sepa กับความส าเร็จที่ยั่งยืน...systems focus 21 5.2...

32
SEPA กับความสาเร็จที่ยั่งยืน สังวร รัตนรักษ์ 1

Upload: others

Post on 22-Oct-2020

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • SEPA กับความส าเร็จที่ยั่งยืน

    สังวร รัตนรักษ์

    1

  • ระบบประเมินผลที่ส่งเสริมให้รัฐวิสาหกิจพัฒนาองค์กร อย่างต่อเนื่องเพื่อความยั่งยืนขององค์กร

    • รวบรวมข้อมูล

    State Enterprise Performance Assessment

    • แผนปรับปรุง OFI Roadmap

    • ผลักดันโดยผู้น า

    • เตรียมคณะท างาน

    • จัดท ารายงานผลด าเนินการ(OPR)

    • ประเมิน (SAR) การน าองคก์ร

    จัดท าแผน ยุทธศาสตร์

    ลูกค้าและตลาด

    ทรัพยากร บุคคล

    ปฏิบัติการ

    ผลลัพธ์

    วัด วิเคราะห์ จัดการความรู้

    Systems Focus

    2

  • ค่านิยมและแนวคิดหลักขององค์กรที่เป็นเลิศ (HPO)

    1. มมีุมมองเชิงระบบ 2. น าองค์กรอย่างมวีิสัยทัศน ์3. มุ่งเน้นความสมดุล 4. ให้ความส าคัญต่อลูกค้า 5. เห็นคุณค่าของบุคลากรและคูค่้า 6. มกีารเรียนรู้ระดับบุคคลและระดับองค์กร 7. มีความคล่องตัว 8. มุ่งเน้นอนาคต 9. จัดการเพื่อให้เกิดนวัตกรรม 10. จัดการโดยใช้ข้อมูลจริง 11. รับผิดชอบต่อประเทศชาติ สังคมและชุมชน 12. สร้างคุณค่า และมุ่งผลลัพธ ์

    Systems Focus

    3

  • • การมุง่เน้นอนาคต

    การน าองคก์ร

    ผลลพัธด์า้นการน าองคก์ร

    12 ค่านิยมหลกั ขององคก์ร ที่เป็นเลิศ

    การมุ่งเนน้บุคลากร ผลลพัธด์า้นการมุ่งเนน้บุคลากร

    12 ค่านิยมหลักขององค์กรที่เป็นเลิศ 6 กระบวนการที่เป็นระบบ 6 ผลลัพธ์ที่สมดุล

    SEPA ให้ความส าคัญค่านิยมหลักขององค์กรที่เป็นเลิศ 4

    4 Systems Focus

  • • Approach: กระบวนการท างานเป็นระบบและมปีระสิทธิผล

    • Deployment: ทุกหน่วยงานปฏิบัติตามมาตรฐานที่ก าหนดไว้อย่างสม่ าเสมอ

    • Learning: ประเมินผล และปรับปรุงกระบวนการท างาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้

    • Integration: กระบวนการตอบสนองลูกค้า และองค์กร น าผลผลิตของกระบวนไปใช้ต่อไป

    SEPA ให้ความส าคัญกระบวนการ

    Systems Focus

    5

  • SEPA ให้ความส าคัญผลลัพธ์

    Level: ผลลัพธ์ในปัจจุบันได้ตามเป้าหมาย หรือดีกว่า Trend: แนวโน้มดีขึ้น Comparison: เปรียบเทียบกับคู่เทียบ คู่แข่ง และ Benchmarks Integration: แสดงผลลัพธ์ครบถ้วน ตามบริบทองค์กร

    Systems Focus

    6

  • กระบวนการ (หมวด 1-6) (ADLI)

    Learning Approach

    Deployment

    • เป็นระบบ • มีประสิทธิผล

    • ทั่วถึง • สม่ าเสมอ

    • ประเมิน • ปรับปรุง

    • ตอบสนองความ ต้องการ • ใช้ทรัพยากร ร่วมกัน

    ผลลัพธ ์(หมวด 7) (LeTCI)

    Levels Integration

    แสดงผลครบถ้วน ตามบริบท, เกณฑ์ ระดับ: ตามเป้า

    Trends

    แนวโน้ม: ดีขึ้น

    Comparisons

    การเปรียบเทียบ: ???

    Integration

    SEPA มุ่งเน้นผลลัพธ์

    SEPA มุ่งเน้นกระบวนการ

    SEPA ประเมินกระบวนการโดยผลลัพธ์

    Systems Focus

    7

  • การน าองค์กร

    ลูกค้า แผน

    ยุทธศาสตร/์ ปฏิบัติการ

    ทรัพยากร บุคคล

    การปฏิบัติการ

    ผลลัพธ์

    วัด วิเคราะห์

    จัดการความรู้

    SEPA ให้ความส าคัญการเชื่อมโยงและการบูรณาการ

    นโยบายรัฐ

    Systems Focus

    8

  • D

    A

    C P

    P

    C

    A D

    P

    C

    A D

    P

    C

    A D

    P

    C

    A D

    Check +Act

    PDCA (Processes) ADLI (System)

    SEPA มุ่งเน้นการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

    b

    SY

    ST

    EM

    SYSTEM

    SY

    ST

    EM

    SYSTEM Systems Focus

    9

  • สรุป เกณฑ์ และตัววัด/ตัวชี้วัดที่ส าคัญ

    The Baldrige Excellence Framework represents the leading edge of validated leadership and performance practice.

    ค่านิยม/แนวคิด การบริหารองค์กรทีด่ี

    (MBNQA, TQA)

    ปรับให้เหมาะสมกับรัฐวิสาหกิจ แนะน าเครื่องมือการจัดการที่จ าเป็น

    เกณฑ์ SEPA

    ประเมิน • ระดับการพัฒนา • หาโอกาสปรับปรุง

    Systems Focus

    10

  • • 3M

    • Armament Research, Development

    & Engineering Center

    • AT&T

    • Boeing

    • Cargill Corn Milling

    • City of Irving

    • Coral Springs

    • Corning

    • Caterpillar Financial

    • Eastman

    •, Eaton

    • Federal Express

    • Gallup

    • Harvard Medical Center of

    Harvard Medical School

    • Hewlett Packard

    • Honeywell

    • IBM

    • Lockheed Martin Missiles and

    Fire Control

    • Los Alamos National Bank

    • McDonalds

    • Motorola

    • Nestle

    • Pizza Hut

    • PricewaterhouseCoopers

    • Solar Turbines Inc

    • Seagate Technology

    • Tata Group

    • Turner Broadcasting

    • Westinghouse,

    Commercial Nuclear Fuel Division

    • Xerox

    Others:

    • Hospitals

    • Schools. Colleges, Universities

    องค์กรที่พัฒนาด้วย Baldrige Criteria

    Systems Focus

    11

  • บริบทของรัฐวิสาหกิจ

    ผลิตภัณฑ์และบริการ วิสัยทัศน์ ภารกิจ วัฒนธรรม ค่านิยม ความสามารถพิเศษขององค์กร บุคลากร เทคโนโลยี อุปกรณ์ สถานที่ กฎระเบียบ ข้อบังคับ โครงสร้างองค์กร ระบบก ากับดูแล ความต้องการของลูกคา้แต่ละกลุ่ม ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และตลาด ความต้องการและบทบาทผู้ส่งมอบ คู่ค้า และคู่ความร่วมมือ ล าดับในการแข่งขัน ปัจจัยความส าเร็จ การเปลี่ยนแปลงที่อาจมผีลต่อการแข่งขัน ความท้าทายและความได้เปรียบเชิงยุทธศาสตร ์ ระบบการปรับปรุงผลด าเนินการ

    12

    Systems Focus

    ปัจจัยส าคญัในการน าองค์การ

  • หมวด 1. การน าองค์กร

    1.1 การน าองค์กรโดยผู้น าระดับสูง

    • ก าหนดวิสัยทศัน์ และค่านิยม • ถ่ายทอดวิสัยทัศน์ และค่านิยมใหบุ้คลากร และผู้เกี่ยวข้องน าไปปฏิบัต ิ• เป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติตามค่านิยม ตามกฎหมาย และมีจริยธรรม • สร้างองคก์รให้ย่ังยนื • สื่อสารและท าใหบุ้คลากรรักและทุ่มเทให้องค์กร • ท าให้บุคลากรมีความจริงจงัในการปฏิบัติงาน

    ตัวชี้วัดที่ส าคัญ: • ความเข้าใจวิสยัทัศน์ของบุคลากร • การประพฤติ และปฏิบัติตามค่านิยมของบุคลากร • อัตราความส าเร็จตามแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ • ทัศนคติของบุคลากรต่อ ผู้น าและระบบการน าองคก์ร

    Systems Focus

    13

  • 1.2 การก ากับดูแล และความรับผิดชอบต่อประเทศชาติและสังคม

    • คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจก ากับดูแลตามบทบาทหน้าที ่• ประเมินคณะกรรมการและผู้บริหาร • น าผลการประเมินไปปรับปรุงผู้น า และ “ระบบการน าองค์กร” • แก้ไขและป้องกันผลกระทบเชิงลบต่อสงัคม • ส่งเสริม และก ากับให้บุคลากรปฏิบัติตามกฎหมายและ มีจริยธรรม • รับผิดชอบต่อประเทศชาติ สังคม และชุมชน

    ตัวชี้วัดที่ส าคัญ:

    • ผลประเมินคณะกรรมการ และผู้น า • ผลการพัฒนาคณะกรรมการและผู้น า • การปฏิบัติที่ผิดกฎระเบียบ และกฎหมาย รวมทั้งข้อร้องเรียน • การมีส่วนร่วมของผู้น า และบุคลากรในกิจกรรมเพื่อสังคมและชุมชน • ความพึงพอใจของชุมชนต่อกิจกรรมสนับสนุนชุมชน

    หมวด 1. การน าองค์กร

    Systems Focus

    14

  • 2.1 การจัดท ายุทธศาสตร์

    • วางแผนเชิงยุทธศาสตร์ โดยใช้สารสนเทศอย่างครบถ้วน • ระบุจุดบอด • ก าหนดยุทธศาสตร์เพื่อจัดการกับความท้าทาย ความเสี่ยง และใช้ประโยชน์จากความได้เปรียบเชิงยุทธศาสตร์ • วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์มีความสมดุล

    หมวด 2. การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์

    ตัวชี้วัดทีส่ าคัญ:

    • ความครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมยัของปัจจัยน าเข้า • ความสอดคล้องของแผนยุทธศาสตร์กับความท้าทายและ ความได้เปรียบเชิงยุทธศาสตร์ และความเสี่ยง • ตัวชี้วัดวัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ครบถ้วน • ความส าเร็จตามแผนยุทธศาสตร์

    Systems Focus

    15

  • 2.2 การถ่ายทอดยุทธศาสตร์เพื่อน าไปปฏิบัติ

    • จัดท าแผนปฏิบัติการระยะสั้นและระยะยาว • จัดสรรและวางแผนด้านทรัพยากรใหเ้หมาะสม • ก าหนดตัวชี้วัดที่เป็นเหตุเป็นผล เชื่อมโยงกัน • ก าหนดเป้าหมายที่ท้าทาย • ถ่ายทอดและก ากับให้บุคลากรและผู้เกี่ยวข้องน าไปปฏิบัต ิ

    ตัวชี้วัดที่ส าคัญ:

    • ความสอดคล้องเชื่อมโยงระหว่างแผนปฏิบัติการ กับแผน ยุทธศาสตร์ • ตัวชี้วัดและเป้าหมายเชื่อมโยงกับความส าเร็จของยทุธศาสตร ์• ติดตาม วัด วิเคราะห์ผล ปรับปรุงแก้ไข และปรับแผน (ถ้าจ าเป็น)

    หมวด 2. การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์

    Systems Focus

    16

  • 3.1 ความรู้เกี่ยวกับลูกค้าและตลาด

    • จ าแนก และก าหนดกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย • รับฟัง เรียนรู้ความต้องการและล าดับความส าคัญจากลูกค้าทุกกลุ่ม • ติดตามข้อมูลป้อนกลบัจากลูกค้า • ประเมินความพึงพอใจ ความภักดี และความไมพ่ึงพอใจของลูกค้า

    หมวด 3 การมุ่งเน้นลูกค้าและตลาด

    ตัวชี้วัดที่ส าคัญ:

    • ก าหนดกลุ่มลูกค้าให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ และภารกิจองค์กร • ผลประเมินความต้องการตามล าดับความส าคัญของลูกค้าแต่ละกลุ่ม • ผลประเมินประเมินความพึงพอใจ ความภักดี และความไมพ่ึงพอใจ ของลูกค้า ตามปัจจัยความต้องการของแต่ละกลุ่ม และในแต่ละพื้นที ่

    Systems Focus

    17

  • 3.2 ความสัมพันธ์กับลูกค้า

    • ก าหนดและนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ และบริการ ให้สอดคล้องกับความต้องการของลกูค้าและตลาด • ให้ความสะดวกลูกค้าในการหาข้อมลู และท าธุรกรรม • ให้ความชว่ยเหลือ และสื่อสารกับลูกค้า • จัดการข้อร้องเรียนของลูกค้าอยา่งรวดเร็วและมีประสิทธผิล

    หมวด 3 การมุ่งเน้นลูกค้าและตลาด

    ตัวชี้วัดที่ส าคัญ: • ผลประเมินความพึงพอใจ ไม่พึงพอใจของลูกค้า ในการค้นหา ข้อมูล ท าธุรกรรม การช่วยเหลือลูกค้า การสื่อสาร และการ จัดการข้อร้องเรียน • ผลลัพธ์ด้านส่วนแบ่ง และการขยายตลาด

    Systems Focus

    18

  • 4.1 การวัด การวิเคราะห์และการปรับปรุงผลการด าเนินการของ รัฐวิสาหกิจ

    • เลือก รวบรวมตัวชี้วัดให้เชื่อมโยงกันระหว่างตัวชี้วัดของแผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการและกระบวนการที่ส าคัญ • หาข้อมูลเชิงเปรียบเทียบเพื่อช่วยในการตัดสินใจ • ทบทวน และวิเคราะห์ผลด าเนินการ • จัดล าดับความส าคญัของการปรับปรุง หรือโอกาสในการสร้างนวัตกรรม • ถ่ายทอดใหผู้้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกองค์กรน าไปด าเนินการ

    หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู ้

    • ตัววัด/ตัวชี้วัดทุกระดับเชื่อมโยงและบูรณาการกัน (Leading-Lagging Indicators)

    • ตัววัด/ตัวชี้วัดครบถัวนทุกกระบวนการที่ส าคัญ และหน่วยงาน

    Systems Focus

    19

  • 4.2 การจัดการสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศและความรู ้

    • จัดการข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ขององค์กรให ้ แม่นย า ถูกต้องและเชื่อถือได้ ทันกาล ปลอดภัยและเป็นความลับ • ท าให้ข้อมูล และสารสนเทศที่จ าเป็นพร้อมใช้งาน • จัดการความรู้ให้มปีระสิทธิผล และประสิทธิภาพ

    หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู ้

    ตัวชี้วัดที่ส าคัญ:

    • ความพึงพอใจของผู้ใช้ข้อมูล สารสนเทศ และความรู ้• ความเสถียรของระบบ IT • ประสิทธิผล และประสิทธิภาพของการจัดการความรู้

    Systems Focus

    20

  • 5.1 สภาพแวดล้อมของบุคลากร • ประเมินความต้องการด้านขีดความสามารถและอตัราก าลัง ที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการ และยุทธศาสตร์ • สรรหา ว่าจ้าง และวางต าแหน่งบุคลากรให้เหมาะสม • มีแนวทางในการรักษาบุคลากรใหม ่• ท าให้ที่ท างานมีสภาพแวดล้อมดี มีสุขอนามยั ปลอดภัย และสวัสดภิาพ • ก าหนดนโยบายด้านสทิธิประโยชน์เหมาะสมกับกลุ่มบุคลากร

    หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร

    ตัวชี้วัดที่ส าคัญ:

    • ความสามารถในการสรรหา ว่าจ้าง และวางต าแหน่งบุคลากร อย่างเหมาะสม ภายในเวลาที่ก าหนด • Turnover Rate • ตัวชี้วัดด้าน Safety Health Environment

    Systems Focus

    21

  • 5.2 ความผูกพันของบุคลากร

    • หาปัจจัยความพึงพอใจ และความผูกพัน • สร้างวัฒนธรรมทีจ่ะท าให้องค์กรได้รับความส าเร็จ • ระบบการจัดการผลการปฏิบัติงานยุติธรรมและโปร่งใส • พัฒนาบุคลากร และผู้น าให้สอดคลอ้งกับความต้องการ ขององค์กรและบุคลากร • จัดการความก้าวหน้าในอาชีพของบุคลากรอยา่งมีประสิทธผิล • ประเมินความพึงพอใจ และความผูกพันของบุคลากร

    ตัวชี้วัดที่ส าคัญ:

    • ความพึงพอใจตามปัจจัยความพึงพอใจของบุคลากร แต่ละกลุ่ม • ความผูกพันของบุคลากรแต่ละกลุ่ม • ผลประเมินประสิทธิผลการฝึกอบรม • Productivity ของพนักงาน • ทัศนคติของบุคลากรต่อการประเมินผล และการพัฒนาบุคลากร

    หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร

    Systems Focus

    22

  • 6.1 การออกแบบระบบงาน

    • ออกแบบระบบงาน และกระบวนการท างาน เพ่ือตอบสนองลูกค้า และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท่ีส าคัญ • เตรียมพร้อมต่อภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉิน

    6.2 การจัดการและปรับปรุงกระบวนการท างาน

    • จัดการให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามข้อก าหนด • จัดการห่วงโซ่อุปทาน • ควบคุมต้นทุน และลดค่าใช้จ่าย • ปรับปรุงกระบวนการท างานอยา่งต่อเน่ือง

    หมวด 6. การมุ่งเน้นการปฏิบัติการ

    Systems Focus

    23

  • • ต้นทุน การจัดส่ง และประสิทธิภาพ • คุณภาพผลิตภัณฑ์ • รอบเวลา • ประสิทธิผลการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม ่• ผลการปรับปรุงองค์กร • ความพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน • ผลลัพธ์ด้านการบ ารุงรักษา • ค่าใช้จ่ายการด าเนินการ (Operating Cost/Unit) • ความสามารถในการบรรลุผลตามโครงการ • ค่าใช้จ่ายลว่งเวลา • การจัดการของเสีย •Operation cost vs. Support cost

    • ผลลัพธ์ด้านระบบสารสนเทศ • การใช้พลังงาน • การฝึกอบรมด้านความปลอดภัย • ระบบการจัดการทรัพยากร และ สินทรัพย ์• ประสิทธิภาพด้าน AR, AP • ประสิทธิภาพการจัดซื้อจัดจ้าง • ประสิทธิภาพการป้องกันอันตราย • ค่าใช้จ่ายด้านความปลอดภัย • โครงการด้านสุขภาพและความ ปลอดภัย • ผลลัพธด์้านผู้ส่งมอบ

    ผลลัพธ์ด้านกระบวนการ

    Systems Focus

    24

  • หมวด 7 ผลลัพธ ์

    7.1 ด้านผลิตภัณฑ์ และกระบวนการ 7.2 ด้านการมุ่งเน้นลูกค้า 7.3 ด้านการเงินและตลาด 7.4 ด้านการมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 7.5 ด้านประสิทฺธิผลกระบวนการ 7.6 ด้านการน าองค์กร

    Systems Focus

    25

  • 7.3 ด้านการเงนิและตลาด

    7.2 ด้านการมุ่งเน้นลูกค้า

    7.1 ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ

    7.4 ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร

    1.1 การน าองค์กร โดยผู้น าระดบัสูง

    SOD, SWOT, RISKS การเปลี่ยนแปลงท่ีส าคญั ปัจจยัขบัเคลื่อนมลูคา่ ความยัง่ยืนในระยะยาว

    ความสามารถใน การปฏิบตัิตามแผน

    7.6 ด้านการน าองค์กร

    ผลลัพธ์ที่สมดุล

    3.1 ความรู้เก่ียวกับ ลูกค้าและตลาด

    6.1 การออกแบบ ระบบงาน KPI

    5.2 ความผูกพนัของบุคลากร

    4.1 การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลด าเนินการ

    3.2 ความสัมพนัธ์กับลูกค้า

    Customer

    Internal Process

    Learning & Growth

    การปฏิบัตกิารที่เป็นเลิศ

    Financial

    กระบวนการจัดการตามแนวทาง SEPA

    การน าองค์กรอย่างมีวิสัยทศัน์

    1.2 การก ากับดแูล และ

    ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

    2.2 การถ่ายทอด ยุทธศาสตร์

    เพื่อน าไปปฏบิัต ิ

    2.1 การจัดท า ยุทธศาสตร์

    4.2 การจัดการสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ และความรู้

    6.2 การจัดการและ การปรับปรุง

    กระบวนการท างาน

    5.1 สภาพแวดล้อมของบุคลากร

    7.5 ด้านประสิทธิผลกระบวนการ

    นโยบายรัฐ ความต้องการลกูค้า และผู้ มีสว่นได้สว่นเสีย

    26 26

    26

    Systems Focus

  • การไปช่วยเหลือประชาชนนั้น ต้องรู้จักประชาชน

    ต้องรู้ว่าประชาชนต้องการอะไร ต้องอาศัยวิชาความรู้ในการช่วยเหลือ

    พระราชด ารัส ๒๒ มีนาคม ๒๕๑๗

    • ถ้าโคน าฝูงไปตรง โคทั้งหมดย่อมว่ายตรงไปตาม

    • ถ้าพร่ าสอนผู้อื่นฉนัใดก็ท าฉันนัน้

    • พึงประกอบการค้าทีช่อบธรรม

    • ก าหนดเป้าหมายของตนให้แน่ชัด แล้วขวนขวายแน่วในจุดหมายของตน

    • จงพิจาณาตนด้วยตนเอง

    • นายรักไพร่ไพร่พร้อม รักนาย มีศึกสู้จนตาย ต่อแย้ง นายเบียฬไพร่ไพร่กระจาย จากหมู ่นายบ่รักไพร่แกล้ง ล่อล้างผลาญนาย • ธิรางคร์ู้ธรรมะ มากหลาย บ่กล่าวให้หญิงชาย ทั่วรู้ ดุจหญิงสกลกาย งามเลิศ อยู่ร่วมเรือนผัวผู้ โหดแท้ขันที

    • วิชาควรรักรู้ ฤาขาด อย่าหมิ่นศิลปศาสตร์ ว่าน้อย รู้จริงสิ่งเดียวอาจ มีมั่ง เลี้ยงชีพช้าอยู่ร้อย ชั่วล้ือเหลนหลาน

    จากพระไตรปิฎก:

    SEPA เป็นแนวคิดใหม่ ?

    โลกนิติค าโคลง:

    Systems Focus

    27

  • เป็นข้อมูลสารสนเทศทีผู่้น า/รัฐวิสาหกิจใชใ้นการประเมินองค์กรด้วยตนเอง เพ่ือน าไปปรับปรุงกระบวนการ และองค์กร

    คณุลกัษณะของรายงานท่ีดี:

    • FACT - ข้อมลูจริง ตรวจสอบได้ • FULL - เน้ือหาสมบรูณ์ แต่กระชบั • FLOW - เช่ือมโยง เป็นเหตเุป็นผลกนั • FEEL - คณุภาพรายงานดี Supplier / Input / Process / Output / Customer

    รายงานผลการด าเนินการ (Organizational Performance Report: OPR)

    Systems Focus

    28

  • การประเมินตนเองเพื่อพัฒนา

    ความเป็นเลิศในมุมมองขององค์กร

    ความเป็นเลิศ จากมุมมอง ภายนอก

    1 2

    4

    3

    5

    Systems Focus

    29

  • Leadership

    Assessment

    Sense making

    Execution

    Results

    LASER เป็นแนวทางในการใช้ SEPA

    Systems Focus

    30

  • 1. ความมุ่งมัน่ของผู้น าระดับสูง 2. การสร้างพลังร่วมของทุกคนในองค์การ 3. การตรวจประเมินตนเองอย่างถูกต้อง 4. การจัดท าแผนปรับปรุงตามล าดับความส าคัญ 5. ความจริงจังในการปฏิบัติตามแผน 6. การตรวจติดตามอย่างต่อเนื่อง 7. ให้ก าลังใจ ยกยอ่ง ชมเชย และให้รางวัล

    ปัจจัยความส าเร็จ

    Systems Focus

    31

  • ขอให้ท่านประสบผลส าเร็จในการน าองค์กรสู่ความเป็นเลิศ

    Systems Focus

    32