random 120812202117-phpapp01

38
ปรัชญาการ ศึกษา

Upload: ananya-janthakhoon

Post on 23-Jul-2015

72 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

ปรัชญาการศึกษา

ขบเขตของการบรรยาย

1. ความหมายและขอบเขตของ “การศึกษา”2.ความหมายของปรัชญา/ปรัชญาการศึกษา3.ความสัมพนัธ์ของปรัชญากบัการศึกษา4.แนวทางในการพจิารณาปรัชญาการศึกษา

ขบเขตของการบรรยาย

5. ปรชัญาการศึกษาที่ยึดเนื้อหาปรชัญาทั่วไปเป็นแม่บท

6. ปรชัญาการศึกษาที่ยึดตัวการศึกษาเปน็แกนกลาง

1. ความหมายและ “ขอบเขตของ การ

”ศึกษา “การศึกษา” เป็นกระบวนการสงัคมประกิต (Socialization Process)

1. ความหมายและ “ขอบเขตของ การ

”ศึกษา “การศกึษา” เป็นสถาบันทางสังคม มหีน้าที่ในการสง่เสรมิการพัฒนาของปัจเจกชน พัฒนาความสามารถเฉพาะทาง นำาการเปลี่ยนแปลง ส่งเสรมิการเปลี่ยนฐานะทางสังคม ผสมผสานความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของสังคม รกัษาและถ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรม

2. ความหมายของปร ัชญา

ความหมายตามร ูป ศัพท์

“ ปรชัญา - Philosophy”

Philos / Philia รกั ความรกัSophia ความรู ้ความปราดเปรือ่ง

“ ความหมายของ ปร ัชญา - Philosophy”

ความหมายตามร ูป ศัพท์

“ ปรชัญา - Philosophy”

ความรักในความรู ้ความรักในความปราดเปรือ่งThe love of wisdom.

ความหมายโดยอรรถ“ ปรชัญา - Philosophy” เป็นวิธีการมองปัญหาหรือมองความรู้ที่มอียู่โดยนัยน ี้ ปรัชญาไม่ใช่วิธีการหาความรู้และไมใ่ช่ตัวความรู้ แต่เป็นวิธกีาร / เป็นลักษณะการมองความรูห้รือปัญหาที่มีอยู่แล้ว >> มองความรู้หรือปญัหาในทัศนะใหม่ ๆ

กำาเน ิดของปร ัชญา - Philosophy”

กำาเนิดจากการที่มนุษย์มีความสงสัยต่อสิ่งแวดล้อมรอบตัว แล้วพยายามขบคิดหาคำาตอบและความสงสัยเหล่านั้น

สาขาของปรชัญา1. Metaphysics / Ontology (อภิปรัชญา)

>> ศึกษาปัญหาและทฤษฎีของความจริง

เป็นความพยายามที่จะตอบคำาถาม

และหาความหมายของความจริงที่แท้

สาขาของปรชัญา2. Epistemology (ทฤษฎีความรู้ /

ญาณวิทยา)>>เป็นความพยายามที่จะตอบคำาถาม

และหาความหมายของความรู้ด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่ได้รับมานั้นมีธรรมชาติอย่างไร เปน็ความรู้ที่แท้จริงหรือไม ่ฯลฯ

สาขาของปรชัญา3. Axiology (คณุวิทยา)

>>ศึกษาปัญหาและทฤษฎีของค่านิยม เป็นความพยายามที่จะหาความหมาย จุดเริ่มต้น และความแน่นอนของค่านิยมต่าง ๆ ม ี3 สาขา คอื จริยศาสตร์ สุนทรียศาสตร์ และปรชัญาสังคมการเมือง

ประโยชน์/คุณค่าของปร ัชญา1. สนองความอยากรู้อยากเห็น

ของมนุษย์2. หาความหมายของสิ่งต่าง ๆ

(จกัรวาล โลก มนุษย์ พฤติกรรม ฯลฯ)

ทำาให้เข้าใจ รู้คณุค่า มีความกระจา่งใน

เรื่องราวต่าง ๆ ทั้งเรือ่งของตนเองและสิ่งอื่น

ๆ)

ประโยชน์/คุณค่าของปร ัชญา3. ทำาให้มองเห็นภาพรวมและ

ความต่อเนื่องของสิ่งต่าง ๆ ช่วยให้ทำากจิกรรมต่าง ๆ ได้สมบูรณ์ขึน้

4. ช่วยให้การแก้ปัญหาตรงประเด็น ถกูต้อง เหมาะสม สมบูรณ์

ประโยชน์/คุณค่าของปร ัชญาการศึกษา1. ช่วยตั้งคำาถามที่ลึกซึ้ง2. ช่วยให้เกิดความเข้าใจ3. ขจัดความไม่สอดคล้องต้อง

กนั4. ช่วยให้เห็นภาพรวมของ

การศึกษาทั้งหมด5. ช่วยเสนอแนวคดิใหม่

3. ความสมัพันธ ์ของปร ัชญากับการศ ึกษา...ความพยายามทีจ่ะวิเคราะห์

วิพากษ์วิจารณ์ และพิจารณาดูการศึกษาอย่างละเอียดลึกซึง้ ให้เข้าใจถงึแนวคิดหลัก ความสำาคัญ และเหตุผลต่าง ๆ อย่างชัดเจน มคีวามต่อเนื่อง มคีวามหมายต่อมนุษย์ สังคม และสิ่งแวดล้อม เป็นงานสำาคัญยิ่งของปรัชญาต่อการศึกษา

4. แนวทางในการพิจารณาปร ัชญาการศึกษา

1. ปรัชญาการศึกษาที่ยึดเนื้อหาของปรัชญาทั่วไปเปน็แม่บท

2. ปรัชญาการศึกษาที่ยึดตัวการศึกษาเป็นแกนกลาง

3. ปรัชญาการศึกษาที่มุ่งหาความกระจา่งในแนวคิดและกิจกรรม

1. จตินิยม Idealism 2. วัตถุนิยม Realism3. ประสบการณ์นิยม

Experimentalism4. อตัถิภาวนิยม Existentialism

1. กลุ่มจตินิยม Idealism จิต (Mind) เป็นส่วนสำาคญั

ที่สุดในชีวิตของคน จกัรวาลนี้โดยธรรมชาติไมใ่ช่วัตถ ุแต่เป็นเพียงสิ่งจำาลองของสิ่งที่มองไม่เห็น สิ่งที่มองเห็นหรือจบัต้องได้ยังไมใ่ช่ความจริงที่แท้ แต่ความจริงที่แท้อยู่ในโลกของจติ

การศึกษาในแนวทางจิตนิยม Idealism

เน้นการพฒันาจิตใจและสติปัญญาเปน็สำาคัญ ร.ร. เป็นสถานที่ส่งเสริมกิจกรรมทางสติปญัญา ส่งเสริมการพัฒนาทางคุณธรรม ศีลธรรม ศิลปะ การวินิจฉัยคุณค่าที่แท้จริงของคุณธรรมจรยิธรรมเหล่านี้ ส่งเสริมให้รู้จกัและเขา้ใจตนเอง

2. วัตถุนิยม Realism ให้ความสำาคญักับสิ่งที่เห็นได้ด้วยตา สามารถสัมผัสและจับต้องได้ วัตถุที่ปรากฏต่อสายตา สิ่งที่เราสัมผัสและจบัต้องได้เป็นสิ่งที่เป็นจริงที่สุด ไมม่ีความจริงใดจะจริงไปกว่านี้แล้ว

การศึกษาในแนวทางวัตถุนิยม Realism

เน้นการให้ความรู้ที่จะทำาให้เดก็สามารถอยู่ในโลกของธรรมชาติได้ ความรู้ควรจะก่อให้เกดิความมั่นคงและความสุขในชีวิตได้ ในกลุ่มของวัตถนุิยมเชิงเหตุผลก็จะเน้นการอยู่ร่วมกันทางศาสนาเพื่อการเข้าถงึพระเจา้อกีด้วย สาระที่เรียนเป็น เรื่องที่ทำาให้เข้าใจในธรรมชาติ เช่น วิทย์ คณิต ฟิสิกส์ เป็นต้น วิชาทางด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ก็เน้นเช่นกนั แต่จะเน้นน้อยกว่า

3. ประสบการณ์นิยม Experimentalism ให้ความสำาคญักับประสบการณ์ การไปพิจารณาสิ่งที่อยู่นอกเหนือประสบการณ์จงึเปน็สิง่ไร้ค่า ความจริงเป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได้และจะมคี่าเมือ่มนุษย์ได้คนได้ให้ความหมายแกม่ัน

การศึกษาในแนวทางประสบการณ์นิยม Experimentalism

เน้นการให้การศึกษาเพื่อให้คนรู้จกัคิด ปรับตัวให้เข้ากบัสังคมที่เปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม โรงเรียนควรเสริมสร้างประสบการณ์ที่ทำาให้เด็กสามารถดำารงชีวิตอยู่ในสังคมไดอ้ย่างมีความสุข หลักสูตรเน้นตัวเด็กและสังคม ส่งเสริมและฝึกฝนประชาธิปไตย และพัฒนาทักษะต่าง ๆ อย่างพร้อมมลู ให้เด็กฝึกฝนและแกป้ัญหาด้วยตนเอง ครูเป็นผู้ให้คำาแนะนำา

4. อตัถิภาวนิยม Existentialism ให้ความสำาคัญกับปัจเจกบุคคลอย่างเต็มที่ การเลือกและการตัดสินใจของแต่ละบคุคลสำาคญัที่สุด คนต้องมีเสรีภาพ และใช้เสรภีาพของตนเองอย่างอสิระโดยไม่ถูกกำาหนดโดยสังคม ศีลธรรม ค่านิยมต่าง ๆ รับผิดชอบต่อสิ่งที่ตนเองเลือก

การศึกษาในแนวทางอตัถภิาวนิยม Existentialism

เน้การสง่เสริมมนุษย์แต่ละคนให้รู้จกัพจิารณาและตัดสินสภาพและเจตจำานงที่มคีวามหมายต่อการดำารงชีวิตด้วยการเปดิโอกาสให้ผู้เรียนมีอสิระ เลือกสรรคณุธรรม ค่านิยมไดอ้ย่างเสรี รับผิดชอบต่อตนเอง ต่อข้อผู้พันต่างๆ ที่ตนเองมีอยู่ หลักสูตรเน้นการปฏิบัติจริงโดยนักเรียนวางแผนตามความสนใจ มอีสิระที่จะเรียนคนเดียวหรือเรยีนเป็นกลุ่ม

1. สารัตถนิยม Essentialism2. นิรันตรนิยม Perennialism3. พิพัฒนิยม Progressive

Education4. ปฏิรูปนิยม Reconstructionism

1. ปรชัญาสารัตถนิยม Essentialismยึดเนื้อหาเป็นหลักสำาคัญของการ

ศึกษา และเนื้อหาที่สำาคัญเน้นเนื้อหาที่ได้มาจากมรดกทางวัฒนธรรมของเรา ความรูใ้นปจัจบุันได้รับความสำาคัญน้อยเมื่อเปรียบเทียบกบัความรู้ในอดีต

1. ปรชัญาสารัตถนิยม Essentialismจดุมุง่หมายของการศึกษา

• ให้สาระอนัได้มาจากมรดกทางวัฒนธรรม• ให้เรียนรู้ความเชื่อ เจตคติ ค่านิยมของสังคมในอดีต• ธำารงรักษาสิ่งต่าง ๆ ในอดีตไว้• พัฒนาให้ผู้เรียนมีระเบียบวินัย ทำางานหนัก ใช้สติปญัญามาก รักษาอดุมคติอนัดีงามของสังคมไว้

2. ปรชัญานิรันตรนิยม Perennialismการศึกษาควรจะได้สอนสิ่งซึง่เป็น

นิรันดร ไมเ่ปลี่ยนแปลง มีคณุค่าไมว่่าจะเป็นยุคสมยัใด ได้แก่คณุค่าของของเหตุผลและคุณคา่ของศาสนา เนื้อหาวิชามคีวามสำาคัญแต่ไมใ่ช่เนื้อแท้ของการศึกษา แต่เป็นเพียงพาหนะที่จะนำาคนไปสู่สิ่งซึง่สูงกว่า คือการเป็นคนที่สมบรูณ์

2. ปรชัญานิรันตรนิยม Perennialismจดุมุง่หมายของการศึกษามุ่งสร้าง

คนเปน็มนุษย์ที่สมบูรณ์• สร้างให้ผู้เรียนรู้จกัและทำาความเข้าใจตนเองให้มากที่สดุ โดยเฉพาะในเรื่องของเหตุผลและสติปญัญา• มุ่งพัฒนาสติปัญญาและเหตุผลในตัวมนุษย์ให้ดีขึ้น สูงขึ้น สมบูรณ์ขึน้

3. ปรัชญาพิพฒันิยม Progressive Educationการศึกษาจะต้องพัฒนาเด็กทุก

ดา้นไม่เฉพาะดา้นสติปญัญาเท่านั้น โรงเรียนมคีวามสมัพนัธก์ับสังคมมากขึ้น เด็กจะต้องพร้อมที่จะอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ปรับตัวได้อย่างดี กระบวนการจดัการเรียนรู้มีความสำาคญัพอๆ กบัเนื้อหา เรื่องปัจจุบนัมคีวามสำาคัญกว่าอดีตหรืออนาคต

3. ปรัชญาพิพฒันิยม Progressive Educationจดุมุง่หมายของการศึกษา

• พัฒนาผู้เรียนทุกด้านทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม อาชีพ และสติปัญญาควบคูก่ันไป• ส่งเสริมความถนัด ความสนใจ และลักษณะพิเศษของผู้เรียนควบคู่กนัไปกับการพฒันาด้านอืน่ ๆ• ส่งเสริมการเรียนรู้ในสิ่งที่สัมพนัธ์สอดคล้องกบัชีวิตประจำาวันและสังคมของผู้เรียน

3. ปรัชญาพิพฒันิยม Progressive Educationจดุมุง่หมายของการศึกษา

• ส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตยทั้งในและนอกห้องเรียน•ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จกัตนเองและสังคม เพื่อให้สามารถปรับตัวเข้ากบัสังคมได ้ สามารถแก้ปญัหาได้

4. ปรัชญาปฏิรูปนิยม Reconstructionismการศึกษาควรจะช่วยปรับปรุง

พฒันาหรือปฏิรูปสังคมโดยมองว่าสังคมมีปญัหามากทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง จงึต้องหาทางแก้ปญัหา โดย สร้างค่านิยมและแบบแผนของสังคมขึน้ใหม่

4. ปรัชญาปฏิรูปนิยม Reconstructionismจดุมุง่หมายของการศึกษา

• ช่วยแกป้ัญหาของสงัคมที่เป็นอยู่• เป็นไปเพื่อส่งเสริม พัฒนาสังคมโดยตรง• สร้างระเบยีบใหมข่องสังคมจากพืน้ฐานเดมิที่มอียู่ โดยกระบวนการประชาธปิไตย• ให้ผู้เรียนเห็นความสำาคัญของสังคมควบคู่ไปกับตนเอง

ปร ัชญาการศึกษาไทย• กลุ่มอดุมคตินิยม

• กลุ่มปัญญานิยม• กลุ่มชุมชนนิยม• กลุ่มปฏบิัตินิยม• กลุ่มเทคโนโลยีนิยม