tfrs 4 สัญญาประก ันภัย · 3 inside tfrs สัญญาประก...

22
สัญญาประกันภัย TFRS 4 Volume 1/2014 : January-March

Upload: others

Post on 11-Jul-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: TFRS 4 สัญญาประก ันภัย · 3 Inside TFRS สัญญาประก ันภัย (TFRS 4) ภาพรวม บริษัทในธุรกิจประก

สัญญาประกันภัยTFRS 4

Volume 1/2014 : January-March

Page 2: TFRS 4 สัญญาประก ันภัย · 3 Inside TFRS สัญญาประก ันภัย (TFRS 4) ภาพรวม บริษัทในธุรกิจประก

สารบัญInside TFRS สัญญาประกันภัย (TFRS 4) 3 Audit Committee BRIEF คาสอบบัญชีกับการปฏิบัติงานของผูสอบบัญชี 14IFRS Update 15 TFRS Progress สรุปมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่จัดทําใหมและปรับปรุง 2555 ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว 17Financial Reporting QUIZ 19Training & Seminar UPDATE 21

Disclaimer

เอกสารฉบับนี้ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยจัดทําข้ึนเพื่อเสริมสรางความรู ความเขาใจ และใหขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ทั้งนี้ ตลาดหลักทรัพยฯ สงวนสิทธิ์ไมรับรองความถูกตองครบถวนและเปนปจจุบันของขอมูล เนื้อหา ตัวเลข รายงานหรือขอคิดเห็นใดๆ ไมวาสวนใดสวนหน่ึงในเอกสารฉบับน้ี เน้ือหาที่ปรากฏอยูในเอกสารนี้เปนเพียงการใหขอมูลของตลาดหลักทรัพยฯ เทานั้น มิใชการใหคําแนะนําหรือความคิดเหน็ดานกฎหมาย และตลาดหลักทรัพยฯ ไมมีความรับผิดในความเสียหายใดๆ ไมวาเปนผลโดยทางตรงหรือทางออมที่อาจจะเกิดขึ้นจากการใชขอมูลไมวาสวนใดสวนหนึ่งหรือทั้งหมดในเอกสารฉบับนี้

Inspiration

สวัสดีครับ พบกันอีกครั้งกับ FRUpdate@SET ฉบับแรกของป 2014 ซึ่งไดกาวสูปที่ 4 แลว หวังวาทุกทานยังคงติดตามเปนแฟนคลับกันอยูนะครับ เนื้อหายังเขมขนไมตางจากฉบับที่ผานๆ มา FRUpdate@SET Volume 1/2014 ขอเริ่มดวยเรื่องของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน เรื่อง สัญญาประกันภัย (TFRS 4) ซึ่งเปนเร่ืองใหมที่จะเริ่มบังคับใชในป 2559 ... บริษัทในธุรกิจประกันภัยเตรียมพรอมกันหรือยังครับ ... ติดตามสรุปสาระสําคัญและตัวอยางการเปดเผยขอมูลไดใน Inside TFRS และในชวงเทศกาลของการประชุมสามัญผูถือหุนประจําป ซึ่งโดยปกติจะมีวาระการแตงตั้งผูสอบบัญชี ก็มีประเด็นที่นาสนใจเกี่ยวกับ “คาสอบบัญชีกับการปฏิบัติงานของผูสอบบัญชี” ใหเปนขอคิดสําหรับคณะกรรมการตรวจสอบรวมถึงผูบริหารของบริษัทในการพิจารณาถึงคุณภาพของงานสอบบัญชีที่ควรจะคาดหวังดวย..ติดตามไดใน Audit Committee BRIEF นะครับ ... และรูไวใชวา ... IFRS Update สรุปมาตรการเตรียมพรอมรับมือแนวทางการรับรูรายไดแบบใหมซ่ึงใกลจะออกเปนมาตรฐานระหวางประเทศในไมกี่ปนี้ และ TFRS Progress สรุปมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่จัดทําใหมและปรับปรุง 2555 โดยมีผลบังคับใชในป 2557 รวม 30 ฉบับ และมีผลบังคับใชในป 2559 อีก 1 ฉบับ ... พบกันใหมใน FRUpdate@SET Volume 2/2014 นะครับ

สุภกิจ จิระประดิษฐกุลผูชวยผูจัดการ

ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

Page 3: TFRS 4 สัญญาประก ันภัย · 3 Inside TFRS สัญญาประก ันภัย (TFRS 4) ภาพรวม บริษัทในธุรกิจประก

3

Inside TFRS

สัญญาประกันภัย (TFRS 4)

ภาพรวม

บริษัทในธุรกิจประกันทําการประเมินความเส่ียงท่ีคูสัญญาอีกฝายตองการปองกันและกําหนดคาเบ้ียประกันตามความเส่ียงน้ัน หากบริษัทประกันพิจารณาวาความเส่ียงในสัญญาอาจสูงกวาท่ีตนจะรับไดโดยลําพัง บริษัทประกันสามารถลดความเส่ียงบางสวน ลงไดโดยการขายความเส่ียงดังกลาวใหแกผูประกันรายอื่น บริษัทประกันรายที่สองนี้จะไดรับสวนแบงคาเบี้ยประกัน ในขณะเดียวกันตองรวมรับความเส่ียงที่สัมพันธกันจากสัญญาประกันนั้น วิธีปฏิบัติเชนนี้เรียกวาการประกันตอ (reinsurance)

เน่ืองจากท่ีผานมามีวิธีปฏิบัติทางบัญชีสําหรับสัญญาประกันภัยท่ีหลากหลาย รวมท้ังวิธีปฏิบัติท่ีใชกันในธุรกิจประกันแตกตางจากท่ีใชในธุรกิจประเภทอ่ืน ทําใหคณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศ (International Accounting Standards Board หรือ IASB) เร่ิมโครงการท่ีจะระบุปญหาตางๆ ท่ีเก่ียวของกับสัญญาประกันภัย ท้ังน้ี IASB เลือกท่ีจะไมออกมาตรฐานท่ีครอบคลุมทุกเร่ืองในฉบับเดียว แตแบงโครงการมาตรฐานการบัญชีเก่ียวกับสัญญาประกันภัยเปน 2 ระยะ ระยะแรกของโครงการคือ IFRS 4 Insurance Contracts ซึ่งมีวัตถุประสงคหลักในการกําหนดการเปดเผยขอมูลสําหรับสัญญาประกันภัยโดยบริษัทที่มีการออกสัญญาดังกลาว (ผูรับประกันภัย หรือ insurer) จนกวา IASB จะจัดทํามาตรฐานเรื่องนี้สําหรับโครงการระยะท่ี 2 เสร็จสมบูรณ โดยโครงการระยะท่ี 2 จะมีขอกําหนดเก่ียวกับองคประกอบสําคัญของโมเดลทางการบัญชีสําหรับสัญญาประกันภัย ปจจุบันสภาวิชาชีพบัญชีฯ ไดออกมาตรฐานการรายงานทางการเงิน เรื่อง สัญญาประกันภัย (TFRS 4) ซึ่งเปนไปตามเกณฑที่กําหนดโดย IFRS 4 และใหมีผลใชบังคับกับงบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาท่ีเร่ิมในหรือหลังวันท่ี 1 มกราคม 2559 เปนตนไป

ข�อกําหนดของ TFRS 4

TFRS 4 กําหนดเกี่ยวกับ

• การปรับปรุงอยางจํากัดสําหรับวิธีการบัญชีของสัญญาประกันภัยที่จัดทําโดยผูรับประกันภัย• การเปดเผยขอมูลซึ่งระบุและอธิบายจํานวนเงินในงบการเงินของผูรับประกันภัยที่เกิดขึ้นจากสัญญาประกันภัย เพ่ือใหผูใชงบการเงินมีความเขาใจเกี่ยวกับจํานวน เวลา และความไมแนนอนของกระแสเงินสดที่เกิดจากสัญญาประกันภัย

สัญญาประกันภัย เปนสัญญาซึ่งคูสัญญาฝายหนึ่ง (ผูรับประกันภัย) ยอมรับความเสี่ยงที่มีนัยสําคัญซึ่งมีการทําประกันจากคูสัญญาอีกฝายหนึ่ง (ผูเอาประภันภัย หรือ ผูถือกรมธรรม) โดยผูรับประกันภัยตกลงจะชดเชยใหแกผูเอาประกันภัยหากเหตุการณในอนาคตท่ีมีความไมแนนอน (เหตุการณท่ีมีการทําประกัน) มีผลกระทบในเชิงลบตอผูเอาประกันภัย อยางไรก็ตาม สัญญาท่ีทําใหผูออกมีความเส่ียงทางการเงิน (fi nancial risk) แตไมมีความเส่ียงดานการรับประภันภัย (insurance risk) ท่ีสําคัญ ไมจัดวาเปนสัญญาประกันภัย

ความเสี่ยงทางการเงินเกิดขึ้นเมื่อมีความเปนไปไดที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวแปรทางการเงินและตัวแปรที่ไมใชตัวแปรทางการเงิน เชน การเปลี่ยนแปลงที่มีการระบุไวของอัตราดอกเบี้ย ราคาสินคาโภคภัณฑ อันดับเครดิตของบริษัท หรืออัตราแลกเปล่ียนเงินตราตางประเทศ สวนความเส่ียงดานการรับประภันภัยเปนความเส่ียงท่ีไมใชความเส่ียงทางการเงิน ความเส่ียงดานการรับประภันภัยเปนความเส่ียงของการเกิดหรือไมเกิดเหตุการณ (ไมใชเกิดจากการเปล่ียนแปลงของตัวแปร) เชน สินทรัพยถูกขโมย ความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคา (product liability) ตัวอยางของสัญญาประกัน ไดแก สัญญาประกันชีวติ ประกันสุขภาพ ประกันสินเชื่อ (กรณีลูกหนี้ผิดสัญญาไมสามารถจายชําระหนี้ได) ประกันการเดินทาง

TFRS 4 ใหถือปฏิบัติกับสัญญาประกันภัยทั้งหมด (รวมทั้งสัญญาประกันภัยตอ) ที่บริษัทเปนผูออก และถือปฏิบัติกับสัญญาประกันภัยตอท่ีบริษัทถือไว ยกเวนสัญญาเฉพาะท่ีมีมาตรฐานฉบับอ่ืนกําหนดไว โดยมาตรฐานฉบับน้ีไมครอบคลุมถึงสินทรัพย

Page 4: TFRS 4 สัญญาประก ันภัย · 3 Inside TFRS สัญญาประก ันภัย (TFRS 4) ภาพรวม บริษัทในธุรกิจประก

4

และหนี้สินอื่นของบริษัทประกัน เชน สินทรัพยการเงินและหนี้สินการเงินตามมาตรฐานการบัญชี เรื่องการรับรูและการวัดมูลคาเคร่ืองมือทางการเงิน (IAS 39 Financial Instruments: Recognition and Measurement) และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน เร่ืองเครื่องมือทางการเงิน (IFRS 9 Financial Instruments)

TFRS 4 ไมไดกลาวถึงวิธีการบัญชีทางดานผูเอาประกันภัย (ผูถือกรมธรรม)

ข�อกําหนดสําหรับผู�รับประกันภัย

สัญญาประกันภัยบางประเภทมีทั้งองคประกอบของการประกันภัยและองคประกอบที่เปนการฝากเงิน (deposit) TFRS 4 กําหนดให

(1) ผูรับประกันภัยตองแยกองคประกอบดังกลาวถาเขาเงื่อนไขทั้ง 2 ขอตอไปนี้ ก. สามารถแยกวัดองคประกอบท่ีเปนการฝากเงิน (รวมท้ังสิทธิของการเวนคืนกรมธรรมท่ีแฝงอยู) ได (ไมตองพิจารณา

องคประกอบท่ีเปนการประกันภัย) และ ข. นโยบายการบัญชีของบริษัทไมไดกําหนดใหตองมีการรับรูหนี้สินและสิทธิทั้งหมดท่ีเกิดจากองคประกอบท่ี

เปนการฝากเงิน(2) สําหรับผูรับประกันภัยที่สามารถแยกวัดองคประกอบที่เปนการฝากเงินเชนเดียวกับ (1) (ก) แตนโยบายการบัญชี

ของบริษัทกําหนดใหตองรับรูหนี้สินและสิทธิทั้งหมดที่เกิดจากองคประกอบที่เปนการฝากเงิน TFRS 4 อนุญาตแตไมบังคับใหแยกองคประกอบท้ังสอง

(3) ไมอนุญาตใหผูรับประกันภัยแยกองคประกอบดังกลาว หากไมสามารถแยกวัดมูลคาองคประกอบที่เปนการฝากเงินตาม (1) (ก) ได

หากมีการแยกองคประกอบของสัญญาประกันภัยดังกลาว ผูรับประกันภัยตองปฏิบัติตาม TFRS 4 สําหรับองคประกอบท่ีเปนสัญญาประกันภัย และตามมาตรฐานการบัญชี เร่ือง การรับรูและการวัดมูลคาเคร่ืองมือทางการเงิน และมาตรฐานการรายงานทางการเงินเร่ืองเคร่ืองมือทางการเงิน สําหรับองคประกอบที่เปนการฝากเงินเมื่อมีการประกาศใช

TFRS 4 ยกเวนเปนการชั่วคราวใหแกผูรับประกันภัย (ในระยะท่ี 1 ของโครงการน้ี) จากขอกําหนดบางเร่ืองของ TFRS ฉบับอื่นๆ รวมท้ังยกเวนขอกําหนดที่ตองพิจารณาถึงแมบทการบัญชีในการเลือกใชนโยบายบัญชีสําหรับสัญญาประกันภัย

อยางไรก็ตาม TFRS 4 มีขอกําหนดในเรื่องตอไปนี้

(1) หามการตั้งคาเผื่อสําหรับสิทธิเรียกรองที่เปนไปไดตามสัญญาประกันภัยที่ไมมีอยู ณ วันสิ้นงวดของการรายงาน (เชน คาเผือ่สาํหรบัภยัพบิตัติามธรรมชาต ิ(catastrophe) หรอืคาเผือ่เพือ่ชดเชยผลขาดทนุทางเทคนคิหรอืเพือ่ชดเชยอตัราการเคลมประกันที่สูงกวาคาเฉลี่ยของปนั้น (equalization provision))

(2) ตองมีการทดสอบความเพียงพอของหนี้สินจากการรับประกันภัยที่รับรูไวในงบแสดงฐานะการเงิน และตองทดสอบการดอยคาของสินทรัพยจากการประกันภัยตอ

(3) ผูรับประกันภัยตองคงหนี้สินจากการรับประกันภัยไวในงบแสดงฐานะการเงินจนกวาภาระจากหนี้สินนั้นไดถูกชําระ หรือยกเลิก หรือหมดอายุ และตองไมแสดงหนี้สินดังกลาวหักกลบกับสินทรัพยจากการประกันภัยตอที่เกี่ยวของ

ผูรับประกันภัยรับรูหนี้สินจากการรับประกันภัย ณ วันที่รายงานจากประมาณการปจจุบันเกี่ยวกับกระแสเงินสดตามสัญญาที่เกิดขึ้นในอนาคต และรายการอื่นที่เกี่ยวของ เชน ตนทุนในการจัดการที่เกิดขึ้นตามสัญญาประกัน ทั้งนี้บริษัทตองมีการประเมินคาเผื่อหนี้สินจากการรับประกันทุกวันท่ีมีการจัดทํารายงานโดยตองรับรูจํานวนคาเผื่อที่ไมเพียงพอทันทีในกําไรหรือขาดทุนของงวด วิธีการปฏิบัตินี้เรียกวา “การทดสอบความเพียงพอของหนี้สิน” (liability adequacy test)

Page 5: TFRS 4 สัญญาประก ันภัย · 3 Inside TFRS สัญญาประก ันภัย (TFRS 4) ภาพรวม บริษัทในธุรกิจประก

5

TFRS 4 อนุญาตใหผูรับประกันภัยเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชีสําหรับสัญญาประกันภัยเฉพาะเม่ือผลของการเปล่ียนแปลงนโยบายทําใหงบการเงินแสดงขอมูลซึ่งเกี่ยวของกับการตัดสินใจของผูใชไดดีกวาโดยที่ความนาเชื่อถือไมลดนอยลง หรือมีความนาเชื่อถือมากขึ้นโดยความเกี่ยวของกับการตัดสินใจไมลดลง

ผูรับประกันภัยไมสามารถเร่ิมใชวิธีปฏิบัติตอไปนี้ แมวาจะยังคงใชนโยบายบัญชีที่เก่ียวของกับวิธีปฏิบัติดังกลาวตอไป

• วัดมูลคาหนี้สินจากการรับประกันภัยโดยไมคิดลด• วัดมูลคาสิทธิตามสัญญาสําหรับคาธรรมเนียมการบริหารเงินลงทุนในอนาคตดวยจํานวนที่สูงกวามูลคายุติธรรมตามท่ีอางอิงไดจากการเปรียบเทียบคาธรรมเนียมปจจุบันท่ีผูท่ีเก่ียวของในตลาดรายอ่ืนๆ เรียกเก็บสําหรับบริการท่ีคลายคลึงกัน

• ใชนโยบายบัญชีที่แตกตางกันสําหรับหนี้สินจากการประกันภัยของบริษัทยอย

TFRS 4 อนุญาตใหผูรับประกันภัยเร่ิมใชนโยบายบัญชีใหมท่ีเก่ียวของกับการวัดมูลคาของหน้ีสินจากการรับประกันภัยท่ีกําหนดไวใหสอดคลองกันสําหรับแตละงวดเพ่ือใหสะทอนถึงอัตราดอกเบ้ียในตลาดปจจุบัน (ผูรับประกันภัยอาจเลือกใชประมาณการและสมมติฐานอื่นที่ใชอยูปจจุบันได) โดยไมจําเปนตองใชวิธีการเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชีที่เหมือนกันสําหรับหนี้สินอื่นที่คลายคลึงกัน

การเป�ดเผยข�อมูล

ตองเปดเผยขอมูลที่ชวยใหผูใชงบการเงินเขาใจถึง

(1) จํานวนในงบการเงินของผูรับประกันภัยที่เกิดขึ้นจากสัญญาประกันภัย(2) จํานวน เวลา และความไมแนนอนของกระแสเงินสดที่เกิดจากสัญญาประกันภัย

นัยในทางปฏิบัติ

TFRS 4 ใชบังคับกับสัญญารับประกันภัยที่ออกโดยบริษัทใด ๆ รวมทั้งบริษัทที่ไมไดถูกกํากับดูแลในฐานะบริษัทประกัน

สัญญาบางสัญญาท่ีมีรูปแบบตามกฎหมายเปนสัญญาประกันภัย หรือไดรับคําอธิบายเพ่ือวัตถุประสงคอ่ืนวาเปนสัญญาประกันภัยอาจไมจัดวาเปนสัญญาประกันภัยตาม TFRS 4 ซ่ึงหากสัญญาเหลาน้ีทําใหเกิดสินทรัพยการเงินและหน้ีสินการเงิน (เงินฝาก) ใหปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี เรื่องการรับรูและการวัดมูลคาเครื่องมือทางการเงิน และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน เรื่องเคร่ืองมือทางการเงิน

ตัวอย�างการเป�ดเผยข�อมูล (บางส�วนจาก The AXA Group Annual Report, Year Ended December 31, 2012)

CONSOLIDATED FINANCIAL STATEMENTS FULL YEAR 2012NOTES TO THE CONSOLIDATED FINANCIALSTATEMENTS

Note 1 Accounting principles

1.1. GENERAL INFORMATION

AXA SA, a French “Société Anonyme” (the “Company” and together with its consolidated subsidiaries, “AXA” or the “Group”), is the holding (parent) company for an international fi nancial services group focused on

Inside TFRS

Page 6: TFRS 4 สัญญาประก ันภัย · 3 Inside TFRS สัญญาประก ันภัย (TFRS 4) ภาพรวม บริษัทในธุรกิจประก

6

fi nancial protection. AXA operates principally in Europe, North America and Asia. The list of the main entities included in the scope of the AXA’s consolidated fi nancial statements is provided in Note 2 of the notes to the consolidated fi nancial statements. AXA is listed on Euronext Paris Compartiment A. These consolidated fi nancial statements including all notes were fi nalized by the Board of Directors on March 13, 2013.

1.2. GENERAL ACCOUNTING PRINCIPLES

1.2.1. Basis for preparation

AXA’s consolidated fi nancial statements are prepared as of December 31. However, certain entities within AXA have a different reporting year end, in particular AXA Life Japan, whose fi nancial year ends at September 30.

The consolidated fi nancial statements are prepared in compliance with IFRS standards and interpreta-tions of the IFRS Interpretations Committee that are defi nitive and effective as of December 31, 2012, as adopted by the European Union before the balance sheet date. The Group does not use the “carve out” option allowing not to apply all hedge accounting principles required by IAS 39. Furthermore :

• the European Union has not yet endorsed some standards and amendments published by the Inter-national Accounting Standards Board (IASB) whose application was not mandatory as of December 31, 2012; and

• the Group would not have used their earlier adoption options as of today. As a consequence, the consolidated fi nancial statements also comply with IFRSs as issued by the International Accounting Standards Board (IASB).

1.8. ASSETS BACKING LIABILITIES ARISING FROM CONTRACTS WHERE THE FINANCIAL RISK IS BORNE BY POLICYHOLDERS

Assets backing liabilities arising from insurance or investment contracts where the fi nancial risk is borne by policyholders are presented in a separate aggregate of the balance sheet so that they are shown in a symmetrical manner to the corresponding liabilities. This presentation is considered more relevant for the users and consistent with the liquidity order recommended by IAS 1 for fi nancial institutions, since the risks are borne by policyholders, whatever the type of assets backing liabilities (investment in real estate properties, debt instruments or equity instruments, etc.). Details of these assets are provided in the notes.

1.13. LIABILITIES ARISING FROM INSURANCE AND INVESTMENT CONTRACTS

1.13.1. Contracts classifi cation

The Group issues contracts that transfer an insurance risk or a fi nancial risk or both.

Insurance contracts, including assumed reinsurance contracts, are contracts that carry signifi cant insurance risks. Such contracts may also transfer fi nancial risk from the policyholders to the insurer. Investment contracts

Page 7: TFRS 4 สัญญาประก ันภัย · 3 Inside TFRS สัญญาประก ันภัย (TFRS 4) ภาพรวม บริษัทในธุรกิจประก

7

are contracts that carry fi nancial risk with no signifi cant insurance risk. A number of insurance and investment contracts contain discretionary participating features. These features entitle the contract holder to receive additional benefi ts or bonuses on top of these standard benefi ts:

• they are likely to represent a signifi cant portion of the overall contractual benefi ts;• their amount or timing is contractually at the discretion of the Group; and• they are contractually based on the performance of a group of contracts, the investment returns of a fi nancial asset portfolio or the Company profi ts, a fund or another entity that issues the contract. In some insurance or investment contracts, the fi nancial risk is borne by policyholders. Such contracts are usually Unit-Linked contracts.

The Group classifi es its insurance and investment contracts into six categories:

• liabilities arising from insurance contracts;• liabilities arising from insurance contracts where the fi nancial risk is borne by policyholders;• liabilities arising from investment contracts with discretionary participating features;• liabilities arising from investment contracts with no discretionary participating features;• liabilities arising from investment contracts with discretionary participating features where the fi nancial

risk is borne by policyholders; these relate to Unit-Linked contracts or multifunds contracts containing a non-Unit-Linked fund with discretionary participating features;

• liabilities arising from investment contracts with no discretionary participating features where the fi nancial risk is borne by policyholders.

1.13.2. Insurance contracts and investment contracts with discretionary participating features

According to IFRS 4, recognition and derecognition are based on the AXA accounting policies existing prior to IFRS and are described below, except for the elimination of equalization provisions, selective changes as permitted by IFRS 4 (see below), the extension of shadow accounting and except where IAS 39 applies.

The main characteristics of the accounting principles applied prior to IFRS and retained after the conversion to IFRS are as follows:

• reserves must be suffi cient;• life reserves cannot be discounted using a discount rate higher than prudently estimated expected

assets yield;• acquisition costs are deferred to the extent recoverable and amortized based on the estimated gross

profi ts emerging over the life of the contracts;• property and Casualty claims reserves represent estimated ultimate costs. Post claims reserves are

generally not discounted, except in limited cases (a detail of discounted reserves is shown in Note 14.9).

Inside TFRS

Page 8: TFRS 4 สัญญาประก ันภัย · 3 Inside TFRS สัญญาประก ันภัย (TFRS 4) ภาพรวม บริษัทในธุรกิจประก

8

PRE-CLAIMS RESERVES

Unearned premiums reserves represent the pro rata portion of written premiums that relates to unexpired risks at the closing date.

For traditional life insurance contracts (that is, contracts with signifi cant mortality or morbidity risk), the future policy benefi ts reserves are calculated on a prospective basis according to each country regulation provided methods used are consistent with the Group’s policies and using assumptions on investment yields, morbidity/mortality and expenses.

Changes in reserves are booked if there are impacts caused by a change in the mortality table.

Future policy benefi ts reserves relating to investment contracts with discretionary participation features (previously called “savings contracts” in AXA’s accounting principles) that carry low mortality and morbidity risk are generally calculated using a prospective approach based on discount rates usually set at inception (similar to the retrospective approach, i.e. “account balance” methodology).

The discount rates used by AXA are less or equal to the expected future investment yields (assessed on prudent basis).

Part of the policyholders participation reserve is included in future policy benefi ts reserves, according to contractual clauses.

Except when these guarantees are covered by a risk management program using derivative instruments (see next paragraph), guaranteed minimum benefi ts reserves relating to contracts where the fi nancial risk is borne by policyholders (insurance contracts because they include such guarantees or investment contracts with discretionary participating features), are build over the life of the contract based on a prospective approach: the present value of future benefi t obligations to be paid to policyholders in relation to these guarantees is estimated on the basis of reasonable scenarios. These scenarios are based on assumptions including investment returns, volatility, surrender and mortality rates. This present value of future benefi t obligations is reserved as fees are collected over the life of the contracts.

Some guaranteed benefi ts such as Guaranteed Minimum Death or Income Benefi ts (GMDB or GMIB), or certain guarantees on return proposed by reinsurance treaties, are covered by a risk management program using derivative instruments. In order to minimize the accounting mismatch between liabilities and hedging derivatives, AXA has chosen to use the option allowed under IFRS 4.24 to re-measure its provisions: this revaluation is carried out at each accounts closing based on guarantee level projections and considers inter-est rates and other market assumptions. The liabilities revaluation impact in the current period is recognized through income, symmetrically with the impact of the change in value of hedging derivatives. This change in accounting principles was adopted on the fi rst time application of IFRS on January 1, 2004 for contracts portfolios covered by the risk management program at that date. Any additional contracts portfolios covered by the risk management program after this date are valued on the same terms as those that applied on the date the program was fi rst applied.

Page 9: TFRS 4 สัญญาประก ันภัย · 3 Inside TFRS สัญญาประก ันภัย (TFRS 4) ภาพรวม บริษัทในธุรกิจประก

9

POST CLAIMS RESERVES

Claims reserves (life and non life contracts)The purpose of claims reserves is to cover the ultimate cost of settling an insurance claim. Claims reserves are generally not discounted, except in cases such as disability annuities. Claims reserves include the claims incurred and reported, claims incurred but not reported (IBNR) as well as claim handling costs. Claims reserves are based on historical claim data, current trends, actual payment patterns for all insurance business lines as well as expected changes in infl ation, regulatory environment or anything else that could impact amounts to be paid.

Shadow accounting and Deferred policyholders Participation Asset (DPA) or Liability (DPL)In compliance with IFRS 4 option, shadow accounting is applied to insurance and investment contracts with discretionary participating features. Shadow accounting is applied to technical liabilities, acquisition costs and value of business in force to take into account unrealized gains or losses on insurance liabilities or assets in the same way as it is done for a realized gain or loss of invested assets. When unrealized gains or losses are recognized, a deferred participating liability (DPL) or asset (DPA) is recorded. The DPL or DPA corresponds to the discretionary participation available to the policyholders and is generally determined by applying on the basis of estimated participation of policyholders in unrealized gains and losses and any other valuation difference with the local contractual basis. Jurisdictions where participating business is signifi cant are Switzerland (for example “legal quote” for group insurance policies), Germany and France where the minimum is set to 90%, 90% and 85% respectively, of a basis which may include not only fi nancial income but also other components such as in Germany or Switzerland. Participating business is less prevalent in the United States or in Japan.

The estimated discretionary participating feature of such contracts is fully recognized in the liabilities. As a consequence, there is no component recognized as an equity component and AXA does not need to ensure the liability recognized for the whole contract is not less than the amount that would result from applying IAS 39 to the guaranteed element.

When a net unrealized loss (unrealized change in fair value, impairment, expense related, …) is accounted, a deferred participating asset (DPA) may be recognized only to the extent that it is highly probable that it can be charged to policyholders, by entity, in the future. This could be the case if the DPA can be offset against future participation either directly through deduction of the DPL from future capital gains or the DPL netted against value of businesses in force or indirectly through deduction of future fees on premiums or margins.

Unrealized gains and losses on assets classifi ed as trading or designated at fair value through profi t and loss, along with any other entry impacting the income statement and generating a timing difference, are accounted in the income statement of the income with a corresponding shadow entry adjustment in the statement of income. The shadow accounting adjustments relating to unrealized gains and losses on assets available-

Inside TFRS

Page 10: TFRS 4 สัญญาประก ันภัย · 3 Inside TFRS สัญญาประก ันภัย (TFRS 4) ภาพรวม บริษัทในธุรกิจประก

10

for-sale (for which change in fair value is taken to shareholders’ equity) are booked through shareholders’ equity.

Recoverability tests and liability adequacy test (LAT) Deferred participationWhen net deferred participation asset is recognized, the Group uses liquidity analyses performed by the enti-ties to assess the capacity to hold assets showing unrealized loss position, if any, generating such debits. The Group then performs projections to compare the value of assets backing policyholders’ contracts with expected payments to be made to policyholders.

Liability Adequacy TestIn addition, at each balance sheet date, liability adequacy tests are performed in each consolidated entity in order to ensure the adequacy of the contract liabilities net of related DAC and VBI assets and deferred policyholders’ participation asset. To perform these tests, entities group contracts together according to how they have been acquired, are serviced and have their profi tability measured. Entities use current best estimates of all future contractual cash fl ows as well as claims handling and administration expenses, and take into account guarantees and investment yields relating to assets backing these contracts.

• such tests are based on the intention and capacity of entities to hold fi nancial assets according to various sets of scenarios, excluding the value of new business;

• they include projections of future investments sales according to estimated surrender patterns; and• the extent to which resulting gains/losses may be allocated/charged to policyholders, i.e. profi t sharing

between policyholders and shareholders.

These tests therefore include the capacity to charge estimated future losses to policyholders on the basis of the assessment of the holding horizon and potential realization of losses among unrealized losses exist-ing at closing date.

Contract specifi c risks (insurance risk, asset return risk, infl ation risk, persistency, adverse selection, etc.) directly related to the contracts are also considered.

Depending on the type of business, the future investment cash fl ows and discounting may be based on a deterministic best estimate rate, with corresponding participation, or in the case of Guaranteed Minimum Benefi ts, stochastic scenarios. Testing is performed either by a comparison of the reserve booked net of related assets (DAC, VBI, etc. ) directly with discounted cash fl ows, or by ensuring that the discounted profi t net of participation from release of the technical provisions exceeds net related assets.

Any identifi ed defi ciency is charged to the income statement, initially by respectively writing off DPA, DAC or VBI, and subsequently by establishing a LAT provision for losses arising from the liability adequacy test for any amount in excess of DPA, DAC and VBI. For non-life insurance contracts, an unexpired risk provision is accounted for contracts on which the premiums are expected to be insuffi cient to cover expected future

Page 11: TFRS 4 สัญญาประก ันภัย · 3 Inside TFRS สัญญาประก ันภัย (TFRS 4) ภาพรวม บริษัทในธุรกิจประก

11

claims and claims expenses.

Sensitivities to interest rate risk and equity risk are disclosed in Note 4.2 for :• fi nancial assets and liabilities;• insurance and investment contracts related assets and liabilities including the value of Life & Savings

business inforce;

EMBEDDED DERIVATIVES IN INSURANCE AND INVESTMENT CONTRACTS WITH DISCRETION-ARY PARTICIPATING FEATURES

Embedded derivatives that meet the defi nition of an insurance contract or correspond to options to sur-render insurance contracts for a set amount (or based on a fi xed amount and an interest rate) are not separately measured. All other embedded derivatives are bifurcated and booked at fair value when mate-rial (with change in fair value recognized through income statement) if they are not considered as closely related to the host insurance contract and/or do not meet the defi nition of an insurance contract.

Embedded derivatives meeting the defi nition of an insurance contract are described in Note 14.10.

1.13.3. Investment contracts with no discretionary participating features

In accordance with IAS 39, these contracts are accounted for using “deposit accounting”, which mainly results in not recognizing the cash fl ows corresponding to premiums, benefi ts and claims in the state-ment of income (see “Revenue recognition” paragraph below). These cash fl ows shall rather be recognized as deposits and withdrawals.

This category includes mainly Unit-Linked contracts that do not meet the defi nition of insurance or investment contracts with discretionary participating features. For these Unit-Linked contracts, the liabilities are valued at current unit value, i.e. on the basis of the fair value of the fi nancial investments backing those contracts at the balance sheet date together with Rights to future management fees, also known as Deferred origination costs (DOC, described in paragraph 1.6.3).

UNEARNED FEES RESERVES

Fees received at inception of an investment contract with no discretionary participating features to cover future services are recognized as liabilities and accounted in the income statement based on the same amortization pattern as the one used for deferred origination costs.

1.14. REINSURANCE

Transactions relating to reinsurance assumed and ceded are accounted in the balance sheet and income statement in a similar way to direct business transactions provided that these contracts meet the insurance contracts classifi cation requirements and in agreement with contractual clauses.

Inside TFRS

Page 12: TFRS 4 สัญญาประก ันภัย · 3 Inside TFRS สัญญาประก ันภัย (TFRS 4) ภาพรวม บริษัทในธุรกิจประก

12

1.18. REVENUE RECOGNITION

1.18.1. Gross written premiums

Gross written premiums correspond to the amount of premiums written by insurance and reinsurance companies on business incepted in the year with respect to both insurance contracts and investment contracts with discretionary participating features, net of cancellations and gross of reinsurance ceded. For reinsurance, premiums are recorded on the basis of declarations made by the ceding company, and may include estimates of gross written premiums.

1.18.3. Deposit accounting

Investment contracts with no discretionary participating features fall within the scope of IAS 39. Deposit accounting applies to these contracts, which involves the following:

• the Group directly recognizes the consideration received as a deposit fi nancial liability rather than as revenues;

• claims paid are recognized as withdrawals with no posting in the income statement apart from potential fees.

1.18.4. Unbundling

The Group unbundles the deposit component of contracts when required by IFRS 4, i.e. when both the following conditions are met:

• the Group can measure separately the “deposit” component (including any embedded surrender op-tion, i.e. without taking into account the “insurance” component);

• the Group accounting methods do not otherwise require to recognize all obligations and rights arising from the “deposit” component. No such situation currently exists within the Group. In accordance with IFRS 4, the Group continues to use the accounting principles previously applied by AXA to insurance contracts and investment contracts with discretionary participating features. According to these principles, there are no situations in which all rights and obligations related to contracts are not recognized.

1.18.5. Change in unearned premiums reserves net of unearned revenues and fees

Changes in unearned premium reserves net of unearned revenues and fees include both the change in the unearned premiums reserve reported as a liability (see “Unearned premiums reserves” in paragraph 1.13.2) and the change in unearned revenues and fees. Unearned revenues and fees correspond to upfront charges for future services recognized over the estimated life of insurance and investment contracts with discretionary participating features (see “Unearned revenues reserves” in paragraph 1.13.2) and investment contracts with no discretionary participating features (see paragraph 1.13.3 “Unearned fees reserves”).

Page 13: TFRS 4 สัญญาประก ันภัย · 3 Inside TFRS สัญญาประก ันภัย (TFRS 4) ภาพรวม บริษัทในธุรกิจประก

13

1.18.6. Net revenues from banking activities

Net revenues from banking activities include all revenues and expenses from banking operating activities, including interests expenses not related to fi nancing, banking fees, capital gains and losses on sales of fi nancial assets, change in fair value of assets under fair value option and related derivatives.

They exclude bank operating expenses and change in bad debt provisions, doubtful receivables or loans, which are recorded in the item “Bank operating expenses”.

1.18.7. Revenues from other activities

Revenues from other activities mainly include:

• commissions received and fees for services relating to asset management activities;• insurance companies revenues from non insurance activities, notably commissions received on sales

or distribution of fi nancial products; and• rental income received by real estate management companies.

1.18.8. Net investment result excluding fi nancing expenses

The net investment result includes:

• investment income from investments from non banking activities, net of depreciation expense on real estate investments (depreciation expense relating to owner occupied properties is included in the “administrative expenses” aggregate); this item includes interest received calculated using the effective interest method for debt instruments and dividends received on equity instruments;

• investment management expenses (excludes fi nancing debt expenses);• realized investment gains and losses net of releases of impairment following sales;• the change in unrealized gains and losses on invested assets measured at fair value through profi t

or loss;• the change in impairment of investments (excluding releases of impairment following sales). In

respect of banking activities, interest income and expenses are included in the “Net revenue from banking activities” item (see paragraph 1.18.6).

ที่มา: IFRS ขอกําหนดที่สําคัญของมาตรฐานและการตีความ โดย รองศาสตราจารยอังครัตน เพรียบจริยวัฒน http://www.axa.com/lib/en/uploads/anr/group/2012/AXA_Reference_Document_2012b.pdf

Inside TFRS

Page 14: TFRS 4 สัญญาประก ันภัย · 3 Inside TFRS สัญญาประก ันภัย (TFRS 4) ภาพรวม บริษัทในธุรกิจประก

14

ค�าสอบบัญชีกับการปฏิบัติงานของผู�สอบบัญชี

ฝายพัฒนาและกํากับดูแลคุณภาพผูสอบบัญชี สภาวิชาชีพบัญชีฯ ไดเผยแพรบทความเก่ียวกับกรณีที่ U.S. Securities and Exchange Commission หรือ ก.ล.ต. สหรัฐอเมริกา แสดงความกังวลเกี่ยวกับการคาบริการสอบบัญชีที่ลดต่ําลง ซึ่งอาจทําใหคณุภาพการตรวจสอบของผูสอบบัญชลีดลงตามไปดวย ซึง่บทความดังกลาวนาสนใจและใหขอคดิตอคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทจดทะเบียนไทยเชนกัน

ก.ล.ต. สหรัฐอเมริกาแสดงความกังวลเกี่ยวกับ การคิดค�าบริการสอบบัญชีที่ลดต่ําลง

ก.ล.ต. สหรัฐอเมริกา แสดงความกังวลตอแรงกดดันใหผูสอบบัญชลีดคาบริการสอบบัญชใีหต่าํลงจะนําไปสูการตรวจสอบที่แยลง ทั้งนี้ ในกรณีที่คาบริการสอบบัญชีขึ้นลงตามสภาวะเศรษฐกิจ ก.ล.ต. สหรัฐฯ ใหความเห็นวา คาบริการสอบบัญชีไมควรจะผันแปรไปตามสภาวะเศรษฐกิจ เนื่องจากแทที่จริงแลว หากสภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า ผูสอบบัญชีควรจะใหเวลาตอการปฏิบัติงานสอบบัญชีใหมากกวาเดิม เมื่อมีวิกฤตการทางการเงินเกิดขึ้น โดยปกติกิจการตางๆ มักจะขอลดราคากับผูขายสินคาและบริการ และเปนสิ่งที่นาตกใจที่กิจการใชเกณฑเดียวกันนี้กับคาบริการสอบบัญชีดวยเชนกัน

สําหรับกิจการที่ตัดสินใจเปลี่ยนผูสอบบัญชีใหม กิจการก็มักจะไดรับสวนลดคาสอบบัญชีจากการที่เปนลูกคาในปแรก อยางไรก็ตาม กิจการควรคํานึงดวยวาคาสอบบัญชีที่ลดลงนั้น ไมใชสิ่งจูงใจพื้นฐานที่กิจการใชเปนเกณฑในการเปลี่ยนผูสอบบัญชี

ในดานของผูสอบบัญชกีม็กัจะเสนอราคาบริการสอบบัญชใีนอัตราท่ีต่าํสาํหรับลูกคาปแรก เพือ่มุงหมายจะไดลกูคารายน้ัน โดยจากงานวิจัยของมหาวิทยาลัยในสหรัฐสองแหงพบวากิจการในสหรัฐอเมริกาท่ีมีการเปล่ียนผูสอบบัญชี จากสํานักงาน Big 4 ไปเปนสํานักงานที่ไมใช Big 4 คาสอบบัญชีจะลดลงจากเดิมโดยเฉล่ีย 62% แตหากเปลี่ยนผูสอบบัญชีจากสํานักงาน Big 4 ไปเปนสํานักงาน Big 4 อื่นๆ คาสอบบัญชีจะลดลงประมาณ 38%

ก.ล.ต. สหรัฐฯ ยังไดยินมาในหลายกรณีวา คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทจดทะเบียนบางราย (Audit Committee) เสาะแสวงหาคาสอบบัญชีที่ต่ําลง คณะกรรมการตรวจสอบซึ่งเปนผูรับผิดชอบในการแตงตั้งผูสอบบัญชีกลับขอใหผูสอบบัญชีรายใหมที่เขามารับงานคิดคาบริการในอัตราที่ลดต่ําลง อาจจะเปนเรื่องของความไมเหมาะสมกับเนื้อหาของงานตรวจสอบ

นอกจากน้ันคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทจดทะเบียนอาจจะมีประเด็นทางขอกฎหมายในกรณีท่ีคาสอบบัญชีทีล่ดลงและเกิดขอผดิพลาดท่ีมสีาระสําคญัในงบการเงิน ผูถอืหุนและหนวยงานกํากับดแูลจึงมคีวามกังวลวาคณะกรรมการบริษัทอาจละเลยการปฏิบัติหนาที่ในเรื่อง fi duciary ของตน การตัดลดราคาคาบริการสอบบัญชี จึงเปนแรงกดดันสําคัญตอการปฏิบัติงานของผูสอบบัญชี

Audit Committee BRIEF

ที่มา: http://www.fap.or.th และติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่

http://blogs.wsj.com/cfo/2014/02/24/sec-grows-suspicious-of-declining-auditor-fees/

Page 15: TFRS 4 สัญญาประก ันภัย · 3 Inside TFRS สัญญาประก ันภัย (TFRS 4) ภาพรวม บริษัทในธุรกิจประก

15

ผลสํารวจของ IFAC จากการสอบถามความคิดเห็นของผู�ประกอบวิชาชีพบัญชีทั่วโลก ป� 2013

สหพันธนักบัญชีระหวางประเทศ หรือ International Federation of Accountants (IFAC) ไดมีการสอบถามความคิดเห็นจากผูประกอบวิชาชีพบัญชีทั่วโลกอยูเสมอ เพื่อใหรับทราบถึงปญหาในการปฏิบัติงาน รวมทั้งใชเปนแนวทางในการปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานของผูประกอบวิชาชีพบัญชีทุกระดับ และเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ 2557 IFAC’s SMP Committee ไดเผยแพรผลการสํารวจความคิดเห็น IFAC SMP Quick Poll: 2013 Year-End Round-Up ซึ่งเปนการสรุปผลการสํารวจความคิดเห็นที่ไดทําในชวงไตรมาสที่ 4 ของป 2556 โดยไดสรุปใหเห็นถึงประเด็นตางๆ ที่ผูปฏิบัตงิานในธุรกิจขนาดกลางและเล็ก (SMPs) ทั่วโลกตองเผชิญในการปฏิบัติงาน

ผูประกอบวิชาชีพบัญชีที่รวมตอบแบบสอบถามเห็นวา ปญหาที่ผูประกอบวิชาชีพบัญชีตองเผชิญในอันดับแรก คือ การดึงดูดลูกคารายใหมและการรักษาลูกคารายเดิม ปญหาถัดมา ไดแก แรงกดดันที่ทําใหตองรับงานท่ีมีคาธรรมเนียมวิชาชีพตํ่า และการติดตามขอกําหนดของทางการและมาตรฐานการปฏิบัติงานท่ีเปล่ียนไป ในขณะท่ีลูกคาท่ีเปน SMEs นั้น กังวลกับความไมแนนอนของสภาพเศรษฐกิจมากที่สุด รองลงมาคือ ปญหาในการหาแหลงเงินทุนและแรงกดดันที่ทําใหตองขายสินคาหรือใหบริการในราคาที่ต่ําลง อีกทั้งตนทุนในการดําเนินงานก็เพิ่มขึ้นดวย

ที่มา: http://www.fap.or.th และติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ http://www.ifac.org/publications-resources/ifac-smp-quick-poll-2013-year-end-round

IFRS Update

Page 16: TFRS 4 สัญญาประก ันภัย · 3 Inside TFRS สัญญาประก ันภัย (TFRS 4) ภาพรวม บริษัทในธุรกิจประก

16

6 มาตรการสําคัญเพื่อการเตรียมรับมือกับแนวทางการรับรู�รายได�แบบใหม�

โครงการกําหนดมาตรฐานเกี่ยวกับการรับรูรายไดซึ่งเปนโครงการรวมกันระหวาง International Accounting Standards Board (IASB) และ Financial Accounting Standards Board (FASB) อยูในขั้นตอนสุดทายของการออกมาตรฐานซึ่งคาดวาจะเผยแพรในไตรมาสแรกของป 2014 และ IASB จะใหมีผลใชบังคับสําหรับงบการเงินที่มีรอบบัญชีเริ่มตนในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2017 เปนตนไป

มาตรฐานดังกลาวจะใชกับทุกๆ อุตสาหกรรมและใชกับรายการทุกประเภทท่ีกอใหเกิดรายได (ซ่ึงจะทําใหแนวทางปฏิบัติทางบัญชขีองสหรัฐอเมริกาที่ FASB กําหนดเฉพาะสําหรับอุตสาหกรรมตางๆ หมดไป) มาตรฐานจะกําหนดใหการรับรูรายไดตองเปนไปตามขั้นตอน 5 ขอคือ

1. ระบุสัญญาที่ทํากับลูกคา2. ระบุภาระผูกพันจากการปฏิบัติงานแยกตางหากในสัญญา3. กําหนดมูลคาของรายการ4. ปนสวนมูลคาของรายการไปยังภาระผูกพันจากการปฏิบัติงานแยกตางหากในสัญญา5. รับรูรายไดเมื่อกิจการไดปฏิบัติตามภาระผูกพันจากการปฏิบัติงาน

ผูเชี่ยวชาญจาก Deloitte ไดใหคําแนะนําสําหรับกิจการในทุกอุตสาหกรรมในการรับมือการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานทันทีโดยไมรอจนถึงป 2015 หรือ 2016 ดังนี้

1. ประเมินกระแสรายไดตาง ๆ เพื่อทําความเขาใจวามาตรฐานจะกระทบอยางไรเมื่อมีการรับรูรายได บางบริษัทอาจเห็นผลกระทบเล็กนอย แตบางบริษัทอาจเห็นผลกระทบที่มีสาระสําคัญจนตองหยิบมาพิจารณา

2. ระบุประเด็นทางบัญชีและภาษีที่สําคัญ และนโยบายใหม ๆ ที่อาจจําเปนตองกําหนด3. หาขอยุติกรณีที่มาตรฐานตองการการตีความหรือการใชดุลยพินิจเรื่องนี้อาจมีนัยสําคัญข้ึนอยูกับอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอยางยิ่งกิจการท่ีจะตองเลิกปฏิบัติตาม US GAAP ที่กําหนดเฉพาะอุตสาหกรรม

4. ตรวจสอบผลกระทบโดยรวมท่ีมาตรฐานจะมีตองบการเงินเพ่ือท่ีจะไดยกประเด็นคําถามตอผูมีสวนไดเสีย เชน คณะกรรมการ และคณะกรรมการตรวจสอบ

5. ประเมินการควบคุมขั้นตอนและระบบที่จําเปนตองเปลี่ยนแปลง เพื่อใหแนใจวาการนํามาใชจะเปนไปโดยราบรื่น6. กําหนดการฝกอบรมแกพนักงานเพื่อเตรียมความพรอมสําหรับการเริ่มปฏิบัติใชมาตรฐาน

ที่มา: http://www.cgma.org/magazine/news/pages/20139076.aspx

Page 17: TFRS 4 สัญญาประก ันภัย · 3 Inside TFRS สัญญาประก ันภัย (TFRS 4) ภาพรวม บริษัทในธุรกิจประก

17

TFRS Progress

สรุปมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่จัดทําใหม�และปรับปรุง 2555 ซ่ึงประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล�ว

คณะกรรมการกําหนดมาตรฐานการบัญชไีดจดัทาํและปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (TFRS) มาตรฐานการบัญช ี(TAS) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (TFRIC) และการตีความมาตรฐานการบัญชี (SIC) ตาม IFRS Bound Volume 2012 (Blue Book) ซึ่งฉบับท่ีปรับปรุงนี้ จะมีผลบังคับใชกับงบการเงินที่มีรอบระยะเวลารายงานเริ่มตนในหรือหลังวันท่ี 1 มกราคม 2557 เปนตนไป แตสําหรับ TFRS 4 เรื่อง สัญญาประกันภัยซึ่งเปนฉบับจัดทําใหม ใหถือปฏิบัติเริ่มตนในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2559 เปนตนไป

รายละเอียดมาตรฐานที่จัดทําและปรับปรุง มีดังนี้

1. มาตรฐานการรายงานทางการเงิน 5 ฉบับ (ปรับปรุง 4 ฉบับ และจัดทําใหม 1 ฉบับ)2. มาตรฐานการบัญชี 13 ฉบับ 3. การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน 9 ฉบับ4. การตีความมาตรฐานการบัญชี 4 ฉบับ

ตารางสรุปมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่จัดทําใหม�และปรับปรุง 2555

ลําดับ ฉบับ เรื่อง วันท่ีบังคับใช

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน (TFRS)

1 TFRS2 การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ (ปรับปรุง 2555)

เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 ม.ค. 57

2 TFRS3 การรวมธุรกิจ (ปรับปรุง 2555)

3 TFRS5 สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขายและการดําเนินงาน ที่ยกเลิก (ปรับปรุง 2555)

4 TFRS8 สวนงานดําเนินงาน (ปรับปรุง 2555)

5 TFRS4 สัญญาประกันภัย (จัดทําใหม) เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 ม.ค. 59

มาตรฐานการบัญชี (TAS)

1 TAS1 การนําเสนองบการเงิน (ปรับปรุง 2555)

เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 ม.ค. 57

2 TAS7 งบกระแสเงินสด (ปรับปรุง 2555)

3 TAS12 ภาษีเงินได (ปรับปรุง 2555)

4 TAS17 สัญญาเชา (ปรับปรุง 2555)

5 TAS18 รายได (ปรับปรุง 2555)

6 TAS19 ผลประโยชนของพนักงาน (ปรับปรุง 2555)

7 TAS21 ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราตางประเทศ (ปรับปรุง 2555)

Page 18: TFRS 4 สัญญาประก ันภัย · 3 Inside TFRS สัญญาประก ันภัย (TFRS 4) ภาพรวม บริษัทในธุรกิจประก

18

ลําดับ ฉบับ เรื่อง วันท่ีบังคับใช

8 TAS24 การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคล หรือกิจการที่เก่ียวของกัน (ปรับปรุง 2555)

เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 ม.ค. 57

9 TAS28 เงินลงทุนในบริษัทรวม (ปรับปรุง 2555)

10 TAS31 สวนไดเสียในการรวมคา(ปรับปรุง 2555)

11 TAS34 งบการเงินระหวางกาล (ปรับปรุง 2555)

12 TAS36 การดอยคาของสินทรัพย (ปรับปรุง 2555)

13 TAS38 สินทรัพยไมมีตัวตน (ปรับปรุง 2555)

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (TFRIC)

1 TFRIC1 การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอน การบูรณะ และหนี้สินที่มีลักษณะคลายคลึงกัน

เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 ม.ค. 57

2 TFRIC4 การประเมินวาขอตกลงประกอบดวยสัญญาเชาหรือไม

3 TFRIC5 สิทธิในสวนไดเสียจากกองทุนการรื้อถอน การบูรณะและการปรับปรุงสภาพแวดลอม

4 TFRIC7 การปรับปรุงยอนหลังภายใตมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 เรื่อง การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจ ที่มีภาวะเงินเฟอรุนแรง

5 TFRIC10 งบการเงินระหวางกาลและการดอยคา

6 TFRIC12 ขอตกลงสัมปทานบริการ

7 TFRIC13 โปรแกรมสิทธิพิเศษแกลูกคา

8 TFRIC17 การจายสินทรัพยที่ไมใชเงินสดใหเจาของ

9 TFRIC18 การโอนสินทรัพยจากลูกคา

การตีความมาตรฐานการบัญชี (SIC)

1 SIC-15 สัญญาเชาดําเนินงาน-สิ่งจูงใจใหแกผูเชา

เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 ม.ค. 57

2 SIC-27 การประเมินเนื้อหาสัญญาเชาที่ทําขึ้นตามรูปแบบกฎหมาย

3 SIC-29 การเปดเผยขอมูลของขอตกลงสัมปทานบริการ

4 SIC-32 สินทรัพยไมมีตัวตน-ตนทุนเว็บไซต

ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ http://www.fap.or.th และสามารถดาวนโหลดมาตรฐานการรายงานทางการเงินทั้งหมดไดที่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุง 2555

Page 19: TFRS 4 สัญญาประก ันภัย · 3 Inside TFRS สัญญาประก ันภัย (TFRS 4) ภาพรวม บริษัทในธุรกิจประก

19

หลักสําคัญของ IFRS 4 ถูกกล�าวถึงด�วยเหตุผลใด

เพื่อจํากัดการปรับปรุงการบัญชีเกี่ยวกับการบัญชีการประกันภัย สาระสําคัญหลักของ IFRS 4 คือ การใหมีการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับสินทรัพย หนี้สิน รายได และคาใชจายที่เกิดจากสัญญาประกันภัย และความเสี่ยงที่บริษัทประกันภัยมีอยู (ดานการรับประกันภัย เครดิต ตลาด สภาพคลอง)

สัญญาประกันต�อไปนี้ประเภทใดอาจจะไม�ได�รวมอยู�ใน IFRS4- ประกันภัยรถยนต- ประกันชีวิต- ประกันทางการแพทย- โครงการบํานาญ

โครงการบํานาญ

มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว�างประเทศต�อไปนี้ฉบับใดใช�กับสัญญาที่โอนความเสี่ยงทางการเงินเช�น Credit Derivative- IAS 23- IAS 18- IAS 39- IFRS 4

มาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศฉบับที่ 39 หรือ International Accounting Standard (IAS) 39 เรื่อง Financial Instruments: Recognition and Measurement

หากกิจการให�การรับประกันสินค�าท่ีออกโดยตรงจากผู�ผลิต ตัวแทนจําหน�ายหรือร�านค�าปลีก มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว�างประเทศฉบับใดมีแนวโน�มที่จะครอบคลุมการรับประกันลักษณะนี้- IFRS 4- IAS 39- IAS 18 และ IAS 37- IAS 32

มาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศ ฉบับที่ 18 เรื่อง รายได (IAS 18 : Revenue) และมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศฉบับท่ี 37 เรื่อง ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพยที่อาจเกิดขึ้น (IAS 37 : Provisions, Contingent Liabilities and Contingent Assets)

Financial Reporting QUIZ

Page 20: TFRS 4 สัญญาประก ันภัย · 3 Inside TFRS สัญญาประก ันภัย (TFRS 4) ภาพรวม บริษัทในธุรกิจประก

20

IFRS 4 ระบุว�าสัญญาประกันภัยมีวิธีปฏิบัติทางบัญชีอย�างไร

โดยท่ัวไปยังคงใหปฏิบัติตามนโยบายการบัญชีที่มีอยูในระหวางการมีมาตรฐานการบัญชีเกี่ยวกับสัญญาประกันภัยระยะที่หนึ่ง อยางไรก็ตามมีขอกําหนด คือ1. หามตั้งประมาณการหนี้สินสาหรับคาสินไหมทดแทนที่ยังไมเกิดขึ้น ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน เชน สํารองคาสินไหมทดแทนท่ีเกิดจากมหันตภัย (Catastrophe Provision) และสํารองรักษาระดับคาสินไหมทดแทน (Claim Equalisation Provision) เนื่องจากเหตุการณดังกลาวยังไมเกิดขึ้น

2. ทดสอบความเพียงพอของหนี้สินจากการประกันภัยที่รับรูแลว โดย ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน ผูรับประกันภัยตองประเมินหนี้สินจากประกันภัยที่รับรูไวในงบการเงินวาเพียงพอหรือไม

3. ทดสอบการดอยคาของสินทรัพยจากสัญญาประกันภัยตอ โดยมีหลักฐานปรากฏอยางชัดเจนอันเปน ผลจากเหตุการณที่เกิดขึ้นภายหลังการรับรูสินทรัพยจากการประกันภัยตอเมื่อเริ่มแรก ทําใหผูเอาประกันภัยตออาจจะไมไดรับจานวนเงินทั้งหมดตามเงื่อนไขของสัญญา และผลกระทบตอจํานวนเงินจากเหตุการณที่ผูเอาประกันภัยตอจะไดรับจากผูรับประกันภัยตอ สามารถวัดมูลคาไดอยางนาเชื่อถือ

4. บันทึกหนี้สินจากสัญญาประกันภัยไวในงบแสดงฐานะการเงินจนกวาภาระหนี้สินดังกลาวจะหมดลงหรือยกเลิก หรือสิ้นผลบังคับ

5. ตองไมหักกลบระหวางรายการจากสัญญาประกันภัยตอ และสัญญาประกันภัยที่เก่ียวของ

ผู�รับประกันภัยสามารถรับรู�ผลแตกต�างระหว�างมูลค�ายุติธรรมและมูลค�าตามบัญชีของหนี้สินจากสัญญาประกันภัยที่รับโอนมาเนื่องจากการรวมธุรกิจเป�นสินทรัพย�ไม�มีตัวตน ตามมาตรฐานฉบับใด

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 เรื่อง สัญญาประกันภัย (IFRS 4 Insurance contracts)

IFRS 4 ห�ามวิธีปฏิบัติทางบัญชีใด- การบัญชีเงา (Shadow Accounting)- สํารองคาสินไหมทดแทนท่ีเกิดจากมหันตภัย- การทดสอบความเพียงพอของหนี้สินจากสัญญาประกันภัยที่รับรูไว- การทดสอบการดอยคาของสินทรัพยจากการประกันภัยตอ

สํารองคาสินไหมทดแทนท่ีเกิดจากมหันตภัย (Catastrophe Provision) เนื่องจากเหตุการณดังกลาวยังไมเกิดขึ้น

สัญญาประกันภัยสามารถมีองค�ประกอบทั้งส�วนที่เป�นการฝากเงินและองค�ประกอบส�วนที่เป�นการประกันภัย ตัวอย�างเช�นการทําสัญญาประกันภัยต�อที่ผู�เอาประกันภัยต�อได�รับการชําระค�าเบี้ยประกันภัยในอนาคตถ�าไม�มีการเรียกร�องใดๆ ภายใต�สัญญา ซึ่งถือว�าเป�นเงินกู�จากผู�เอาประกันภัยต�อที่จะได�รับการชําระคืนในอนาคต IFRS 4 กําหนดอย�างไร

การชําระเงินโดยผูเอาประกันภัยตอถือเปนเงินใหกูยืมลวงหนาและการชําระเงินสําหรับการครอบคลุมประกัน

ที่มา: Wiley Practical Implementation Guide and Workbook for IFRS (3rd edition)

Page 21: TFRS 4 สัญญาประก ันภัย · 3 Inside TFRS สัญญาประก ันภัย (TFRS 4) ภาพรวม บริษัทในธุรกิจประก

21

Training & Seminar UPDATE

• จัดสัมมนาโดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (มีคาใชจาย)วันสัมมนา ชื่อหลักสูตรสัมมนาที่นาสนใจ

25 เมษายน 2557(9.00 – 16.30 น.)

ชี้แจงขอบังคับสภาวิชาชีพบัญชี 5 ฉบับ และ Update TFRS ปจจุบันและอนาคต

26 เมษายน 2557(9.00 – 17.00 น.)

• บัญญัติ 10 ประการของนักบัญชียุค AEC รุนที่ 1/57 • Update ประเด็นในมาตรฐานการบัญชีที่สําคัญ TFRS ป 2556

(สาขาขอนแกน)

15 พฤษภาคม 2557 (9.00 – 17.00 น.)

รูใช เขาใจงบการเงิน รุนที่ 1/57

16 พฤษภาคม 2557(9.00 – 17.00 น.)

ตรวจสุขภาพกิจการผานงบการเงิน รุนที่ 1/57

4, 8, 10, 12, 13 และ 14 มิถุนายน 2557(9.00 – 12.15 น. และ 13.15 – 17.00 น.)

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน : TFRS ผลกระทบตอกลุมธุรกิจอุตสาหกรรมรุนที่ 1/57 (หลักสูตรที่ 2) • กลุมเทคโนโลยี (ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส) • กลุมสินคาอุตสาหกรรม

(ยานยนต/วัสดุอุตสาหกรรมและเครื่องจักร/เหล็ก) • กลุมเทคโนโลยี (เทคโนโลยีและการสื่อสาร) • กลุมอสังหาริมทรัพยและกอสราง

(กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย/พัฒนาอสังหาริมทรัพย/วัสดุกอสราง)• กลุมธุรกิจการเงิน (เงินทุนและหลักทรัพย/ธนาคาร และประกันภัย) • กลุมสินคาอุตสาหกรรม

(ยานยนต/วัสดุอุตสาหกรรมและเครื่องจักร/เหล็ก) • กลุมบริการ (การทองเที่ยวและสันทนาการ/การแพทย/พาณิชย) • กลุมสินคาอุตสาหกรรม

(สื่อสิ่งพิมพ/กระดาษและวัสดุการพิมพ/บรรจุภัณฑ) • กลุมสินคาอุปโภคบริโภค

(ของใชในครัวเรือนและสํานักงาน / ของใชสวนตัวและเวชภัณฑ /แฟช่ัน)• กลุมสินคาอุตสาหกรรม

(สื่อสิ่งพิมพ / กระดาษและวัสดุการพิมพ / บรรจุภัณฑ)

5 มิถุนายน - 15 สิงหาคม 2557 (9.00 – 17.00 น.)

TFRS ทุกฉบับ ป 2557 รุนที่ 1/57 (หลักสูตรเต็ม 20 วัน)

รายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://www.fap.or.th

Page 22: TFRS 4 สัญญาประก ันภัย · 3 Inside TFRS สัญญาประก ันภัย (TFRS 4) ภาพรวม บริษัทในธุรกิจประก

ฝายกํากับบริษัทจดทะเบียน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 62 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 E-mail : [email protected]