siu - dynamics of global economy

42
สัมมนา iZen ครั้งที1 ประจําเดือนตุลาคม 2552 จัดโดย Siam Intelligence Unit พลวัตรเศรษฐกิจโลก15 ตุลาคม 2552 เสนอโดย สุรศักดิธรรมโม นักเศรษฐศาสตร ของ Siam Intelligence Unit http://www.siamintelligence.com/

Upload: isriya-paireepairit

Post on 05-Dec-2014

2.155 views

Category:

Economy & Finance


2 download

DESCRIPTION

Presentation at iZen #1 seminar

TRANSCRIPT

Page 1: SIU - Dynamics of Global Economy

สัมมนา iZen ครั้งที่ 1 ประจําเดือนตุลาคม 2552จัดโดย Siam Intelligence Unit

“พลวตัรเศรษฐกิจโลก”

15 ตุลาคม 2552

เสนอโดย

สุรศักดิ์ ธรรมโมนักเศรษฐศาสตร ของ Siam Intelligence Unit

http://www.siamintelligence.com/

Page 2: SIU - Dynamics of Global Economy

ทําความเขาใจกันกอน1. นักเศรษฐศาสตรพยากรณเศรษฐกิจทั้งการดิ่งลงของเศรษฐกิจสูวิกฤติและการ

ฟนตัวของเศรษฐกิจผิดพลาดมาโดยตลอด

2. องคความรูของวิชาเศรษฐศาสตรปจจุบันมีปญหาอยางรนุแรงดังที่เสนอโดยนิตยสาร The Economist ฉบับ July 18,2009 (Where it went wrong -and how the crisis is changing it ?) และ Paul Krugman เขียนไวใน NY Times Sep 2,2009 (How Did Economists Get It So Wrong?)

3. ผูบรรยายตองการนําเสนอความเคลื่อนไหวของเศรษฐกจิโลกและกลยทุธของประเทศตางๆในการรับมือ ตอบสนองตอภาวะวิกฤติโลก รวมทั้งประเมินกลยทุธของประเทศสําคัญที่กาํหนดใหประเทศอืน่ๆตองเดินตาม ซึ่งผูบรรยายเชือ่วาสิ่งนีจ้ะกําหนดฉากทศัน (Scenario) ของเศรษฐกิจโลกในอนาคตวาจะเปนไปในรูปแบบใด มากกวาดูองคประกอบของ GDP แตละประเทศเพยีงอยางเดียว

Page 3: SIU - Dynamics of Global Economy

ภาวะเศรษฐกิจโลกปจจุบัน

Page 4: SIU - Dynamics of Global Economy

ภาพรวมสถานการณเศรษฐกิจโลกในไตรมาสที่ 2 ป 2552 ดัชนีทางเศรษฐกิจประเทศตางๆแสดงใหเห็นวา เศรษฐกิจโลกไดถึงจุดต่ําสุด และเริ่มฟนตัวอยางชัดเจน หลังจากตลาดการเงินกลับเขาสูภาวะทีม่ีเสถียรภาพขึ้น โดยรัฐบาลมีบทบาทสําคัญที่สุดที่ชวยใหเศรษฐกิจฟนตัว

ในไตรมาส 1 ป 2552 เศรษฐกิจของประเทศเอเชียบางประเทศเริ่มสงสัญญาณการแยกตัว (De-Coupling) ออกจากเศรษฐกิจ G-3 อยางชัดเจน เชน จีน อินเดีย อินโดนีเซีย

“จีน” เปนประเทศทีม่ีบทบาทสําคัญในการเปนผูนําเขาสินคาทุน จาก เยอรมนี เกาหลี ญี่ปุน และ นําเขาสินคาโภคภัณฑจาก ออสเตรเลีย และ บราซิล

การคาระหวางประเทศ ในครึ่งหลังป 2552 มีความเสี่ยงที่อาจจะชะลอตัว เนื่องจากระดับสินคาคงคลังไมไดลดลงต่ําเหมือนกับในชวงไตรมาสที่ 1/52

สัญญาณการฟนตัวอยางชัดเจนในบางประเทศจะนําไปสูการปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายขึ้นโดยออสเตรเลียไดเปนประเทศแรกในกลุม G-20 ที่ปรับอัตราดอกเบี้ยขึ้นไปแลว ในขณะที่ตลาดประเมินวา จีน อินเดียอาจจะใชมาตรการทางการเงินที่เขมงวดขึ้นหลังจากที่ผอนคลายเพื่อกระตุนเศรษฐกิจ

สภาพคลองที่กลับมาสูระดับกอนวิกฤติ ความกังวลเรื่องการออนคาของเงินดอลลารสหรัฐออนคาอาจจะทําใหเกิดฟองสบูในตลาดสินทรัพยบางประเภทโดยเฉพาะดัชนีตลาดหลักทรัพยประเทศเอเชียและภาวะฟองสบูอาจจะแตกเร็วกวาที่คาด เพราะพื้นฐานทางเศรษฐกิจยงัไมไดฟนตัวอยางแข็งแกรง

Page 5: SIU - Dynamics of Global Economy

การประเมินเศรษฐกิจโลกโดยIMFIMF ระบุวา “Global Recession is ending..”IMF ระบุชัดเจนวาการฟนตัวของเศรษฐกิจโลกมาจากภูมิภาคเอเชียโดยเฉพาะจีนและอินเดียรวมทั้งประเกิดใหมเอเชียความเสี่ยงที่ IMF ประเมินคือ การที่ประเทศตางๆออกจาก Exit Strategies เร็วกวาที่คาด ความเปราะบางของสถาบันการเงิน และการที่ประเทศ G-3 โดยเฉพาะสหรัฐฯจะลดการบริโภคลงและสงผลใหการสงออกของประเทศเอเชียจะตองชะลอลงตาม โดยความเสี่ยงนี้จะเกิดขึ้นในป 2011 และอาจจะสงผลใหเศรษฐกิจโลกเติบโตในอัตราที่ต่ําIMF ประเมินวาประเทศในแถบเอเชียมีความเสี่ยงที่จะเผชิญกับภาวะเงินเฟอเรงตัวขึ้นในขณะที่ประเทศพัฒนาแลวโดยเฉพาะสหรัฐฯและญีปุนจะตกอยู ในภาวะ Deflation ยาวนานกวาที่คาดSIU ประเมินเศรษฐกิจโลกเขาสูภาวะเสถียรภาพแลวแตการฟนตัวอยางเขมแข็งตองอาศัยการฟนตัวของตลาดสินเชื่อและการทําใหสถาบันการเงินกลับมาทํางานอีกครั้งแตการฟนตัวของเศรษฐกิจโลกอยางเขมแข็งนั้นแยกไมออกจากการฟนตัวของสถาบันการเงิน ดังนั้น การจัดการภาระหนี้เสียและการเพิ่มทุนของสถาบันการเงินจึงเปนปจจัยสําคัญในการกําหนดการฟนตัวของเศรษฐกิจโลกวาจะเปนไปอยางเขมแข็งหรือไม

Page 6: SIU - Dynamics of Global Economy

IMF : Global Financial Stability Report

IMF ประเมินวาอัตราการขยายตัวในการปลอยสินเชื่อในป 2009 ของ Euro Area, UK และ USA จะอยูที่ -4.6 %,-8.6% และ -3.2 % ตามลําดับ ในขณะที่ป 2010 IMF คาดวาจะหดตัวที่ -2.7 %,-4.5 % และ -2.8 % ตามลําดับ จากตัวเลขดังกลาวนี้ SIU ประเมินวาเศรษฐกิจอังกฤษมีความเสี่ยงสูงมากอันเนื่องมาจากการหดตัวของสินเชื่ออยางรุนแรงในป 2009-10IMF ยังประเมินวาความเสี่ยงทางการเงินของประเทศตลาดเกิดใหมในป 2009-10 คือการ Refinance ในวงเงินประมาณ $ 446 bn โดยสัดสวนวงเงินที่ตอง Refinance ในป 2009 ของ Latin, Europe &CIS,ME&A และ Asia อยูที่ประมาณ $ 50 bn, $87 bn, $42 bn,และ $ 61 bn ตามลําดับ และในป 2010 วงเงิน Refinance ตามการคาดการณของ IMF อยูที่ $ 42 bn, $ 69 bn, $ 32 bn และ $ 63 bn ตามลําดับ จากขอมูลนี้จะพบวา ยุโรปตะวันออกและCIS เปนชาติที่จะตอง Refinance มากสุดและนาจะเปนความเสี่ยงที่โยงไปยัง Western Europe และอาจจะกดดันคาเงินยูโรในอนาคต

Page 7: SIU - Dynamics of Global Economy

Financial Write Down

ที่มา: Bloomberg ปรับปรุงลาสุด 9 ต.ค. 2552

Unit : ‘000 Mn USD

Worldwide 0.5 126 148 379 270 1618Freddie Mac - 24.5 13.5 22.2 19 119.6Fannie Mae - 27.7 19.3 17 20 118.3Citigroup Inc. - 10.2 13.8 19.7 12.8 112.2Wachovia Corporation - - 0 49.8 29.4 101.9American International Group - 11.6 2.5 23.3 15.6 101.4Bank of America - 13.1 13.8 14.5 6.7 69.6Merrill lynch & Co. - - 0 0 12 55.9UBS AG - -0.2 2.4 2 4.4 52.8HSBC Holdings Plc. - 7.9 0 15.6 4.8 50.1JP Morgan Chase & Co - 8 7.7 9.8 8.1 49.2Washington Mutual Fund - - 0 0 30.9 45.3Well Fargo - 5 4.5 8.6 5.5 32.8HBOS Plc - - 0 18.3 3.9 28.2Royal Bank of Scotland - 1.6 3.3 10.1 0.3 27.6National City Corp. - - 0 19.9 0.9 25.2

3Q08 Total3Q09 2Q09 1Q09 4Q08IMF ประเมินวาการตัดขาดทุนของสถาบันการเงิน (write-down)ในชวงป 2550-2553 จะตัดขาดทุนที่ 3.4 ลานลานดอลลารสหรัฐฯ ขณะนี้สถาบันการเงินทั่วโลกตัดขาดทุนไปแลว 1.62 ลานลานดอลลาราสหรัฐฯ เทากับวายังเหลือความเสยีหายอีก 1.78 ลานลานดอลลารสหรัฐฯ

ความเสีย่งสําคัญประการหนึ่งที่ IMF ระบุในรายงานคือความเสีย่งหนี้สาธารณะและนําไปสูการดําเนินนโยบายการคลังแบบขาดดุล (Fiscal Deficit) จะกระทบตอตนทุนทางการเงินระยะยาว โดย IMF ประเมินวาการเพิ่มขึน้ของการขาดดุลงบประมาณ 1% จะนําไปสูการเพิ่มขึน้ของอัตราดอกเบีย้ระยะยาวประมาณ 0.1-0.6%

Page 8: SIU - Dynamics of Global Economy

Regional Financial Write Down

ที่มา: Bloomberg ปรับปรุงลาสุด 15 ต.ค. 2552IMF คาดการณวาในชวงป 2550-2553 สหรัฐฯ จะตัดขาดทุนรวมที่ 1.025 ลานลานดอลลารสหรฐัฯ ปจจุบันตัดขาดทุนไปแลว1 .08 ลานลานดอลลารสหรัฐฯ เกินกวาการคาดการณของ IMF ในขณะที่ภูมภิาคยุโรป (Euro Area) จะตัดขาดทุนรวม 814,000 ลานดอลลารสหรัฐฯ ปจจบุันตัดขาดทุนไปแลว 507,000 ลานดอลลารสหรัฐฯหรือประมาณ 62% ของความเสียหายที่คาดวาจะเกิดขึ้นสถาบันการเงินในสหรัฐฯ อังกฤษและภูมภิาคยุโรปมีความเสี่ยงจากการที่แหลงเงินทุนสวนหนึ่งที่มาจากการระดมทุนในตลาดตราสารหนี้หรือที่เรียกวา Wholesale Funding ในอีก 2-3 ปขางหนาจะครบอาย ุโดย IMF คํานวณวาตราสารหนี้ที่ออกโดยสถาบนัการเงินซึ่งครบอายุในป 2555 และสงผลใหสถาบันการเงินในสหรัฐฯ อังกฤษและภมูภิาคยุโรปตองทําการ Re-finance จะอยูที่วงเงินประมาณ 1.5 ลานลานดอลลารสหรฐัฯ

Page 9: SIU - Dynamics of Global Economy

การขยายตัวของ GDP รายไตรมาสของประเทศอุตสาหกรรมชั้นนํา

-2.5

-3.5

-2.5

-1.4

-4.8

-3.3

-0.2

0.3

-0.6

0.3

-1.0

0.6

-6

-5

-4

-3

-2

-1

0

1

Euro zone Germany UK France US Japan

% qoq

Q1/09 Q2/09

ที่มา: Bloomberg

Page 10: SIU - Dynamics of Global Economy

การขยายตัวของ GDP รายไตรมาสของประเทศอาเซียน

ที่มา: Bloomberg

yoy

Page 11: SIU - Dynamics of Global Economy

การขยายตัวของ GDP รายไตรมาสของประเทศกลุม BRICs

ที่มา: Bloomberg

yoy

Page 12: SIU - Dynamics of Global Economy

OECD Leading Indicators

ที่มา: Bloomberg

Page 13: SIU - Dynamics of Global Economy

ภาวะเศรษฐกิจโลกอนาคต

Page 14: SIU - Dynamics of Global Economy

แนวโนมเศรษฐกิจโลกในอนาคต 1ในป 2010 เศรษฐกิจโลกจะฟนตัวในอัตราที่สูงคือประมาณ 3.1 % yoy เนื่องจากฐานคํานวณในป 2009 ที่ต่ําและมาตรการภาครัฐในการกระตุนเศรษฐกิจโดยเฉพาะจากสหรัฐฯและเอเชียโดยเฉพาะจีน ผนวกกับนโยบายทางการเงินของประเทศพฒันาแลวโดยเฉพาะกลุม G-3 (USA,EU และ Japan) ที่กดอัตราดอกเบี้ยใหต่ําใกลเคียง 0 % (ZIRP: Zero Interest Rate Policy) แตถาพจิารณาในเชิงมูลคาของ GDP โลกตามการประมาณของ IMF พบวา...อาจจะตองใชเวลาถึงป 2011 เปนตนไป มูลคา GDP โลกจึงจะกลับมาอยูในระดับเดียวกับกอนวิกฤติ

แตพิจารณาในภาพยอย พบวากลุมประเทศเกิดใหมประกอบไปดวยกลุมเอเชีย กลุมละตินอเมริกา กลุมยุโรปตะวันออก+รัสเซีย นั้นกลุมเอเชียโดยเฉพาะ กลุมอาเซียน...แมวาจะขยายตัวนอยกวาการขยายตัวของตัวเองในอดีต....แตเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆทั่วโลก ....กลุมอาเซียนมีการขยายตัวที่สูงที่สุด

ทวา ในป 2011 เศรษฐกิจโลกมีแนวโนมจะกลับมาชะลอลงคือขยายตัวนอยกวา 3% อันเนื่องจากประเทศพัฒนาแลวเริ่มหมดศักยภาพในการกระตุนเศรษฐกิจดวยการใชนโยบายการคลังแบบขาดดุล ในขณะที่ประเทศเอเชียแมวาจะพยายามแยกตัวออกจากการพึ่งพาเศรษฐกิจตะวันตกและกระตุนเศรษฐกิจภายในประเทศ....แตการแยกตัวของเอเชียนี้ยังตองใชเวลาไมสามารถจะดําเนินการสําเร็จไดใน 2-5 ป...

ผนวกับการที่เอเชียมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจในป 2010 ที่แข็งแกรงกวาโดยเปรียบเทียบกับตะวันตกจะสงผลใหเกิดกระแสเงินทุนไหลเขามายังเอเชียจํานวนมากซึง่ในที่สุดจะสงผลใหเกิดภาวะฟองสบูในสนิทรัพยบางประเภทและนําไปสูการขึ้นดอกเบี้ยของธนาคารกลางประเทศเอเชียเพื่อควบคุมเงินเฟอและการควบคุมปริมาณเงินสงผลใหเศรษฐกจิเอเชียอาจจะชะลอลง

Page 15: SIU - Dynamics of Global Economy

แนวโนมเศรษฐกิจโลกในอนาคต 2กลุม G-20 จะเปนกลุมกําหนดนโยบายเศรษฐกิจโลกแทนกลุม G-8

กลุม BRICs ซึ่งเปนกลุมยอยใน G-20 จะทวีบทบาททาทายสหรัฐอเมริกาและยุโรปตะวันตกมากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะหลังจากการประชุม BRICs Summit ที่รัสเซียเมื่อ 16 มิ.ย. 2552 โดยเฉพาะการเขามาขอมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายเศรษฐกจิและการเงินโลกในองคกรเศรษฐกิจระหวางประเทศเชน IMF และ World Bank ประการสําคัญ คือ การทาทายสกุลเงินดอลลารสหรัฐฯ โดยจีนและรัสเซีย

จีนจะมีขนาดเศรษฐกิจแซงหนาญีปุนเปนอันดับ 2 ของโลกในสิ้นป 2010 แตการทะยานขึ้นไปเปนเศรษฐกิจอันดับหนึ่งของโลกแทนสหรัฐอเมริกานั้นอาจจะตองใชเวลาถึงป 2050 (ตามการประมาณการณของ Goldman Sachs และสภาขาวกรองสหรัฐฯ)

โลกาภิวัตนจะยงัคงอยู แตจะกระจุกตัวในภมูภิาคมากขึ้น ดังจะเห็นจากขอตกลงประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ความรวมมอืทางเศรษฐกิจการคาและการลงทุนระหวางอาเซียนและจีน เกาหลีใต ญีปุน เชน ความริเริ่มเชียงใหมแบบพหภุาคี (CMIM)

ประเทศเอเชีย จะเริ่มหันเหการสงออกจาก G-3 ไปประเทศอื่นๆและกระตุนเศรษฐกิจภายในประเทศ หรืออีกนัยหนึ่งคือ Rebancing Global Economy กําลังจะเริ่มขึ้นแตระดับการ Rebalance จะชากวานักวิเคราะหทางเศรษฐกิจคาดไวเนื่องจากโครงสรางเศรษฐกิจมีความหนืดในการเปลี่ยนแปลง

การสิ้นสุดของนโยบายทางเศรษฐกจิเสรีนิยมแบบ Washington Consensus และการเริ่มตนของระบบทุนนิยมที่ถูกควบคุม (Regulated Capitalism)

Page 16: SIU - Dynamics of Global Economy

แนวโนมการขยายตัวเศรษฐกิจโลก

ที่มา: IMF October 2009

Page 17: SIU - Dynamics of Global Economy

BRICs Summit June 16,2009

Source: Financial Times

Page 18: SIU - Dynamics of Global Economy

BRICsBRICs มีทุนสํารองระหวางประเทศรวมกัน (ณ 14 ต.ค. 2552) ประมาณ 3.14 ลานลานดอลลารสหรัฐฯ (42.5% ของทุนสํารองระหวางประเทศทั่วโลก)BRICs ถือเงินดอลลารสหรฐัฯสูงในทุนสํารองระหวางประเทศเฉพาะจีนประเทศเดียวนั้นถือครองเงินดอลลารสหรัฐฯประมาณ 70% ของเงินทุนสํารอง หรือ 1.4 ลานลานดอลลารสหรัฐฯ สวนรัสเซียถือเงินดอลลารสหรฐัฯในทุนสํารองระหวางประเทศประมาณ 30% ราว 1.2 แสนลานดอลลารสหรัฐฯ SIU คํานวณโดยอาศัยขอมูล IMF พบวาในป 2552BRICs จะมีสัดสวน GDP โลกประมาณ 15.4% ขณะที่ป 2551 BRICs มีสวนในการขยายตัวทางเศรษฐกิจโลกสูงถึง 59% ขณะที่ประเทศ G-3 มีสัดสวนในการขยายตัวทางเศรษฐกิจโลก 11% สะทอนใหเห็นวาการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกในชวง 2-3 ปขางหนา จะถูกจับเคลื่อนโดยประเทศกลุม BRICs เนื่องจากประเทศพัฒนาแลวยังคงไดรับผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจโลก

อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจรายไตรมาส (yoy) ของ BRICsyoy

Source: Bloomberg

Page 19: SIU - Dynamics of Global Economy

BRICs PropositionBRICs เรียกรองขอบทบาทที่มากยิ่งขึ้นในระบบการเงินโลกและขอสิทธิออกเสียงในสถาบันการเงินระหวางประเทศอาทิเชน สิทธิออกเสียงในกองทุนการเงินระหวางประเทศ (IMF) และที่นั่งคณะมนตรีความมั่นคงฯ ในองคการสหประชาชาติ (UN) SIU ประเมินวาการเปลี่ยนเงินสกุลสํารองจากดอลลารสหรฐัฯ ไปเปนเงินสกุลอื่นๆจะคอยๆเกิดขึ้น เพราะ BRICs เองตางถือครองเงินดอลลารสหรัฐฯในสัดสวนที่สูงในเงินทุนสํารองระหวางประเทศ การระบุหรอืกําหนดทิศทางเงินสกุลใหมที่จะแทนเงินดอลลารสหรัฐฯโดยไมไดมีเงินสกลุที่สามารถแทนเงินดอลลารสหรัฐฯไดอยางแทจริงจะสงผลใหคาเงินดอลลารสหรัฐฯผันผวนซึ่งในแงนี้กระทบกับมูลคาของเงินทุนสํารองระหวางประเทศของ BRICs โดยตรง

อัตราการขยายตัวของผลผลิตอุตสาหกรรม (Industrail Production:IP) ของ BRICsyoy

Source: Bloomberg

Page 20: SIU - Dynamics of Global Economy

34,400

34,620

3,870

500

930

46,040

37,670

36,329

5,910

7,560

950

1,710

22,315

2,360

0 5,000 10,000 15,000 20,000 25,000 30,000 35,000 40,000 45,000 50,000

สหรัฐอเมริกา

ญี่ปุน

ประเทศภาคพื้นยุโรป(Euro Zone)

บราซิล

รัสเซีย

อินเดีย

จีน

2000 2007Source : World Bank 2008

GDP per capita (US$) ของ BRICs และ G3

BRICs consumption

$ ตอป

รายไดตอหัวของ BRICs ยังอยูในอัตราที่ต่ํามากเมื่อ

เทียบกับG-3 ดังนั้น การขยายตัวของการบริโภคของ

ประเทศ BRICs จึงไมอาจทดแทนการลดลงของการ

บริโภค G3 ได

Page 21: SIU - Dynamics of Global Economy

G-20 Sep 25, 2009 Meeting Resultsเวทีในการกําหนดเศรษฐกจิโดยเฉพาะการคาและการเงินระหวางประเทศจะถกูเปลี่ยนมาเปนกลุม G-20 แทนกลุม G-8 G-20 ยังคงยืนยันมาตรการกระตุนเศรษฐกจิตอไปจนกวาสัญญาณการฟนตัวทางเศรษฐกจิจะชัดเจนจึงจะเริม่ดําเนินการกลยทุธออกจากมาตรการกระตุนเศรษฐกจิ (Exit Strategies) การกําหนดกลยุทธในการออกจากมาตรการกระตุนเศรษฐกจิหรือที่เรยีกวา Exit Strategies นั้นขณะนี้กําลังอยูระหวางศึกษาซึ่งทีป่ระชุม G-20 ในครัง้นี้ไดกําหนดใหรัฐมนตรีการคลังของกลุมประเทศ G-20 กองทุนการเงินระหวางประเทศ (IMF) คณะกรรมการเสถียรภาพทางการเงนิ (Financial Stability Board) ซึ่งประกอบไปดวย ธนาคารกลางของกลุม G-20 และหนวยงานที่กํากับกฎระเบียบของกลุม G-20 รวมทั้งกระทรวงการคลงัของประเทศสมาชิก G-20 ตองสงรายงานกลยุทธในการออกจากมาตรการกระตุนเศรษฐกจิในเดือน พ.ย. 2552เนนการ Regulate ในภาคการเงินมากขึ้นทั้งการควบคุมผลตอบแทนผูบริหารภาคการเงิน (เสนอผูนํา G-20 ใน March 2010) การเขาไปกํากับการซื้อขายอนุพันธในตลาด OTC (เสนอผูนํา G-20 ในสิ้นป 2012)เนนการปรับสมดลุเศรษฐกจิโลกโดยมนีัยยะวาสหรัฐฯจะลดการบริโภค (ลดการนําเขา) เพิม่การออม ในขณะที่ชาติเอเชียที่ดําเนินยุทธศาสตร Export Oriented ตองลดการสงออกลง

Page 22: SIU - Dynamics of Global Economy

ความเสี่ยงเศรษฐกิจโลกอนาคต

Page 23: SIU - Dynamics of Global Economy

ความเสี่ยงของเศรษฐกิจโลกในป 2010

ราคาน้ํามันดิบในตนป 2010 ทะยานขึ้นสูงอยางตอเนื่องใกลระดับ 100 ดอลลารสหรัฐฯ ตอบารเรล มีความเปนไปไดสูงมาก

การออนคาของคาเงินดอลลารสหรัฐฯอยางตอเนื่อง ความเปนไปไดสูงมาก

วิกฤติสถาบันการเงินในยุโรปตะวันออก ซ้ําเติมเศรษฐกิจยุโรปตะวันตกใหถดถอยอีกครั้ง ความเปนไปไดในระดับสูง

นโยบาย Exit Strategies ที่เร็วเกินไปของประเทศสําคัญทางเศรษฐกิจของโลก เชน จีน สหรัฐอเมริกา และยุโรปสงผลใหเศรษฐกิจโลกดิงลงอีกครั้ง (Double Dip Recession) ความเปนไปไดระดับต่ํา

การกลายพันธุของไขหวัดใหญสายพันธุใหม 2009 ความเปนไปไดระดับปานกลาง

การลมสลายคาของเงินดอลลารสหรัฐฯ ความเปนไปไดระดับต่ํา

Page 24: SIU - Dynamics of Global Economy

USD : After speech of Bernanke

ที่มา: Bloomberg

Page 25: SIU - Dynamics of Global Economy

USD :Fed Reserve Balance Sheet

ที่มา: Fed

Page 26: SIU - Dynamics of Global Economy

USD :Fed Exit Strategy

ที่มา: Fed

Page 27: SIU - Dynamics of Global Economy

Asia Decoupling ?

SIU ประเมินวาประเทศในเอเชียตะวันออกที่นาจะแยกตัวออกจากเศรษฐกิจ G-3 ไดเร็วที่สุดคือ จีนและอินโดนีเซีย ในขณะที่ ฟลิปปนสแมจะมี Export Share ที่ต่ํา แตฟลิปปนสเปดรับตอเงินโอนจากตางประเทศในระดับสูง (OFW Remittance)ประมาณ 10 % ตอ GDP ในแตละป โดยเงินโอนดังกลาวมาจากแรงงานฟลิปปนสในตางประเทศที่โอนกลับประเทศ

ที่มา: ADB June 2009 ที่มา: ADB June 2009

Page 28: SIU - Dynamics of Global Economy

Fiscal Balance

-10

-8

-6

-4

-2

0

219

7019

7119

7219

7319

7419

7519

7619

7719

7819

7919

8019

8119

8219

8319

8419

8519

8619

8719

8819

8919

9019

9119

9219

9319

9419

9519

9619

9719

9819

9920

0020

0120

0220

0320

0420

0520

0620

0720

0820

0920

1020

1120

1220

1320

14

Advanced economiesEmerging and developing economiesWorld

ประเทศพัฒนาแลวมีแนวโนมเผชิญปญหาการขาดดุลการคลังมากที่สุดเปนประวัติการณบงชี้วาในอนาคตรัฐบาลประเทศพัฒนาแลวจําเปนตองขึ้นภาษีและลดการใชจายภาครัฐเพื่อลดการขาดดุลการคลังซึ่งมีนัยยะตอวาการบริโภคในประเทศพัฒนาแลวจะลดลง

ในขณะที่ประเทศกําลังพัฒนาจะมีศักยภาพในการลดการขาดดุลทางการคลังไดดีกวาประเทศพัฒนาแลว ดังนั้น การขึ้นอัตราภาษีจึงกระทําไดในอัตราที่นอยกวารวมทั้งไมจําเปนตองลดการใชจายภาครัฐในระดับเดียวกับประเทศพัฒนาแลว

% GDP

Source: IMF October 2009

Page 29: SIU - Dynamics of Global Economy

29

Public Debt

Source: IMF October 2009

Page 30: SIU - Dynamics of Global Economy

ขอบคุณและ Q&A

Page 31: SIU - Dynamics of Global Economy

US Commercial Bank loan

Source: Bloomberg

Page 32: SIU - Dynamics of Global Economy

Dollar Index

Source: Bloomberg

Page 33: SIU - Dynamics of Global Economy

US Dollar in Central Bank Reserve

Source: Bloomberg

Page 34: SIU - Dynamics of Global Economy

MSCI World Index

Source: Bloomberg

Page 35: SIU - Dynamics of Global Economy

Contribution to Growth of Global Economy

Source: IMF October 2009

Page 36: SIU - Dynamics of Global Economy

Contribution to Growth of USA

Page 37: SIU - Dynamics of Global Economy

Contribution to Growth of Euro Zone

Page 38: SIU - Dynamics of Global Economy

Contribution to Growth of Japan

Page 39: SIU - Dynamics of Global Economy

Change in US Treasury HoldingAug08 to June 09

Source: ADB September 2009

Page 40: SIU - Dynamics of Global Economy

คาเงินบาทในวิกฤติขาวลือ

Source: Bloomberg

Page 41: SIU - Dynamics of Global Economy

คาเงินบาทในวิกฤติขาวลือ

Source: Bloomberg

Page 42: SIU - Dynamics of Global Economy

คาเงินบาทในวิกฤติขาวลือ

Source: Bloomberg