study success

14
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชาการจัดการและทักษะการเรียนในระดับอุดมศึกษา ครั้งที3 หัวขอ เรียนอยางไรใหประสบความสําเร็จ บทความเลขทีA03/1 ลงวันที30 มิถุนายน 2548 เรียนอยางไร ? ใหประสบความสําเร็จ โดย ผศ. บุษยมาส สินธุประมา เรียนมหาวิทยาลัยไปทําไม ? นักศึกษาอาจจะถูกตั้งคําถามนี้หลายครั้งเมื่อยางกาวเขามาในรั้วมหาวิทยาลัย และแมบางคน อาจจะยังไมถูกถามก็นาจะถามตัวเอง เพราะถาไมอยางนั้นการเรียนระดับอุดมศึกษาในมหาวิทยาลัยก็คง จะเปนเพียงขั้นตอนธรรมชาติสวนหนึ่งในชีวิตทีตอยอดมาจากมัธยมศึกษา หรืออีกนัยหนึ่งอุดมศึกษา จะไมมีความหมายในตัวของมันเอง และกลายเปน ซุปเปอรมัธยมไปเทานั้น บางคนตอบวา การเรียนในมหาวิทยาลัยคือการพัฒนาตนเองเพื่อเตรียมไปประกอบอาชีพ คําตอบนี้คงจะถูกเพียงสวนเดียว เพราะถาคําตอบนี้ถูกรอยเปอรเซ็นต มหาวิทยาลัยก็คงไมตางจาก โรงเรียนฝกอาชีพเทานั้น ในความเปนจริง การอุดมศึกษายังมุงพัฒนาความเปน มนุษย หรือธรรมชาติสวนดีในตัว นักศึกษาแตละคน เพื่อเสริมเขากับความรู ความสามารถ และทักษะในเชิงวิชาชีพ เพราะเมื่อนักศึกษา เรียนสําเร็จเปนบัณฑิตออกไปแลว ไมเพียงแตไปประกอบอาชีพเทานั้น แตยังจะไปสรางครอบครัวและอยู รวมกับผูคนอีกเปนจํานวนมากในสังคมดวย ความสําเร็จของการเรียนในมหาวิทยาลัย จึงตองเริ่มจากความตระหนักของนักศึกษาเองวาตนเขา มาทําไม มีภารกิจอยางไร และกําลังมุงไปสูเปาหมายอะไร ? องคประกอบหลักที่จะนําไปสูความสําเร็จ เงื่อนไขปจจัยที่เปนตัวกําหนดวานักศึกษาจะประสบความสําเร็จ (หรือลมเหลว) ในการศึกษามาก นอย หรือชาเร็วอยางไรนั้น มีอยูดวยกันมากมาย และสงผลตอกันอยางคอนขางจะซับซอน อยางไรก็ตาม องคประกอบพื้นฐานที่สําคัญ สวนซึ่งจะนํานักศึกษาไปสูความสําเร็จก็คือ กาย อารมณ สังคม สติปญญา . กาย รางกายที่แข็งแรงสมบูรณ เปนพื้นฐานเบื้องตนอันสําคัญที่สุด ถานักศึกษามานั่งเปนลม เพราะหิวขาวตอนสาย ทุกวัน หรือเจ็บออด แอด เขาโรงพยาบาลภาคการศึกษาละสองเดือน ก็คง ไมมีทางเรียนใหประสบความสําเร็จได

Upload: kruthai40

Post on 12-Nov-2014

1.629 views

Category:

Education


0 download

Tags:

DESCRIPTION

เรียนอย่างไรใหประสบความสำเร็จ

TRANSCRIPT

Page 1: Study success

เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชาการจัดการและทักษะการเรียนในระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 3 หัวขอ เรียนอยางไรใหประสบความสําเร็จ บทความเลขที่ A03/1 ลงวันที่ 30 มิถุนายน 2548

เรียนอยางไร ? ใหประสบความสําเร็จ

โดย ผศ. บุษยมาส สินธุประมา

� เรียนมหาวิทยาลัยไปทําไม ? นักศึกษาอาจจะถูกตั้งคําถามนี้หลายครั้งเมื่อยางกาวเขามาในรั้วมหาวิทยาลัย และแมบางคนอาจจะยังไมถูกถามก็นาจะถามตัวเอง เพราะถาไมอยางนั้นการเรียนระดับอุดมศึกษาในมหาวิทยาลัยก็คงจะเปนเพียงขั้นตอนธรรมชาติสวนหนึ่งในชีวิตที่ “ตอยอด” มาจากมัธยมศึกษา หรืออีกนัยหนึ่งอุดมศึกษาจะไมมีความหมายในตัวของมันเอง และกลายเปน “ซุปเปอรมัธยม” ไปเทานั้น บางคนตอบวา การเรียนในมหาวิทยาลัยคือการพัฒนาตนเองเพื่อเตรียมไปประกอบอาชีพ คําตอบนี้คงจะถูกเพียงสวนเดียว เพราะถาคําตอบนี้ถูกรอยเปอรเซ็นต มหาวิทยาลัยก็คงไมตางจาก “โรงเรียนฝกอาชีพ” เทานั้น ในความเปนจริง การอุดมศึกษายังมุงพัฒนาความเปน “มนุษย” หรือธรรมชาติสวนดีในตัวนักศึกษาแตละคน เพ่ือเสริมเขากับความรู ความสามารถ และทักษะในเชิงวิชาชีพ เพราะเม่ือนักศึกษาเรียนสําเร็จเปนบัณฑิตออกไปแลว ไมเพียงแตไปประกอบอาชีพเทานั้น แตยังจะไปสรางครอบครัวและอยูรวมกับผูคนอีกเปนจํานวนมากในสังคมดวย ความสําเร็จของการเรียนในมหาวิทยาลัย จึงตองเร่ิมจากความตระหนักของนักศึกษาเองวาตนเขามาทําไม มีภารกิจอยางไร และกําลังมุงไปสูเปาหมายอะไร ? � องคประกอบหลักที่จะนําไปสูความสําเร็จ เง่ือนไขปจจัยที่เปนตัวกําหนดวานักศึกษาจะประสบความสําเร็จ (หรือลมเหลว) ในการศึกษามากนอย หรือชาเร็วอยางไรนั้น มีอยูดวยกันมากมาย และสงผลตอกันอยางคอนขางจะซับซอน อยางไรก็ตามองคประกอบพื้นฐานที่สําคัญ ๔ สวนซึ่งจะนํานักศึกษาไปสูความสําเร็จก็คือ

กาย อารมณ สังคม สติปญญา ๑. กาย รางกายที่แข็งแรงสมบูรณ เปนพื้นฐานเบื้องตนอันสําคัญที่สุด ถานักศึกษามานั่งเปนลมเพราะหิวขาวตอนสาย ๆ ทุกวัน หรือเจ็บออด ๆ แอด ๆ เขาโรงพยาบาลภาคการศึกษาละสองเดือน ก็คงไมมีทางเรียนใหประสบความสําเร็จได

Page 2: Study success

๒. อารมณ ในสวนนี้หมายถึงทั้งอารมณความรูสึก เชน โกรธ, เบื่อ, ข้ีเกียจ, ขยัน, กระตือรือรน, ไปจนถึงทัศนคติ เชน ความชอบ/ไมชอบ และอคติที่มีตอส่ิงตาง ๆ ดวย ปจจัยขอนี้ก็คงจะอธิบายไดไมยาก นักศึกษาจํานวนไมนอยเรียนภาษาอังกฤษหรือคณิตศาสตรไดไมดี (ออน) เนื่องจากสาเหตุพ้ืนฐานคือ อคติ/ความไมชอบ ที่มีตอวิชาทั้งสองนี้ เมื่อเขาเรียนทีไรก็จําใจเรียนอยางเบื่อหนาย ถาไมสามารถแกไขปรับปรุงองคประกอบขอนี้ไดก็ยากที่จะประสบความสําเร็จในการเรียนโดยรวม ๓. สังคม องคประกอบสองขอแรกนั้น เปนเรื่องของตัวเราเอง ที่เรายังสามารถควบคุมดูแล ปรับปรุงพัฒนาไดดวยตนเอง แตเมื่อมาถึงขอที่สาม คือสังคม ที่เร่ิมจากหนวยเล็กที่สุดคือครอบครัว ขยายสูวงกวาง เชน เพ่ือนฝูง และคนรอบขาง จะพบวาเง่ือนไขในองคประกอบขอนี้คอนขางจะอยูนอกเหนือการจัดการ ควบคุม ดูแล เพราะนอกจากครอบครัวที่เปนหนวยสังคมแลว ยังรวมเอาเงื่อนไขทางเศรษฐกิจผนวกเขาไวดวย ถึงแมวานักศึกษาอาจจะไมสามารถเขาไปแกไขปรับปรุงองคประกอบขอนี้ไดมากนัก แตก็เปนเรื่องสําคัญที่จะตองพิจารณาใหเขาใจ เพ่ือจัดการใหสงผลกระทบในเชิงลบตอการเรียนของเราใหนอยที่สุด ๔. สติปญญา ขอนี้จัดไวทายสุดเพราะเปนคุณสมบัติติดตัวมาแตเกิด หรือพัฒนาอยูในชวงสั้น ๆ ของวัยทารกเทานั้น อยางไรก็ตามองคประกอบขอนี้มิใชวาจะอยูนอกเหนือการควบคุมจนกระทั่งเราไมตองไปคิดถึงมันอีกเลย เพราะสติปญญาในขอนี้มิไดหมายถึงเพียงแตระดับความเฉลียวฉลาดที่ภาษาฝรั่งเรียกวา IQ เทานั้น แตยังตองพิจารณาลงไปถึงรายละเอียดทางองคประกอบของความสามารถทางสติปญญา ที่มาจากความแตกตางของสมองซีกซายกับซีกขวาดวย ซึ่งเราพบวา บางคนมีความสามารถเดนในเชิงตรรกะ เชน การใชเหตุผล การคิดคํานวณ การวางระบบและลําดับความคิด ในขณะที่อีกคนหนึ่งอาจจะโดดเดนมากกวาในการแสดงออกทางอารมณความรูสึก รวมไปถึงการรังสรรคงานทางดานศิลปะ ดนตรี เปนตน นักศึกษาจึงตองประเมินและตระหนักถึงความสามารถเฉพาะตัวของแตละคน เพ่ือจัดวางทางเลือกที่เหมาะสมสําหรับตัวเองอยางดีที่สุด

� การตั้งเปาหมายที่เปนไปไดและควรจะเปน การเรียนก็เหมือนกับการทํากิจกรรมอื่น ๆ ในชีวิตอีกมากมาย คือ ตองมีเปาหมาย แตนักศึกษาจํานวนไมนอยยังไมทราบ หรือแมแตไมเคยคิดวาเปาหมายในชีวิตของตนคืออะไร และเปาหมายในการเขามาเรียนในมหาวิทยาลัยคืออะไร เมื่อไมมีเปาหมายจึงไมรูวาจะวัดความสําเร็จไดอยางไร

Page 3: Study success

ลักษณะของการตั้งเปาหมายที่ดี ๑. เปนสิ่งที่พึงปรารถนา / เปนสิ่งกระตุนในทางที่ดี (ใครบางตั้งเปาจะจบไปเปนโจร ?) ๒. เปนสิ่งที่อยูในวิสัยจะเปนไปได (ถาอยากรวยกวา บิล เกตส จะมากไปไหม ?) ๓. วัดความสําเร็จได ๔. ทําสําเร็จไดภายในกําหนดเวลา (คงไมใช ชาติหนาตอนบาย ๆ ?) วิธีการตั้งเปาหมาย แบงเปาหมายออกเปนระยะ ใหสอดคลองกันตั้งแตระยะสั้นจนถึงระยะยาว แลวพิจารณาจากพ้ืนฐานองคประกอบสี่ประการ (กาย อารมณ สังคม สติปญญา) ที่ตัวเรามีอยู เพ่ือตั้งเปาที่เปนไปไดและพึงประสงค (ถาเราเปนเด็กหัวดี IQ 190 ทางบานก็พอมีฐานะ จะตั้งเปาเอาแคผาน ๒.๐๐ เพ่ือเรียนใหจบภายในหาป จะเปนเปาหมายที่ต่ําเกินไปหรือไม ?) ตัวอยาง นางสาว ป. สุขภาพแข็งแรง เรียนหนังสือพอใชได/คอนขางดี

สนใจดานคอมพิวเตอรและการทองเที่ยว เปาหมายระยะยาว

จะเปนผูจดัการบริษัทเล็ก ๆ ที่ใหบริการฐานขอมูลทางดานการทองเทีย่ว ทั้งในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบานใกลเคียง (ภายในป พ.ศ. ๒๕ . . .)

เปาหมายระยะกลาง จะเรียนที่ EAU ใหจบภายในสี่ป (อยางมากไมเกินสีป่ครึ่ง) เกรดเฉลี่ยนาจะถึง ๓.๐๐ เผื่อสมัครเรียนปริญญาโทตอไป

เปาหมายระยะสั้น จะเรียนเทอมแรกนี้ใหผาน อยางนอยนาจะไดสัก ๒.๗๕ นะ

(และอาจมีเปาหมายระยะสั้น ๆ ยอยลงไปเปนรายเดือน รายสัปดาหอีก ก็ยอมได) � การวางแผนการเรียน ความสําคัญของการวางแผนการเรียน เมื่อมีเปาหมายที่ดีและสมจริง (คือเปนไปได) แลว ก็จําเปนตองมีวิธีการที่จะนําพาตนเองไปสูเปาหมายที่วางไว การวางแผนการเรียนนั้น พูดกันงาย ๆ ก็คือการเตรียมวิธีการสําหรับตัวเราที่จะไปใหถึงเปาหมายนั่นเอง อันที่จริงมหาวิทยาลัยไดเตรียมแผนในเชิงวิชาการไวสําหรับนักศึกษาทุกคนโดยสวนรวมในแตละหลักสูตรแลว ที่เรียกวา แผนการศึกษา หรือ Study Plan ซึ่งปรากฏอยูในหลักสูตรของนักศึกษานั่นเอง แตในสวนรายละเอียด นักศึกษาแตละคนมีลักษณะองคประกอบที่แตกตางกัน มีเปาหมายที่ตางกัน จึงตองวางแผนเฉพาะสําหรับตัวเองดวย

Page 4: Study success

วิธีการวางแผนการเรียน การมีขอมูลที่ถูกตองและครบถวน ปจจุบันนี้เราอยูในยุคขาวสารขอมูล (Information Age) การมีขอมูลที่ถูกตองและครบถวนสําหรับการวางแผนการเรียนจึงเปนสิ่งสําคัญที่สุด นับตั้งแตหลักสูตรและระเบียบการศึกษา (ซึ่งมี Study Plan รวมไวใหแลว ดังที่กลาวขางตน) รวมถึงประกาศและขาวสารจากทางมหาวิทยาลัย จากคณะ จากภาควิชา และจากอาจารยผูสอนแตละทาน ในแตละภาคการศึกษา นักศึกษาตองใสใจติดตามขาวสารขอมูลทางการศึกษาเหลานี้ เพราะถาพลาดพลั้งไป จะอางวา “ไมทราบ” นั้นไมได ขอมูลสําคัญประการหนึ่ง สําหรับแตละรายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียน คือ เคาโครงรายวิชา (Course Syllabus) ที่อาจารยผูสอนแจกใหและอธิบายในชั่วโมงแรกของการเรียน นักศึกษาหลายคนมองขามความสําคัญของขอมูลช้ินนี้ ไมเขาเรียนครั้งแรก และ/หรือ โยนเคาโครงรายวิชาทิ้งไป ทั้งๆ ที่มันคือเคร่ืองมือช้ินสําคัญที่จะชวยเราสําหรับการวางแผนการเรียนในแตละวิชาได การบริหารเวลา เราสามารถวาดฝนที่จะทําอะไรไดมากมาย แตในโลกแหงความจริงเราจะตองมีเวลา และสามารถจัดสรรเวลาที่จะทําส่ิงตาง ๆ ที่วางแผนไวใหสําเร็จ การบริหารเวลาจึงเปนสิ่งจําเปนอยางมากสําหรับการเรียนในมหาวิทยาลัย โดยในเบื้องตนเราตองใชขอมูลที่มีอยูทั้งหมดมาประมวลเปนตัวกําหนดวาเราจะแบงใชเวลาในแตละเทอม แตละเดือน แตละสัปดาห จนถึงแตละวันอยางไร ตัวอยาง เชน ถาเราทราบวา ในภาคเรียนนี้จะตองทํารายงานถึงสามชิ้น สําหรับสามวิชา เพ่ือสงในตอนปลายภาค (กอนสอบไล) เราจะจัดแบงเวลาสําหรับงานทั้งสามชิ้นนั้นอยางไร ไมใชรอไปเรงทําในชวงสัปดาหสุดทาย ซึ่งในที่สุดก็จะไดงานคุณภาพต่ําทั้งสามวิชา เครื่องมือที่จะชวยสําหรับบริหารเวลาในปจจุบันมีอยูมากมาย เร่ิมตั้งแตสมุดบันทึกเล็ก ๆ เพ่ือจดกิจกรรมหรืองานที่จะตองทํา หรือตารางปฏิทินที่ใชสําหรับการวางแผน (Planner) จะซื้อที่เขาทําขายหรือจะตีตารางทําเองก็ได ในคอมพิวเตอรก็มี (เชน ในโปรแกรม Microsoft Outlook) แผนตารางพวกนี้ใชไดทั้งการวางแผนบริหารเวลาในการเรียน รวมไปถึงการดําเนินชีวิตในดานอื่น ๆ อยางเปนระบบดวย (เชน จัดหลีกไมใหรถไฟชนกัน??) นักศึกษาสามารถวางแผนการใชเวลาลวงหนาไดนับตั้งแตรายป รายสี่เดือน (ภาคการศึกษา) รายสัปดาห จนถึงรายชั่วโมงในแตละวัน เราทราบวา วันหนึ่งมีเพียง ๒๔ ช่ัวโมง สัปดาหหนึ่งมีเพียง ๗ วัน . . . แตถารูจักบริหารเวลาใหดี ก็จะสามารถใชเวลาที่มีอยูทั้งหมดไดอยางคุมคาและมีประสิทธิภาพ ปญหาของนักศึกษาจํานวนมาก มักจะปลอยเวลาชวงตนเทอมใหผานไปอยางหนายเนือย (slow motion) แลวไปเรงทํางานหรือทองหนังสือเอาตอนปลายภาค ทําใหไมประสบความสําเร็จเทาที่ควร อยาลืมภาษิตที่วา “เวลา และ วารี ไมเคยที่จะคอยใคร”

(TIME AND TIDE WAIT FOR NOBODY)

Page 5: Study success

� เทคนิควิธีการเรียนใหประสบความสําเร็จ การศึกษาในมหาวิทยาลัยกําหนดใหนักศึกษาตองคนควาหาความรูดวยตนเองเปนหลักสําคัญ การเขาช้ันเรียนเพื่อฟงคําบรรยาย (lecture) จากอาจารย เปนเพียงการฟงคําช้ีแนะแนวทางในการศึกษาคนควาเทานั้น อยางไรก็ตาม นักศึกษาจํานวนมากยังหวังเพียงพึ่งพิงความรูที่อาจารยหยิบยื่นใหจากคําบรรยายเทานั้น ซึ่งที่จริงแลวยังไมพอ การเขาชั้นเรียน การเตรียมตัวกอนเรียน การรับฟงคําบรรยายในชั้นเรียนใหมีประสิทธิภาพนั้น ตองมีการเตรียมตัวมากอน มิใชเดินเลนตามสบายเขาไปนั่งฟงบางไมฟงบาง การเตรียมตัว เชน ตองทราบวาช่ัวโมงนั้นจะเรียนอะไร มีเอกสาร ตํารา หรือหนังสือที่อาจารยส่ังใหไปเตรียมอานมากอนหรือไม ถาจะใหดีตองเปดดูสมุดจดคําบรรยาย (lecture) ช่ัวโมงที่แลววาเรียนอะไรไปถึงไหน วิธีการปฏิบัติตนในชั้นเรียน

เพ่ือใหประสบความสําเร็จสูงสุดในการเรียนรูรวมกับอาจารยผูสอน แนวทางที่ดีคือ การปฏิบัติตามหลักที่รูจักกันในนาม “หัวใจนักปราชญ” คือ การฟง, คิด, ถาม, และเขียน เปนการฟงคําบรรยายอยางตั้งใจ แลวคิดตามไปดวย หากมีขอสงสัยใหรีบถาม (หรือจดไวถามในชวงที่อาจารยเปดโอกาสใหซักถาม) เมื่อฟงและคิดแลวก็ตองเขียน คือจดบันทึกส่ิงที่ไดฟงและเขาใจนั้นลงไว เพ่ือเตือนความจําและเพื่อทบทวนในโอกาสตอไป ปจจุบันนักศึกษาหลายคนใชหลัก “หัวใจเครื่องถายเอกสาร” คือใชวิธีการถายเอกสารคําบรรยายจากเพื่อน ไมวานักศึกษาจะไมเขาช้ันเรียนหรือเขาหองเรียนแตไมจดเองก็ตาม ซึ่งการใชวิธีการถายเอกสารนี้เปนวิถีทางที่ตรงขามกับหัวใจนักปราชญ เพราะไมไดผานการฟงดวยหูของตนเอง (บางคนเขาเรียนแตก็ไมคอยไดฟง) จึงไมไดคิด ไมไดถาม และในที่สุดคือไมไดเขียน เครื่องถายเอกสารจึงกลายเปนมารรายขยี้หัวใจนักปราชญตัวจริงแทแนนอน

ระบบการจดโนต ที่มีคุณภาพ

๑.ระบบแฟมเจาะขาง ใชแฟมเจาะขาง ๑ เลม ตอ ๑ วิชา และเขียนชื่อวิชาใหชัดเจน ในแฟมนี้จะรวมเอกสารทุกชนิดที่เก่ียวกับเอกสารคําสอนที่ไดรับจากอาจารยผูสอนและแบบฝกหัดที่เก่ียวของกับวิชาทั้งหมด โดยอาจจัดระบบเอกสาร ไดหลายวิธี เชน จดัเรียงตามวันที่ไดรับเอกสารหรือวันที่จดโนต อีกวิธีหนึ่งคือ กระดาษจดโนัตรวมไวกลุมหนึง่ สวนเอกสารก็รวมไวอีกกลุมหนึ่ง

Page 6: Study success

วิธีนี้มีขอดีขอเสีย เชน ขอดี ไมตองหอบห้ิวสมุด เอกสารมากมายไปเรียนหนังสือ ทําใหจดัเรียงและนํามาใชไดสะดวก และการแทรกเพิ่มเติมหรือการดึงออกทําไดงาย ขอเสีย เชน กระดาษที่จดัเก็บอาจฉีกขาดไดงาย เมือ่ดึงเขาออกบอย ๆ ๒. ระบบผสมสมุดโนตกบัแฟมหนีบ ควรเตรียมสมุดจดโนต ๑ เลม ตอ๑ วิชา โดยจดโนตใสสมุดและจดัเอกสารทุกชนิดเก็บใสแฟม ระบบนี้มีขอด ีคือการจดโนตจะรวมเปนเลม โอกาสหายไปแผน สองแผน นาจะมีนอยกวา นอกเหนือจากวิธีขางตนนี้ หากนักศึกษามีความรูความสามารถในการสราง website หรือ การทําhomepage เปนของตนเองได การจดบนัทึกหรือรวบรวมการจดโนตเก็บไวใน website จะเปนประโยชนตอการศึกษาเลาเรียนที่มีประสิทธิภาพมากตอไป เทคนิคการจดโนต - วิธีการมีหลายวิธี เชน

๑. ใชสัญลักษณมาตรฐานแทนคําตาง ๆ เชน สัญลักษณตาง ๆ ที่เก่ียวของในศาสตรนั้น ๆ ๒. ใชอักษรยอ ช่ึงมีความหมายเปนมาตรฐาน ๓.สรางสัญลักษณหรือคํายอของเราเอง เปนโนตยอที่มาจากหลักการสําดัญของการจํา คือ สนใจ เขาใจ และจดักลุม (๓ จ) เทคนิคการจาํมีประโยชนและเปนเครื่องมือในการเรียนที่ดี จะกลาวในหัวขอตอไป - รูปแบบการจดโนต เชน

๑ แผนภูมิตนไม (Tree Diagram ) เหมาะสาํหรับขอมูลที่มีรายละเอียดมากมายหลายชั้น และแบงแยกกันคอนขางชัดเจน

๒ แผนภูมิความคิด (Mind Mapping Diagram ) เหมาะสาํหรับเนื้อหาท่ีกระจายออกไปกวางขวาง เวลาเขียนหัวขอหลักจะอยูตรงกลาง สวนหัวขอรองและสาระสําคญัจะกระจายอยูรอบ ๆ อยางไรก็ตามถาตองการแสดงลําดับของหัวขอที่อานหรือฟง สามารถทําไดโดยการใสหมายเลขไวที่หัวขอตาง ๆ

๓ แบบโครงเรื่อง เปนการจดประเด็นและหวัขอสําคัญตาง ๆ โดยใชสํานวนภาษาของเราเอง แลวจัดลุมเรียงลําดับหัวขอนั้น วธิีนี้จะทาํใหเราเขาใจเรื่องอยางแทจริง เพราะตองแยกวาขอไหนเปนประเด็นสําคัญกอนจึงจะสามารถเขียนสรุปประเด็นได

๔ แบบการลําดบัเวลา เหมาะสําหรับการจดโนตในวิชาที่เปนเรื่องของพัฒนาการตาง ๆ หรือภูมิหลังของเรื่องที่กําลังศึกษา ลําดับเวลาจะชวยใหเราเขาใจเหตุการณที่เกิดขึ้นอยางมีเหตุผลและตอเนื่อง

Page 7: Study success

เทคนคิการจํา

สาระสําคญัของการจํานัน้คือการเช่ือมตอระหวางความรูใหมกับความรูเดิมใหอยูในโครงสรางเดียวกันที่มีอยูแลว เทคนดิการจาํจะตองมีความเขาใจกอนจึงจะสามารถทําใหการจํานั้นมคีุณภาพและเปนประโยชนตอการเรียน เทคนิคการจาํจึงไมใชการทองจํา เทคนิคการจาํเปนเครื่องมือชวยในการเรียน มีหลายวิธี เชน

- เปนคํากลอน - จําจังหวะทํานองเพลง หรือการแบงกลุมเนื้อหา - การสัมพันธเช่ือมโยงกับขอมูลหรือความรูเดิมที่มีอยูแลัว - อักษรซ้ํา - ชุดคํา การสรางคําใหมจากอกัษรตัวแรกและเรียงเปนกลุมใหจํางาย - การใชอักษรมาสรางเปนคาํแลวผูกเร่ือง เชน ไกจิกเด็กตายบนปากโอง (เร่ืองอักษรกลาง)

การคนควา ดังที่กลาวแลววา การจดคําบรรยายของอาจารย เปนเพียงแนวทางการเรียนรูสวนหนึ่งเทานั้น นักศึกษาจะตองคนควาดวยตนเองเปนสําคัญ ปจจุบันนักศึกษาโชคดี ที่เรามีแหลงความรูหรือสารสนเทศมากมาย แตก็มากเสียจนรูจักกันวาเปนภาวะ “สารสนเทศทวมทน” ดังนั้น นอกจากจะรูแหลงคนควาแลว นักศึกษายังตองรูจักประเมิน แยกแยะ ขอมูล ขาวสาร ความรู ที่มีอยูมหาศาลนั้นดวย มหาวิทยาลัยไดจัดใหนักศึกษาทุกคนตองเรียนวิชาศึกษาทั่วไปวิชาหนึ่ง คือ “การคนวาและนําเสนอสารสนเทศ” หวังวานักศึกษาจะใสใจกับความรูและทักษะที่จะไดรับจากวิชานี้ใหมากเปนพิเศษ ในการคนควาหาความรูนั้น กิจกรรมสําคัญที่สุดอยางหนึ่ง คือ การอาน จึงขอแนะนําเร่ืองความสําคัญของการอานและเทคนิคโดยยอของการอานไวดังตอไปนี้ ความสําคัญของการอานและวิธีการอาน การอานเปนพื้นฐานในการสราง และพัฒนาความรู ความคิด จินตนาการ และทัศนคติ การอานเปนเครื่องมือสําคัญที่ทําใหมนุษยสามารถแสวงหาความรูใหม ๆ เปดโลกของความคิด เปนคนทันสมัยอยูเสมอ นอกจากนี้การอานยังมีหนาที่ในการผอนคลาย และสามารถทําใหมนุษยสามารถมีความสุขไดจากจินตนาการและความรูสึกนึกคิดของตนเอง มีบุคคลจํานวนมากมายที่มีนิสัยรักการอานและประสบความสําเร็จในชีวิต หนาที่การงาน เพราะชอบอาน และอานทุกอยางที่เห็น หัวใจนักปราชญไดรวมเอาการอานเขาเปนสวนหนึ่ง คือฟงมากอานมาก เปนองคประกอบเบื้องตน เพราะอยางนอยเปนการสํารวจความรูโดยทั่วไปในชั้นหนึ่งแลว

Page 8: Study success

อานไปทําไม อานอะไร อานอยางไร ?

โจทยขอแรก ที่เปนปญหาของนักศึกษา คือ นักศึกษาไมอาน อานชา อานไมเขาใจ ไมมีเวลา

อาน (นาจะเปนขออาง) เปนตน ดังนั้นนักศึกษาตองแกไขปญหาเบื้องตนนี้ใหไดเสียกอน ปจจุบันมีคูมือแนะนําการอาน หลายเลมที่นาสนใจ นักศึกษาอาจจะตองเร่ิมตนอานคําแนะนําการอานเสียกอน ตรงนี้เปนวัตถุประสงคของการอานเบื้องตน คือ อานไปทําไม และจะอานอะไร เมื่อนักศึกษา ตอบคําถามนีไ้ดแลว จะเห็นประโยชน และมีทิศทางที่ชัดเจน และหากสามารถนําขอมูลที่ไดจากการอานไปปฏิบัติไดจริง จนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อุปนิสัยของตนเองได ก็เทากับนักศึกษาประสบความสําเร็จในการเรียนกวาครึ่งทางแลว โจทยขอที่สอง เมื่อเห็นประโยชน ของการอานแลว และไดเร่ิมตนอานแลว อาจมีคําถามตอมาอีกวา มีวิธีการอานอยางไร การอาน มีจุดมุงหมายแตกตางกัน สําหรับนักศึกษานั้นมีจุดมุงหมายที่ชัดเจน คือ การอานตําราและหนังสือทั่วไปที่เปนสวนประกอบของการเรียน เปนการอานเพื่อเรียนรู และประกอบความรูพ้ืนฐานวิชาตาง ๆ ดังนั้นจึงตองอานอยางมีความหมาย สามารถสรางและเช่ือมโยงความรู ความคิด ที่ไดจากการอาน สามารถนําส่ิงที่ไดจากการอานนําไปใชได แนวทางในการอานหนังสือ หรือตําราเรียน เพ่ือชวยใหประสบความสําเร็จในการเรียนนั้น มีวิธีการอานที่มีการวิจัยแลววาไดผลดี คือวิธี ที่เรียกวา OK 4 R OK 4 R กอนเริ่มอาน

O = Overview - ควรอานคราว ๆ (overview) ในบทนั้น ๆ อานความนําของเรื่อง และบทสรุป ที่ผูเขียนเขียนไว

ระหวางข้ึนตนบท อานบทที่ 1 และอานสรุปประเด็นในยอหนาสุดทาย เมื่ออานจบแลว เราจะรูวาบทนี้กลาวถึงเร่ืองอะไร ใจความสําคัญมีอะไร

ระหวางการอาน K ความคิดที่สําคัญ (Key Ideas) - อานเพื่อหาแนวคิดที่สําคัญ ซึ่งมักจะปรากฎที่หัวขอยอยของแตละบท พยามยามตั้งคําถามวา

เนื้อหาสําคัญประกอบดวยอะไรบาง R ตัวที่ 1 คือ การอาน (Reading) - อานเพื่อตอบคําถามใหไดวา ใคร ทําอะไร ที่ไหน อยางไร ทําไม การอานในขัน้ตอนนีค้วรอานใหตอเนื่อง และมีสมาธิจดจอ ควรพิจารณาวาตัวอยาง จากหนังสือที่กําลังอานอยูนั้น ชวยทําใหเราเกิดความเขาใจมากขึ้นหรือไม หลังการอาน R ตัวที่ 2 คือ การระลึก ( Recall )

Page 9: Study success

- เมื่ออานจบแลว ตองนึกทบทวนดูวาอานไปแลวจําไดหรือไม หรือเขาใจมากนอยเพียงใด ควรพยามยามเขียนสรุปเปนหัวขอยอยและตอบคําถามใหไดดวยภาษาของตนเอง

R ตัวที่ 3 คือ ความสัมพันธเช่ือมโยง (Relate) - ส่ิงที่เขียนสรุปไวแลวจากการอานขางตน นั้นวามีความสัมพันธหรือขยายความเชื่อมโยงกับ

ความรูเดิม ที่ไดอานไปแลวอยางไรบาง และแนวคิดตาง ๆ ที่ไดจากการอานเหมือนหรือแตกตางจากเลมอื่นอยางไรบาง เปนตน

R ตัวที่ 4 คือ การทบทวน (Review) - ข้ันตอนนี้หมายถึง การทบทวนสิ่งที่อานและจดบันทึกไวแลวเปนครั้งคราว ซึ่งอาจจะใชในการทดสอบยอย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค แตโดยทั่วไปแลว นักศึกษามักจะไมทบทวนความรูจนกวาจะมีการสอบปลายภาค

หลักของ OK4R นี้ เปนการชวยเตือนนักศึกษาใหเกิดความรับผิดชอบในเวลาที่ตองการอาน ทําใหการอานมีความหมายและไดประโยชน

� การวัดผลการเรียน การวัดผลการเรียนของนักศึกษาในแตละภาคนั้น อาจไมไดมีแตเพียงการสอบ คือ ทั้งการทดสอบยอย การสอบกลางภาค และการสอบไล เทานั้น แตอาจารยผูสอนอาจมอบหมายใหนักศึกษาคนควาทํารายงาน เพ่ือหาความรูเพ่ิมเติม ตลอดจนอาจมีกิจกรรมการวัดผลอื่น ๆ อีกดวย ในการทํารายงานนั้น นักศึกษาตองเขาใจวา อาจารยตองการใหนักศึกษามีโอกาสฝกทักษะในการหาความรู และรูจักคิดวิเคราะหดวยตนเอง การทํารายงานจึงไมใชเปนเพียงการไป “คน” แลวก็ “ควา” เอามาเสนอในรูปของการ “ตัด-แปะ” เทานั้น แตนักศึกษาจะตองรูจักแสวงหาใหมาก อานใหมาก เพ่ือประมวลเอาความรูความเขาใจจากสิ่งตาง ๆ ที่ไดอานนั้น มาเรียบเรียง นําเสนอออกมาเปนรายงาน ถาทําไดถึงขนาดนี้จึงจะเรียกไดวาประสบความสําเร็จในการศึกษาอยางแทจริง กิจกรรมการวัดผลที่นักศึกษามักจะวิตกกังวลกันมาก คือ การสอบ จึงขอเสนอแนะเรื่องราวของการสอบนับตั้งแตการเตรียมตัวสอบไปจนถึงเทคนิคการทําขอสอบ ดังตอไปนี้

การสอบ

ผูเช่ียวชาญทางการศึกษาเห็นพองตองกันวา การเตรียมตัวสําหรับการสอบที่ประสบความสําเร็จอยางดี นั้นจะตองเร่ิมตั้งแตตนภาคการศึกษา และจะตองกระทําตอเนื่องไปตลอดทั้งภาคการศึกษา ดังที่กลาวมาแลวขางตน คือ ตองมีแผนการเรียนตลอดภาค มีเทคนิคในการอานและทบทวนการเรียนสม่ําเสมอ

Page 10: Study success

๑๐

มีทัศนคติที่ดีมีความเชื่อมั่นพรอมที่จะสอบ จัดระเบียบเวลาการนอนกอนสอบการสอบ ซึ่งจะสงผลใหมีความพรอมในการสอบ จะเตรียมตัวสอบอยางไร

๑. รักษาสุขภาพใหแข็งแรงโดยเฉพาะคืนกอนสอบ อยานอนดึก เพราะจะทําใหออนเพลีย และสอบไดไมดีเทาที่ควร สวนนักศึกษาที่มีปญหาสุขภาพหรือเจ็บปวยในชวงที่มีการสอบ ควรแจงหรือติดตอไปยังมหาวิทยาลัยทันที

๒. ทบทวนวิชา ตางๆ ในสัปดาหสุดทายใหมาก ๓. เขาฟงคําบรรยายในชั่วโมงสุดทายที่ปดคอรส ซึ่งอาจารยมักจะชี้แนะเปาหมายของการสอบ เพ่ือใหนักศึกษาไดเขาใจขอบเขตเนื้อหาวิชาสอดคลองตรงกัน คําแนะนําตาง ๆ จะเปนประโยชนตอนักศึกษา ๔. ถานักศึกษาไดวางแผนการทบทวนการเรียนมาแลวอยางดี ใหทบทวนโนตยอที่สรุปไวแลว ตรวจสอบกับตําราวามีเนื้อหาครบถวน ถูกตองหรือไม พยามยามทําความเขาใจแนวคิด หัวเรื่องที่สําคัญวาอาจารยเนนเรื่องใด และจัดรายละเอียดความรูไวในหัวขอแตละเร่ือง

จะทําขอสอบอยางไร

๑. หลักการทั่วไป คือ เมื่อไดรับขอสอบแลว จงอานคําช้ีแจง คําส่ัง ใหเขาใจ เขียนชื่อ เลขที่-รหัสใหถูกตองครบถวน

๒. แบงเวลาในการทําขอสอบ และอานขอสอบโดยภาพรวม เพ่ือจะไดทราบจํานวนขอสอบ ลักษณะขอสอบเปนปรนัย หรือ อัตนัย และแตละขอของคําถามมีคะแนนเต็มอยางไร เพ่ือที่นักศึกษาจะไดคํานวณเวลาในการทําขอสอบไดถูกตอง กรณีการทําขอสอบแบบปรนัย ซึ่งมีจํานวนขอและตัวเลือกมาก หากทําไมไดควรขามไปทําขออ่ืนกอน ในกรณีขอสอบอัตนัย ถาคะแนนแตละขอไมเทากัน ควรตอบขอที่ใหคะแนนมากใหดีที่สุด ๓. อานคําส่ังและคําถามอยางระมัดระวัง นักศึกษาจะตองทําความเขาใจคําถามและตอบคําถามใหดีที่สุดโดยสามารถถายทอดความหมายใหตรงกับคําถามหรือโจทยของขอสอบ โดยทั่วไปนักศึกษามักจะไมสนใจอานคําส่ังหรืออานคําถามใหรอบคอบ ถ่ีถวน ทําใหพลาดการทําขอสอบไปอยางนาเสียดาย นักศึกษาบางคนตอบไมตรงกับคําถาม และไมไดคะแนนทั้ง ๆ ที่อาจจะรูคําตอบนั้น เทคนิคในการตอบขอสอบ

๑. ลายมือในการเขียนตอบขอสอบ ของนักศึกษา ควรเขียนใหชัดเจน อานงาย ใชปากกาที่มีสีเขม ควรหลีกเล่ียงการเขียนหวัด เพราะเปนอุปสรรคในการตรวจขอสอบของอาจารยคอนขางมาก ๒. การทําขอสอบปรนัยและอัตนัย มีความแตกตางกัน จะขอยกตัวอยางเพียงบางสวนพอให

เขาใจเปนพื้นฐานเทานั้น

Page 11: Study success

๑๑

แนวทางการทําขอสอบอัตนัย ๒.๑ ควรเขียนเคาโครงของเรื่องที่เขียนเสียกอน เพ่ือชวยใหเห็นแนวทางของคําตอบวา

เขียนครบถวนหรือไม จากนั้นจะตองเรียบเรียง โดยนําเสนอไดอยางชัดเจน เปนเหตุเปนผลและตรงประเด็น

หลักการสําคัญอยางอ่ืนในการทําขอสอบอัตนัยคือ อยาเขียนมากโดยขาดแนวคิด หรือพ้ืนฐานความรู การยกตัวอยางแสดงเหตุผลตองเปนขอมูลเชิงประจักษทางวิชาการ ที่เก่ียวของกับรายวิชานั้น ๆ การแสดงความเห็นจากประสบการณสวนบุคคลของตนเองมาตอบขอสอบนั้น ควรเช่ือมโยงแนวคิดและหลักการทางวิชาการประกอบคําอธิบายใหชัดเจนเสมอ

๒.๒ คําส่ังที่ใชในขอสอบอัตนัย นักศึกษาควรทําความเขาใจความหมายของคําส่ังเหลานี้ เพ่ือเปนแนวทางในการตอบขอสอบ เชน จงวิเคราะห มีวัตถุประสงคให จําแนกสาระสําคัญ ใหรายละเอียด และการใชแนวคิด และเหตุผลในการตัดสิน จงเปรียบเทียบ มีวัตถุประสงคให เขียนแสดงความเหมือนหรือความแตกตางอยางชัดเจน และการใชเหตุผลในการเปรียบเทียบ จงใหความหมาย มีวัตถุประสงคใหเขียนคําจํากัดความที่มีกรอบทางวิชาการกําหนดไว จงอธิบาย มีวัตถุประสงคให เขียนชี้แจงหรือบรรยายสิ่งที่นักศึกษาเขาใจ ไดอยางละเอียด ในแงมุมตาง ๆ จงอภิปราย มีวัตถุประสงคให บรรยายเพิ่มเติมมากกวาการอธิบายทั่วไป แตการอภิปราย จะตองแสดงตรรกะ ลําดับที่มาของการนําเสนอ ในเชิงวิพากษไดครบถวน ในเชิงลึกกวาการบรรยายทั่วไป จงประเมิน มีวัตถุประสงคให นักศึกษาตรวจสอบความเห็นในประเด็นนั้น ๆ ตามหลักวิชาการ ทั้งความเปนไปไดในทางบวกและทางลบ และหรือการมีขอสรุปในการตอบคําถามนั้น ๆ จงพิสูจนใหเห็น มีวัตถุประสงคให นักศึกษา นําเสนอขอเท็จจริง ขอมูลเชิงประจักษ เพ่ือสนับสนุนหรือโตแยงโจทย จงอธิบายสั้น ๆ มีวัตถุประสงคใหนักศึกษา เขียนแนวคิดหรือหลักการใหญ ๆ โดยตอบเพียงสั้น ๆ ไดใจความชัดเจน ไมเนนการบรรยายเชิงพรรณา

แนวทางในการทําขอขอสอบปรนัย แบบเลือกคําตอบ ๑. ควรอานคําถาม แลวลองตอบดวยตนเองกอนที่จะไปอานคําตอบที่ใหเลือก ๒. อานคําถามเรียงตามลําดับ ขอใดตอบไมได ใหทําเครื่องหมายไว ขามไปทําขออ่ืนแลวยอนกลับมาทําใหม ทั้งนี้ ตองคํานวณเวลาในการทําขอสอบไวดวย ๓. หากไมมีเวลาทบทวนพอที่จะตัดสินใจเทียบคําตอบอื่นได ใหถือวาคําตอบที่เลือกไวแตแรกนั้น มีโอกาสถูกมากกวาผิด

Page 12: Study success

๑๒

๔. หมั่นสังเกตคําถามที่มีขอความ วา “ขอใดไมถูกตอง” หรือ “ขอใดผิด” และพิจารณาคําตอบอยางรอบคอบ ๕. ตัดคําตอบที่เห็นวาไมตรง หรือผิดออกใหหมด

� การประเมินผล : ทบทวนความสําเร็จ และ/หรือ ความบกพรอง ของตนเอง สงผลยอนกลับไปสูข้ันตอนการตั้งเปาหมาย และวางแผน เมื่อนักศึกษาไดทราบผลการเรียนในภาคการศึกษาที่ผานมาแลว มิใชวาเพียงแตจะพาเพื่อนไปเล้ียงฉลองสามวันสามคืน (ในกรณีที่สอบไดเกรดเฉลี่ยสูง) หรือ นั่งรองไหสามวันและซึมเศราอีกสามคืน (ในกรณีผลการเรียนต่ําจนเปนปญหา) ปฎิกิริยาที่วามานี้คงเปนเพียงพฤติกรรมที่ตั้งอยูบนอารมณความรูสึก ซึ่งจะมิไดสงผลเชิงบวกในระยะยาวตอการศึกษาของตนเอง

ส่ิงสําคัญประการหนึ่งที่นักศึกษาพึงปฎิบัติเพ่ือใหเกิดผลในทางสรางสรรคและย่ังยืน ก็คือ การประเมินผลการเรียนที่ไดรับทราบมานั้น พรอมกับทบทวนความสําเร็จ และ/หรือ ความบกพรองของตนเอง เพ่ือจะไดตระหนักวา ตัวเรานั้นมีจุดแข็งและ/หรือจุดออนในการเรียนสวนไหนอยางไร (หากตองการรายละเอียดเพิ่มเติม อาจตองสอบถามอาจารยที่ปรึกษา และอาจารยผูสอนประจําวิชาที่ผลการเรียนแยเปนพิเศษ) แลวนําผลการประเมินตนเองนี้ สะทอนกลับไปสูข้ันตอนการวางแผนชีวิตและการเรียนสําหรับภาคการศึกษาหรือปการศึกษาถัดไป (ขอมูลสําหรับการวางแผนชีวิตและการเรียน ตองมีการ UPDATE อยูเสมอ) ปฏิบัติซ้ําเปนวงจรเชนนี้ทุกภาคการศึกษา จนกวาจะศึกษาสําเร็จหลักสูตร

สาระที่กลาวมาทั้งหมดขางตนน้ี เปนแนวทางที่แนะนําใหไปใชปฏิบัติเทาน้ัน หากนักศึกษาเพียงแตอานผานไป ก็อยาพึงหวังวาจะประสบความสําเร็จไดจริง

Page 13: Study success

๑๓

บรรณานุกรม ถนอมวงศ ลํ้ายอดมรรคผล. การอานใหเกง. พิมพครั้งที่ ๙. กรุงเทพฯ : กระดาษสา, ๒๕๔๔. ประธาน วฒันวาณิชย. บรรณาธิการ. เร่ืองไมยาก ถาอยากเรียนเกง. พิมพครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ :

ประกายพฤกษ, ๒๕๓๗. วิทยากร เชียงกูล. ทําอยางไร จึงจะเรียนเกง. พิมพครั้งที่ ๕. กรุงเทพฯ : ปรีชญา, ๒๕๔๓. วิโรจน ถิรคณุ. เรียนมหาวิทยาลัยอยางไร ใหสําเรจ็และมีความสุข. กรุงเทพฯ : อูพิมพเดอืนเพ็ญ,

๒๕๔๔. ยุดา รักไทย ณัฐพงศ เกศมาริษ. คูมือคนเกงเรียน.กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอรเน็ท จํากัด, ๒๕๔๓. อัจฉรา วงศโสธร. ทักษะการเรียน : องคประกอบและวิธีการวัด. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๒. อุทุมพร จามรมาน. เทคนิคการศึกษาอยางมีประสิทธิผล. กรุงเทพฯ : ฟนนี่พับลิชชิ่ง, ๒๕๓๘ Mark and Cheryl Tackray. วิธีเรียนอยางมีคุณภาพ.แปลจาก How to Succeed to College or University. โดยอุรวด ีรุจิเกียติกําจร. พิมพครั้งที่ ๒ กรุงเทพฯ: เยลโลการพิมพ, ๒๕๓๔.

************************************

Page 14: Study success

๑๔