rmutl-pl-2010_003

47
ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna All rights reserved รายงานผลการวิจัย เครื่องปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือน Household Plate Type Machine for Producing Pellet Bio fertilizer สมบัติย มงคลชัยชนะ วิทยา พรหมพฤกษ ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงินงบประมาณแผนดิน ปงบประมาณ 2553 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เขตพื้นที่พิษณุโลก

Upload: choobunyen-kuptanawin

Post on 18-Jan-2016

8 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

รายงานผลการวิจัย เครื่องปั้นเม็ดปุ๋ยชีวภาพแบบจานสำหรับครัวเรือนHousehold Plate Type Machine for Producing Pellet Bio fertilizer

TRANSCRIPT

Page 1: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

รายงานผลการวิจัย เคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือน

Household Plate Type Machine for Producing Pellet Bio fertilizer

สมบัติย มงคลชัยชนะ วิทยา พรหมพฤกษ

ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงนิงบประมาณแผนดิน ปงบประมาณ 2553

มหาวิทยาลยัเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เขตพ้ืนที่พิษณุโลก

Page 2: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยเ ร่ืองเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือนสําเร็จดวยดีเพราะไดรับงบประมาณอุดหนุนการวิจัยเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จากสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติงบประมาณแผนดินป 2553 ขอบคุณมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนาเขตพ้ืนที่ พิษณุโลก ท่ีอนุเคราะหสถานท่ี อาจารยสุรีพรย ใหญสงาท่ีอนุเคราะหการแปลภาษา และครอบครัว ตลอดจนเพื่อนรวมงานท่ีใหกําลังใจและชวยเหลือมาตลอด

Page 3: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

Abstract

The research aims to construct organic fertilizer granulator for household use and also find its productive efficiency. Satisfaction of users is also included. The tested granulator has an inner disc’s diameter of 0.80meter and height of 0.15meter. The outer disc’s diameter is1.20 meter and height of 0.20meter. The productive efficiency was calculated at inclination angles of 300, 450 and 600 between the disc and horizontal plane. Speed of the disc started from 50 rpm to 500 rpm and beyond. Data were collected for amount of water used, capacity, and size of fertilizer granule. Data about satisfaction of users and suggestions were collected from 30 randomized samples of farmer sin Tambon Ban Krang, Muang district, Phitsanulok province. Results of the research indicate that, at inclination angle of 600 and speed of 100 rpm, the granulator’s capacity was at an average of 66.22kilograms per hour. About 65.97% of fertilizer granules were 3-6mm in size; about 9.24% were larger than 6mm in size; about 26.30% were smaller than3-1mm in size; and about 0.49% were smaller than1mm in size. Amount of water used was 72.52 cubic centimeters per kilograms yielded the best efficiency. Users’ satisfaction was in high level in all aspects. Factors that contributed to larger size and higher productivity are ability in granulating and amount of water used. Farmers paid high attention in quality of organic fertilizer and distribution of fertilizer granules when use in plantation.

Page 4: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

บทคัดยอ

การศึกษาวิจัยเร่ืองเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือนมีวัตถุประสงคเพ่ือใหไดมาซ่ึง

เคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือน เพื่อหาประสิทธิภาพเชิงผลผลิตเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือน เพื่อหาระดับความพึงพอใจของเกษตรกรที่มีตอเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือน โดยทดสอบกับเครื่องปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือนท่ีมีขนาดเสนผานศูนยกลางจานปนวงใน 0.80 เมตรขอบจานสูง 0.15 เมตรและจานปนวงนอก 1.20 เมตรขอบจานสูงจากขอบ 0.20 เมตร หาประสิทธิภาพเชิงผลผลิต ท่ีมุมเอียง 300 ท่ีเพลาจานปนกับระนาบในแนวนอน ความรอบท่ีเพลาจานปน เร่ิมตนท่ี 50 รอบตอนาที จนถึง ความเร็วรอบท่ี 500 รอบตอนาที หรือความเร็วรอบท่ีไมสามารถปนเปนเม็ดปุยได และทดลองซํ้ากับมุมเอียง , 450 และ 600 ตามลําดับ เก็บขอมูล ปริมาณนํ้าท่ีใช ความสามารถในการผลิต และขนาดความโตของเม็ดปุย สําหรับการหาระดับความพึงพอใจของเกษตรกรที่มีตอเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือนใชกลุมตัวอยางเลือกสุมแบบจงกับประชากรที่มีอาชีพเพาะปลูก ตําบล บานกราง อําเภอเมือง จังหวัด พิษณุโลก ตอบแบบสอบถามจํานวน 30 ทาน เก็บขอมูลหาระดับความพึงพอใจ และขอเสนอแนะจากผูตอบแบบสอบถาม จากผลการทดลองพบวา มุมเอียง 600 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอนท่ีความเร็วรอบ 100 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปน ผลิตปุยชีวภาพเฉล่ีย 66.22 กิโลกรัมตอช่ัวโมง ขนาดความโตของเม็ดปุยชีวภาพท่ีเหมาะสมระหวาง 3-6 มิลลิเมตรเฉล่ีย 65.97 % ขนาดความโตใหญกวา 6 มิลลิเมตรเฉล่ีย 9.24 % ขนาดความโตเล็กกวา 3-1 มิลลิเมตรเฉล่ีย 26.30 % และขนาดความโตเล็กกวา 1 มิลลิเมตร-เปนผงเฉล่ีย 0.49 % ปริมาณนํ้าท่ีใช 72.52 ลูกบาศกเซนติเมตรตอกิโลกรัม มีประสิทธิภาพเชิงผลผลิตดีท่ีสุด ระดับความพึงพอใจของเกษตรกรท่ีมีตอเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือนในทุกขอและโดยภาพรวมอยูในระดับดี ปจจัยท่ีสงผลตอขนาดความโตและผลผลิตท่ีมากข้ึน คือ ความสามารถในการปนเม็ดปุย ปริมาณการใหน้ํา เปนตน เกษตรกรใหความสําคัญในเร่ืองคุณภาพปุยชีวภาพ และการกระจายของเม็ดปุยเม่ือนําไปหวานในแปลงเพาะปลูก

Page 5: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

สารบัญ

หนา

สารบัญ 1 สารบัญตาราง 2 สารบัญภาพ 3 คํานํา 5 วัตถุประสงค 6 ขอบเขตของการวิจัย 6 นิยามศัพท 6 ตรวจเอกสาร 6 อุปกรณและวิธีการ 15 ผลการวิจัยและการอภิปรายผลการทดลอง 18 สรุปผลการทดลองและขอเสนอแนะจากผลการทดลอง 28 บรรณานุกรม 30 ภาคผนวก ก ภาพแสดงข้ันตอนการใชปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือน 31 ภาคผนวก ข ภาพแสดงกิจกรรมเกี่ยวกับเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพ 34 ภาคผนวก ค แบบสอบถามงานวิจัย 39

1

Page 6: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

สารบัญตาราง

ตารางท่ี หนา

1 ตารางท่ี 1 แสดงผลการทดลองท่ีมุมเอียง 300 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน ท่ีความเร็วรอบ 50 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปน 18

2 ตารางท่ี 2 แสดงผลการทดลองท่ีมุมเอียง 30 0 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน ท่ีความเร็วรอบ 100 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปน 19

3 ตารางท่ี 3 แสดงผลการทดลองท่ีมุมเอียง 300 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน ท่ีความเร็วรอบ 150 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปน 19

4 ตารางท่ี 4 แสดงผลการทดลองท่ีมุมเอียง 300 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน ท่ีความเร็วรอบ 200 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปน 20

5 ตารางท่ี 5 แสดงผลการทดลองท่ีมุมเอียง 300 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน ท่ีความเร็วรอบ 250 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปน 20

6 ตารางท่ี 6 แสดงผลการทดลองท่ีมุมเอียง 450 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน ท่ีความเร็วรอบ 50 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปน 21

7 ตารางท่ี 7 แสดงผลการทดลองท่ีมุมเอียง 450 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน ท่ีความเร็วรอบ 100 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปน 21

8 ตารางท่ี 8 แสดงผลการทดลองท่ีมุมเอียง 450 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน ท่ีความเร็วรอบ 150 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปน 22

9 ตารางท่ี 9 แสดงผลการทดลองท่ีมุมเอียง 450 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน ท่ีความเร็วรอบ 200 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปน 22

10 ตารางท่ี 10 แสดงผลการทดลองท่ีมุมเอียง 450 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน ท่ีความเร็วรอบ 250 รอบตอนาที ท่ีเพลาจานปน 23

11 ตารางท่ี 11 แสดงผลการทดลองท่ีมุมเอียง 60 0 ของเพลาจานปนกบัระนาบแนวนอน ท่ีความเร็วรอบ 50 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปน 23

12 ตารางท่ี 12 แสดงผลการทดลองท่ีมุมเอียง 600 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน ท่ีความเร็วรอบ 100 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปน 24

13 ตารางท่ี 13 แสดงผลการทดลองท่ีมุมเอียง 600 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน ท่ีความเร็วรอบ 150 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปน 24

2

Page 7: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

สารบัญตาราง(ตอ)

ตารางท่ี หนา 14 ตารางท่ี 14 แสดงผลการทดลองท่ีมุมเอียง 600 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน

ท่ีความเร็วรอบ 200 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปน 25 15 ตารางท่ี 15 แสดงผลการทดลองท่ีมุมเอียง 600 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน

ท่ีความเร็วรอบ 250 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปน 25 16 ตารางท่ี 16 แสดงผลการประเมินหาระดับความพึงพอใจของเกษตรกรที่มีตอ

เคร่ืองปนเม็ดชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือน 27 17 ตารางท่ี 17 แสดงขอเสนอแนะของเกษตรกรท่ีมีตอ เคร่ืองปนเม็ดชีวภาพแบบจาน

สําหรับครัวเรือน 27

3

Page 8: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

สารบัญภาพ

ภาพท่ี หนา 1 ภาพท่ี 1 แสดงเคร่ืองปนเม็ดปุยท่ีเกษตรใช 9 2 ภาพท่ี 2 แสดงสายพานและลอสายพานล่ิม 10

3 ภาพท่ี 3 แสดงตลับลูกปนชนดิลูกกล้ิงรับแรงแนวแกนแถวเดยีว 11 4 ภาพท่ี 4 แสดงตัวอยางของตลับลูกปนชนิดลูกกล้ิงกลมตามDIN625 12 5 ภาพท่ี 5 แสดงสวนตางของเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพสําหรับครัวเรือน 16

ภาคผนวก ก ภาพท่ี 1 ภาพท่ี 1 แสดงการใสปุยชีวภาพผงลงจานปน 32 2 ภาพท่ี 2 แสดงสวิตชมอเตอรและสวิตชใหน้ํา 32 3 ภาพท่ี 3 แสดงการนําปุยชีวภาพท่ีติดจานปนออก 32 4 ภาพท่ี 4 แสดงการการควบคุมน้ําขณะปน 33 5 ภาพท่ี 5 แสดงปุยชีวภาพเม็ดท่ีผานการปนเปนเม็ดแลว 33

ภาคผนวก ข ภาพท่ี หนา

1 ภาพท่ี 1 แสดงการเตรียมพรอมเพื่อการทดลอง 35 2 ภาพท่ี 2 แสดงตัวอยางมุมท่ีทดสอบ 35 3 ภาพท่ี 3 แสดงการวัดความเร็วรอบเพื่อการทดสอบ 35 3 ภาพท่ี 4 แสดงเกษตรกรประเมินเม็ดปุยชีวภาพท่ีปนได 36 4 ภาพท่ี 5 แสดงเกษตรกรประเมินเม็ดเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพ 36 5 ภาพท่ี 6 แสดงการคัดขนาดเม็ดปุยชีวภาพ 36 6 ภาพท่ี 7 แสดงการคัดขนาดเม็ดปุยชีวภาพ 37 7 ภาพท่ี 8 แสดงขนาดความโตของเม็ดปุยชีวภาพมากกวา6 มิลลิเมตร 37 8 ภาพท่ี 9 แสดงขนาดความโตของเม็ดปุยชีวภาพระหวาง3-6มิลลิเมตร 37 9 ภาพท่ี 10 แสดงขนาดความโตของเม็ดปุยชีวภาพนอยกวา 3 - 1มิลลิเมตร 38 10 ภาพท่ี 11 แสดงขนาดความโตของเม็ดปุยชีวภาพนอยกวา 1 มิลลิเมตร-เปนผง 38

4

4

Page 9: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

5

คํานํา

ในสถานการณปจจุบันประเทศไทยประสบกับสภาวะวิกฤตการณทางเศรษฐกิจการพัฒนาทางภาคเกษตรจึงเปนวิธีการหนึ่งท่ีจะทําใหประชาชนมีรายไดทดแทนจากภาคอุตสาหกรรม การพัฒนาดานการเกษตรมีปจจัยสําคัญท่ีตองพัฒนาคือ ความอุดมสมบูรณของดิน ดังนั้นการใชปุยจึงเปนวิธีการหนึ่งท่ีมีประสิทธิภาพสูงในการเพิ่มการเจริญเติบโตและเพ่ิมผลผลิตของพืช นอกจากจะมีการใชปุยเคมีกับพืชแลวการนําเทคโนโลยีเกี่ยวกับปุยชนิดอ่ืน เชน ปุยชีวภาพหรือปุยอินทรียก็จะเปนทิศทางหนึ่งท่ีทําใหการเพิ่มความอุดมสมบูรณของดินเปนไปอยางยั่งยืน

ปุยชีวภาพเปนปุยท่ีเกิดจากการท่ีนําเอาจุลินทรีมาใชปรับปรุงดินทางชีวภาพ กายภาพ ทางเคมีชีวะและยอยสลายอินทรียวัตถุตลอดจนการปลดปลอยธาตุอาหารจากพืช อินทรียหรืออนินทรีวัตถุ ปุยชีวภาพนอกจากมีสวนชวยเพิ่มธาตุอาหารพืชและดินแลวปุยชีวภาพยังสามารถชวยเพิ่มประสิทธิภาพรวมกับการใชปุยเคมี ทําใหเกษตรกรลดปริมาณการใชปุยเคมีลงและยังชวยลดมลภาวะ ปรับสภาพแวดลอมใหสมดุลเพิ่มศักยภาพในการผลิตพืช แตอยางไรก็ตาม การนําปุยชีวภาพมาใชตองประสบปญหา การฟุงกระจายของปุยชีวภาพในขณะหวานลงในแปลงเพาะปลูก ซ่ึงเปนอันตรายตอผูใชท่ีตองสูดฝุนละอองจากปุยชีวภาพ ถาเปนพื้นท่ีเพาะปลูกจํานวนหลายๆไร ตองใชปุยชีวภาพ เปนจํานวนมาก ทําใหตองเสียคาใชจายในดานแรงงาน เพื่อทําการขนยายหรือหวานลงในพื้นที่เพาะปลูก ซ่ึงเปนปญหาอุปสรรคตอการใชปุยชีวภาพอยางมาก หากมีหนทางชวยแกปญหาดังกลาวได ปุยชีวภาพจะไดรับความนิยมใชมากข้ึนตามลําดับ

สําหรับเกษตร ตําบลบานกราง อ.เมือง จ.พิษณุโลกนั้น ประชากรสวนใหญมีอาชีพเพาะปลูกขาว ซ่ึงตองใชปุยเคมีเพื่อเรงการเจริญเติบโตของพืช แตสงผลกระทบตอสภาพดิน ดังนั้นทางเลือกหนึ่งคือการใชปุยชีวภาพ ท่ีไมสงผลกระทบตอสภาพดินแตปญหาของเกษตรกรคือ การใชปุยชีวภาพท่ีตองประสบปญหาการฟุงกระจายของปุยชีวภาพในขณะหวานลงในแปลงเพาะปลูก ซ่ึงเปนอันตรายตอผูใชท่ีตองสูดฝุนละอองจากปุยชีวภาพ พื้นท่ีเพาะปลูกจํานวนหลายๆไรตองใชปุยชีวภาพเปนจํานวนมาก ตองเสียคาใชจายในดานแรงงาน เพื่อทําการขนยาย หรือ หวานลงในพื้นที่เพาะปลูก ถึงแมจะมีเคร่ืองปนเม็ดปุย ท่ีมีจําหนายตามทองตลาดแตราคาอยูระหวางหาหม่ืนถึงแสนบาท เกษตรกรไมมีศักยภาพในจัดซ้ือมาใชงานได

ดังนั้นผูดําเนินการวิจัยจึงไดเล็งเห็นความสําคัญ ถึงอุปสรรค ในการนําปุยชีวภาพมาใชกับแปลงเพาะปลูกของเกษตรกร จึงมีแนวคิดในการจัดทําเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพข้ึน เพื่อความสะดวกในการใชงานและลดคาใชจายในเร่ืองแรงงาน สําหรับเกษตร ตําบลบานกราง อ.เมือง จ.พิษณุโลก

Page 10: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

6

วัตถุประสงค วัตถุประสงคของการทํางานวิจยัในคร้ังนี ้ คือ

1 เพื่อใหไดมาซ่ึงเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือน 2 เพื่อหาประสิทธิภาพเชิงผลผลิตเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับ

ครัวเรือน 3 เพื่อหาระดับความพึงพอใจของเกษตรกรท่ีมีตอเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพแบบ

จานสําหรับครัวเรือน ขอบเขตของการวิจัย

เคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือนลักษณะเปน2ช้ันอยูในจานเดียวกันขนาดเสนผานศูนยกลางของจานปนวงใน 0.80 เมตรขอบจานปนสูง 0.15 เมตรและวงนอก 1.20 เมตรขอบจานปนสูง 0.20 เมตร ปุยชีวภาพตองผานขบวนการทําใหเปนผงละเอียดมาแลว ทดลองชวงวันท่ี 15 กันยายน 2553 – 20 ตุลาคม 2553 ณ คณะวิกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีลานนา เขตพ้ืนท่ี พิษณุโลก นิยามศัพท ปุยชีวภาพ หมายถึงปุยอินทรียท่ีไดจากการหมักวัสดุอินทรียโดยผานขบวนการทําใหเกิดการยอยสลาย

Page 11: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

7

ตรวจเอกสาร ดิน ปญหาดินขาดความอุดมสมบูรณนับเปนปญหาสําคัญท่ีมีสาเหตุมาจากหลายปจจัย ไดแก

การปลูกพืชชนิดเดียวอยางตอเนื่อง การใชปุยเคมีอยางเดียวมาเปนเวลานาน การไถพรวนท่ีผิดวิธีฯลฯ ทําใหผลผลิตตอไรต่ํา ตนทุนการผลิตของเกษตรกรสูงข้ึนเพราะตองนําปุยเคมีมาใชในปริมาณท่ีมาก สูญเสียเงินตราตางประเทศเพราะตองนําเขาจากตางประเทศ แนวทางแกไขปญหานี้ คือทําใหเกษตรกรตระหนักถึงการปรับปรุงบํารุงดินดวยการใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี เชนการใชปุยชีวภาพ

ปุยชีวภาพ ปุยชีวภาพ (Biofertilizer) มีการเรียกชื่อแตกตางกันออกไป เชน น้ําสกัดชีวภาพ ปุยน้ํา

ชีวภาพ น้ําหมักพืช (Fermented Plant Juice-FPJ) และปุยชีวภาพแหงหรือปุยหมักชีวภาพ สวนความหมายของปุยแตละช่ือเรียกจะคลายคลึงกัน มีสวนท่ีแตกตางคือ วิธีการทําและสภาพปุยท่ีผลิตออกมาความหมายของปุยแตละช่ือมีดังนี้

น้ําสกัดชีวภาพคือของเหลวสีน้ําตาลไหมท่ีไดรับการนําสวนตางๆของพืชมาหมักกับกากน้ําตาล(Molasses) ประมาณ 7 วันจะไดของเหลวท่ีมีท้ังจุลินทรียและสารอินทรียหลายชนิดท่ีเปนประโยชนตอการเกษตรคือ มีจุลินทรียท่ีทําการยอยสลายอินทรียวัตถุในดินใหเปนปุยและสารอินทรียท่ีมีอยูในของเหลวจะเปนปุยโดยตรง

ปุยน้ําชีวภาพ เปนปุยน้ําท่ีไดจากการยอยสลายเศษวัสดุเหลือใชจากสวนตางๆ ของพืช หรือสัตว โดยผานกระบวนการหมักในสภาพท่ีไมมีออกซิเจน มีจุลินทรียทําหนาท่ียอยสลายเศษซากพืชและซากสัตวเหลานั้นใหกลายเปนสารละลายจุลินทรียท่ีพบในปุยน้ําชีวภาพมีท้ังท่ีตองการออกซิเจนและไมตองการออกซิเจน

น้ําหมักพืช(Fermented Plant Juice-FPJ) ผลิตภัณฑนี้ทํางาย มีสรรพคุณหลากหลาย เชนเดียวกับสาร อี-เอ็ม การหมักจะใชเศษพืชกับกากน้ําตาล ในการนําไปใชจะใชน้ําหมักพืชรวมกับการปรับปรุงดินกับปุยคอกจากมูลสัตว

ปุยชีวภาพแหงหรือปุยหมักชีวภาพแหง คือปุยอินทรียท่ีไดจากการหมักวัสดุอินทรีย โดยใชหัวเช้ือปุยชีวภาพท่ีมีจุลินทรียเปนจํานวนมากชวยยอยสลาย การหมักมีการเพิ่มอาหารใหจุลินทรียโดยใช รําละเอียด และกากน้ําตาล เพื่อใหกระบวนการหมักเกิดไดรวดเร็ว ใชเวลาในการหมักประมาณ 3-7 วัน คุณภาพของปุยชีวภาพท่ีไดข้ึนกับวัสดุท่ีใช

วิธีทําปุยชีวภาพแหง นํามูลสัตวแหง 1 ปบ, แกลบดํา 1 ปบ รําละเอียด 1กิโลกรัม ผสมคลุกเคลากับวัสดุเหลือใช

ทางการเกษตรที่หาไดงายในทองถ่ิน เชน เปลือกถ่ัว ฟางขาว เศษใบไม แกลบ กากออย ข้ีเล่ือย ซังขาวโพด ฯลฯ ปริมาณ 1 ปบ นําน้ํา 10ลิตร ผสมปุยน้ําชีวภาพ 2 ชอนแกง กากน้ําตาล 2 ชอนแกง นํา

Page 12: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

8

สวนผสมรดบนสวนผสม ผสมคลุกเคลาใหเขากันนําสวนผสมกองบนพ้ืนซิเมนต สูงจากพ้ืน 1 คืบ คลุมดวยกระสอบปานท้ิงไว 3 วัน ก็นําไปใชไดลักษณะปุยท่ีดี มีราขาว มีกล่ินรา หรือเห็ด ไมรอนมีน้ําหนักเบา

วิธีการใชปุยชีวภาพแหง ก.ใชผสมดินปลูกในอัตรา ปุยชีวภาพแหง: ดินปลูก 1:1 หรือ 1:2 ข.ใชปรับปรุงบํารุงดินกอนปลูกพืชโดยใชปุยชีวภาพแหง 1กิโลกรัมตอพื้นท่ี 1ตารางเมตร ค.ใชรองกนหลุมปลูกพืชผัก เชนกะหลํ่าปลี ถ่ัวฝกยาว แตง ฟกทอง ในอัตรา 1 กํามือตอ 1

หลุมปลูก ง.ใชรองกนหลุมปลูกไมผลไมยืนตน ในอัตรา 1-2 บุงกี้ ตอ 1 หลุมปลูก จ.ไมดอกไมประดับ ไมกระถาง ควรใชปุยชีวภาพแหง 1 กํามือ ทุก 7 วัน วิธีการเก็บรักษา ปุยชีวภาพแหงใหบรรจุไวในกระสอบหรือถุงท่ีแหงเก็บในท่ีรมไมเปยกช้ืน ขนาดของเม็ดปุยชีวภาพ (http://www.geocities.com/fftkorat/biofertilizer.html)

ขนาดของเม็ดปุย (Particle Size) ขนาดของเม็ดปุยมีความสัมพันธอยางใกลชิดกบัการละลายไดของปุยโดยเฉพาะปุยท่ีละลายไดนอย เชน ปุยหินฟอสเฟตท่ีมีเม็ดเล็กจะสามารถละลายนํ้าและเปนประโยชนตอพืชมากกวาปุยหนิฟอสเฟตท่ีมีเม็ดใหญ นอกจากนี้ขนาดของเม็ดปุยยังมีผลตอการจับตัวกันเปนกอนของปุยเคมี (Caking) และการแยกตัวของแมปุยในปุยผสมแบบคลุกเคลา (Bulk Blending Fertilizer) กลาวคือ ปุยท่ีมีเม็ดเล็กมีแนวโนมท่ีจะเกิดการจบัตัวกนัเปนกอนไดมากกวาปุยชนดิเดียวกนัท่ีมีเม็ดใหญกวา และปุยผสมท่ีประกอบดวยแมปุยชนิดตางๆ โดยท่ีมีขนาดของเม็ดปุยแตกตางกัน จะเกดิการแยกตัวของสวนผสมมากกวาปุยผสมที่ประกอบดวยแมปุยชนิดตาง ๆ ท่ีมีขนาดเม็ดเทากัน

ขนาดของเม็ดปุย แมปุยท่ีใชตองมีขนาดเม็ดปุยใกลเคียงกันและมีการกระจายขนาดของเม็ดปุยท่ีสมํ่าเสมอ เพราะเม่ือนํามาผสมกันแลวจะไดปุยผสมท่ีมีคุณภาพดี ไมมีปญหาเกี่ยวกับการแยกตัวของแมปุยแตละตัว เชน ปุยโพแทสเซียมคลอไรค(0-0-60) ชนิดเม็ดจะเหมาะสมกับการนํามาผสมปุยใชเองมากกวาชนิดผง เพราะวาเม่ือนํามาผสมกับแมปุยชนิดอ่ืนมักจะตกอยูใตกองและไมเขากัน เปนตน (http://courseware.rmutl.ac.th/courses/53/unit1503.htm#head5)

สําหรับการวิจัยเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือน กําหนดขนาดของเม็ดปุยดังนี้

ขนาด ความหมาย ขนาดความโตใหญกวา 6 ม.ม. ขนาดใหญเกนิไป ขนาดความโตระหวาง 3 ม.ม.- 6 ม.ม. ขนาดท่ีเหมาะสม (ขนาดตามทองตลาด) ขนาดความโตนอยกวา 3 ม.ม. - 1 ม.ม. ขนาดเล็กเกินไป

Page 13: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

9

ขนาดความโตเล็กกวา 1 ม.ม. - เปนผง ไมสามารถปนเปนเม็ดได

ปญหาของเกษตรเกี่ยวการใชปุยชีวภาพ

เศรษฐกิจในปจจุบัน ยอมรับวาภาคการเกษตรมีความสําคัญ แตส่ิงท่ีตองคํานึงถึงคือการที่ผลผลิตจะดี ตองมีการใสปุยเพื่อบํารุงดินใหพืชเจริญงอกงาม การใชปุยเคมีอยางเดียว เม่ือใชไปนานๆ จะสงผลตอการเส่ือมสภาพของดิน นอกจากนี้ยังประสบปญหาปุยเคมีมีราคาแพง ปุยปลอมและปุยไมไดคุณภาพ ทางเลือกหน่ึงท่ีเกษตรกร ต.บานกราง อ.เมือง จ.พิษณุโลกใหความสนใจ คือการใชปุยชีวภาพท่ีไดจากทองถ่ิน แตตองประสบปญหาในเร่ืองการนําไปใชงาน เพราะปุยชีวภาพมีลักษณะเปนฝุนผงการนําไปใชในแปลงเพาะปลูกไดลําบาก ดังนั้นทางเลือกของเกษตรจึงไดนําปุยชีวภาพมาผานขบวนการปนเปนเม็ด แตเคร่ืองปนเม็ดปุยท่ีใชอยูในปจจุบัน เปนเคร่ืองท่ีไดดัดแปลงมาจากเคร่ืองบดอาหาร ถึงแมจะมีตนทุนท่ีถ ูกกวา แตเม่ือพิจารณาอยางโดยละเอียดรอบคอบแลวพบ

ภาพท่ี 1 แสดงเคร่ืองปนเม็ดปุยท่ีเกษตรใช วา ความปลอดภัยในการใชงานตํ่า อัตราการปอนต่ํา และเม็ดปุยท่ีไดเปนมีลักษณะทรงกระบอกขนาดเล็กและส้ัน สําหรับเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพที่มีจําหนายตามทองตลาด มีราคาแพงตกราคาเคร่ืองละหาหม่ืนถึงแสนบาท ซ่ึงเกษตรไมมีศักยภาพซ้ือมาใชงานได การรวมกลุมของเกษตรคอนขางลําบาก ถาเปนสวนบุคคลหรือกลุมเล็กๆการดูแลเอาใจใสจะเปนไปดวยดี

การออกแบบและสรางเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือน

การคํานวณโครงสราง (http://www.saneengineer.com/index.php) หลักการคํานวณโครงสรางมีดังน้ี

1 ช้ินสวนจะรับแรง 2แรงเทานั้น คือแรงดึงกับแรงกดในทิศทางตามแนวยาวของช้ินสวนโดยแรงท้ัง 2 แรงมีขนาดท่ีเทากันแตมีทิศทางตรงกันขามกัน

Page 14: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

10

2 น้ําหนักของช้ินสวนไมนํามาคํานวณ เพราะมีคานอยมากเมื่อเทียบกับแรงภายนอกมากระทํา แตถาตองการคํานวณให สมมุติแรงกระทําท่ีปลายช้ินสวนโครงสราง ใหแรงแตละขางรับน้ําหนักคร่ึงหนึ่งของน้ําหนักวัตถุ

3 ช้ินสวนท่ีทําการเช่ือมหรือการย้ําใหถือวาช้ินสวนนั้นยึดดวยสลัก 4 แรงภายนอกที่กระทําตอโครงสรางใหถือวากระทําท่ีสลักยึดไมใชกระทําท่ีสวนอ่ืนๆ

ของช้ินสวน 5 การคํานวณโครงสรางโดยการแตกแรงและการใชโมเมนตในการแกปญหาแรงกระทําตอ

ช้ินสวนตางๆของโครงสราง สายพานและลอสายพาน (http://www.saneengineer.com/index.php) ลอสายพานล่ิมตามมาตรฐานของDIN2217 ลอสายพานล่ิมเปนแบบรองเดียวหรือหลายรอง

มุมรวมของรองลอสายพานลิ่มเทากับ 32องศา 34ลิปดาและ38องศา โดยลอสายพานท่ีมีขนาดเสนผานศูนยกลางโตกวาจะมีมุมรองลอสายพานท่ีโตกวารองลอสายพานจะมีการผลิตใหสายพานท่ีสวมประกอบแลวไมเลยพนจากขอบรองลอสายพานและจะตองไมจมอยูในรองลอสายพานไมเชนนั้นสายพานจะสูญเสียปฏิกิริยา ลักษณะของลอสายพานและสายพานล่ิมลักษณะ ดังภาพท่ี 2

ภาพท่ี 2 แสดงสายพานและลอสายพานล่ิม การคํานวณหาขนาดของลอสายพานและความยาวสายพาน

ขนาดเสนผานศูนยกลางของลอสายพานและความยาวของสายพานสามารถคํานวณหาไดจากสมการท่ี 1 และ 2 ตามลําดับ N2 = (D1×N1)/D2 (1) L = 2C+1.57(D2+D1) + (D2+D1)/4C (2)

เม่ือ C = ระยะหางระหวางจุดกึง่กลางของเพลาขับกับเพลาตาม (เมตร) D1 = เสนผานศูนยกลางของลอสายพานขับ (เมตร) D2 = เสนผานศูนยกลางของลอสายพานตาม (เมตร) L = ความยาวของสายพาน (เมตร) N1 = ความเร็วรอบเพลาขับ (รอบตอนาที)

Page 15: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

11

N2 = ความเร็วรอบเพลาตาม (รอบตอนาที) อัตราทดของสายพานล่ิมหรือสายพานตัวว ีมีหนาตัดเปนรูปส่ีเหล่ียมคางหมู มีวิธีการ

คํานวณจากสมการท่ี 3 ดังนี ้

เม่ือ

i = อัตราทด n1 = ความเร็วรอบของลอขับ (รอบ/นาท)ี n2 = ความเร็วรอบของลอตาม (รอบ/นาท)ี dm1 = ขนาดเสนผานศูนยกลางเฉล่ียของลอขับ (เมตร) dm2 = ขนาดเสนผานศูนยกลางเฉล่ียของลอตาม (เมตร)

เพลา (http://www.saneengineer.com/index.php) เพลาเปนช้ินสวนเคร่ืองจักรกลที่หมุนไดเพลาจะรับโมเมนตบิดท่ีถายภาระมาจากลอ

สายพาน เพลาจึงสามารถรับภาระบิดและภาระดัด สําหรับเพลาที่ใชกับเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพ คือ เพลาสงกําลัง (Transmission Shafts) เพลาชนิดนี้ใชรับท้ังการบิดและการดัดผสมกัน

การคํานวณหาขนาดของเพลาสงกําลัง การหาคํานวณโมเมนตดัดสูงสุดท่ีกระทํากับเพลาสงกําลัง ตามหลักการออกแบบเพลาของ

ASME Code ดังสมการท่ี 4 d = í5.1/tp {(CmM) 2+ (CtT) 2}1/2ý1/3 (4)

tp = 0.03Sy เม่ือ

Cm = ตัวประกอบการกระตุก (Shock) Ct = ตัวประกอบความลา (Fatigue) d = เสนผานศูนยกลางของเพลา (เมตร) M = โมเมนตดัดท่ีหนาตัดวกิฤติ (นิวตัน.เมตร) Sy = Yield Strength (นิวตันตอตารางเมตร) T = โมเมนตบิดที่หนาตัดวกิฤติ (นวิตัน.เมตร) tp = Shear Strength (นิวตันตอตารางเมตร)

(3)

Page 16: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

12

ตลับลูกปน (http://www.saneengineer.com/index.php) ตลับลูกปนชนิดลูกกล้ิงรับแรงแนวแกนแถวเดียว(Thrust Ball Bearing) เปนตลับลูกปนท่ี

ลูกกล้ิงยอมรับแรงแนวแกนแถวเดียวมีวงแหวน 2 วง วงหน่ึงสวมกับเพลา วงท่ีสองสวมอัดเขากับตัวเรือนตลับลูกปนชนิดนี้มีรูปรางลักษณะดังภาพท่ี 3

ภาพท่ี 3 แสดงตลับลูกปนชนดิลูกกล้ิงรับแรงแนวแกนแถวเดยีว

ขนาดของตลับลูกปน

ขนาดของลูกปนไดมีการกําหนดไวเปนมาตรฐานดังนั้นในทางปฏิบัติขนาดของตลับลูกปนจะตองเลือกมาจากคูมือของตลับลูกปนนั้นๆ ส่ิงท่ีสําคัญของตลับลูกปนคือขนาดเสนผานศูนยกลางของรู ขนาดเสนผานศูนยกลางภายนอก ความกวางและมุมตางๆ โดยท่ัวไปมักจะใชขนาดเสนผานศูนยกลางของรูเปนหลัก และพิจารณารวมกับขนาดเสนผานศูนยกลางวงภายนอก และความหนาท่ีตางกันออกไปตามขนาดท่ีระบุ ดังภาพท่ี 4

ภาพท่ี 4 แสดงตัวอยางของตลับลูกปนชนิดลูกกล้ิงกลม ตามDIN625

Page 17: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

13

แบบประเมินหาระดับความพึงพอใจของเกษตรกรท่ีมีตอเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือน แบบประเมินท่ีเลือกใชในงานวิจัยคร้ังนี้ในตอนที่1ใชแบบมาตราสวนประมาณคาแบบ 5 ระดับ ดังนี้

สําหรับหลักเกณฑในการแปลความหมายของคาเฉล่ียท่ีไดจากแบบประเมินนัน้มีดังนี้

ในสวนของตอนที่ 2 เปนแบบสอบถามแบบปลายเปดเพื่อเปดโอกาสใหเกษตรกรไดแสดงความคิดเหน็อยางเสรี ขอคิดเห็นท่ีไดจะนํามาวิเคราะหเพือ่จัดแบงกลุมของขอมูลไวในกลุมเดยีวกันและนํามาวิเคราะหหาคาความถ่ีของขอมูล ลงในตารางเพ่ือแจกแจงความถ่ีตอไป (ธานินทร, 2548)

งานวิจัยท่ีเก่ียวของ ทรงชัย วิริยะอําไพวงศ และคณะฯไดพัฒนาเคร่ืองตนแบบผลิตปุยอินทรียเม็ดท่ีใชพลังงาน

ต่ําเนื่องจากเคร่ืองผลิตปุยเม็ดสวนใหญมักจะใชพลังงานคอนขางสูง เคร่ืองตนแบบนี้ใชมอเตอรตนกําลังเพียง 1 แรงมา และทดรอบดวยลอสายพานเพื่อเพิ่มแรงบิดใหกับเพลาลูกรีด จากผลการทดลองพบวา อัตราสวนผสมโดยมวลของผงปุยกับน้ําท่ีนํามารีดเปนเม็ดท่ีเหมาะสมในการทําปุยเม็ดอยูท่ี 1 ตอ 0.4 กําลังการผลิตปุยเม็ดของเคร่ืองตนแบบโดยเฉล่ีย 72 กิโลกรัมตอช่ัวโมง และ

คาน้ําหนกัของตัวเลือก ระดับความคิดเห็น 5 ดีมาก 4 ดี 3 ปานกลาง 2 นอย 1 นอยมาก

คาเฉล่ีย ระดับความคิดเห็น 4.50-5.00 ดีมาก 3.50-4.49 ดี 2.50-3.49 ปานกลาง 1.50-2.45 นอย 1.00-1.49 นอยมาก

Page 18: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

14

ความส้ินเปลืองพลังงานขณะท่ีมีภาระการทํางานโดยเฉล่ีย 545.6 วัตต นอกจากนี้การวิเคราะหเศรษฐศาสตรท้ังตนทุนและคาใชจายในการดําเนินการเปรียบเทียบกับเคร่ืองผลิตปุยเม็ดท่ีใชเคร่ืองยนตดีเซลเปนตนกําลัง โดยเบ้ืองตนพบวาตนทุนและคาใชจายในการดําเนินการตํ่ากวา ในขณะท่ีกําลังการผลิตตํ่ากวาเคร่ืองผลิตปุยเม็ดท่ีใชเคร่ืองยนตดีเซลเปนตนกําลังระยะเวลาคืนทุนใกลเคียงกัน(ทรงชัยและคณะ,2547)

อาจารยพิทยา ภูผิวโคก สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานวิทยาเขตสกลนคร ไดปรับปรุงขอบกพรองของเคร่ืองอัดปุยเม็ดชีวภาพตนแบบมีความสูง 105เซนติเมตร ซ่ึงเคร่ืองอัดปุยเม็ดท่ีพัฒนามีสามหัวลูกรีดท่ีทํามุม 120 องศาโดยลูกกล้ิงจะวิ่งรอบรูดายท่ีสมํ่าเสมอกันท้ังทอซ่ึงมีเสนผานศูนยกลาง6มิลลิเมตรใชตนกําลังจากมอเตอร3แรง (2.25กิโลวัตต) ความเร็วรอบ 1,450 รอบตอนาที และปรับความเร็วรอบมาท่ี 250 รอบตอนาที ความสามารถของเครื่องในการผลิตปุย 400 กิโลกรัมตอช่ัวโมง มีถังผสมแกนนอนในเพลากวนแบบลําเลียง ในระบบสงกําลังใชเฟองโซเปนตัวสงกําลัง เพ่ือลดความล่ืนไถลและมอเตอรไหม เม่ือมีภาระการรับน้ําหนักเกินท่ีความเร็วรอบ 60 รอบตอนาทีความสามารถในการผลิต 500 กิโลกรัมตอช่ัวโมง และเคร่ืองตีดินโดยใชระบบคอนเหวี่ยงตีรอบหองทําใหวัสดุท่ีถูกตีมีขนาดเล็กไดตามท่ีตองการ และมีระบบเกลียวลําเลียงเสริมเพ่ือลดข้ันตอนการทํางานในการท่ีจะตองบรรจุวัสดุอีกคร้ังหลังจากตีปนวัสดุเสร็จ โดยใชมอเตอร 3 แรงมาท่ีความเร็วรอบ 2,000 รอบตอนาทีระบบลําเลียงโดยเกลียวเลียงวัสดุออกมาใสท่ีรองรับภาชนะไดอยางงายโดยไมตองเก็บเคล่ือนยายหลายคร้ัง ความสามารถในการงานของเคร่ือง 600 กิโลกรัมตอช่ังโมง (พิทยา ,2548)

จีระศักดิ์ เพียรเจริญไดออกแบบและสรางเคร่ืองอัดเม็ดปุยตนแบบนี้รวมกับทีมนักศึกษาภาควิชาเทคโนโลยีเคร่ืองกลโดยเริ่มเม่ือตนปท่ีผานมาซ่ึงใชเวลาเกือบ3เดือนก็ไดเคร่ืองตนแบบทดสอบแลวพบวาเคร่ืองนี้สามารถผลิตปุยอินทรียท่ีมีคุณภาพไดถึง120กิโลกรัมตอช่ัวโมงและใชคนงานทําเพียง1คน สามารถชวยลดตนทุนจากการใชปุยเคมีไดมากและยังเปนการเพิ่มมูลคาจากเศษวัสดุท่ีเหลือใชท่ีมีอยูในชุมชนอีกทางดวยท้ังนี้เคร่ืองอัดเม็ดปุยอินทรียประกอบดวยชุดผสมปุยทําหนาท่ีรองรับสวนผสมตางๆใบพัดผสมปุยทําหนาท่ีครอบถังผสมเพ่ือปองกันไมใหสวนผสมของปุยกระเด็นออกจากถังกระบอกเกลียวลําเลียงทําหนาท่ีรองรับเกลียวลําเลียงท่ีสวมเขาดานในและรองรับปุยเกลียวลําเลียงจะลําเลียงปุยท่ีผานการผสมจากชุดผสมไปยังหัวอัดเม็ด จะรองรับปุยท่ีผานมาจากเกลียวลําเลียง เพื่อทําการอัดเม็ดโดยใชใบพัดกวาดเปนตัวอัดเม็ดผานรูของหัวอัดเม็ดใบพัดกวาดทําหนาท่ีรีดและอัดเม็ดปุยท่ีอยูในหัวอัดเม็ดเพ่ือจะใหไดปุยท่ีเปนเม็ดออกมาข้ันตอนการทํางานของเคร่ืองอัดเม็ดปุยคือระบบสงกําลังโดยสายพานสงกําลังจากเคร่ืองยนต7 แรงมาไปยังเพลาอัดท่ีชุดอัดเม็ดปุยโดยความเร็ว 200-300 รอบตอนาทีและเพลาชุดอัดเม็ดจะสงกําลังโดยสายพานตอไปยังเพลาชุดผสม โดยความเร็วรอบท่ี 100 รอบตอนาทีจากนั้นตอไปยังเปนชุดผสมและถังผสม ซ่ึงอยูดานบนสุดของเคร่ืองกอนปลอยลงไปยังชุดลําเลียงเพื่อไปยังชุดอัดเม็ดตอไป

Page 19: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

15

กระบวนการจะเสร็จส้ินตรงท่ีใบพัดกวาดจะรีดและอัดใหปุยออกผานรูของหัวอัดเม็ดท่ีมีขนาด 5มิลลิเมตรท่ีเจาะไว 2,500 รูซ่ึงนั่นหมายความวารอบหน่ึงๆเคร่ืองนี้จะผลิตปุยอัดเม็ดได 2,500 เม็ดเห็นไดวาเคร่ืองอัดเม็ดปุยชีวภาพสามารถลดตนทุนลดการใชแรงงานเพราะเบ็ดเสร็จทุกกระบวนการใชคนเพียง1คนและยังไมเปนอันตรายจากการเกิดฝุนละอองในอากาศอีกดวยนอกจากนี้การนําไปใชก็สะดวกไมตองอาศัยผูชํานาญการที่สําคัญราคาของเคร่ืองนี้ไมแพงอยูระดับหลักพันบาทสําหรับผูท่ีพอจะมีอุปกรณอยูบางแตจะราคาหลักหม่ืนบาทข้ึนไปกรณีท่ีตองซ้ืออุปกรณใหมท้ังหมดมาประกอบ(http://www.komchadluek.net)

Page 20: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

16

อุปกรณและวิธีการดําเนินการวิจัย อุปกรณ

1 อุปกรณและเคร่ืองมือท่ีใชในสรางเคร่ือง 1.1 เคร่ืองเช่ือมไฟฟา 1.2 ชุดประแจ 1.3 สวานไฟฟา 1.4 เคร่ืองตัดไฟเบอร 1.5 ตลับเมตร 1.6 หินเจยีร 1.7 ชุดไขควง 1.8 กรรไกรตัดสังกะสี

2 อุปกรณและวัสดุท่ีใชในการสรางเคร่ือง 2.1 เหล็กฉาก 1.5x1.5 นิ้ว หนา 3 ม.ม. 2.2 สังกะสีแผน150 x260 ม.ม หนา 0.25 ม.ม. 2.3 เหล็กแผน 150 x 260 ม.ม หนา 2 ม.ม. 2.4 ลวดเชื่อมขนาด 2.6 ม.ม. 2.5 ดอกสวาน ขนาด 1 หุน 2.6 สกรูขนาด 1 หุน 2.7 ทินเนอร 2.8 สีน้ํามัน 2.9 แปรงทาสี 2 นิ้ว 2.10 เหล็กแบนหนา 2 ม.ม.

2.11 กระดาษทราย 2.12 แผนพลาสติกใส ขนาด 150 x 260 ม.ม หนา 2 ม.ม. 3 อุปกรณและวัสดุท่ีใชในการทดลอง

3.1 ถังน้ํา 3.2 ปล๊ักไฟฟา 3.3 ตะแกรง

3.4 เคร่ืองช่ัง 3.5 ปุยชีวภาพชนิดผง 3.6 เวอรเนยีแคริเปอร

Page 21: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

17

วิธีการดําเนินการวิจัย 1 ประชากรและกลุมตัวอยาง การประเมินหาระดับความพงึพอใจของเกษตรกรที่มีตอ เคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพ

แบบจานสําหรับครัวเรือนนั้นประชากรท่ีใชเปนกลุมเกษตรที่มีอาชีพเพาะปลูกในจังหวัด พิษณุโลก โดยใชกลุมตัวอยางเลือกสุมแบบเจาะจงกับเกษตรกรผูมีอาชีพเพาะปลูกในตําบล บานกราง อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลกเปนตัวอยางใชในการศึกษาคร้ังนี้จํานวน 30 ทาน

การหาประสิทธิภาพเชิงผลผลิตเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือนนั้น จะทดสอบท่ีมุมเอียงเพลาจานปนกับระนาบแนวนอนโดยเร่ิมตนท่ีมุม 300 ท่ีความเร็วรอบของเพลาจานปนเร่ิมตนท่ี 50รอบตอนาทีและเพิ่มข้ึนทุกๆ 50 รอบตอนาทีจนถึงความเร็วรอบที่ 500รอบตอนาทีหรือความเร็วรอบท่ีไมสามารถทําการปนเม็ดปุยได ทําการทดสอบในแตละความเร็วซํ้ากัน 5 คร้ัง จับเวลา 10 นาทีตอคร้ังและทดลองซํ้ากับเอียงมุม, 450 และ600 ตามลําดับ หาน้ําหนักของเม็ดปุย ปริมาณน้ําท่ีใช และคุณภาพขนาดความโตของเม็ดปุยโดยสุมตัวอยางในแตละคร้ังจํานวน 1กิโลกรัม คิดเปนเปอรเซ็นต

2 เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษา สําหรับเคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษาเปนเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือนโดยมีสวนประกอบโดยยอดังนี้

โครงสราง 1 สวนของตนกําลังใชมอเตอรขนาด 0.5 แรงมา เปนตัวตนกําลังในการขับเคล่ือน

ไปยังชุดทดรอบท่ีมีอัตราทด 20:1 และไปขับจานปน 2 สวนของจานปนลักษณะเปน 2 ช้ันอยูในจานเดียวกันทําจากเหล็กแผนหนา2

มิลลิเมตร วงในมีเสนผานศูนยกลาง 0.80 เมตรขอบจานปนสูง 0.15 เมตรเปนท่ีใสปุยชีวภาพและวงนอก1.20เมตรขอบจานปนสูง 0.20 เมตรเปนท่ีพักของเม็ดปุยและปนขัดอีกคร้ัง มีฝาปดจานปนทําจากสังกะสีแผนเรียบหนา 0.25 ม.ม.ขนาดเสนผานศูนยกลาง1.28 เมตร ขอบฝาครอบสูง 0.18 เมตร เจาะชองใสแผนพลาสติกใส เพื่อปองกันการฟุงกระจายของปุยชีวภาพ และปองกันส่ิงสกปรกลงจานปน มีระบบฉีดน้ําใหกับปุยชีวภาพ แผนกั้นวงละแผน

Page 22: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

18

ภาพท่ี 5 แสดงสวนตางของเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพสําหรับครัวเรือน 3 สวนของโครงสราง จะทําจากเหล็กฉากเหล็กฉาก 1.5x1.5 นิ้ว หนา 3 ม.ม.

โดยสวนของฐานมีขนาด 0.60 x 0.90 เมตร สวนกลางขนาด 0.42 x 0.60 เมตร และสวนบนขนาด 0.26 x 0.38 เมตร มีชุดปรับมุม เช่ือมระหวางฐานโครงสรางกับฐานจานปน

หลักการทํางาน ปุยชีวภาพท่ีผานการทําใหเปนผงแลวจะเทลงสวนของจานปนวงใน และระหวาง

การหมุนของจานหมุน จะมีการฉีดน้ําใสลงไป เพื่อใหปุยชีวภาพจับตัวเปนเม็ดปนอยูในจานปนวงในและเม่ือเม็ดปุยมีขนาดพอดีหรือมีแรงเหวี่ยงหนีศูนยกลางท่ีเพียงพอ เม็ดปุยจะกระเด็นออกสูจานปนวงนอกและทําการปนขัดอีกคร้ังจนเม็ดปุยเปนเงา

การเก็บขอมูล การเก็บขอมูล สําหรับการเก็บรวบรวมขอมูลโดยการทดลองหาประสิทธิภาพ

เชิงผลผลิต แบบสํารวจความพึงพอใจของเกษตรที่มีตอเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือน สถิติที ่ใชในการวิเคราะหขอมูลโดยการหาคาเฉลี่ยเลขคณิต และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การหาคาเฉล่ีย (Mean)

เม่ือ X คือ คาเฉล่ีย ∑X คือ ผลรวมของขอมูลท้ังหมด N คือ จํานวนขอมูลท้ังหมด การหาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

เม่ือ X คือ คาเฉล่ีย

Page 23: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

19

X คือ ขอมูลแตละจํานวน n คือ จํานวนขอมูลจากกลมตัวอยาง S คือ คาสวนเบีย่งเบนมาตรฐาน (ธานินทร, 2548)

Page 24: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

20

ผลการทดลองและอภิปลายผลการทดลอง ผลการทดลอง

สําหรับการทดลองเกี่ยวกับเครื่องปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือนนั้นแบงการทดลองออกเปน2 สวน คือสวนของการหาประสิทธิภาพของเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือนและสวนของแบบประเมินหาระดับความพึงพอใจของเกษตรกรท่ีมีตอเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือนดังนี้

1 ดานการหาประสิทธิภาพของเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือนทดสอบท่ีมุมเอียงเพลาจานปนกับระนาบแนวนอนโดยเร่ิมตนท่ีมุม 300ท่ีความเร็วรอบของเพลาจานปนเร่ิมตนท่ี 50 รอบตอนาทีและเพ่ิมข้ึนทุกๆ 50 รอบตอนาทีจนถึงความเร็วรอบที่ 500 รอบตอนาทีหรือความเร็วรอบท่ีไมสามารถทําการปนเม็ดปุยได ทําการทดสอบในแตละความเร็วซํ้ากัน5 คร้ัง จับเวลา 10 นาทีตอคร้ังและทดลองซํ้ากับเอียงมุม 450 และ 600 ตามลําดับ หาน้ําหนักของเม็ดปุย ปริมาณน้ําท่ีใช และคุณภาพขนาดความโตของเม็ดปุยโดยสุมตัวอยางในแตละคร้ังจํานวน 1กิโลกรัม คิดเปนเปอรเซ็นตไดผลการทดลองดังนี้

ตารางท่ี 1 แสดงผลการทดลองท่ีมุมเอียง 300 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน

ท่ีความเร็วรอบ 50 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปน

คร้ังที่

ปริมาณนํ้าที่

ใช (ลบ.ซม/กก.)

ปุยชีวภาพเม็ดที่ปน

ได(กก. /ชม.)

คุณภาพขนาดความโตของเม็ดปุยชีวภาพ คิดเปน (%) หมายเหตุ

ขนาดความโตใหญกวา

6 ม.ม.(%)

ขนาดความโตระหวาง

3ม.ม. - 6ม.ม. (%)

ขนาดความโตนอยกวา

3ม.ม.-1ม.ม. (%)

ขนาดความโตเล็กกวา

1 ม.ม.-เปนผง

(%)

1 52.98 50.50 2.15 61.40 36.10 0.35 เม็ดปุย ปนไมเต็มพื้นท่ีจานปน

2 71.08 51.44 3.36 62.07 33.56 1.01 3 61.11 48.10 2.47 59.41 36.89 1.23 4 54.36 48.30 1.98 67.35 30.17 0.50 5 61.14 49.66 2.01 69.01 28.84 0.14 X 60.13 49.60 2.39 63.85 33.11 0.65 S 7.18 1.43 0. 75 4.12 3.55 0.46

Page 25: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

21

ตารางท่ี 2 แสดงผลการทดลองท่ีมุมเอียง 30 0 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน ท่ีความเร็วรอบ 100 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปน

ตารางท่ี 3 แสดงผลการทดลองท่ีมุมเอียง 300 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน ท่ีความเร็วรอบ 150 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปน

คร้ังที่

ปริมาณนํ้าที่

ใช (ลบ.ซม/กก.)

ปุยชีวภาพเม็ดที่ปน

ได(กก. /ชม.)

คุณภาพขนาดความโตของเม็ดปุยชีวภาพ คิดเปน (%) หมายเหตุ ขนาดความโต

ใหญกวา 6 ม.ม.(%)

ขนาดความโตระหวาง

3ม.ม. - 6ม.ม. (%)

ขนาดความโตนอยกวา

3ม.ม.-1ม.ม. (%)

ขนาดความโตเล็กกวา

1 ม.ม.-เปนผง

(%)

1 67.70 57.50 2.18 58.85 38.04 0.93 เม็ดปุย ปนไมเต็มพื้นที่จานปน

2 69.11 51.44 3.47 64.03 31.60 0.90 3 63.54 58.10 2.89 58.47 38.42 0.22 4 58.63 54.30 1.99 61.11 36.58 0.32 5 64.68 59.66 3.04 66.47 29.72 0.77 X 64.73 56.20 2.71 61.79 34.87 0.63 S 4.08 3.30 0.62 3.43 3.96 0.33

คร้ังที่

ปริมาณนํ้าที่

ใช (ลบ.ซม/กก.)

ปุยชีวภาพเม็ดที่ปนได (กก. /ชม.)

คุณภาพขนาดความโตของเม็ดปุยชีวภาพ คิดเปน (%) หมายเหตุ ขนาดความโต

ใหญกวา 6 ม.ม.(%)

ขนาดความโตระหวาง

3ม.ม. - 6ม.ม. (%)

ขนาดความโตนอยกวา

3ม.ม.-1ม.ม. (%)

ขนาดความโตเล็กกวา

1 ม.ม.-เปนผง

(%)

1 70.50 79.00 7.00 43.15 49.22 0.63 เม็ดปุย กระเด็นตกพื้นและเร่ิมติดขอบจาน

2 60.12 89.92 5.04 45.08 49.03 0.85 3 71.23 74.66 4.51 43.46 50.98 1.05 4 74.50 90.88 7.08 44.99 47.57 0.36 5 60.00 83.78 6.46 47.64 45.05 0.85 X 67.27 83.65 6.02 44.86 48.37 0.75 S 6.75 6.97 1.17 1.78 2.22 0.26

Page 26: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

22

ตารางท่ี 4 แสดงผลการทดลองท่ีมุมเอียง 300 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน ท่ีความเร็วรอบ 200 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปน

ตารางท่ี 5 แสดงผลการทดลองท่ีมุมเอียง 300 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน

ท่ีความเร็วรอบ 250 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปน

คร้ังที่

ปริมาณนํ้าที่

ใช (ลบ.ซม/กก.)

ปุยชีวภาพเม็ดที่ปนได (กก. /ชม.)

คุณภาพขนาดความโตของเม็ดปุยชีวภาพ คิดเปน (%) หมายเหตุ ขนาดความโต

ใหญกวา 6 ม.ม.(%)

ขนาดความโตระหวาง

3ม.ม. - 6ม.ม. (%)

ขนาดความโตนอยกวา

3ม.ม.-1ม.ม. (%)

ขนาดความโตเล็กกวา

1 ม.ม.-เปนผง

(%)

1 70.11 90.05 2.58 30.90 65.36 1.16 เม็ดปุยบางสวนกระเด็นตกพื้นและ ติดขอบจาน

2 69.97 96.95 3.00 37.45 56.77 2.78 3 65.52 88.03 1.15 25.28 71.94 1.63 4 80.31 97.89 1.37 32.32 64.09 2.22 5 60.58 89.12 1.98 29.69 66.24 2.09 X 69.30 92.41 2.02 31.13 64.88 1.97 S 7.29 4.64 0.78 4.41 5.44 0.61

คร้ังที่

ปริมาณนํ้าที่

ใช (ลบ.ซม/กก.)

ปุยชีวภาพเม็ดที่ปนได (กก. /ชม.)

คุณภาพขนาดความโตของเม็ดปุยชีวภาพ คิดเปน (%) หมายเหตุ ขนาดความโต

ใหญกวา 6 ม.ม.(%)

ขนาดความโตระหวาง

3ม.ม. - 6ม.ม. (%)

ขนาดความโตนอยกวา

3ม.ม.-1ม.ม. (%)

ขนาดความโตเล็กกวา

1 ม.ม.-เปนผง

(%)

1 60.59 87.02 0.00 22.03 70.15 7.82 ปุยชีวภาพ ติดขอบจานปนและสวนตกพื้น

2 70.11 95.75 0.02 15.81 75.90 8.27 3 80.32 89.12 0.00 18.51 71.43 10.06 4 68.89 93.08 0.01 13.54 76.01 10.44 5 89.05 97.43 0.02 15.55 73.30 11.13 X 73.79 92.48 0.01 17.09 73.36 9.54 S 11.04 4.38 0.01 3.28 2.62 1.43

Page 27: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

23

ตารางท่ี 6 แสดงผลการทดลองท่ีมุมเอียง 450 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน ท่ีความเร็วรอบ 50 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปน

ตารางท่ี 7 แสดงผลการทดลองท่ีมุมเอียง 450 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน

ท่ีความเร็วรอบ 100 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปน

คร้ังที่

ปริมาณนํ้าที่

ใช (ลบ.ซม/กก.)

ปุยชีวภาพเม็ดที่ปนได (กก. /ชม.)

คุณภาพขนาดความโตของเม็ดปุยชีวภาพ คิดเปน (%) หมายเหตุ ขนาดความโต

ใหญกวา 6 ม.ม.(%)

ขนาดความโตระหวาง

3ม.ม. - 6ม.ม. (%)

ขนาดความโตนอยกวา

3ม.ม.-1ม.ม. (%)

ขนาดความโตเล็กกวา

1 ม.ม.-เปนผง

(%)

1 57.03 50.07 20.62 56.11 23.10 0.17

เม็ดปุย ปนไมเต็มพื้นที่จานปน

2 60.45 51.98 23.26 52.05 24.54 0.15 3 64.36 49.69 27.53 51.32 21.03 0.12 4 50.57 53.20 22.35 55.14 22.33 0.18 5 70.00 51.04 24.29 50.28 25.24 0.19 X 60.48 51.20 23.61 52.98 23.25 0.16 S 7.35 1.43 2.58 2.52 1.69 0.03

คร้ังที่

ปริมาณนํ้าที่

ใช (ลบ.ซม/กก.)

ปุยชีวภาพเม็ดที่ปนได (กก. /ชม.)

คุณภาพขนาดความโตของเม็ดปุยชีวภาพ คิดเปน (%) หมายเหตุ ขนาดความโต

ใหญกวา 6 ม.ม.(%)

ขนาดความโตระหวาง

3ม.ม. - 6ม.ม. (%)

ขนาดความโตนอยกวา

3ม.ม.-1ม.ม. (%)

ขนาดความโตเล็กกวา

1 ม.ม.-เปนผง

(%)

1 65.00 68.59 3.15 65.09 31.50 0.26

2 72.25 57.12 5.20 64.42 30.22 0.16 3 72.37 66.08 3.48 62.38 34.00 0.14 4 63.03 63.39 6.32 58.14 35.35 0.19 5 68.37 59.75 4.87 63.67 31.22 0.24 X 68.20 62.99 4.60 62.74 32.46 0.20 S 4.21 4.64 1.30 2.76 2.13 0.05

Page 28: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

24

ตารางท่ี 8 แสดงผลการทดลองท่ีมุมเอียง 450 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน ท่ีความเร็วรอบ 150 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปน

ตารางท่ี 9 แสดงผลการทดลองท่ีมุมเอียง 450 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน ท่ีความเร็วรอบ 200 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปน

คร้ังที่

ปริมาณนํ้าที่

ใช (ลบ.ซม/กก.)

ปุยชีวภาพเม็ดที่ปนได (กก. /ชม.)

คุณภาพขนาดความโตของเม็ดปุยชีวภาพ คิดเปน (%) หมายเหตุ ขนาดความโต

ใหญกวา 6 ม.ม.(%)

ขนาดความโตระหวาง

3ม.ม. - 6ม.ม. (%)

ขนาดความโตนอยกวา

3ม.ม.-1ม.ม. (%)

ขนาดความโตเล็กกวา

1 ม.ม.-เปนผง

(%)

1 79.56 89.64 4.44 43.10 50.46 2.00 เร่ิมติดขอบจาน

2 69.99 90.07 5.39 35.87 56.05 2.69 3 72.02 89.62 2.99 42.56 51.87 2.58 4 67.89 81.35 3.14 44.98 49.16 2.72 5 78.21 79.54 6.42 38.54 53.90 1.14 X 73.53 86.04 4.48 41.01 52.29 2.22 S 5.12 5.15 1.47 3.71 2.74 0.69

คร้ังที่

ปริมาณนํ้าที่

ใช (ลบ.ซม/กก.)

ปุยชีวภาพเม็ดที่ปนได (กก. /ชม.)

คุณภาพขนาดความโตของเม็ดปุยชีวภาพ คิดเปน (%) หมายเหตุ ขนาดความโต

ใหญกวา 6 ม.ม.(%)

ขนาดความโตระหวาง

3ม.ม. - 6ม.ม. (%)

ขนาดความโตนอยกวา

3ม.ม.-1ม.ม. (%)

ขนาดความโตเล็กกวา

1 ม.ม.-เปนผง

(%)

1 70.01 90.56 5.10 28.24 64.24 2.42 ปุยชีวภาพติดขอบจานและเม็ดเล็ก

2 64.40 95.42 4.35 35.50 57.04 3.11 3 70.31 98.45 6.94 41.13 48.79 3.14 4 80.21 87.21 9.02 37.68 49.92 3.38 5 66.57 97.86 6.43 31.68 59.56 2.33 X 70.03 93.90 6.37 34.85 55.91 2.87 S 6.06 4.86 1.81 5.04 6.53 0.47

Page 29: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

25

ตารางท่ี 10 แสดงผลการทดลองท่ีมุมเอียง 450 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน ท่ีความเร็วรอบ 250 รอบตอนาที ท่ีเพลาจานปน

ตารางท่ี 11 แสดงผลการทดลองท่ีมุมเอียง 60 0 ของเพลาจานปนกบัระนาบแนวนอน

ท่ีความเร็วรอบ 50 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปน

คร้ังที่

ปริมาณนํ้าที่

ใช (ลบ.ซม/กก.)

ปุยชีวภาพเม็ดที่ปนได (กก. /ชม.)

คุณภาพขนาดความโตของเม็ดปุยชีวภาพ คิดเปน (%) หมายเหตุ ขนาดความโต

ใหญกวา 6 ม.ม.(%)

ขนาดความโตระหวาง

3ม.ม. - 6ม.ม. (%)

ขนาดความโตนอยกวา

3ม.ม.-1ม.ม. (%)

ขนาดความโตเล็กกวา

1 ม.ม.-เปนผง

(%)

1 80.45 99.02 0.02 20.46 64.00 15.52 ปุยชีวภาพติดขอบจานและ ปนไมคอยเปนเม็ด

2 83.12 104.75 0.01 17.30 70.35 12.34 3 85.54 100.12 0.05 20.22 65.45 14.28 4 67.32 93.08 0.03 15.71 65.53 18.73 5 77.53 92.43 0.04 20.42 61.23 18.31 X 78.79 97.88 0.03 18.82 65.31 15.84 S 7.07 5.15 0.02 2.19 3.31 2.70

คร้ังที่

ปริมาณนํ้าที่

ใช (ลบ.ซม/กก.)

ปุยชีวภาพเม็ดที่ปนได (กก. /ชม.)

คุณภาพขนาดความโตของเม็ดปุยชีวภาพ คิดเปน (%) หมายเหตุ ขนาดความโต

ใหญกวา 6 ม.ม.(%)

ขนาดความโตระหวาง

3ม.ม. - 6ม.ม. (%)

ขนาดความโตนอยกวา

3ม.ม.-1ม.ม. (%)

ขนาดความโตเล็กกวา

1 ม.ม.-เปนผง

(%)

1 61.54 53.19 5.16 56.16 38.58 0.10 2 66.87 55.68 2.04 58.29 39.54 0.13

3 59.46 54.33 3.66 65.11 31.06 0.17 4 69.66 54.37 4.09 64.36 31.44 0.11 5 60.16 52.02 2.85 60.36 36.63 0.16 X 63.54 53.92 3.56 60.86 35.45 0.13 S 4.49 1.38 1.19 3.85 3.98 0.03

Page 30: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

26

ตารางท่ี 12 แสดงผลการทดลองท่ีมุมเอียง 600 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน ท่ีความเร็วรอบ 100 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปน

ตารางท่ี 13 แสดงผลการทดลองท่ีมุมเอียง 600 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน ท่ีความเร็วรอบ150 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปน

คร้ังที่

ปริมาณนํ้าที่

ใช (ลบ.ซม/กก.)

ปุยชีวภาพเม็ดที่ปนได (กก. /ชม.)

คุณภาพขนาดความโตของเม็ดปุยชีวภาพ คิดเปน (%) หมายเหตุ ขนาดความโต

ใหญกวา 6 ม.ม.(%)

ขนาดความโตระหวาง

3ม.ม. - 6ม.ม. (%)

ขนาดความโตนอยกวา

3ม.ม.-1ม.ม. (%)

ขนาดความโตเล็กกวา

1 ม.ม.-เปนผง

(%)

1 76.04 63.53 9.21 70.21 20.32 0.26 2 65.59 65.65 10.45 69.94 19.21 0.40

3 70.10 66.26 7.98 67.99 23.44 0.59 4 81.42 71.13 11.02 59.60 28.92 0.46 5 69.43 64.52 7.54 62.11 29.62 0.73 X 72.52 66.22 9.24 65.97 24.30 0.49 S 6.23 2.94 1.51 4.83 4.80 0.18

คร้ังที่

ปริมาณนํ้าที่

ใช (ลบ.ซม/กก.)

ปุยชีวภาพเม็ดที่ปนได (กก. /ชม.)

คุณภาพขนาดความโตของเม็ดปุยชีวภาพ คิดเปน (%) หมายเหตุ ขนาดความโต

ใหญกวา 6 ม.ม.(%)

ขนาดความโตระหวาง

3ม.ม. - 6ม.ม. (%)

ขนาดความโตนอยกวา

3ม.ม.-1ม.ม. (%)

ขนาดความโตเล็กกวา

1 ม.ม.-เปนผง

(%)

1 76.21 84.57 9.57 36.56 52.00 1.87 เร่ิมติดขอบจาน

2 89.19 93.60 9.01 39.65 49.47 1.87 3 78.43 88.98 8.93 33.75 55.76 1.56 4 90.42 78.36 8.46 34.82 54.96 1.76 5 97.10 91.44 9.99 36.43 52.26 1.32 X 86.27 87.39 9.19 36.24 52.89 1.68 S 8.74 6.06 0.80 2.24 2.52 059

Page 31: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

27

ตารางท่ี 14 แสดงผลการทดลองท่ีมุมเอียง 600 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน ท่ีความเร็วรอบ 200 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปน

ตารางแสดงท่ี 15 ผลการทดลองที่มุมเอียง 600 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน ท่ีความเร็วรอบ 250 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปน

คร้ังที่

ปริมาณนํ้าที่

ใช (ลบ.ซม/กก.)

ปุยชีวภาพเม็ดที่ปนได (กก. /ชม.)

คุณภาพขนาดความโตของเม็ดปุยชีวภาพ คิดเปน (%) หมายเหตุ ขนาดความโต

ใหญกวา 6 ม.ม.(%)

ขนาดความโตระหวาง

3ม.ม. - 6ม.ม. (%)

ขนาดความโตนอยกวา

3ม.ม.-1ม.ม. (%)

ขนาดความโตเล็กกวา

1 ม.ม.-เปนผง

(%)

1 70.31 95.36 2.00 24.46 69.56 3.98 เม็ดปุย ติดของจานและเปนเม็ด เล็กมาก

2 85.24 97.57 1.09 21.53 74.83 2.55 3 70.32 97.73 0.00 26.00 70.10 3.90 4 81.46 90.48 1.01 27.67 67.36 3.96 5 69.94 89.62 0.94 32.43 63.67 2.96 X 75.45 94.15 1.01 26.42 69.10 3.47 S 7.33 3.87 0.71 4.05 4.08 0.67

คร้ังที่

ปริมาณนํ้าที่

ใช (ลบ.ซม/กก.)

ปุยชีวภาพเม็ดที่ปนได (กก. /ชม.)

คุณภาพขนาดความโตของเม็ดปุยชีวภาพ คิดเปน (%) หมายเหตุ ขนาดความโต

ใหญกวา 6 ม.ม.(%)

ขนาดความโตระหวาง

3ม.ม. - 6ม.ม. (%)

ขนาดความโตนอยกวา

3ม.ม.-1ม.ม. (%)

ขนาดความโตเล็กกวา

1 ม.ม.-เปนผง

(%)

1 80.01 96.12 0.02 5.12 82.34 12.52 เม็ดปุย ติดของจานและปนเปนเม็ดยาก

2 75.35 101.50 0.03 2.34 83.67 13.96 3 69.96 97.98 0.02 4.31 82.52 13.15 4 88.48 98.04 0.01 2.56 79.90 17.53 5 74.67 99.36 0.02 4.45 79.46 16.07 X 77.69 98.60 0.02 3.76 81.58 14.64 S 7.00 1.99 0.01 1.23 1.18 2.10

Page 32: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

28

ผลการทดลองดานการหาประสิทธิภาพของเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือนนั้นประสิทธิภาพในการปนเม็ดปุยท่ีดีท่ีสุดในแตละมุมเอียงของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน และความเร็วรอบตางๆท่ีเพลาจานปนโดยที่มุมเอียง 300 ความเร็วรอบ 100 รอบตอนาทีผลิตปุยชีวภาพไดเฉล่ีย 56.20 กิโลกรัมตอช่ัวโมง ขนาดความโตของเม็ดปุยชีวภาพท่ีเหมาะสมระหวาง 3 – 6 มิลลิเมตรเฉล่ีย 61.75 % ขนาดความโตใหญกวา 6 มิลลิเมตรเฉล่ีย 2.71 % ขนาดความโตนอยกวา 3- 1 มิลลิเมตรเฉล่ีย 34.87 % และขนาดความโตเล็กกวา 1 มิลลิเมตร - เปนผงเฉล่ีย 0.63 % ปริมาณน้ําท่ีใช 64.73 ลูกบาศกเซนติเมตรตอกิโลกรัม ท่ีมุมเอียง 450 ความเร็วรอบ 100 รอบตอนาทีผลิตปุยชีวภาพไดเฉล่ีย 62.99 กิโลกรัมตอช่ัวโมง ขนาดความโตของเม็ดปุยชีวภาพท่ีเหมาะสมระหวาง 3-6 มิลลิเมตรเฉล่ีย 62.74 % ขนาดความโตใหญกวา 6 มิลลิเมตรเฉล่ีย 4.60 % ขนาดความโตนอยกวา 3 – 1 มิลลิเมตรเฉล่ีย 32.46 % และขนาดความโตเล็กกวา 1มิลลิเมตร- เปนผง เฉล่ีย 0.20 % ปริมาณนํ้าท่ีใช 68.20 ลูกบาศกเซนติเมตรตอกิโลกรัม และท่ีมุมเอียง 600 ความเร็วรอบ 100 รอบตอนาทีผลิตปุยชีวภาพไดเฉล่ีย 66.22 กิโลกรัมตอช่ัวโมง ขนาดความโตของเม็ดปุยชีวภาพท่ีเหมาะสมระหวาง 3 – 6 มิลลิเมตรเฉล่ีย 65.97 % ขนาดความโตใหญกวา 6 มิลลิเมตรเฉล่ีย 9.24 % ขนาดความโตระหวาง 3 – 1 มิลลิเมตรเฉล่ีย 26.30 % และขนาดความโตเล็กกวา 1 มิลลิเมตร- เปนผงเฉล่ีย 0.49 % ปริมาณน้ําท่ีใช 72.52 ลูกบาศกเซนติเมตรตอกิโลกรัม

2 ดานการประเมินหาระดับความพึงพอใจของเกษตรกรที่มีตอ เคร่ืองปนเม็ดชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือนนั้นประชากรท่ีใชเปนกลุมเกษตรที่มีอาชีพเพาะปลูกในจังหวัด พิษณุโลกโดยใชกลุมตัวอยางเลือกสุมแบบเจาะจงกับเกษตรกรผูมีอาชีพเพาะปลูกในตําบล บานกราง อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลกเปนตัวอยางใชในการศึกษาคร้ังนี้กับการใชเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือนจํานวน 30 ทาน ไดดังนี้

Page 33: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

29

ตารางท่ี 16 แสดงผลการประเมินหาระดับความพึงพอใจของเกษตรกรที่มีตอ เคร่ืองปนเม็ดชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือน

ตารางท่ี 17 แสดงขอเสนอแนะของเกษตรกรที่มีตอ เคร่ืองปนเม็ดชีวภาพแบบจานสําหรับ

ครัวเรือน

ผลการประเมินหาระดับความพึงพอใจของเกษตรกรที่มีตอเคร่ืองปนเม็ดชีวภาพแบบจาน

สําหรับครัวเรือนนั้นไดผลดังนี้ เกษตรกรมีความพึงพอใจตอเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือนในทุกๆขอ

และในภาพรวมอยูในระดับดี สําหรับขอเสนอแนะของเกษตรกร จะใหความสําคัญกับคุณภาพปุยตอการเจริญเติบโตของพืช การกระจายของเม็ดปุยชีวภาพเมื่อไปหวานในแปลงเพาะปลูก เพ่ิมเติม

ความพึงพอใจของเกษตรกรตอเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพ แบบจานสําหรับครัวเรือน

ระดับความพึงพอใจ คาเฉล่ีย ความหมาย

1. ความสะดวกในการใชงาน 3.73 ดี 2. ความปลอดภัย ในการใชงาน 3.91 ดี 3. คุณภาพของเม็ดปุยชีวภาพท่ีผานการปนแลว 3.50 ดี 4. ระยะเวลาในการปนเม็ดปุยชีวภาพ 3.82 ดี 5. ความสะดวกในการทําความสะอาดจานปนเม็ดปุยชีวภาพ 3.82 ดี 6. ไมกอใหเกิดมลพิษทางกล่ินและฝุนละออง 3.73 ดี 7. สะดวกในการบํารุงรักษาช้ินสวนอุปกรณ 3.73 ดี 8. ความเหมาะสมของขนาดและรูปราง 3.64 ดี 9. ความสามารถในการผลิตเม็ดปุยชีวภาพ (กก/ชม.) 3.64 ดี คาเฉล่ียโดยภาพรวม 3.72 ดี

รายการ ความถ่ี

คุณภาพของเม็ดปุยตอการเจริญเติบโตของขาว 29

การกระจายของเม็ดปุยชีวภาพเม่ือหวานในแปลงนา 25

ควรมีเคร่ืองบด 17

ขนาดเม็ดปุยปนกัน 17

สวนผสมในปุยชีวภาพ 15

Page 34: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

30

เคร่ืองบดและเครื่องคัดขนาดเพ่ือใหครบขบวนการการผลิตปุยชีวภาพเม็ด และสวนผสมในปุยชีวภาพ

อภิปลายผลการทดลอง จากผลการทดลองเครื่องปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือน ท่ีมุมเอียงของเพลา

จานปนกับระนาบแนวนอนและความเร็วรอบท่ีเพลาจานปนดีท่ีสุดคือ มุมเอียง 600 ความเร็วรอบ 100 รอบตอนาที แตละมุมเอียงสงผลตอปริมาณปุยชีวภาพท่ีใชปนถามุมเอียงมากปริมาณปุยชีวภาพท่ีใชจะเทากับปริมาณท่ีจานปนเม็ดปุยบรรจุได มุมเอียงนอยพื้นท่ีบริเวณจานปนถูกใชไมเต็มท่ี และเม็ดปุยจะตกพื้น และท่ีความเร็วรอบตางๆสงผลตอคุณภาพขนาดความโต และประสิทธิภาพในการปนเม็ดปุยชีวภาพ ถาความเร็วรอบสูงข้ึนเร่ือยๆ ขนาดความโตของเม็ดปุยลดลง และเกิดแรงเหวี่ยงหนีศูนยกลางทําใหเม็ดปุยติดขอบจานปนเม็ดปุยชีวภาพ แตความเร็วรอบสูงข้ึนทําใหประสิทธิภาพการผลิตสูงข้ึนตาม ลดระยะเวลาการปนเม็ดปุยชีวภาพ แตอยางไรก็ตามยังมีปจจัยคุณภาพขนาดความโตของเม็ดปุยชีวภาพ ไดแก ความชํานาญของผูทําการปนเม็ดปุยชีวภาพ ปริมาณการใชน้ํา เปนตน สําหรับแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจของเกษตรกรตอเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือนในแตละขอและโดยภาพรวมอยูในระดับดี เกษตรกรจะใหความสําคัญตอคุณภาพของเม็ดปุยตอการเจริญ เติมโตของขาวในแปลงนา สําหรับตนทุนการสรางเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือนอยูท่ี 20,000 บาทไมรวมคาใชจายดานแรงงาน เม่ือคิดตนทุนคาใชจายอยางงายๆ เคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพนี้ ผลิตเม็ดปุยชีวภาพได 180 กิโลกรัมตอวันขายกิโลกรัมละ 8 บาท หักตนทุนท้ังหมด กําไล กิโลกรัมละ 0.50 บาท ในแตละเดือนปนเม็ดปุยชีวภาพได 20 วัน สามารถคืนทุนไดภายใน 1 ป

Page 35: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

31

สรุปผลการทดลองและขอเสนอแนะจากผลการทดลอง

สรุปผลการทดลอง เคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือนลักษณะ2ช้ันในจานเดียวกัน ขนาดเสน

ผานศูนยกลางของจานปนเม็ดปุยวงใน 0.80เมตร ขอบจานปนสูง 0.15 เมตรและวงนอก 1.20 เมตรขอบจานปนสูง 0.20 เมตรมีประสิทธิภาพในการปนท่ีดีท่ีสุด ท่ีมุมเอียง 600 ของเพลาจานปนกับระนาบแนวนอน ความเร็วรอบ 100 รอบตอนาทีท่ีเพลาจานปนผลิตปุยชีวภาพโดยเฉล่ีย 66.22 กิโลกรัมตอช่ัวโมง ขนาดความโตของเม็ดปุยชีวภาพท่ีเหมาะสมระหวาง 3-6 มิลลิเมตรเฉล่ีย 65.97 % ขนาดความโตใหญกวา 6 มิลลิเมตร เฉล่ีย 9.24 % ขนาดความโตเล็กกวา 3- 1 มิลลิเมตรเฉล่ีย 26.30 % และขนาดความโตเล็กกวา1มิลลิเมตร- เปนผงเฉล่ีย 0.49 % ปริมาณน้ําท่ีใช 72.52 ลูกบาศกเซนติเมตรตอกิโลกรัม ผลการประเมินระดับพึงพอใจเปนรายขอและโดยภาพรวมอยูในระดับดี สําหรับการปนเม็ดปุยใหไดคุณภาพขนาดความโตที่เหมาะสมและปริมาณการผลิตท่ีมากนั้นข้ึนอยูกับปจจัยในเร่ือง ความเร็วรอบ มุมเอียง ปริมาณการใหน้ํา ความชํานาญของผูทําการปนเม็ดปุยชีวภาพ เปนตน

ขอเสนอแนะจากผลการทดลอง สําหรับขอเสนอแนะจากการทดลองสามารถสรุปเปนขอๆไดคือ 1 การใหน้ําปุยชีวภาพเม็ดอาจมีการติดจานปนตองใชความระมัดระวังหรือมีเคร่ืองมือในการ นําปุยท่ีติดจานปนออก 2 การปนเม็ดปุยไดคุณภาพดหีรือไมข้ึนอยูกบัความชํานาญการของผูปนเม็ดปุยชีวภาพ 3 ควรเพิ่มเติมเครื่องบด และเคร่ืองคัดขนาด เพื่อใหการผลิตครบวงจร 4 ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมเกีย่วกับคุณภาพของเม็ดปุยชีวภาพเม่ือไปทดสอบกับแปลงนา

Page 36: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

32

บรรณานุกรม

ทรงชัย วิริยะอําไพวงศ ทวพีงษ พองเสียง และสุทธิพงษ ไชยมงคุณ. เคร่ืองตนแบบผลิตปุยอินทรียเม็ดท่ีใชพลังงานตํ่า. คณะวิศวกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยมหาสารคาม. มหาสารคาม, 2547. ธานินทร ศิลปจารุ.การวิจยัและวิเคราะหขอมูลทางสถิติดวยSPSS.พิมพคร้ังท่ี3. กรุงเทพฯ :บริษัท ว.ีอินเตอรพร้ินท, 2548. พิทยา ภูผิวโคก. การสรางเคร่ืองอัดปุยเม็ดชีวภาพแบบสามหัวลูกรีดโดยขับดวยมอเตอรขับพรอมกับเคร่ืองตีเคร่ืองผสม. สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวทิยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร, 2548. http://courseware.rmutl.ac.th/courses/53/unit1503.htm#head5, 30 พฤษภาคม 2551. http://www.geocities.com/fftkorat/biofertilizer.html ,10 มกราคม 2553. http://www.komchadluek.net , 21 ตุลาคม 2551. http://www.saneengineer.com/index.php, 25 กันยายน 2553.

Page 37: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

33

ภาคผนวก ก

ภาพแสดงข้ันตอนการใชเครื่องปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจาน สําหรับครัวเรือน

Page 38: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

34

ขั้นตอนการใชเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพแบบจานสําหรับครัวเรือน

ภาพท่ี 1 แสดงการใสปุยชีวภาพผงลงจานปน

1 ใสปุยชีวภาพผงลงไปในจานปนประมาณ 5 -10กิโลกรัม และปดฝาครอบ

ภาพท่ี 2 แสดงสวิตชมอเตอรและสวิตชใหน้ํา 2 เปดสวิตชมอเตอรและเปดสวิตชใหน้ํา

ภาพท่ี 3 แสดงการนําปุยชีวภาพท่ีติดจานปนออก 3 ถาในขณะปนปุยชีวภาพติดจานปนใหใชเคร่ืองมือนําปุยชีวภาพท่ีติดจานปนออก

สวิตชใหน้ํา สวิตชมอเตอร

Page 39: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

35

ภาพท่ี 4 แสดงการการควบคุมน้ําขณะปน 4 ใหน้ําจนกวาปุยชีวภาพผงจะเปยกและจึงหยุดการใหน้ําและใสปุยชีวภาพไปอีก 2-4

กิโลกรัมปนไปจนกวาจะเปนเม็ด ถาเปนเม็ดเล็กอยู เปดสวิตชใหน้ําจนปุยชีวภาพเปยกและปดสวิตชใสปุยชีวภาพไปอีก 2-4 ทําสลับกันจนกวาจะเปนเม็ดตามท่ีตองการ

ภาพท่ี 5 แสดงปุยชีวภาพเม็ดท่ีผานการปนเปนเม็ดแลว 5 เม่ือปุยชีวภาพเปนเม็ดและใหปดสวิตชมอเตอร

Page 40: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

36

ภาคผนวก ข

ภาพแสดงกิจกรรมเก่ียวกับเครื่องปนเม็ดปุยชีวภาพ แบบจานสําหรับครัวเรือน

Page 41: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

37

ภาพท่ี 1 แสดงการเตรียมพรอมเพื่อการทดลอง

ภาพท่ี 2 แสดงตัวอยางมุมท่ีทดสอบ

ภาพท่ี 3 แสดงการวัดความเร็วรอบเพื่อการทดสอบ

Page 42: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

38

ภาพท่ี 4 แสดงเกษตรกรประเมินเม็ดปุยชีวภาพท่ีปนได

ภาพท่ี 5 แสดงเกษตรกรประเมินเม็ดเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพ

ภาพท่ี 6 แสดงการคัดขนาดเม็ดปุยชีวภาพ

Page 43: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

39

ภาพท่ี 7 แสดงการช่ังเม็ดปุยชีวภาพ

ภาพท่ี 8 แสดงขนาดความโตของเม็ดปุยชีวภาพมากกวา6 มิลลิเมตร

ภาพท่ี 9 แสดงขนาดความโตของเม็ดปุยชีวภาพระหวาง3-6มิลลิเมตร

Page 44: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

40

ภาพท่ี 10 แสดงขนาดความโตของเม็ดปุยชีวภาพนอยกวา 3 - 1มิลลิเมตร

ภาพท่ี 11 แสดงขนาดความโตของเม็ดปุยชีวภาพนอยกวา 1มิลลิเมตร-เปนผง

Page 45: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

41

ภาคผนวก ค

แบบสอบถามงานวิจัย

Page 46: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

42

แบบสอบถามงานวิจัย เร่ือง ความพึงพอใจของเกษตรกรตอเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพสําหรับครัวเรือน

แบบสอบถามนี้ประกอบดวย 2 ตอน คือ

ตอนท่ี 1 แบบสอบถามความพึงพอใจของเกษตรกรตอเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพสําหรับครัวเรือน ตอนท่ี 2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆตอความพึงพอใจของเกษตรกรตอเครื่องปนเม็ดปุยชีวภาพสําหรับครัวเรือน คําชี้แจง : โปรดทําเคร่ืองหมาย ลงใน ตามความเปนจริง ตอนท่ี 2 แบบสอบถามความ พึงพอใจของเกษตรกรตอเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพสําหรับครัวเรือน เม่ืออานขอความแตละขอแลว กรุณาบอกระดับความพึงพอใจของเกษตรกรตอเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพ สําหรับครัวเรือน โดย 5 หมายถึง ดีมาก , 4 หมายถึง ดี ,3 หมายถึง ปานกลาง , 2 หมายถึง นอย , 1 หมายถึง นอยมาก

ความพึงพอใจของเกษตรกรตอเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพสําหรับครัวเรือน

ระดับความพงึพอใจ

5 4 3 2 1 1. ความสะดวกในการใชงาน 2. ความปลอดภัย ในการใชงาน 3. คุณภาพของเม็ดปุยชีวภาพท่ีผานการปนแลว 4. ระยะเวลาในการปนเม็ดปุยชีวภาพ 5. ความสะดวกในการทําความสะอาดจานปนเม็ดปุยชีวภาพ 6. ไมกอใหเกิดมลพิษทางกล่ินและฝุนละออง 7. สะดวกในการบํารุงรักษาช้ินสวนอุปกรณ 8. ความเหมาะสมของขนาดและรูปราง 9. ความสามารถในการผลิตเม็ดปุยชีวภาพ (กก/ชม.)

Page 47: rmutl-pl-2010_003

ลิขสทธิ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้นนา Copyright© by Rajamangala University of Technology Lanna

All rights reserved

43

ตอนท่ี 2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆตอความพึงพอใจของเกษตรกรตอเคร่ืองปนเม็ดปุยชีวภาพสําหรับครัวเรือน

.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................