดขนาดลงเทากับกอนต้ังครรภภายใน 2-8 สัปดาห อาจพบภาวะกล้ันปสสาวะไ มอยูหลังคลอดจา กการทํางานของกลามเน้ือรอบ ๆ ทอปสสาวะเสียไปจากการคลอดซ่ึงจะหายไปใน 3 เดือนหลังคลอด 5. เตานม

5.1ตอมนํ้านม ขณะต้ังครรภตอมนํ้านมจะเร่ิมขยายและแบงตัว เตา นมประกอบไ ปดว ย Secondary buds ประมาณ 15-25 buds ในแตละ buds จะแบงตัวเปนเยื่อบุ Cuboidal 2 ช้ัน และชองวา งตรงกลา ง ช้ันในจะเปล่ียนเปน Secretory epithelium และช้ันนอกจะเปล่ีย นเปน Myoepithelium ทํา หนา ท่ีขับนํ้า นมออกมา ตอมนํ้านมจะเรียงตัวเปนรูปรัศมี (radially) และมีไขมันแทรกระหวางตอม (lobes) ในแตละ lobe จะมี 20-40 lobules แตละ lobule จะประกอบดวย 10-100 alveoli ซ่ึงจะมีทอเช่ือมตอกันโดย จะไ ปออกท่ีหัวนม 5.2 นํ้านม นํ้านมในระยะ 5 วันแรกจะมีสีเหลืองเขมใสเรียกวา colostrum ซ่ึงจะมี เกลือแรและโปรตีนมากกวาแตมีนํ้าตาลและไขมันนอยกวา colostrum จะประกอบดวยกอนไขมันพิเศษเ รีย กวา colostrum

Page 4: PP care  สูติ 1 Normal

4

corpuscles ซ่ึงเกิดจาก fatty degeneration ของ epithelium หลังจาก 5 วันแลว colostrum จะหมดไปและจะเปล่ียนเปนนํ้านมปกติ Colostrum จะมีภูมิคุมกัน immunoglobulin A ซ่ึงจะชวยปองกันทารกจากการติดเช้ือในลํา ไ ส นํ้านมปกติจะประกอบดวยโปรตีน แลกโตส นํ้าและไขมัน โปรตีนสว นใหญ เปน Alpha-lactalbumin , beta-lactoglobulin และ casein รวมท้ังพบวานํ้านมและ colostrums ของมา รดา ยังมี interleukin-6 ดว ย ซ่ึงจะชวยปองกันการติดเช้ือในทารกแรกคลอด ปจจุบันพบวาในนํ้านมมี Epidermal growth factor(EGF) ซ่ึงไมถูกยอยสลาย ดว ย นํ้า ยอย ในกระเพาะอาหาร ซ่ึงจะชวยในการเจริญของเยื่อบุกระเพาะและลําไสของทารก นํ้านมมารดามีวิตา มินทุกชนิดยกเวนวิตามิน เค ดังน้ันทา รกทุกคนตองไ ด รับวิตา มิน เค หลังคลอดทันทีเ พ่ือปองกันภ า ว ะ Hemorrhagic disease of the newborn 5.3 กลไกการหล่ังนํ้านม เกิดจาก reflex ท่ีเร่ิมตนจากการถูกกระตุนหัวนมซ่ึงกระตุนตอมใตสมองใหหล่ัง Oxytocin ซ่ึงจะทําให myoepithelial cells หดรัดตัว การหล่ังนํ้านมอา จ ถูกกระตุนโดย เ สีย งรองของทา รก สว นความเครียด ความกลัว การสูบบุหร่ี รวมท้ังยาเม็ดคุมกําเนิดจะลดปริมาณนํ้านม ยาเม็ดคุมกําเนิดไมใชขอหามในสตรีหลังคลอดแตควรจะเร่ิมใชเมื่อนํ้านมออกมาระยะหน่ึงแลว และควรเลือกใชยาเม็ดคุม กํา เ นิดชนิด progestin only (minipill) รวม ท้ัง levonorgestrel implant(norplant) และ levonorgestrel vaginal ring ซ่ึงไมมีผลตอการสรางและหล่ังนํ้านม 6. ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบหัวใจและหลอดเลือดจะเปล่ียนแปลงกลับคืนใน 2-3 สัปดาห หน่ึงในสา มของปริมา ณเลือดท่ีเพ่ิมข้ึนจะลดลงภายใน 3 วันหลังคลอด โดยสวนใหญจะเกิดภายใน 1 ช่ัวโมงแรก เ น่ืองจา กเ สียเลือดจากการคลอดทางชองคลอดประมาณ 200-500 มล. และจากการผาทองคลอดประมาณ 1,000 มล.

Cardiac output ท่ีเพ่ิมข้ึนในระยะกอนคลอดและระหวางคลอดยังคงเ พ่ิมในระย ะหลังคลอดทันที จากน้ันชีพจรจะคอย ๆ ลดลงและมี Stroke volume เพ่ิมข้ึน การท่ีมี cardiac output เ พ่ิม ข้ึนเ ช่ือวาเกิดจากมีเลือดดําไหลกลับเพ่ิมข้ึนจากการหดรัดตัวของมดลูก และ เสนเ ลือดภ า ย นอกท่ีเคย ถูกกดดว ยมดลูกขณะต้ังครรภ ทําใหในสตรีท่ีมีโรคหัวใจอยูกอนอาจเกิดภาวะหัวใจวายภายหลังคลอดได

7. ระบบหายใจ ขนาดของชองทองและทรวงอกท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วในระยะหลังคลอด จะทํา ให

Residual volume เพ่ิมข้ึน แต vital capacity และ inspiratory capacity จะลดลง การเปล่ียนแปลงของ acid-base balance จะเกิดข้ึนพรอม ๆ กับกา รเปล่ีย นแปลงของระบบ

หายใจในขณะท่ีต้ังครรภ จะเกิดภา ว ะ respiratory alkalosis รว ม กับ compensated metabolic acidosis

Page 5: PP care  สูติ 1 Normal

5

และในขณะท่ีเจ็บครรภในเลือดจะมี pCO2 นอย (นอยกวา 30 มม.ปรอท) มี lactate เพ่ิมข้ึนในเลือดทําให pH ลดลง เปนกรดมากข้ึน ภาวะเชนน้ีจะเปนไปจนถึงระยะหลังคลอด

8. Hypothalamo-Pituitary-Ovarian Axis และ ฮอรโมนตางๆ หลังคลอดระดับขอ งฮอรโมนจา กรก จะลดลงอยา งรว ด เ ร็ว พบวา human placental

lactogen(hPL) ซ่ึงมี half life 20 นาที จะลดลงจนไมสามารถตรวจพบไดในวันแรกหลังคลอด ในวันท่ี 7 การทดสอบนํ้าปสสาวะเพ่ือตรวจการต้ังครรภจะไ ดผลลบเมื่อส้ินสุดสัปดา หแรกหลังคลอด ระดับ estrogen และ progesterone จะลดลงอยางรวดเร็วใน 3 ช่ัวโมง หลังรกคลอด ในมา รดา ท่ีไ มใหนมบุตร การขับ estrogen, estradiol และ estriol ในปสสาวะหลังคลอดจะเหมือนกับในเลือด การท่ีนมเ ร่ิม คัดในวันท่ี 3-4 หลังคลอดจะเกิดพรอมกับท่ีระดับ estrogen ในระดับสูงจะสามารถยับยั้งการหล่ังของนํ้า นมไ ด ภายในวันท่ี 3 หลังคลอดระดับ progesterone จะลดตํ่ากวาระดับใน luteal phase เพรา ะมี half life ส้ันมาก

ระดับ prolactin ในมารดาจะข้ึนตลอดการต้ังครรภ อาจสูงถึง 200 ng/ มล. หรือมา กกวา หลังคลอดสตรีท่ีไมไ ดใหนมบุตร prolactin จะลดลงใน 2 สัปดา ห แตถา ใหนมบุตรจะมี endogenous prolactin หล่ังออกมากข้ึน ทําใหมีนมคัดและนํ้านมไ หล แตปฏิ กิริย า น้ีจะลดลงเมื่อระย ะ เว ลา นา นออกไป

ระดูคร้ังแรก ๆ มักจะเปนแบบไมมีไขตก อาจพบเปนพว กท่ีมี corpus luteum insufficiency ก็ได แตถาเวนไปนานเปนเดือน ๆ กวาระดูคร้ังแรกจะมาก็มักจะพบเปนแบบมีไขตก กา รตกไ ขคร้ังแรกหลังคลอดอาจจะเกิดข้ึนไมแนนอนโดยเฉพาะในรายใหนมบุตรจะชากวาปกติ ถาใหนมบุตรไ ปเ ร่ือย ๆ อยางสม่ําเสมอจะไมมีไขตกกอน 10 สัปดาห การใหนมบุตรนับเปนวิธีการคุมกําเนิดชนิดหน่ึงแตไ ดผลไมดีเพราะการปองกันการตกไขข้ึนกับลักษณะการดูดนม ระยะเวลา และความถ่ีของการใหนม ขอวินิจฉัยทางการพยาบาล

1. มารดาหลังคลอดเส่ียงตอการตกเลือดหลังคลอด 2. มารดาหลังคลอดเส่ียงตอภาวะขาดสารนํ้าและสารอาหาร 3. มารดาหลังคลอดไมสุขสบายเน่ืองจากความเจ็บปวด 4. มารดาหลังคลอดพักผอนไมเพียงพอ 5. มารดาหลังคลอดเส่ียงตอการติดเช้ือหลังคลอด 6. มารดาหลังคลอดมีโอกาสเกิดการขับถายอุจจาระ,ปสสาวะผิดปกติ 7. มารดาหลังคลอดมีการเปล่ียนแปลงทางดานจิตใจและอารมณ 8. มารดาหลังคลอดขาดความรูในการปฏิบัติตนท่ีถูกตอง 9. มารดาหลังคลอดขาดสัมพันธภาพท่ีดีตอบุตร ไมสามารถเล้ียงดูบุตรไดอยางถูกตอง

Page 6: PP care  สูติ 1 Normal

6

ขอวินิจฉัยทางการพยาบาล/ขอมูลสนับสนุน

กิจกรรมการพยาบาล ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

ขอวินิจฉัยท่ี 1 มารดาหลังคลอดเส่ียงตอการตกเลือดหลังคลอด S:ผูคลอดมีประวัติการต้ังครรภหลายคร้ัง O: 1. มดลูกหดรัดตัวไมดี 2.มีการเสียเลือดระหวางคลอดและภายหลังคลอด 3. มารดาหลังคลอด 6 ชม. ยังไมถายปสสาวะ คลําหนาทองกระเพาะปสสาวะโปงตึง 4. ต้ังครรภแฝด 5. การคลอดโดยใชสูติศาสตรหัตถการ, แผลฉีกขาด 6. คลอดบุตรท่ีมีขนาดใหญ หรือต้ังครรภแฝดหรือแฝดนํ้า 7. มีประวัติการตกเลือดหลังคลอด

1 ตรวจวัดสัญญาณชีพแรกคลอด และบันทึกสัญญาณชีพตาม Routine Post-op จนครบ 2 ช่ัวโมงหลังคลอด หลังจากน้ันถามดลูกหดรัดตัวดี เสียเลือดปกติ และสัญญาณชีพเปนปกติ จะวัดทุก 4 ช่ัวโมงจนครบ 24 ช่ัวโมง หลังคลอด

2 สังเกตและตรวจการหดรัดตัวของมดลูก โดยคลึงหนาทองบริเวณยอดมดลูกทุก 15 นาทีในระยะ 2 ช่ัวโมงแรกหลังคลอดและทุก 2-4 ช่ัวโมงในระยะ 24 ช่ัวโมงแรกหลังคลอดโดยปฏิบัติดังน้ี 2.1 ถาตรวจพบวาระดับยอดมดลูกสูงกวาปกติ

เน่ืองจากกระเพาะปสสาวะเต็ม ตองดูแลใหถายปสสาวะทุก 4 ช่ัวโมง ถาตรวจพบวามดลูกหดรัดตัวไมดีใชมือคลึงบริเวณยอดมดลูก เพ่ือใหมดลูกหดรัดตัวดี

2.2 ดูแลใหยาชวยกระตุนการหดรัดตัวของมดลูก เชน Oxytocin , Methergin ฯลฯ ตามแผนการรักษาของแพทยและสังเกตอาการขางเคียงของการใหยา

3 สังเกตและบันทึกปริมาณการเสียเลือดเพ่ิมภายหลังคลอดดังน้ี 3.1 ตรวจปริมาณและลักษณะเลือดท่ีออกทางชอง

คลอด วาออกมามากกวาปกติ(Active Bleeding) หรือไม

3.2 บันทึกปริมาณการเสียเลือดท่ีออกภายหลังคลอดโดยสังเกตจากผาอนามัย ตรวจดูปริมาณเลือดท่ีออกทุก 2-4 ช่ัวโมง ในระยะ 24 ช่ัวโมงแรก

1.สัญญาณชีพอยูในเกณฑปกติ T ไมตํ่ากวา 36C P = 60-100 คร้ัง/นาที R = 16 –24 คร้ัง/นาที BP อยูระหวาง 90/60-120/80 mmHg 2.มดลูกหดรัดตัวดี คลําไดเปนกอนกลมแข็ง 3.มีเลือดออกทางชองคลอดชุมผาอนามัย ไมเกิน 1ผืน/ช่ัวโมง (50 cc./ช่ัวโมง) ใน 2 ช่ัวโมงแรกหลังคลอด หลังจากน้ัน จะมีจํานวนคอยๆ ลดลง หรือมีเลือด ออกทางชองคลอดไมเกิน 500 cc. ในระยะ

Page 7: PP care  สูติ 1 Normal

7

ขอวินิจฉัยทางการพยาบาล/ขอมูลสนับสนุน

กิจกรรมการพยาบาล ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

8. การคลอดมีรกคาง, ลวงรก 9. โรคโลหิตจางหรือเลือดมีการแข็งตัวชากวาปกติ 10. HCT นอยกวา 24 % 11. มารดาใชยาเรงคลอด 12. การคลอดเร็ว

หลังคลอด 3.3 สังเกตลักษณะแผลฝเย็บวามีเลือดซึมหรือมีกอน

เลือดใตผิวหนัง (Hematoma) ผิดปกติหรือไม 4 ดูแลใหออกซิเจนอยางเหมาะสม 5 ประเมินความเส่ียงและศึกษาหาสาเหตุสงเสริมใหเกิด

การตกเลือด ไดแก ประวัติการต้ังครรภหลายคร้ัง , ครรภแฝดเคยคลอดบุตรท่ีมีขนาดใหญ หรือนํ้าหลอเด็กมาก ,

ประวัติการตกเลือด, แผลฉีกขาดมาก, รกคาง,ลวงรก หรือคลอดเร็วกวาปกติ, โรคโลหิตจางหรือเลือดม ี การแข็งตัวชากวาปกติ ฯลฯ 6 ดูแลใหถายปสสาวะหลังคลอดภายใน 6-8 ช่ัวโมง

หลังคลอด หลังจากน้ันดูแลใหถายปสสาวะทุก 3-4 ช่ัวโมง ในระยะ 24 ช่ัวโมง แรกหลังคลอด ถากระเพาะปสสาวะเต็ม และไมสามารถปสสาวะไดเองใหรายงานแพทย เพ่ือสวนระบายปสสาวะออกโดยถูกวิธีและปลอดเช้ือ

7 แนะนําใหนําบุตรมาดูดนมมารดาทุก 2-3 ช่ัวโมง เพ่ือชวยกระตุนการหดรัดตัวของมดลูก

8 อธิบายใหมารดาหลังคลอด และญาติ ทราบถึงการสังเกตอาการผิดปกติท่ีควรแจงใหพยาบาลทราบ เชน อาการเวียนศีรษะ หนามืดจะเปนลม ใจส่ัน ตัวเย็น มีเลือดออกมาก หรือปวดบริเวณแผลฝเย็บมาก ถามีใหรีบรายงานใหพยาบาลทราบ

9 ระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุ ท่ีอาจจะเกิดข้ึนไดจากการสูญเสียเลือดมาก

24 ช่ัวโมงหลังคลอด 4.แผลฝเย็บไมมีเลือดออก ไมมีHematoma 5.ไมมีอาการ กระสับกระสาย ใจส่ันตัวเย็น หนามืด และ เหง่ือออกมาก 6.Hct มากกวา 24%

Page 8: PP care  สูติ 1 Normal

8

ขอวินิจฉัยทางการพยาบาล/ขอมูลสนับสนุน

กิจกรรมการพยาบาล ผลท่ีคาดวา จะไดรับ

10 เจาะ Hct ตามแผนการรักษา เพ่ือติดตามประเมินภาวะซีด

11 ถาตรวจพบวามีการตกเลือด ใหรีบรายงานแพทย และใหการชวยเหลือทันที ดังน้ี 11.1 อธิบายใหมารดาหลังคลอด เขาใจถึงสาเหตุการตกเลือดและแนวทางการชวยเหลือ เพ่ือใหมารดารวมมือในการรักษาพยาบาล 11.2 ตรวจวัดและบันทึกสัญญาณชีพจนกวาจะปกติ

11.3 ประเมินสาเหตุของการตกเลือด โดยการคลึง มดลูกวาหดรัดตัวดีหรือไม ประเมินปริมาณเลือดท่ี ออกวามากกวา 500 ml ใน 2 ช่ัวโมงหลังคลอด หรือไมรวมท้ังตรวจดูลักษณะของกระเพาะปสสาวะ เต็มหรือไม และตรวจดูบริเวณแผลฝเย็บ เชนมี Hematoma มีเลือดออกหรือมีการฉีกขาดหรือไม

11.4 เตรียมเคร่ืองมือและอุปกรณสําหรับการวิ นิจฉัย รักษา และชวยเหลือ ภาวะตกเลือดใหพรอม เชน เคร่ืองมือสําหรับตรวจภายใน, อุปกรณการใหออกซิเจน, เคร่ืองใชในการใหสารนํ้า และสวนประกอบของเลือด ใหไดรับครบถวนและถูกตองตามแผนการรักษา

11.5 Retain Foley’s Cath ตามแผนการรักษา และ ดูแลใหปสสาวะไหลสะดวก สังเกตสีและบันทึก จํานวนของปสสาวะถาปสสาวะนอยกวา 30 ml/ ช่ัวโมงใหรายงานแพทย 11.6 เตรียมมารดาหลังคลอด เพ่ือการรักษาใน ภาวะฉุกเฉินหรือเตรียม Refer 11.7 บันทึก I/O

Page 9: PP care  สูติ 1 Normal

9

ขอวินิจฉัยทางการพยาบาล/ขอมูลสนับสนุน

กิจกรรมการพยาบาล ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

ขอวินิจฉัยท่ี 2 มารดาหลังคลอดเส่ียงตอภาวะขาดสารนํ้าและสารอาหาร S:1.กังวลในการเล้ียงดูบุตร 2.คล่ืนไส อาเจียน O:1. มารดาหลังคลอดรางกาย ออนเพลีย 2. สูญเสียเลือดระหวาง คลอดและหลังคลอด 3.รับประทานอาหารและนํ้า ไดนอยระหวางเจ็บครรภ 4. บางรายมีภาวะเส่ียงตอง งดนํ้าและอาหารกอนคลอด 5. มีความกังวลในการเล้ียงดูบุตรขาดความสนใจเร่ือง อาหารและนํ้า 6. มารดาเจ็บครรภรุนแรง

1 ตรวจวัดสัญญาณชีพและประเมินภาวะขาดสารนํ้า สารอาหารและสภาพท่ัวไปของมารดาหลังคลอด

2 ดูแลกระตุนให ด่ืมนํ้าอยางนอยวันละ 2 ลิตร 3 ดูแลและแนะนําใหได รับสารอาหารเพียงพอและ

ครบถวนท้ัง 5 หมู รวมท้ังจัดอาหารใหนารับประทาน

4 ดูแลใหไดรับสารนํ้าทางหลอดเลือดดํา อยางถูกตองตามแผนการรักษา

1.สัญญาณชีพอยูในเกณฑปกติ ผิวหนังมีการตึงตัวดี ชุมช้ืน ริมฝปากไมแหง 2.รับประทานอาหารไดถูกตองเหมาะสมและรับประทานอาหารไดมากข้ึนตามลําดับ 3.ไดรับสารนํ้าทางหลอดเลือดดําอยางถูกตองตามแผนการรักษา

Page 10: PP care  สูติ 1 Normal

10

ขอวินิจฉัยทางการพยาบาล/ขอมูลสนับสนุน

กิจกรรมการพยาบาล ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

7. ระยะการคลอดนาน 8. ใชพลังงานในการเบงคลอด ขอวินิจฉัยท่ี 3 มารดาหลังคลอดไมสุขสบายเน่ืองจากความเจ็บปวด S:1.บนปวดแผล ปวดมดลูก 2.ไมกลาขยับรางกาย O:1.มีแผลฝเย็บ / มดลูกหดรัดตัว 2.สีหนาไมสุขสบาย 3.แผลฝเย็บบวมตึง4.เตานมคัดตึง 5.พักผอนไมได

1 ประเมินความเจ็บปวดของมารดาหลังคลอดเก่ียวกับลักษณะความรุนแรงของความเจ็บปวดเพ่ือใหการชวยเหลืออยางถูกตอง โดยประเมินจากส่ิงตอไปน้ี 1.1 สังเกตอาการแสดงความเจ็บปวด เชน สีหนาแสดงความเจ็บปวด พูดบนถึงความเจ็บปวด หรือรองขอความชวยเหลือ 1.2 ซักถามถึงอาการปวดตาง ๆ หลังคลอด

2 แนะนําทานอนในทาท่ีสบายบรรเทาความเจ็บปวด เชน แนะนําใหนอนตะแคงดานตรงขามกับท่ีมีแผลฝเย็บใหขมิบกนกอนน่ัง เพ่ือปองกันการบาดเจบ็โดยตรงท่ีแผลฝเย็บ

3 แนะนําการเคล่ือนไหวอยางชา ๆ เพ่ือลดการกระทบกระเทือนแผลฝเย็บ

4 อธิบายกลไกของการเจ็บปวดภายหลังคลอด เพราะมดลูกหดรัดตัวเพ่ือเขาสูสภาพปกติ

5 กรณีท่ีแผลบวม ใหอบไฟแผลฝเย็บใหถูกตอง และครบถวนตามแผนการรักษา

6 สอนเทคนิคการผอนคลายความเจ็บปวด โดยการบริหารการหายใจเปนจังหวะการเปล่ียนทาน่ัง – นอนใหรูสึก สบายข้ึน

7 แนะนําและจัดใหนอนคว่ําใชหมอนรองบริเวณหนาทอง จะชวยใหนํ้าคาวปลาไหลสะดวก ลดอาการปวดมดลูก และใหบริหารกลามเน้ือเชิงกรานโดยการขมิบชองคลอดจะชวยใหเลือดไหลเวียนดี

8 ดูแลใหยาแกปวดตามแผนกา รรักษาและประเมินอาการ พรอมท้ังติดตามผลขางเคียงท่ีอาจเกิดข้ึนภายหลังไดรับยาหรือ เมื่อพบวามีอาการขางเคียง

1.มีสีหนาสดช่ืน แจมใส 2.ไมบนเจ็บปวดแผลฝเย็บ ริดสีดวงทวาร มดลูก และไมบนปวด คัดตึงเตานม 3.สามารถเคล่ือนไหวรางกายไดตามปกติ เจ็บปวดนอยลง และพักผอนได

Page 11: PP care  สูติ 1 Normal

11

ขอวินิจฉัยทางการพยาบาล/ขอมูลสนับสนุน

กิจกรรมการพยาบาล ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

ขอวินิจฉัยท่ี 4 มารดาหลังคลอดพักผอนไมเพียงพอ S: 1.บนไมไดพักผอน มีเสียง รองเจ็บครรภของคนอ่ืนและเสียงรองของทารกรบกวน 2.มีความเจ็บปวดมดลูกและแผลฝเย็บ O:1.สีหนาอิดโรย 2.ระยะเจ็บครรภนาน 3.บุตรรองกวน 4.ขาดญาติชวยเล้ียงดูบุตร

ภายหลังไดรับยา เชน ผ่ืนตามตัว คล่ืนไส อาเจียน ฯลฯ 9 ดูแลไมใหเตานมคัดตึงในรายท่ีไมสามารถใหบุตรดูด

นมไดใหปฏิบัติดังน้ี คือ 9.1 สวมเส้ือยกทรงพยุงเตานมไว หรือใชผารัดเตานมไวใหแนนพอคว ร 9.2 หลีกเล่ียงการกระตุนการหล่ังนํ้านม เชน ไมนวด หรือบีบนํ้านม

9.3 ใหยาแกปวดตามแผนการรักษาของแพทย 10 พูดคุยใหกําลังใจ ชวยใหบรรเทาความเจ็บปวดลดลง 1 ดูแลชวยเหลือใหไดรับการพักผอนเพียงพอ โดยให

นอนกลางวันอยางนอยวันละ 1-2 ช่ัวโมง และนอนหลับในตอนกลางคืน 6-8 ช่ัวโมง

2 รวมกิจกรรมการพยาบาลไวทําพรอมกัน /ตอเน่ืองกัน เพ่ือไมใหรบกวนเวลาพักผอนของมารดาหลังคลอดมากเกินไป

3 แนะนํา/ดูแลความสะอาดของรางกายและความสุขสบายท่ัวไป เชน เปล่ียนผาอนามัยบอย ๆ (อยางนอยทุก 4 ชม. ใน ชวง 24 ช่ัวโมงแรก) และเช็ดตัวเปล่ียนเส้ือผาใหม เมื่อมีการเปยกเปอนจากเลือด นํ้าคาวปลา เหง่ือ หรือนํ้านม ฯลฯ

4 แนะนําและจัดใหนอนในทาท่ีสบาย เพ่ือใหเจ็บปวดแผล

ฝเย็บนอยท่ีสุด 5 ถามีไขมากกวา 38C ใหการพยาบาลลดไข และ

ติดตามประเมินผล

1. พักผอนนอน หลับไดวันละ 8-10 ช่ัวโมง 2. มีสีหนา แววตา แจมใส สดช่ืนข้ึน และ ไมมีอาการ หนามืด เวียน ศีรษะ

Page 12: PP care  สูติ 1 Normal

12

ขอวินิจฉัยทางการพยาบาล/ขอมูลสนับสนุน

กิจกรรมการพยาบาล ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

ขอวินิจฉัยท่ี 5 มารดาหลังคลอดเส่ียงตอการติดเช้ือหลังคลอด S:เจ็บแผลฝเย็บ ไมกลา ไมสะดวกในการทําความสะอาด O:1.มารดาหลังคลอดมีแผลฝเย็บ 2.มีแผลในโพรงมดลูก 3.รางกายออนเพลียจากการเจ็บครรภและการคลอด 4.ขาดความสนใจในการ ดูแล ตนเอง 5.แผลฝเย็บบวม 6.การคลอดท่ีมีภาวะเส่ียงตอการติดเช้ือเชนถุงนํ้า

6 จัดส่ิงแวดลอมใหเหมาะสม ปราศจากส่ิงรบกวน เชน กล่ิน แสง เสียง

7 หมั่นตรวจเยี่ยมหาสาเหตุ ใหยาตามแผนการรักษาหรือใหการชวยเหลือในรายท่ีพักผอนไมได

8 แนะนําญาติหรือสามีชวยดูแลเด็กเพ่ือใหผูคลอด ไมกังวลและพักผอนได

1 ลางมือใหสะอาดอยางถูกวิธีกอนและหลังใหการ

พยาบาลทุกคร้ังและใหการพยาบาลโดยใชหลักเทคนิคปลอดเช้ือ

2 วัดและบันทึกอุณหภูมิรางกายทุก 4 ช่ัวโมงในรายท่ีมีไข หรือมีภาวะแทรกซอน เพ่ือทราบอาการนําของการติดเช้ือ

3 ทําความสะอาดอวัยวะสืบพันธุภายนอกวันละ 2 คร้ัง เชา-เย็น

4 ติดตามประเมินและสังเกตลักษณะแผลฝเย็บทุกวัน ถามีอาการอักเสบติดเช้ือใหแชกนดวยนํ้าอุน (Warm sitz bath) เปนเวลา 15-20 นาที เชา-เย็น หรืออบไฟแผลฝเย็บ ดวยความรอน 25-40 วัตต นาน 15 นาที วันละ 2 คร้ังตอนเชา -เย็น

5 สังเกต จํานวน สี ลักษณะ และกล่ินของนํ้าคาวปลา ถาผิดปกติรายงานแพทย

6 วัดระดับยอดมดลูกและลงบันทึกทุกวันวาลดลงหรือไม

7 ดูแลใหยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาและสังเกตอาการขางเคียงหรือการแพยา

8 ดูแลและสอนการดูแลตัวเองในเร่ือง

1.ระยะ 24ช่ัวโมงแรกหลังคลอด อุณหภูมิรางกายอยูในระดับปกติไมเกิน 38 องศาเซลเซียส 2.แผลฝเย็บสะอาด ไมมีอาการบวมแดง ไมแยกไมมีหนองไมปวดแผลฝเย็บมากและแผลติดดี 3.นํ้าคาวปลามีลักษณะและจํานวนปกติ ไมมีกล่ินเหม็นไหลออกตามปกติ คือ

Page 13: PP care  สูติ 1 Normal

13

ขอวินิจฉัยทางการพยาบาล/ขอมูลสนับสนุน

กิจกรรมการพยาบาล ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

แตกกอนคลอดนาน การเสียเลือดมากจากการคลอด 7.รกคาง ลวงรก 8.มีภาวะซีดอยูกอน9.ผลการตรวจCBCผิดปกติ 10.มีไขมากวา 38 C 11.คลอดโดยใชสูติศาสตรหัตถการ

8.1การรักษาความสะอาดของปากฟน 8.2การรักษาความสะอาดของรางกาย โดยเฉพาะ อวัยวะสืบพันธุภายนอก โดยลางจากดานหนาไป ดานหลังภายหลังการขับถาย ตลอดจนวิธี จับ-เปล่ียน ผาอนามัยและเปล่ียนทุก 2-4 ช่ัวโมงหรือเมื่อชุม 9 ประเมินการค่ังคางของปสสาวะ ถามีอาการเจ็บปวด

แสบเมื่อปสสาวะ ถายปสสาวะบอย ๆหรือ กล้ันปสสาวะไมอยู ใหรายงานแพทย

10 ศึกษาหาภาวะท่ีสงเสริมการติดเช้ือไดแก ระยะและชนิด ของการคลอด ,การคลอดโดยใชหัตถการ เชน F/E , V/E การเสียเลือดในระยะคลอด ,การแตกของถุงนํ้าทูนหัว , การฉีกขาดของแผลฝเย็บ ,

ภาวะแทรกซอนอ่ืนๆ เชน การอักเสบติดเช้ือของ การฉีกขาดของแผลฝเย็บ ,ภาวะแทรกซอนอ่ืนๆ เชน การอักเสบติดเช้ือของเตานม การติดเช้ือทางเดิน หายใจ เพ่ือเปนขอมูลในการรักษาพยาบาลท่ี ถูกตองตอไป 11 สงและติดตามผลการตรวจ CBC ตามแผนการรักษา

3.1Lochia rubra นํ้าคาวปลามีสีแดงสด จํานวนปานกลาง ในชวง 2-3 วันหลังคลอด 3.2 Lochia serosa นํ้าคาวปลามีสีคอยๆ จางลงเปน สีชมพู จํานวนเล็กนอยในชวง 4-9 วันหลังคลอด 3.3 Lochia alba นํ้าคาวปลามี สีเหลืองหรือมีสีขาว มีจํานวนนอยมากในชวง 10-21 วันหลังคลอด 4. ระดับยอดมดลูกลดลงอยางนอยวันละ ½-1น้ิว หรือ 1-2 เซนติเมตร

Page 14: PP care  สูติ 1 Normal

14

ขอวินิจฉัยทางการพยาบาล/ขอมูลสนับสนุน

กิจกรรมการพยาบาล ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

ขอวินิจฉัยท่ี 6 มารดาหลังคลอดมีโอกาสเกิดการขับถายอุจจาระปสสาวะผิดปกติ S:1.เจ็บแสบแผลเวลาขับถาย O:1.มีแผลฝเย็บ 2.ออนเพลีย 3.ขาดความรูความเขาใจในการดูแลตนเองหลังคลอด 4.การรับประทานอาหารไมเหมาะสม

1 ดูแลใหถายปสสาวะหลังคลอดภายในเวลา 6-8

ช่ัวโมง หลังคลอด และดูแลใหถายปสสาวะทุก 3-4 ช่ัวโมง 2 ถาปสสาวะเองไมได กระตุนใหถายปสสาวะไดเอง

โดยใชนํ้าราดบริเวณอวัยวะสืบพันธุภายนอก และ/หรือเปดกอกนํ้าใหไดยินเสียงนํ้าไหล ฯลฯ

3 ประเมินกระเพาะปสสาวะวา กระเพาะปสสาวะเต็มหรือไม โดยปฏิบัติดังน้ี 3.1 สังเกตรูปรางของหนาทอง ถากระเพาะปสสาวะเต็มจะคลํากระเพาะปสสาวะได และถากดบริเวณเหนือหัวเหนา หรือทองนอยลงไปลึก ๆ มารดาหลังคลอดจะบนปวดปสสาวะ 3.2 สังเกตระดับยอดมดลูก ถากระเพาะปสสาวะเต็มจะดันมดลูกใหลอยสูงข้ึน หรือเอียงไปดานใดดานหน่ึง

4 กระตุนใหด่ืมนํ้ามาก ๆ ใหไดวันละอยางนอย 2 ลิตร 5 ถายังปสสาวะไมออกใหรายงานแพทยทราบเพ่ือสวน

ปสสาวะใหโดยวิธีปราศจากเช้ือในรายท่ีถายปสสาวะเองไมได ระบายปสสาวะออกใหกระเพาะปสสาวะ

5. ถายปสสาวะไดสะดวกดี ไมมีอาการแสบขัด และไมมีอาการกล้ันปสสาวะไมอยู 6. ผลการตรวจ CBC ปกติ 1. ถายปสสาวะไดตามปกติ สะดวกดีไมมีกระปริดกระปรอย ไมมีแสบ ขัด และไมมีอาการกล้ันปสสาวะไมได 2. ไมมีลักษณะของกระเพาะปสสาวะเต็ม (Bladder full) / ปสสาวะหลังคลอดไดภายใน 6-8 ช่ัวโมง 3. ไมแนนอึดอัดทอง สามารถถายอุจจาระ ไดปกติ ไมม ี

Page 15: PP care  สูติ 1 Normal

15

ขอวินิจฉัยทางการพยาบาล/ขอมูลสนับสนุน

กิจกรรมการพยาบาล ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

ขอวินิจฉัยท่ี 7 มารดาหลังคลอดมีการเปล่ียนแปลงทางดานจิตใจและอารมณ S:1.มารดาไมทราบวิธีการปฏิบัติตนหลังคลอดและการ เล้ียงดูบุตรท่ีถูกตอง

วาง และติดตามใหถายปสสาวะไดเองภายในเวลา 6 ช่ัวโมง หลังสวนปสสาวะ 6 รายงานแพทยเพ่ือใสสายสวนคาปสสาวะใหในรายท่ี

ถายปสสาวะเองไมได 7 กระตุนใหลุกจากเตียงเร็ว เมื่อมีสภาพรางกายแข็งแรง

พอ เพ่ือลดภาวะแทรกซอน 8 ดูแลแนะนําให รับประทานอาหารท่ีมีกากใย เชน ผัก

ผลไมสด เพ่ือชวยใหขับถายสะดวก ไมเกิดอาการทองผูก

9 ดูแลและแนะนําใหฝกการบริหารรางกายหลังคลอด 24 ช่ัวโมงไปแลว และแนะนําใหบริหารรางกายตอไปอยางนอยจนถึง 6 สัปดาหหลังคลอด

10 ดูแลบรรเทาอาการปวดฝเย็บ และริดสีดวงทวาร รวมท้ังแนะนําไมใหกล้ันอุจจาระและปสสาวะ

11 ในรายท่ีรูสึกแนนอึดอัดทอง เน่ืองจากไมขับถายอุจจาระตามปกติ ดูแลใหไดรับยาระบายตามแผนการรักษา

1 แรกรับไวในแผนกหลังคลอดแลว แนะนําใหทราบ ถึงอุปกรณเคร่ืองใชตางๆ ท่ีจําเปน เวลาเยี่ยม ระเบียบ การตางๆ ของโรงพยาบาล และการใชกร่ิงเมื่อ ตองการความชวยเหลือ(กรณีอยูหองพิเศษ) 2 สรางสัมพันธภาพท่ีดีกับมารดาหลังคลอด โดยปฏิบัติ ดังน้ี 2.1 ใชคําพูดท่ีสุภาพ ชัดเจน เขาใจงาย แสดงทาที สนใจและต้ังใจฟง เมื่อมีการซักถาม 2.2 เคารพสิทธิมนุษยชน และหลีกเล่ียงคําพูดการ

อาการทองผูก 1. มารดาหลังคลอดใหความรวมมือในการ ปฏิบัติตนตามกฎระเบียบของโรงพยาบาลไดถูกตอง 2.มารดาหลังคลอดมี

Page 16: PP care  สูติ 1 Normal

16

ขอวินิจฉัยทางการพยาบาล/ขอมูลสนับสนุน

กิจกรรมการพยาบาล ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

2.อายท่ีตองเปดเผยรางกายใหคนอ่ืนเห็น O:1.มีการเปล่ียนแปลงใน รางกายและสรีระตางๆจากการต้ังครรภและการคลอด 2:พักผอนไมเพียงพอ

แสดงกริยาไมพอใจ ตลอดจนไมใชถอยคําตําหนิ เมื่อมารดาหลังคลอดไมใหความรวมมือ

2.3 แสดงสีหนาเห็นใจ เขาใจ หรือสัมผัสรางกาย ดวยความนุมนวลตามความเหมาะสมกับสภาพและอาการของมารดาหลังคลอด

3 เคารพในสิทธิและคํานึงถึงฐานะความเปนบุคคลของมารดาหลังคลอด โดยปฏิบัติดังน้ี

3.1 ใหการดูแลบุคคลทุกคน ทุกฐานะ ทุกสภาพดวย ความเทาเทียมกัน

3.2 ใชสรรพนามเรียกดวยถอยคําสุภาพ 3.3 อธิบายใหทราบถึงเหตุ ผลลัพธ ท่ีตองการและ การตรวจทุกคร้ัง 3.4 แจงผลการตรวจท่ีควรรับทราบใหทราบทุกคร้ัง 3.5 ไมเปดเผยรางกายของมารดาหลังคลอดโดยไม จําเปนในขณะใหการพยาบาล

3.6 อยูใกลชิดตลอดเวลาขณะท่ีแพทยทําการ ตรวจ วินิจฉัย และรักษา 3.7 แนะนําขณะใหนมบุตรใหก้ันมานไดโดยมีญาติ ชวยดูแล

4 อธิบายใหมารดาหลังคลอดทราบวิธีการปฏิบัติตน หลังคลอดและการเล้ียงดูบุตรท่ีถูกตอง 5 ประเมินความตองการของมารดาหลังคลอดและให การตอบสนองอยางเหมาะสม 6 ชวยลดความวิตกกังวล โดยปฏิบัติดังน้ี

6.1 เปดโอกาสใหมีการซักถามปญหาและการกระตุน ใหระบายความรูสึกตาง ๆ 6.2 อยูใกลชิดคอยปลอบใจ ใหกําลัง รับฟง และ

สัมพันธภาพท่ีดีกับเจาหนาท่ีในทีมสุขภาพ 3.มารดาหลังคลอดทราบ วิธีการปฏิบัติตนหลังคลอดและการเล้ียงดูบุตร ท่ีถูกตอง 4.มารดาหลังคลอดใหความ รวมมือในการตรวจและการรักษาพยาบาลอยางเต็มใจและพึงพอใจ 5.มารดาหลังคลอดกลา ซักถามปญหา หรือขอของใจกับแพทย และ พยาบาล เมื่อมีปญหาหรือ ขอของใจ 6. มารดาหลังคลอดบอก หรือแสดงใหทราบ

Page 17: PP care  สูติ 1 Normal

17

ขอวินิจฉัยทางการพยาบาล/ขอมูลสนับสนุน

กิจกรรมการพยาบาล ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

ขอวินิจฉัยท่ี 8 มารดาหลังคลอดขาดความรูในการปฏิบัติตนท่ีถูกตอง S:1.มารดาหลังคลอดซักถาม เจาหนาท่ี ถึงวิธีการปฏิบัติตนหลังคลอด O:1.ซักถามมารดาหลังคลอดถึงวิธีการปฏิบัติตนหลัง คลอดยังตอบไดไมครบถวนหรือตอบไมได 2.มารดาหลังคลอดครรภแรก 3.มารดาหลังคลอดครรภหลังเวนชวง

เปนท่ีปรึกษาพรอมท่ีจะแกไขปญหาตางๆ 6.3 ปฏิบัติการพยาบาลดวยความนุมนวล มั่นใจ และ ไมแสดงความต่ืนตกใจมากจนเกินไปเมื่อมีเหตุการณฉุกเฉินเกิดข้ึน 6.4 ใหทําแบบสอบถามทางดานอารมณใหทดสอบถา

ไดคะแนนมากกวา 10 คะแนน สงปรึกษาเจาหนาท่ี หองเวชฯ ใหคําแนะนําในเร่ืองการปฎิบัติตนของมารดาหลังคลอดดังน้ี 1 การพักผอนและการเร่ิมทํางาน ควรพักผอนใหมากจน กวาจะรูสึกแข็งแรง เหมือนกอนต้ังครรภ การนอน พักผอนควรนอนตอนกลางวัน ประมาณ 1-2 คร้ัง ถา เปนไปไดควรนอนเวลาบุตรหลับ ไมควรข้ึนบันได สูงๆ ทํางานบานเบาๆได แลวคอยเพ่ิมข้ึนตามลําดับ อยาหักโหม ไมควรยกของหนัก หรือทํางานท่ีตอง ออกแรง หลังจาก 6 สัปดาห จึงจะทํางานไดตามปกติ 2 การรับประทานอาหาร รับประทานอาหารท่ีมีคุณคา ม ี ประโยชนตามความตองการของรางกาย อาหารท่ีควร รับประทาน เชนเน้ือสัตวตางๆ ไข นมสด ผักทุกชนิด ผลไม ด่ืมนํ้าใหเพียงพอ อาหารเหลาน้ีนอกจากจะ ชวยใหสุขภาพของมารดาแข็งแรงสมบูรณ คุณภาพ ของนํ้านมดีแลวยังจะชวยในการขับถาย อาหารท่ีควร งดไดแก เคร่ืองด่ืมท่ีมีแอลกอฮอล มารดาไมควร รับประทานยาดองเหลา เพราะสามารถผานทางนํ้านม ใหงดอาหารหมักดอง นํ้าชา กาแฟและไมควรซ้ือยา รับประทานเอง

วาคลายความวิตกกังวล เชน หนาตาสดช่ืน แจมใสอารมณดี 1. บอกถึงอาหารท่ีเหมาะสมสําหรับมารดาหลังคลอดได ถูกตอง 2. สามารถบริหารรางกาย หลังคลอดไดถูกตอง 3. มีทาทีเขาใจในคําแนะนําและทบทวน คําแนะนําไดถูกตอง 4. สามารถตอบคําถามเก่ียวกับอาการผิดปกติท่ีตองมาพบแพทยกอนนัดได

Page 18: PP care  สูติ 1 Normal

18

ขอวินิจฉัยทางการพยาบาล/ขอมูลสนับสนุน

กิจกรรมการพยาบาล ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

การมีบุตรนาน/ ไมเคยเล้ียงบุตรเอง

3 การบริหารรางกาย ควรบริหา รรางกายทาท่ี 1-6 ตอไปน้ี อยางนอยจนถึง 6 สัปดาหหลังคลอด

3.1 ฝกการหายใจ (Breathing Exercise )เพ่ือสงเสริม การทํางานของปอดใหมีประสิทธิภาพ 3.2 ฝกบริหารกลามเน้ือขาและขอเทา (Leg Exercise)

เพ่ือใหการไหลเวียน ของโลหิตสะดวก ชวยให กลามเน้ือขาแข็งแรง การทรงตัวดี

3.3 ฝกการบริหารสวนบนของลําตัว (Upper Trunk Exercise)เพ่ือชวยใหกลามเน้ือ ของหลัง เอ็น และขอ ตอของกระดูกสันหลัง ไดเคล่ือนไหว หายปวดเมื่อย

3.4 ฝกบริหารกลามเน้ืออุงเ ชิงกราน (Pelvic Floor Muscle Exercise )เพ่ือชวยใหกลามเน้ือพ้ืนเ ชิงกราน กลามเน้ือบริเวณชองคลอด เอ็นยึดมดลูกแข็งแรงและกระชับข้ึน 3.5 การฝกบริหารกลามเน้ือหนาทอง (Abdominal Muscle Exercise )เพ่ือชวยใหกลามเน้ือหนาทอง แข็งแรงกระชับตัว 3.6 ฝกการพักผอนท่ีสมบูรณ ในระยะหลังคลอด (Relaxation Exercise ) คือการนอนคว่ํา ใชหมอนรองบริเวณหนาทอง เพ่ือชวยใหนํ้าคาวปลาไหลสะดวก

4 การทําความสะอาดของรางกาย การรักษาความ สะอาด ของรางกายเสมอ อาบนํ้าวันละ 2 คร้ังไมควร แชในอาง หรือแมนํ้าลําคลอง จะทําใหเช้ือโรคเขาสู ชองคลอดได สามารถสระผมไดตามปกติ บริเวณ อวัยวะสืบพันธภายนอก ควรทําความสะอาดดวยสบู และนํ้าสะอาด และลางทุกคร้ังหลังถายปสสาวะ อุจจาระ เช็ดใหแหงถายังมีนํ้าคาวปลาอยู หมั่น

ถูกตอง 5. เขาใจเก่ียวกับวิธีการคุมกําเนิด และสามารถตัดสินใจ เลือกใชวิธีการคุมกําเนิด ไดอยางเหมาะสม 6. อธิบายความสําคัญของการมาตรวจหลังคลอดได

Page 19: PP care  สูติ 1 Normal

19

ขอวินิจฉัยทางการพยาบาล/ขอมูลสนับสนุน

กิจกรรมการพยาบาล ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

เปล่ียนผาอนามัยบอย ๆ ในชวง 24 ช่ัวโมงแรก ใหเปล่ียนผาอนามัยทุก 4 ช่ัวโมง หรือเปล่ียนกอน เมื่อเปยกชุม 5 การวางแผนครอบครัว การคุมกําเนิดหลังคลอด โดย ปรึกษาสามีเก่ียวกับจํานวนบุตรท่ีตองการ การ คุมกําเนิดหลังคลอด โดยปรึกษาสามีเก่ียวกับจํานวน บุตรท่ีตองการการคุมกําเนิดมีหลายวิธีใหเลือกใช เชน ยาเม็ดคุมกําเนิด การใสหวงอนามัย ใชถุงยาง อนามัย ตามความเหมาะสมของคูสามีภรรยา ถาม ี บุตรเพียงพอแลวควรทําหมันเพ่ือคุมกําเนิดแบบถาวร 6 การมีเพศสัมพันธ แผลฝเย็บควรหายและนํ้าคาวปลา ควรหมด ประมาณปลายสัปดาหท่ี 3 สามารถ ตรวจสอบไดโดย สอดน้ิวมือท่ีลางสะอาด เขาเพียง หน่ึงน้ิวกอย กอนสอดมือเขาไปควรหลอล่ืน ถาไม เจ็บใหสอดเขาไปสองน้ิว ถาไมเจ็บแสดงวาแผลท่ี ชองคลอดหายแลว ควรงดมีเพศสัมพันธจนกวาจะ ไดตรวจหลังคลอด 6 สัปดาหไปแลว 7 อาการท่ีผิดปกติท่ีควรมาโรงพยาบาลเพ่ือพบแพทย

- มีไข - นํ้าคาวปลาผิดปกติสีแดงสดไมจางลง - มีเลือดสดๆ ออกทางชองคลอด - นํ้าคาวปลามีกล่ินเหม็น จํานวนมากข้ึน - หลังคลอด 2 สัปดาหแลว ยังคลํากอนทางหนา

ทองได - เตานมอักเสบ มีอาการกดเจ็บ แดง - มีอาการเจ็บทอง ปวดทอง กดเจ็บ แดง - ถายปสสาวะบอย แสบ

Page 20: PP care  สูติ 1 Normal

20

ขอวินิจฉัยทางการพยาบาล/ขอมูลสนับสนุน

กิจกรรมการพยาบาล ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

ขอวินิจฉัยท่ี 9 มารดาหลังคลอดขาดสัมพันธภาพท่ีดีตอบุตร ไมสามารถเล้ียงดูบุตรไดอยางถูกตอง S:1.มารดาหลังคลอดซักถาม เจาหนาท่ีถึงการเล้ียงดูบุตร 2.มารดาหลังคลอดบอกรูสึกไมมั่นใจในการเล้ียงบุตร O:1.มารดาหลัง

8 การมีประจําเดือนหลังคลอด ปกติจะมีหลังคลอด ประมาณ 7-9 สัปดาห แตถาเล้ียงบุตรดวยนมมารดา อาจไมมปีระจําเดือนตลอดเวลาท่ีใหนมบุตร การมี ประจําเดือน คร้ังแรกอาจมีมากกวาปกติ แตถานาน เกินกวา 7วัน อาจผิดปกติ 9 การมาตรวจหลังคลอดตามนัดปกติจะนัดดูแผลฝเย็บ 10 วัน หลังคลอดและนัดตรวจหลังคลอด ประมาณ 6 สัปดาห การตรวจหลังคลอด เพ่ือประเมิน กระบวนการของมดลูกเขาอู ( Involution ) มะเร็งปาก มดลูก ภายในเชิงกรานและบริเวณฝเย็บ ขนาดและ ตําแหนงของมดลูก ปากมดลูก และประเมินเตานม เปนตน 1 แจงใหทราบถึงเวลาเกิด เพศ นํ้าหนักแรกเกิดของ บุตรและเปดโอกาสใหซักถามสภาพท่ัวไป 2 นําบุตรมาอยูกับมารดา เร่ิมใหนมมารดาทันที โดย ดูแลชวยเหลือ แนะนําวิธีการอุมบุตร ทาในการใหนม บุตร และการไลลมใหเรอ หลังใหนมมารดาท่ีถูกตอง เมื่อมารดาแข็งแรง 3 ชวยเหลือแกไขปญหา ขณะใหนมบุตร ใหกําลังใจ และสงเสริมการเล้ียงลูกดวยนมแมอยางนอย 6 เดือน 4 แนะนําและช้ีใหเห็น ประโยชนของการเล้ียงลูกดวย

นมแมตอมารดาและญาติ 5 อธิบายและสาธิตในเร่ือง 5.1 การเช็ดตา การสระผม การเช็ดตัว 5.2 การทําความสะอาดสะดือ 5.3 การทําความสะอาดของรางกายของบุตรหลังการ

1. มีสัมพันธ - ภาพท่ีดีตอบุตรโดยประเมินจาก 1.1 คําพูดและเสียงท่ีพูดกับบุตรนุมนวล 1.2 แสดงสีหนาแจมใส ยิ้มแยมขณะพูดคุยกับ บุตร 1.3 สนใจและเอาใจใสในขณะเล้ียงดูบุตร 2. สามารถอุม

Page 21: PP care  สูติ 1 Normal

21

ขอวินิจฉัยทางการพยาบาล/ขอมูลสนับสนุน

กิจกรรมการพยาบาล ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

คลอดครรภแรก 2.ซักถามมารดาหลังคลอดถึงวิธีการเล้ียงดูบุตร ยังตอบ คําถามไมไดครบถวน 3.สังเกตการเล้ียงบุตรของมารดายังไมถูกตอง

ขับถาย 5.4 การไลลมหลังใหนมบุตร 6 แนะนําการดูแลบุตรท่ัวไปเก่ียวกับ 6.1 การเลือกส่ิงของเคร่ืองใช 6.2 การขับถาย 6.3 การนอนหลับ 6.4 การดูแลผิวหนัง 6.5 การใหทารกไดรับอากาศบริสุทธ์ิ 6.6 การไดรับภูมิคุมกัน ในชวงอายุตางๆ และการดูแล หลังฉีดวัคซีน 6.7 การมาตรวจตามนัด 6.8 การสังเกตอาการผิดปกติและการดูแลเบ้ืองตน กอนมาพบแพทย

บุตรและให นมบุตรในทาท่ีถูกตองและบุตรดูดนมได เพียงพอไมรองกวน 3. สามารถสาธิตยอนกลับในเร่ือง 3.1 การเช็ดตา การสระผม การเช็ดตัว 3.2 การทําความ สะอาดสะดือ 3.3 การทําความ สะอาดรางกายของบุตรหลัง การขับถาย 3.4 การไลลม

หลังใหนม ไดอยางถูกตอง

Page 22: PP care  สูติ 1 Normal

22

บรรณานุกรม ศรีเกียรติ อนันตสวัสด์ิ.การพยาบาลสูติศาสตร เลม 3 .นนทบุรี:โครงกา รสวัสดิการวชิาการ สถาบัน พระบรมราชชนก, 2544. มณีภรณ โสมานุสรณ.การพยาบาลสูติศาสตร เลม2.นนทบุรี:โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบัน พระบรมราชชนก, 2544. ภาควิชาสูติศาสตร-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.สูติศาสตร.คร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ:บริษัท ทรีโอ แอ็ด จํากัด, 2526. ภาควิชาสูติศาสตร-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี.สูติศาสตร รามาธิบดี 1. กรุงเทพฯ: บริษัท โฮลอสติก พับลิชช่ิง จํากัด,2539. พิชัย เจริญพานิช.ขบวนการคลอด สรีรภาพ ปญหา และแนวทางแกไข.กรุงเทพฯ:บริษัท 21 เซ็นจูร่ี จํากัด,2537.

รายช่ือผูจัดทําและทบทวน 1. คุณสุกัญญา เพ้ียนศรี ตําแหนงพยาบาลเทคนิค 5 หนวยงาน ผูปวยใน 2 2. คุณกาญจนา กุลประเสริฐ ตําแหนงพยาบาลวิชาชีพ 6 หนวยงาน ผูปวยใน 2 3. คุณกาญจนา หมัดนุช ตําแหนงพยาบาลวิชาชีพ 7 หนวยงาน ผูปวยใน 2 4. คุณฐาปนี บุญมี ตําแหนงพยาบาลวิชาชีพ 7 หนวยงาน อุบัติเหตุฉุกเฉิน 5. คุณกัญญา จงเจริญ ตําแหนงพยาบาลวิชาชีพ 7 หนวยงาน หองผาตัด 6. คุณพรพรรณ เวชกุลธํารง ตําแหนงพยาบาลวิชาชีพ 7 หนวยงาน อุบัติเหตุฉุกเฉิน 7. คุณลัดดาวัลย ชูช่ืน ตําแหนงพยาบาลวิชาชีพ 6 หนวยงาน หองคลอด 8. คุณประภาศิริ ถ่ัวเจริญ ตําแหนงพยาบาลวิชาชีพ 5 หนวยงาน ผูปวยใน 1 9. คุณธนทิพย นาควิจิตร ตําแหนงพยาบาลวิชาชีพ 6 หนวยงาน ผูปวยนอก