(religious reformation) - saipim.files.wordpress.com€¦ ·...

15
การปฏิรูปศาสนา (Religious Reformation) ขบวนการในยุโรปตะวันตกที่ปัจเจกชนและสถาบันต่างๆ แสดงความเห็น คัดค้านการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องตามหลักในคัมภีร์ไบเบิล

Upload: trinhkhanh

Post on 18-May-2018

215 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

การปฏิรูปศาสนา(Religious Reformation)

ขบวนการในยุโรปตะวันตกที่ปัจเจกชนและสถาบันต่างๆ แสดงความเห็นคัดค้านการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องตามหลักในคัมภีร์ไบเบิล

สาเหตุของการปฏิรูปศาสนา

ประชาชนไม่พอใจสันตะปาปาที่พระและบาทหลวงในกรุงโรมมีความเป็นอยู่อย่างฟุ่มเฟือย หรูหรา ทั้งยังเรียกเก็บภาษีบ ารุงศาสนาสูงขึ้น เพื่อน าเงินไปใช้จ่ายในคริสตจักรในกรุงโรม

เจ้าผู้ครองแคว้นต่างๆ ในยุโรปต้องการเป็นอิสระจากคริสตจักรที่มีสันตะปาปาเป็นผู้ปกครอง เนื่องจากสันตะปาปาเข้าไปยุ่งเกี่ยวอ านาจทางการเมือง

การศึกษาในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการท าให้ชาวยุโรปเห็นว่ามนุษย์สามารถท าความเข้าใจคัมภีร์ไบเบิลได้ด้วยตนเองมากกว่าที่จะผ่านพิธีกรรมของศาสนจักร

สาเหตุของการปฏิรูปศาสนา (ต่อ)

สันตะปาปาจูเลียสที่ 2 และสันตะปาปาลีโอที่ 1 ต้องการหาเงินในการก่อสร้างมหาวิหารเซนต์ปเีตอรท์ี่กรุงโรมจึงส่งคณะสมณทูตมาขายใบไถ่บาปในเยอรมนี

การเริ่มต้นการปฏิรูปศาสนา

***การปฏิรูปศาสนาเริ่มต้นในเยอรมนี ค.ศ. 1517 มาร์ติน ลูเธอร์(Martin Luther) นักบวชชาวเยอรมันได้เขียนญัตติ 95 ข้อ (Ninety-Five Theses) คัดค้านการขายใบไถ่บาปติดไว้หน้ามหาวิหารแห่งเมืองวิทเทนบูร์ก ญัตติของเขาได้รับการสนับสนุนอย่างกว้างขวางในเยอรมนี

เขาถูกประกาศให้เป็นบุคคลนอกศาสนา แต่ได้รับความอุปถัมภ์จากเจ้าชายเฟรเดอริก ผู้ครองแคว้นแซกโซนี

เขาได้แปลคัมภีร์ไบเบลิเป็นภาษาเยอรมัน ท าให้ความรู้ด้านศาสนาแพร่หลาย

เขาได้ก่อตั้งนิกายลูเธอร์ (Lutheranism) ซึ่งได้แพร่ขยายไปทั่วเยอรมนีและสแกนดิเนเวีย

ในสวิตเซอร์แลนด์ได้มีการปฏิรูปศาสนาโดย อุลริค ชวิงลี (Ulrich Zwingli) ชาวเยอรมัน ไฮริช บูลลิงเจอร์ (Heinrich Bullinger) และจอห์น คาลวิน (John Calvin) ชาวฝรั่งเศส ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งลัทธิคาลวินส์(นิกายคาลวิน : Calvinism) ที่แพร่หลายในสวิตเซอร์แลนด์ ฝรั่งเศส และสกอตแลนด์

Ulrich Zwingli Heinrich Bullinger John Calvin

ในอังกฤษ พระเจ้าเฮนรีที่ 8 ทรงขัดแย้งกับสันตะปาปาเรื่องการหย่าขาด

กับพระมเหสีองค์เดิมเพื่ออภิเษกสมรสใหม่ พระองค์จึงให้อังกฤษแยกตัวทางศาสนาออกจากศาสนจักร

ที่กรุงโรมโดยแต่งตั้งสังฆราชแห่งแคนเทอร์บิวรี (Archbishop of Canterbury) ขึ้นใหม่

ค.ศ. 1563 กษัตริย์อังกฤษ(สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบทที่ 1) ทรงประกาศตั้งนิกายอังกฤษ (Anglican Church) โดยกษัตริย์อังกฤษเป็นประมุขของศาสนา นิกายนี้ยอมรับพิธีกรรมต่างๆ ของนิกายโรมันคาทอลิก แต่ไม่ยอมรับนับถือสันตะปาปาที่กรุงโรมในฝรั่งเศส

การปฏิรูปได้แพร่ขยายจากเยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อังกฤษ ฮอลแลนด์ และกลุ่มสแกน- ดิเนเวีย ไปยังประเทศอื่นๆ ในยุโรป

การต่อต้านอย่างรุนแรงเกิดขึ้นในฝรั่งเศสและสเปน จนกลายเป็นสงครามศาสนา

เกิดนิกายใหม่ คือ นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestantism) หมายถึงผู้คัดค้าน ซึ่งต่อมาได้แยกเป็นนิกายต่างๆ มากมาย เช่น นิกายลูเธอร์แรน นิกายรีฟอร์ม นิกายเพรสไบทีเรียน นิกายแองกลิคัน เป็นต้น

การปฏิรูปศาสนาของคริสตจกัร

1. การประชมุสังคายนาแห่งเทรนต์ (Council of Trent) ระหว่าง ค.ศ. 1545-1547 และ ค.ศ. 1562-1563 เพื่อก าหนดระเบียบวินัยภายในคริสตจักร

บทสรุป

สันตะปาปาทรงเป็นประมุขของคริสต์ศาสนาการประกาศหลักธรรมต้องให้ศาสนจักรเป็นผู้ประกาศแก่ศาสนิกชนคัมภีรไ์บเบิลต้องเป็นภาษาละตินยกเลิกการขายใบไถ่บาป และต าแหน่งทางศาสนา

***ตั้งศาลศาสนาเพื่อลงโทษพวกนอกศาสนา และชาวคาทอลิกที่มีความเห็นแตกต่างจากศาสนจักร ซึ่งมีการลงโทษโดยเผาคนผิดทั้งเป็น

2. การปรับปรุงระเบียบวินัยของนักบวชและตั้งคณะนักบวชเพื่อการปฏิรูป เช่น คณะเยซูอิต ตั้งขึ้นใน ค.ศ. 1534 เพื่อจัดตั้งโรงเรียนสอนศาสนาและเผยแผ่ศาสนาไปยังประเทศต่างๆ

***คณะเยซูอิต (The Jesuit) ก่อตั้งโดยชาวสเปนชื่อ Ignatius Loyolaและได้รับการรับรองโดยพระสันตะปาปาพอลที ่3 เป็นสุดยอดของสมาคมลับในคริสตจักรคาทอลิคที่จะเข้าไปแทรกซึมกลุ่มโปรเตสแตนต์

บริจิตต์แห่งสวีเดน (Brigitt of Sweden)

ฟรังซีสแห่งปาโอลา (Francis of Paola)

ในอิตาลี

ผลของการปฏิรูปศาสนา

คริสตศาสนา แบ่งออกเป็น 2 นิกาย คือ นิกายโรมันคาทอลิก มีศูนย์กลางที่กรุงโรม มีสันตะปาปาเป็นประมุข นิกายโปรเตสแตนต์ ซึ่งแยกเป็นนิกายต่างๆ ได้แก่ นิกายลูเธอร์แรน

นิกายคาลวิน นิกายแองกลิคัน เป็นต้น ท าให้ความเป็นเอกภาพทางศาสนาสิ้นสุดลง

เกิดการกระตุ้นให้ศึกษาหลักธรรมทางคริสต์ศาสนามากยิ่งขึ้นในหมู่สามัญชน มีการ เผยแผ่คริสต์ศาสนาไปยังดินแดนต่างๆ

ผลของการปฏิรูปศาสนา (ต่อ)

สภาพสังคมเปลี่ยนไป นิกายโปรเตสแตนต์ได้สนับสนุนการประกอบอาชีพด้านการค้า และอุตสาหกรรม ระบบทุนนิยมในยุโรปจึงเจริญเติบโต

เกิดกระแสชาตินิยมในประเทศต่างๆ เนื่องจากนิกายโปรเตสแตนต์ส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่น และส่งเสริมให้อ านาจแก่ผู้ปกครองในท้องถิ่นเป็นตัวแทนของพระเจ้าในการปกครองประเทศ

เกิดสงครามศาสนาในยุโรปหลายครั้ง ส่งผลให้สถาบันกษัตริย์มีอ านาจเหนือคริสตจักรในที่สุด

สมาชิกกลุ่ม

นายณัฐกิตติ์ อินใจ เลขที่ ๒นายสหัสชัย อินวงศ์วาร เลขที่ ๗นางสาวการปฐม เกสรสุวรรณ เลขที่ ๑๓นางสาวศิโรรัตน์ เตชะแก้ว เลขที่ ๒๐

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๑