the 7 habits of highly effective people all

21
The 7 Habits of Highly Effective People สตีเฟนอาร โควีย (Stephen R. Covey) ผูเขียนหนังสือ The 7 Habits of Highly Effective People หนังสือที่ไดรับการยกยองจากนิตยสารฟอรบใหเปน 1 ใน 2 หนังสือที่มีอิทธิพล ที่สุดในศตวรรษ 20 เปนบุคคลที่ไดรับการกลาวถึงในดานของการพัฒนาตนเอง เขาเปนผูที่รวบรวมแนวความคิดของนิสัยที่ดีซึ่งหากบุคคลใดมีครบ ปฏิบัติครบ และ ปฏิบัติไดเปนนิสัยแลว จะทําใหเขาผูนั้นเปนผูที่ทํางานการไดอยางมีประสิทธิภาพ สิ่งดีๆหาอานไดท WWW.JATUPORN.UCOZ.COM 7 อุปนิสัย เพื่อการ ทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ

Upload: i-tuinui-

Post on 29-May-2015

2.089 views

Category:

Education


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: The 7 habits of highly effective people all

The 7 Habits of Highly Effective People

สตีเฟนอาร โควีย (Stephen R. Covey) ผูเขียนหนังสือ The 7 Habits of Highly Effective People หนังสือท่ีไดรับการยกยองจากนิตยสารฟอรบใหเปน 1 ใน 2 หนังสือท่ีมีอิทธิพลท่ีสุดในศตวรรษ 20 เปนบุคคลท่ีไดรับการกลาวถึงในดานของการพัฒนาตนเอง เขาเปนผูท่ีรวบรวมแนวความคิดของนิสัยท่ีดีซึ่งหากบุคคลใดมีครบ ปฏิบัติครบ และปฏิบัติไดเปนนิสัยแลว จะทําใหเขาผูนั้นเปนผูท่ีทํางานการไดอยางมีประสิทธิภาพ

สิ่งดีๆหาอานไดที ่ WWW.JATUPORN.UCOZ.COM

7 อุปนิสัย เพื่อการทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ

Page 2: The 7 habits of highly effective people all

The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |2 |

The 7 Habits of Highly Effective People สตีเฟนอาร โควีย (Stephen R. Covey) ผูเขียนหนังสือ The 7 Habits of Highly Effective

People หนังสือที่ไดรับการยกยองจากนิตยสารฟอรบใหเปน 1 ใน 2 หนังสือที่มีอิทธิพลที่สุดในศตวรรษ 20 เปน

บุคคลที่ไดรับการกลาวถึงในดานของการพัฒนาตนเอง เขาเปนผูที่รวบรวมแนวความคิดของนิสัยที่ดีซึ่งหากบุคคลใด

มีครบ ปฏิบัติครบ และปฏิบัติไดเปนนิสัยแลว จะทําใหเขาผูน้ันเปนผูที่ทํางานการไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งอุปนิสัย

ที่ดีเหลาน้ีมีอยู 7 ประการ ดังน้ี:

The Habit The Results of 7 Habits Training

อุปนิสัยท่ี 1 Be

Proactive

Fosters courage to take risks and accept new challenges to achieve goals

เสริมสรางใหมีความกลาที่จะเผชิญส่ิงใหมๆ กลารับผิดชอบ และปรับปรุง การยอมรับในหนาที่ ที่ไดรับมอบหมาย เพื่อที่จะไดบรรลุถึงวัตถุประสงค

อุปนิสัยท่ี 2 Begin with the End in Mind

Brings projects to completion and unites teams and organizations under a shared vision, mission, and purpose

เริ่มตนดวยจุดมุงหมายในใจ มุงที่ความสําเร็จของโครงการ โดยรวมเปาหมาย ของทีมงานและองคกรไวดวยกัน

อุปนิสัยท่ี 3 Put First Things

First

Promotes getting the most important things done first and encourages direct effectiveness

ทําส่ิงที่สําคัญกอน มุงเนนทําส่ิงที่สําคัญกอน และสงเสริมการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิผล

อุปนิสัยท่ี 4 Think

Win-Win

Encourages conflict resolution and helps individuals seek mutual benefit, increasing group momentum

คิดแบบชนะ ชนะ สงเสริมใหมีการแกปญหา และความขัดแยงรวมกัน แสวงหาหนทาง ที่ มีผลประโยชนดวยกัน

อุปนิสัยท่ี 5 Seek First to

Understand, Then to Be Understood

Helps people understand problems, resulting in targeted solutions; and promotes better communications, leading to successful problem-solving

เขาใจผูอ่ืนกอนแลวจึงทําใหผูอ่ืนเขาใจเรา สรางความชัดเจน ในการติดตอส่ือสาร ใหมากขึ้น โดยใชทักษะในการฟง เพิ่มความไววางใจ ใหสูงขึ้นและทํางานใหสําเร็จเร็วขึ้น ชวยทําใหเขาใจ ปญหาตางๆ และทัศนะในการส่ือสารดีขึ้น เพื่อหาทางแกปญหา ไดอยางถูกตองที่สุด

อุปนิสัยท่ี 6 Synergize

Ensures greater "buy-in" from team members and leverages the diversity of individuals to increase levels of success

ผนึกพลังประสานความตาง ผนึกพลังตางๆ รวมกันจากสมาชิกในกลุม เพื่อนํามาเปนสวน ไดเปรียบในทางเลือกใหม

อุปนิสัยท่ี 7 Sharpen the Saw

Promotes continuous improvements and safeguards against "burn-out" and subsequent non-productivity

ลับเล่ือยใหคมอยูเสมอ ทําใหเปนกิจวัตร หม่ันฝกฝน เพื่อพัฒนาทั้ง 6 อุปนิสัยใหดีขึ้น ไปเรื่อยๆ รวมทั้งเอาใจใสทั้งส่ีมิติของการเติมพลังชีวิต 1 กายภาพ 2 สติปญญา 3 จิตวิญญาณ 4 สังคม/อารมณ

Page 3: The 7 habits of highly effective people all

The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |3 |

กรอบความคิดและหลักการ (ภาพรวมของอุปนิสัยทั้ง 7)

“อุปนิสัย” เปนผลรวมขององคประกอบสวนบุคคลในดานความรู ทักษะและทัศนคติ เปนการเรียนรู

มากกวาการถายทอด ซึ่งทําใหเราเกิดความเขาใจวาตนเองตองทําอะไร อยางไร และเพื่ออะไร อุปนิสัยที่มี

ประสิทธิผลสามารถเรียนรูกันไดและอุปนิสัยที่ไมเปนประสิทธิผลเราละเลิกได โดย 7 อุปนิสัย ที่จะนําเสนอตอไปน้ีมี

ความเกี่ยวเน่ือง พึ่งพาซึ่งกันและกันและเปนข้ันตอน ในการนําอุปนิสัยไปใชเพื่อใหเกิดประสิทธิผลสูงสุดในแตละ

บุคคล โดยทั่วไปแลวพฤติกรรมของเราประกอบไปดวยอุปนิสัยตางๆ ในตัวเรา ความคิดจะสงผลใหเกิดการปฏิบัติ

และเมื่อปฏิบัติเปนนิจก็จะกลายเปนอุปนิสัย เมื่อมีอุปนิสัยก็จะกลายเปนคุณลักษณะ และในที่สุดจะกลายเปนวิถี

ชีวิต

สวนคําวา “ประสิทธิภาพ” หมายถึง การสรางผลลัพธในระยะสั้นและระยะยาวอยางสมดุล การสรางและ

พัฒนาตนเองใหมีประสิทธิภาพสูง ตองเริ่มจากการปลูกฝงลักษณะนิสัยที่ดีของแตละบุคคล (อุปนิสัยที่ 1 -3) ไป

จนกระทั่งทําใหบุคคลน้ันตระหนักถึง กฎธรรมชาติที่วาทุกสรรพสิ่งตางพึ่งพาอาศัยกัน มนุษยจึงตองมีปฏิสัมพันธกัน

ผูอื่น (อุปนิสัยที่ 4-6)

อุปนิสัยที่ดี ตองเริ่มจากการปรับมุมมอง หรือ การมีกรอบความคิดตอสิ่งตาง ๆ ไดอยางถูกตองกอน เพราะ

คนเราแตละคนจะมีกรอบความคิดที่ไมเหมือนกัน ข้ึนอยูกับปจจัยหลายประการ เชน การเลี้ยงดูที่ผานมา,

ประสบการณ, ทัศนคติ คานิยม หรือสภาพแวดลอม ซึ่งหากเรามีกรอบความคิดที่ผิดไปแลว เราก็จะตีความหรือ

ดําเนินชีวิตไมถูกตองไปทั้งหมด เปรียบเหมือนการมีแผนที่ที่ผิด ก็จะนําทางเราไปสูความลมเหลว ดังน้ัน สิ่งแรกเรา

ตองมั่นใจวาเรามีกรอบความคิดที่ดี ที่ถูกตอง ไมมีอคติตอสิ่งใด โดยเนนความคิดที่สอดคลองกับธรรมชาติ การอยู

รวมกันของมนุษย เชน การมีคุณธรรม จริยธรรมความยุติธรรม, ซื่อสัตย,จิตใจบริการ, เปนตน

กอนที่จะกลาวถึงนิสัยทั้ง 7 ประการ ผูแตงไดใหแงคิดวามนุษยมีสิ่งที่แตกตางจากสัตวเดรัจฉาน

อยู 3 อยางคือ มีสามัญสํานึกรูจักแยกแยะผิดชอบช่ัวดี มีความคิดริเริ่มสรางสรรค และมีพลังจิต ดังน้ัน การเอาใจใส

และหมั่นฝกฝนคุณสมบัติพิเศษเหลาน้ีจนกลายเปนนิสัย จะทําใหประสบความสําเร็จและมีความสุขอยางแทจริง

นอกจากน้ัน ผูแตงไดกลาววา กรอบในการมองโลก (paradigm) หรือนิสัยของคนเราน้ันสวนใหญจะถูกปลูกฝงมา

จากการสั่งสอนของคนรอบขาง การใชชีวิตในสังคม และจากการเรียนรูดวยตัวเอง และดวยความเคยชินทําใหคนเรา

น้ันไมเคยฉุกคิดวามุมมองที่มีอยูน้ันถูกตองหรือเหมาะสมหรือไม จึงกอใหเกิดการทะเลาะเบาะแวงและไมเขาใจผูอื่น

อยูตลอดเวลา เพราะเอาความคิดของตนเองเปนตัวตัดสิน

ดังน้ัน ผูแตงจึงแนะนําใหหยุดทบทวนแนวความคิดมุมมองและคติธรรมในใจที่เคยยึดถือตลอดมาวา สิ่ง

เหลาน้ันถูกตองแลวจริงหรือ ใหพิจารณาตามความเปนจริง สิ่งไหนคิดผิดใหคิดใหมแกไขที่ตนเหตุ เมื่อเขาใจตนเอง

จึงจะเขาใจผูอื่นได นอกจากน้ันผูแตงยังเช่ือวาผูที่จะประสบความสําเร็จไดน้ันสวนหน่ึงเกิดจากการมีสมองขางขวาที่

ทรงประสิทธิภาพสามารถควบคุมการทํางานของสมองดานซายได สมองขางขวามีหนาที่เตือนใหรูจักผิดชอบช่ัวดี

การมีจินตนาการ และการมีอารมณและความรูสึก ดังน้ัน การฝกใชจินตนาการและมีสติรูเน้ือรูตัวอยูตลอดเวลาจึง

เปนการพัฒนาการทํางานของสมองดานขวาไดเปนอยางดี

อุปนิสัยเปนปจจัยสําคัญตอชีวิต และเกิดข้ึนตลอดเวลาจนเกือบไมรูตัว แตเราสามารถสรางอุปนิสัยที่มี

ประสิทธิผลใหเกิดข้ึนกับตัวเราได ดวยความอดทนและต้ังใจจริง กอนที่จะอธิบายเกี่ยวกับอุปนิสัยทั้ง 7 สตีเฟนอาร

Page 4: The 7 habits of highly effective people all

The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |4 |

โควีย (Stephen R. Covey) ไดอธิบายใหเราเขาใจถึง "กรอบความคิด" หรือ Paradigms ของตัวเราเองและดูวา

เราจะสามารถ "เปลี่ยนกรอบความคิด" (Paradigms Shift) น้ีไดอยางไร เพราะแตละคนยอมมีมุมมองที่ตางกันข้ึนอยู

กับวัตถุประสงคในการมองและการตีความเมื่อเขาใจความหมายของ Paradigms ไดดีข้ึนและเริ่มเปรียบเทียบกับ

ขอเท็จจริงและรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น ก็จะทําใหเรามีโลกทัศนที่กวางไกลกวาเดิม ทุกชีวิตเริ่มตนดวยการเปน

ทารก ตองพึ่งพาอาศัยผูอื่นตลอดเวลา (Dependence) พอโตข้ึนก็เริ่มพึ่งพาตนเอง (Independence) มากข้ึนทั้ง

ทางรางกายและจิตใจ จนกระทั่งสามารถดูแลตนเองไดและพัฒนาตนถึงข้ันมีความคิด และความเช่ือมั่นเปนของ

ตนเอง เมื่อเริ่มเปนผูใหญจะตระหนักถึงการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน (Interdependence) โดยจะเกิดข้ึนไดเฉพาะ

คนที่พึ่งพาตนเองไดแลวเทาน้ัน

ดวยเหตุน้ีอุปนิสัยที่ 1, 2, 3 จึงเกี่ยวของกับการเอาชนะใจตนเอง คือ เปลี่ยนจากคนที่ตองพึ่งพาผูอื่นไปเปน

คนที่พึ่งพาตนเองหรือ "ชนะใจตนเอง" เมื่อพึ่งพาตนเองไดถือวามีพื้นฐานสําหรับการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันไดก็

จะสามารถกาวไปสูการ "ชนะใจผูอ่ืน" ดวยการทํางานเปนทีมและสื่อสารอยางมีประสิทธิผลในอุปนิสัยที่ 4, 5,

6 สําหรับอุปนิสัยที่ 7 เปนอุปนิสัยที่ตองหมั่นทบทวนอยางสม่ําเสมอ ชนะใจตนเอง (อุปนิสัยที่ 1-3)

หลังจากเรามีกรอบความคิดที่ดีแลว เราก็จะสามารถพัฒนาอุปนิสัยที่ดี 7 ประการไดอยางมีประสิทธิภาพ

และประสิทธิผล โดยอุปนิสัยทั้ง 7 มีดังน้ี

Page 5: The 7 habits of highly effective people all

The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |5 |

อุปนิสัยท่ี 1 ตองเปนฝาย เริ่มตนทํากอน (Be Proactive)

“หลักการวิสัยทัศนสวนบุคคล (Self vision)”

เราเปนคนที่มีอิสรภาพในการเลือก มีทางเลือกของตนเองบนพื้นฐานคานิยมที่ถูกตอง มีสติในการคิดในการ

เลือกทางเลือกที่เห็นวาเหมาะสมที่สุด และพรอมที่จะรับผิดชอบตอทางเลือกของตนเอง อุปนิสัยที่ 1 จะเปนพื้นฐาน

ของของอุปนิสัยที่ 2 – 7 ถาไมสามารถสรางอุปนิสัยที ่1 ได ก็จะไมสามารถสรางอุปนิสัยที่ 2 – 7 ได

เปนอุปนิสัยเบื้องตนที่สําคัญที่สุดของคนที่จะมีประสิทธิผลในทุกสถานการณ คําวา Pro-activity มี

ความหมายมากกวาการริเริ่ม คนที่ Proactive จะมีความรับผิดชอบดีมาก ไมตําหนิสภาพแวดลอม เงื่อนไขตางๆ

หรือขอจํากัดจากพฤติกรรมของเขา การกระทําของเขาเกิดจากการเลือกของตนเองซึ่งต้ังอยูบนพื้นฐานของคุณคา

มากกวาผลจากเงื่อนไขหรือความรูสึกแกนแทของคนที่ Proactive คือความสามารถในการเก็บแรงกระตุน การ

ตอบสนองกับสิ่งกระตุนจะเปนไปอยางรอบคอบ และผานการช่ังใจมาแลว ตางกับคนที่ Reactive หรือเปนฝายถูก

กระทํา มักไดรับผลกระทบจากเงื่อนไขทางสภาพแวดลอมและเลือกที่จะใหอํานาจเหลาน้ันมาควบคุมตน

คนเราน้ัน หากไมเปนผูกระทํา (Proactive) ก็มักจะเปนผูถูกกระทํา (Reactive) คนที่เปนคนเฉ่ือย ไมยอม

คิดไมยอมสรางอะไร ก็จะถูกสิ่งแวดลอมมากระทบหรือนําพาบังคับใหตองทําอยางน้ันอยางน้ีไปตามสภาพแวดลอม

แบบน้ันเรียกวาเปนผูที่ถูกกระทํา แตในทางตรงกันขาม คนที่อยูในประเภทที่เปนผูกระทํา จะเปนผูเลือกที่จะทําหรือ

จะไมทําสิ่งใดๆ ดวยเหตุดวยผลของเขาเอง คือคิดวาตัวเองเปนผูกําหนดชีวิตของตน ทั้งน้ีดวยการพิจารณาไวกอน

ไมใชวาถึงเวลาแลวคอยคิดจะทํา เพราะสุดทายแลวก็จะกลายเปนผูถูกกระทําและตอบสนองตอสิ่งแวดลอม

เหมือนเดิม

บุคคลจะตองมีความกระตือรือรน และริเริ่มทําสิ่งตางๆ หรือโครงการตางๆดวยตนเองกอนที่จะเรียกรองให

คนอื่นทํา การริเริ่มงานเปนความรับผิดชอบตอการเลือกกระทําของตนเองและมีอิสระในการเลือกกระทํา ซึ่งอิสระ

ในการเลือกเปนไปตามหลักการและคานิยมที่ดีในการทํางาน ไมใชเลือกกระทําเพราะอยูในอารมณอยากทําหรือ

เน่ืองจากตกอยูภายใตเงื่อนไขที่จะตองทํา

ความจรงิ การเริ่มตนทํากอน เหมือนเหรียญที่มี 2 ดาน

ดานหน่ึง คือ การเริ่มทําอะไรสักอยาง (Pro action)

อีกดานคือ รออะไรสักอยางแลวจึงลงมือทํา (Reaction)

การเริ่มตนลงมือทํา เปนการแสดงความรับผิดชอบอยางหน่ึงของชีวิต เพราะถาคุณเอาแตต้ังหนาต้ังตารอ

คอย คุณจะเที่ยวโทษคนน้ันคนน้ี สิ่งน้ันสิ่งน้ี โทษเรื่องตางๆ นอกตัว โดยที่ไมมองตัวเอง ดังน้ัน เราจึงควรคิดริเริ่ม

ลงมือทํา แลวติดตามผลลัพธ ผลลัพธซึ่งจะเกิดข้ึนตามหลักของเหตุและผล อยางไรก็ตาม เมื่อเราถูกกระทบดวย

ความรูสึกใด เราจะทําอะไรบางอยางเปนการตอบโตหรือตอบสนอง แตเพราะคนมีสามัญสํานึก (สัตวไมม)ี ดังน้ัน เรา

ตอง“เลือก”ที่จะทําในสิ่งที่ควรทํา ที่วาเปนเหรียญ 2 ดาน ก็เพราะการเลือกทําน่ันแหละ คือ การเริ่มตนลงมือทํา

กอน

Page 6: The 7 habits of highly effective people all

The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |6 |

เมื่อมีสิ่งเรามากระทบกับตัวเรา หากเราโตตอบไปทันที เรียกวา Reactive

แตถาเราหยุดใชสติ คิด แลวเลือกการตอบสนองสิ่งเรา เรียกวา Proactive

สรุปงายๆ คือ ใหเรามีสติในการแกปญหาตางๆ ที่เผชิญอยูน่ันเอง ในอุปนิสัยน้ียังสอนดวยวา เรามักไปกังวลกับสิ่งที่

เราไมสามารถทําอะไรได ดังน้ัน Proactive สอนใหเราทําในสิ่งที่เราทําไดใหมากที่สุด ทําตัวเราที่ทําไดใหดีที่สุด ก็

คือ อยูกับปจจุบัน ทําปจจุบันใหดีท่ีสุด น่ันเอง

นอกจากน้ันในอุปนิสัยน้ี ยังพูดในเรื่องของสิ่งที่คนเรากังวล โดยปกติแลวคนเรามักจะมีเรื่องกังวลมาก และ

ทุกขใจไปหมด แตที่ถูกแลวเราควรกังวลเฉพาะเรื่องที่เราจัดการได และหาทางปองกันหรือแกไขปญหาน้ัน หาก

เปนเรื่องที่ควบคุมไมไดจริง ๆ เชน เรื่องดินฟาอากาศ, เรื่องความคิดของคนอื่น เราก็ไมควรไปกังวลมาก เพียงแต

จัดการในสิ่งที่เราทําไดใหดีที่สุดเทาน้ัน

เคล็ดลับ ชีวิตของเรา เราตองเลือกเอง เราตองเปนผูกําหนด อยาใหสภาพแวดลอมตาง ๆ มาทําใหเราลังเล

ตองมั่นใจ ตองม ี"สติ" หรือ “มีการรูสึกตัว” ในการเลือกทําอะไรทุกครั้ง และพรอมจะรับผลจากสิ่งท่ีเราเลือก

น้ันไมวาดีหรือรายอยางเขมแข็งและกลาหาญ

Page 7: The 7 habits of highly effective people all

The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |7 |

อุปนิสัยที่ 2 เริ่มตนดวยจุดมุงหมายในใจ (Begin with the end in mind)

“หลักการของภาวะผูนําตนเอง (Self-Leadership)”

เมื่อเรามีทางเลือกของเราเองแลว เราตองสรางภาพในใจข้ึนมากอนการลงมือทํา เพื่อเปนแผนที่นํา

ทางไปสูเปาหมาย วาอยากเห็นตนเองเปนอยางไร อยากเห็นผลงานเปนอยางไร จากน้ันจึงเริ่มลงมือปฏิบัติตามแผนที่

น้ัน

อุปนิสัยที่ 2 น้ีมีพื้นฐานอยูบนหลักการของ "ภาวะผูนํา" เริ่มตนดวยการมองเห็นกรอบความคิดเกี่ยวกับ

จุดมุงหมายสุดทายในชีวิตของเราเพื่อใชเปนกรอบอางอิง ตรวจสอบทุกอยางที่ผานมาวาสอดคลองกับสิ่งที่กําหนดไว

ในใจหรือไม โดยตองกําหนดเปาหมายไวอยางชัดเจน และพยายามทําทุกอยางไมใหขัดแยงกับสิ่งที่เรากําหนดไววา

สําคัญที่สุดและทําใหเขาใกลเปาหมายใหมากที่สุด

การกําหนดเปาหมายไมวาจะเปนเปาหมายเล็กหรือเปาหมายใหญ และการกําหนดแผนงานกอนลงมือ

ทํา จะชวยใหบุคคลสามารถช้ีชัดไดวาตนเองตองการอะไร ตองทําอะไร อยางไหร เมื่อไหร ที่ไหน และทําใหเกิด

ความผูกพันตอเปามาย หลักการ แผนงาน และวัตถุประสงคที่สําคัญที่สุดของตน ซึ่งนําไปสูความสําเร็จใน

เปาหมายของตน

การที่เราเองตองเปนผูริเริ่มกําหนด หรือเลือกสิ่งตาง ๆ ที่เราจะทําเอง เพราะในการดําเนินชีวิตทุกวันของ

เรา จะมี "สิ่งเรา" เขามากระทบเราอยูเสมอ คนที่ Proactive จะมีสติในการคิดในการเลือกทางเลือกที่เห็นวา

เหมาะสมที่สุด และพรอมที่จะรับผลกระทบจากการตัดสินใจของตนเอง เน่ืองจากในการเลือกของตนเองไดมีการ

คิดถึงสิ่งที่จะเกิดข้ึนแลว แตคนที ่Reactiveจะตอบสนองตอสิ่งเรา หรือเรื่องที่มากระทบโดยไมไดคิดใหดี และเมื่อ

ทําไปแลวก็เกิดความทุกขใจ รวมทั้งเมื่อเกิดผลกระทบ ก็โทษสิ่งตาง ๆ วาทําใหตนเองตองเปนเชนน้ี

อุปนิสัยที่ 2 คือ การนําผลลัพธสุดทายที่เราตองการเปนตัวต้ัง โดยสรางใหเปนภาพที่ชัดเจนในใจ

เรา จากน้ันใหเขียนออกมาใหชัดเจน ซึ่งหากเราเห็นผลลัพธที่เราตองการไดชัดเจนแลว เราก็จะสามารถแปลมาเปน

วิธีการที่จะทําใหถึงเปาหมายน้ันไดงาย เพราะเราจะเห็นวามีสิ่งใดบางที่จะทําใหเรามุงสูเปาหมายได และสิ่งใดไม

เกี่ยวของกับเปาหมาย ทําใหเราสามารถบรรลุเปาหมายที่เราตองการไดอยางรวดเร็ว และไมหลงทาง ตางจากการ

เปน "ผูจัดการ" คือ

"การจัดการ" เหมือนความสามารถในการไตบันไดแหงความสําเร็จไดอยางรวดเรว็และมีประสิทธิผล แต

"ภาวะผูนํา" เหมือนกับการพิจารณาวาบันไดอันไหนพิงอยูบนกําแพงที่ถูกตอง

บอยครั้งที่เราทํางานหนักเพื่อไตบันไดแหงความสําเร็จ แตกลับพบวาบันไดน้ันพิงผิดที่วิธีที่มีประสิทธิผล

มากที่สุดในการเริ่ มตนดวยจุดมุ งหมายในใจก็ คือ การสรางคําปฏิญญาสวนตัว (Personal Mission

Statement) โดยตองเริ่มตนที่ "ศูนยรวม" ของขอบเขตที่สามารถทําไดเสียกอน "ศูนยรวม" มีหลายแบบ เชน "ศูนย

รวม" อยูที่คูครอง ลูก ครอบครัว เงิน ที่ทํางาน การเปนเจาของ ความยินดีและความพอใจ มิตรหรือศัตรู ศาสนาและ

ตนเอง เปนตน "ศูนยรวม" น้ีจะเปนแหลงกําหนดปจจัยสนับสนุนชีวิต 4 ประการ ไดแก

1. ความมั่นคงในจิตใจ (Security)

2. เครื่องนําทาง (Guidance)

3. ปญญา (Wisdom)

4. อํานาจ (Power)

Page 8: The 7 habits of highly effective people all

The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |8 |

ปจจัยทั้ง 4 น้ีตองอาศัยซึ่งกันและกันจึงจะใหประโยชนสูงสุด ความมั่นคงในจิตใจและเครื่องนําทางที่ชัดเจน

นํามาซึ่งปญญา และปญญาเปนตัวจุดประกายใหมีการใชอํานาจผลกระทบในดานบวกที่จะเกิดกับชีวิตเราข้ึนอยูกับ

ชนิดของ "ศูนยรวม" ที่เราเปนอยู

เขาใจไดงายๆวา กอนที่เราจะเริ่มตนทําอะไรใหเราคิดถึงผลลัพธสุดทายกอน วาอยากใหเปนอยางไร แลว

จากผลลัพธที่คิดในใจก็จะแปลเปนวิธีการไปสูจุดหมาย เหมือนมีเปาหมายที่ชัดเจน การทําใหเปาหมายปรากฏ

ชัด (Visualization) หรือเห็นไดงาย เสมือนเปนแผนที่นําทางชวยใหเรามีความพยายามและทุมเททําในสิ่งที่ถูกตอง

อยางตอเน่ือง เราจะรูวาเราตองเตรียมอะไรบาง ทําอยางไร ไปทางไหน ใหประสบความสําเร็จบรรลุเปาหมายที่

วางไว

การวางแผนการทํางาน หรือวางแผนชีวิตของเราไวต้ังแตแรกเริ่มที่จะทําอะไร ทําใหเราไดต้ังใจไวแลววาใน

ที่สุดแลว การงานน้ันๆหรือชีวิตของเราจะมีลักษณะสุดทายเปนอยางไร เราก็จะทําตัวใหสอดคลองกับจุดหมาย

น้ัน โดยไมออกนอกเสนทางหรือหลงทางไปงายๆ

เคล็ดลับ เราตองเปนคนท่ีมีเปาหมายในชีวิต รูตัววาสุดทายเราตองการเปนอะไร เราจะอยูในจุดไหน

โดยเราตองสรางภาพน้ันออกมาใหชัดเจน พยายามจินตนาการถึงภาพแหงความสําเร็จในวันน้ันของเราวาจะ

เปนอยางไร เขียนออกมาใหชัดเจน และมุงมั่นต้ังใจในการทํากิจกรรมตาง ๆ ใหสําเร็จ เพ่ือมุงสูเปาหมายท่ี

สําคัญท่ีสุดในชีวิตเรา

Page 9: The 7 habits of highly effective people all

The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |9 |

อุปนิสัยท่ี 3 ทําตามลําดับความสําคัญ (Put first thing first)

“หลักการจัดการตนเอง (Self-Management)”

เปนการลงมือปฏิบัติโดยเริ่มตนจากเรื่องที่สําคัญกอน ดังน้ัน จงยึดหลักวา “ชีวิตน้ีสั้นนัก จึงควรทําสิ่ง

ท่ีสําคัญในชีวิตกอน” การจะทําอยางน้ันไดดีตองมีการบริหารเวลาเขามาเกี่ยวของ สิ่งที่ตองทําคือเรื่องสําคัญ ไมใช

เรื่องเรงดวน หากทําไดก็จะสามารถพึ่งตนเองได

อุปนิสัยที่ 3 น้ีเกี่ยวของกับ "การบริหารเวลา" โดยมีปจจัย 2 อยาง ความ "เรงดวน" และ "สําคัญ" ที่เปน

ตัวกําหนดกิจกรรมตางๆ ความสําคัญไมไดอยูที่เวลาแตอยูที ่"การจัดการกับตัวเอง" โดยเฉพาะกับเปาหมายระยะ

ยาว เพราะเมื่อเริ่มตนลงมือทํา หลายเรื่องหลายอยางดูเรงดวนไปเสียหมด

อุปนิสัยท่ี 3 คือ ทําสิ่งที่สําคัญกอน แลวอะไรคือสิ่งที่สําคัญ เราตองรูบทบาทหนาที่ของเรากอน 1 คนมีได

หลายบทบาท เชน พอแม เพื่อน ลูก สามี ลูกจาง เจานาย พนักงาน ประชาชน ฯลฯ แลวเราก็จะรูวาในแตละ

บทบาทอะไรคือสิ่งสําคัญ ในบทน้ีเขาบอกตองแยกใหออกระหวาง สิ่งสําคัญ/ไมสําคัญ งานเรงดวน/ไมเรงดวน ถาเรา

รูจักวางแผนดีๆ งานสําคัญไมเรงดวนก็จะเยอะกวางานดวนและสําคัญ กับงานดวนแตไมสําคัญ เมื่อพบแลวตอง

เลือกทําในสิ่งที่สําคัญกอน ตามปกติ คนเราจะพบกับเรื่องตาง ๆ 4 แบบ คือ

3.1 เรื่อง "สําคัญ" และ "เรงดวน"

3.2 เรื่อง "สําคัญ" แต "ไมเรงดวน"

3.3 เรื่อง "ไมสําคัญ" แต "เรงดวน"

3.4 เรื่อง "ไมสําคัญ" และ "ไมเรงดวน"

ตามปกติเราจะเลือกทําในเรื่องที่สําคัญและเรงดวน ตามขอ 3.1 แตจะทําใหเราเหน่ือยมาก เพราะมีเรื่อง

เรงดวนที่ตองใหทํา ใหแกอยูตลอด ดังน้ัน เราตองพยายามจัดสรรเวลามาทําในเรื่องที่ 3.2 คือเรื่องที่ "สําคัญ แต

ไมเรงดวน" ใหมาก ๆ ซึ่งเรื่องพวกน้ีไดแก เรื่องของการวางแผน การแสวงหาโอกาสใหม ๆ, การปองกันปญหา โดย

หากเราทําเรื่องพวกน้ีดี เรื่องเรงดวนตาง ๆ ก็จะลดลง ทําใหเรามีสุขภาพจิตในการทํางานที่ดีข้ึน ทั้งน้ี ไดมีการ

แนะนําใหจัดทําตารางเวลาวาจะจัดทําอะไรกอน-หลัง ตารางที่ดีควรเปนตารางประจําสัปดาห เพื่อบอกเราวา

สัปดาหน้ีมีเรื่องสําคัญอะไรที่ตองทํา และสิ่งที่ทําใหเราสามารถลําดับความสําคัญไดดี คือ การรูจักปฏิเสธ และการ

จดจอ (Focus) กับเปาหมายของตนเอง

การบริหารงานท่ีมีประสิทธิผล คือ การทําตามลําดับความสําคัญ การจัดประเภทและจัดลําดับการ

ทํางานชวยใหบุคคลทราบวา งานใดเปนสิ่งท่ีสําคัญท่ีสุดและเรงดวนท่ีสุดสําหรับการทํางานของตน หรืองาน

ใดแมสําคัญแตยังไมมีความจําเปนตองเรงดวนนัก ดังน้ัน บุคคลจะสามารถทํางานท่ีสําคัญและเรงดวนท่ีสุด

เปนสิ่งแรกได โดยการจัดความสําคัญของสิ่งท่ีจะตองทําน้ัน จะตองอยูบนรากฐานของหลักการและคานิยมท่ีดี

ตอการทํางาน ไมใชเพราะการถูกบังคับหรือเพราะการถูกเรงใหทําดวยเหตุฉุกเฉิน

กลาวคือ ในขณะที่ผูนําเปนคนตัดสินใจวาสิ่งไหนตองทํากอน ผูจัดการจะนําสิ่งน้ันมาไวเปนลําดับแรกของ

การทํางาน การบริหารจัดการก็คือ การจัดระเบียบวินัยเพื่อทําสิ่งตางๆใหสําเร็จน่ันเอง

เคล็ดลับ เราทุกคนตางมีเรื่องท่ีตองใหทํามากมาย แตคนท่ีมีประสิทธิภาพน้ัน จะมีการวางแผนท่ีดี รู

วาเรื่องไหนสําคัญ เรื่องไหนไมสําคัญ เรียงลําดับความสําคัญ แลวเลือกทําเรื่องท่ีควรจะทํา ชีวิตเขาจึงดูไม

สับสนและวุนวาย แตผลลัพธของเขากลับมีประสิทธิภาพมากกวาคนท่ี "ยุง" อยูตลอดเวลา !

Page 10: The 7 habits of highly effective people all

The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |10 |

แบบพฤติกรรมในการจัดการตนเอง (Behavioral Self - Management)

กลยุทธที่ชวยบุคคลใหสามารถควบคุมชีวิตของเขาไดมากข้ึน ไดแก

1. การกําหนดเปาหมายดวยตนเอง (Self-Set Goals)

เปนผูกําหนดเปาหมายและระดับเปาหมายดวยตนเอง ควบคุมตนเอง และเกิดคํามั่นสัญญาตอเปาหมายที่ตนเอง

เปนผูกําหนด

2.การสังเกตการณดวยตนเอง (Self-Observation)

เปนกระบวนการที่ติดตามเฝาดูพฤติกรรมตนเองและต้ังขอสังเกตเกี่ยวกับการกระทํา เหตุการณหรือผลลัพธ

(Outcomes) ปรัชญาน้ีต้ังบนขอสมมติฐานวา เราสามารถตรวจสอบพฤติกรรมของตนเองได นอกจากน้ีการสังเกต

การดวยตนเองยังรวมไปถึงการบันทึกผลการปฏิบัติงานดวย

3.การใหรางวัลดวยตนเอง (Self-Reward)

การใหรางวัลดวยตนเองเปนกระบวนการที่ตรวจสอบ ประเมินและใหรางวัลหรือไมใหรางวัลแกผลการ

ปฏิบัติงาน การใหรางวัลอาจจะกระทําเปนระยะ ๆ เพื่อใหตนเองทราบวาอะไรเปนสิ่งที่เราตองปรับปรุงแกไข

4.การวางแผนตระเรียมการกอนการปฏิบัติจริง (Self-Cueing)

การวางแผนเตรียมการกอน การปฏิบัติงานจะชวยปองกันขอบกพรอง (Defects) ที่อาจเกิดข้ึนระหวางปฏิบัติงาน :

ซึ่งการจําลองสถานการณ (Simulation) หรือการสรางเงื่อนไขที่ควบคุมได (Controlled Conditions) เปน

เครื่องมือหน่ึงที่ใชสําหรับแนวทางน้ี

5.การออกแบบงานดวยตนเอง (Self - Designed Jobs)

ความสามารถออกแบบงานหรือย่ืนขอเสนอใหมีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการออกแบบงาน ทําใหเราตระหนักถึง

ความสามารถควบคุมตนเองได

การจัดการตนเองแบบจิตใจ (Cognitive Self-Management)

การจัดการตนเองแบบจิตใจ เปนกลยุทธการจัดการดวยตนเอง (Self-Management-Strategies) ที่สังเกต

และวัดไมได ในการจัดการตนเองแบบจิตใจ บุคคลสรางจินตภาพทางจิตใจ (Mental lmages) และแบบฉบับ

ความคิด (Thought Patterns) ที่สอดคลองกับเปาหมายขององคการ ไดแก

1. การสรางโอกาส (Opportunity Building)

เปนกระบวนการคนหาและ/หรือพัฒนาความเปนไปไดใหม ๆ เพื่อความสําเร็จปญหาในทางการบริหารน้ัน

นอกจากจะเปนตัวปญหาจริง ๆ แลว การที่ไมสามารถพัฒนาหรือปรับปรุงโอกาสถือเปนปญหาดวยเหมือนกัน

2. การพูดกับตนเองเชิงบวก (Positive Self-Talk)

เปนกระบวนการสรางจินตภาพแหงจิตใจที่เสริมแรงของตนเองในการตระหนักถึงความสําคัญของตนเองที่มีตอผูอื่น

และเพิ่มพูนความเช่ือของตนเองวามีความสามารถที่จําเปนในการปฏิบัติงานหนาที่และเผชิญหนากับการทาทายจาก

สถานการณตาง ๆ

Page 11: The 7 habits of highly effective people all

The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |11 |

อุปนิสัยท่ี 4 คิดแบบ ชนะ - ชนะ (Think win - win)

“หลักทัศนคติท่ีดีในการดําเนินชีวิตหรือทัศนคติเชิงบวก (Positive Attitude) ”

เปนเรื่องของทัศนคติในการทํางานและการใชชีวิตรวมกับผูอื่น มีแนวคิดวา ถาครอบครัวได เราก็ไดดวย

ถาองคกรได เราก็ไดดวย แนวคิดเชนน้ีทําใหเกิดความรวมมือกัน แตถามีความคิดแบบตนเองชนะ คนอื่นแพ ก็จะเกิด

ความขัดแยงและการแขงขันกัน

แนวคิดแบบชนะ - ชนะ เปนแนวคิดในการแสวงหาผลประโยชนรวมกัน ใหความรวมมือกัน มีขอตกลงหรือ

การแกปญหาตาง ๆ เปนไปเพื่อใหทุกฝายไดรับประโยชน ไมใชการแขงขันชิงดีชิงเดนกัน จึงเปนเรื่องของทัศนคติเชิง

บวกในการทํางานและการใชชีวิตรวมกับผูอื่น

แนวคิดชนะ- ชนะ วางอยูบนพื้นฐานของกรอบความคิดที่วา ยังมีท่ีวางสําหรับทุกคน ความสําเร็จของคน

คนหน่ึงไมไดหมายความวาจะตองทําใหอีกคนหน่ึงลมเหลวเสมอไปอุปนิสัยที่ 4 น้ี ตองอาศัยความเปนผูนําอยางมาก

ผูนําที่ดีน้ันตองมองการณไกล มีความคิดริเริ่ม กลาตัดสินใจและมั่นคง นําทางได มีภูมิปญญาและอํานาจซึ่งมาจาก

การเปนคนที่เครงครัดในระเบียบวินัย นอกจากน้ี ผูเขียนยังไดกลาวถึงแกนแทของอุปนิสัย 3 อยางที่จําเปน

ตอ กรอบความคิดแบบชนะ - ชนะ ไดแก ความซื่อตรง ความเปนผูใหญ และความมีจิตใจเอ้ือเฟอเผ่ือแผ

คนสวนใหญจะคิดแบบวา เราชนะนายแพ หรือเรายอมแพใหนายชนะ หรือ เราไมไดนายก็ตองไมได ซึ่งจะ

เห็นไดวา มีความสูญเสียเกิดข้ึน ดังน้ัน ทัศนคติแบบ ชนะ-ชนะ บอกไววา เรามีทางเลือกเสมอ และมีทางออกที่ดี

สําหรับทั้งสองฝาย คนที่มีแนวคิดแบบ win win น้ีตองคุณลักษณะคือ ซื่อสัตยตอตนเองและผูอื่น มีความนํ้าใจ ใจ

กวาง และมีวุฒิภาวะที่ดี

ในการลงมือทํางานเพื่อบรรลุเปาหมาย ใหแสวงหาผลประโยชนสูงสุดที่เห็นพองตองกันและการยอมรับใน

ผลลัพธดวยความเต็มใจ พยายามประสานผลประโยชนและความสัมพันธที่ทุกฝายควรจะไดรับอยางสูงสุดและดี

ที่สุด การคิดแบบชนะ –ชนะ จะตองอยูในแนวทางที่วาสิ่งที่ตองการหรือทางเลือกมีมากมายหลายทางเลือก หลาย

วิธีการ การพยายามชักจูง ทําใหเกิดความกลัวหรือเปนการเอาชนะ ซึ่งการคิดแบบชนะ – ชนะ จะเนน

ที่ “เรา” ไมใช เฉพาะตัว “ฉัน” ไมใชการคิดแบบเห็นแกตัวเพื่อตนจะไดฝายเดียว

หลายสิ่งหลายอยางไมไดเปนไปอยางที่เราตองการ หลายคนไมไดคิดและเขาใจอยางเรา กอนตัดสินวาเขาไม

เขาใจเรา ไมคิดอยางเรา ลองน่ังลงฟงและต้ังคําถามเพื่อใหตนเองเขาใจเขาเสียกอนวา เหตุใดเขาจึงคิดและเขาใจ

เชนน้ัน การฟงกอนพูด และการเขาไปน่ังในมุมเดียวกันกับเขา กอนจะชวนเขามาน่ังดูเรื่องเดียวกันในมุมของเรา คือ

การสื่อสารที่ดี

เทคนิคในการอยูรวมกับผูอื่นที่สําคัญอีกเรื่องหน่ึง คือ การสราง "บัญชีออมใจ" คือ การปฏิบัติตนตอผูอื่น

ดวยความมีนํ้าใจ เอื้ออาทร ซื่อสัตย รักษาสัญญา เหมือนเปนการออมเงินไว จะทําใหความสัมพันธของเรากับผูอื่น

เปนไปดวยดี ซึ่งความสัมพันธน้ีทําใหเกิดสิ่งที่เรียกวา "ชาแตเร็ว" หมายความวา การสรางความสัมพันธ และความ

เช่ือมั่นตอผูอื่น ตองใชเวลา แตเมื่อทําไดแลว ตอไปเรื่องตาง ๆ ที่จะทําดวยกันก็จะงาย เพราะตางฝายตางมีความ

ไววางใจ และเช่ือมั่นตอกัน

บนเสนทางสูเปาหมาย เราคงหลีกเลี่ยงความขัดแยงไมได สวนใหญความขัดแยงมีผลมาจากความคิดที่

แตกตางกัน และคงไมมีใครอยากเปนผูแพ เราเองก็เชนกัน แตใครหลายคนหลงประเด็น โดยพยายามทําอะไรหลาย

อยาง เพื่อใหมีแตผูชนะ แตความจริง แพ-ชนะอยูที่ความคิด เราจึงตอง “คิด”แบบชนะ-ชนะ อยาพยายาม“ทํา”

แบบชนะ-ชนะ

Page 12: The 7 habits of highly effective people all

The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |12 |

เคล็ดลับ “ความสุขไมไดขึ้นอยูกับสิ่งตาง ๆ ท่ีปรากฏอยูภายนอกแตขึ้นอยูกับ วิธีคิดและวิธีท่ีคุณ

มอง” การท่ีเราจะชนะได ไมจําเปนตองทําใหคนอ่ืนแพ เราสามารถมีชัยชนะไปพรอมๆ กันได และท่ีสําคัญ

วันน้ีเราสราง "บัญชีออมใจ" กับใครไวบางหรือยัง?

อุปนิสัยท่ี 5 เขาใจผูอื่นกอนจะใหผูอื่นเขาใจเรา (Seek first to understand, then to be understood)

“หลักการติดตอสื่อสารระหวางบุคคล (Interpersonal Communication)”

การคิดแบบชนะ – ชนะ ทําใหคนเราจะยอมเขาใจคนอื่นกอน การจะเขาใจคนอื่นกอนได ตองฟงใหมาก ๆ

เพื่อเรียนรูและเขาใจผูที่เราฟง โดยพยายามฟงและเขาใจกับสิ่งที่ผูอื่นอธิบาย เอาตัวเราเขาไปอยูในสถานการณของ

เขา เมื่อเราเปดใจรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น ฝายตรงขามจะมีความรูสึกที่ผอนคลายและเปดกวางในการรับฟงเรา

มากข้ึน เมื่อเขาใจเขาแลว เขาจะเขาใจเราเชนกัน

ความเขาใจซึ่งกันและกัน เปนกุญแจสําคัญของหลักการติดตอสื่อสารระหวางบุคคลที่มีประสิทธิผลการ

ติดตอสื่อสารถือเปนทักษะที่สําคัญที่สุดในชีวิต เราใชเวลาหลายปในการเรียนรูวิธีการคิด อาน เขียน และพูด แต

นอยคนที่ไดผานการฝกอบรมเรื่องการฟง การฟงในที่น้ีหมายถึงการฟงเพื่อแสวงหาความเขาใจซึ่งมากกวาการสนใจ

ฟง ในการสนทนาพูดคุยหรือปรึกษาหารือในเรื่องตางๆหรือปญหาตางๆ เราควรรับฟงกันดวยความต้ังใจ เพื่อที่จะ

เขาใจวาผูอื่นตองการอะไรมากกวาที่เคาพูด การพยายามเขาใจผูอื่นจะชวยใหทราบปญหาและความตองการของ

ผูอื่นไดชัดเจน ทําใหสามารถแกปญหาไดตรงจุดและสามารถพูดอยางเปดเผย เราตองฟงดวยหู ดวยหัวใจ ดวย

ความรูสึก ดวยความหมายท่ีแสดงออกมา เราตองฟงถึงพฤติกรรมและใชสมองดานซายและขวาไปพรอมกัน การ

รับฟงเพื่อแสวงหาความเขาใจสงผลดีอยางมากเพราะทําใหเราไดขอมูลที่ถูกตอง

การเขาใจเขากอนที่จะใหเขาเขาใจเรา มีวิธีงายๆ ก็คือ "การฟง" เขาบอกวา คนเรามักไมชอบฟงผูอื่น มัก

คิดถึงแตสิ่งที่ตนจะพูดเทาน้ัน และมักดวนสรุปตัดสินใครงายๆ จากการฟงไมกี่ประโยคเพื่อที่จะใหคําแนะนําจาก

ประสบการณของเราเอง นิสัยน้ีเขาจึงสอนใหเราฟงคนอื่นแบบเอาใจเขามาใสใจเรา น่ันเอง

การเขาใจผูอื่นกอนที่จะใหผูอื่นมาเขาใจเรา เปนทักษะที่สําคัญที่สุด การที่จะทําใหเรามีอุปนิสัยน้ี

คือ "การฟง" ตามปกติคนเราจะชอบพูดมากกวาชอบฟง บางครั้งเราฟง แตไมไดต้ังใจฟงจริง ฟงเพื่อรอคิวที่จะถึง

เวลาเราพูด ดังน้ัน เราจะสามารถเขาใจผูอื่นไดดี เราตอง "ฟงเพ่ือใหเขาใจ" ไมใช "ฟงเพื่อจะตอบ หรือเพื่อจะ

พูด" หรือฟงแบบวา “ฟงไมไดศัพท แลวจับกระเดียด” นําไปสูความเขาใจผิด กอใหเกิดความขัดแยงได

การฟงจึงเปนทักษะสําคัญที่จําเปนตองเรียนรู ทักษะการฟงที่ดีนํามาซึ่งความสําเร็จในชีวิต เพราะเปน

พื้นฐานสําคัญของทักษะการเขาสังคม สามารถลดความเขาใจผิด ความขัดแยงในการปฏิสัมพันธกับคน นอกจากน้ี

การพัฒนาทักษะการฟงยังสงผลตอการพัฒนาในดานสติปญญา ในแงของการฝกใชความคิด การจับประเด็น ฝก

ความจํา และฝกฝนการจดจอแนวแนกับสิ่งใดสิ่งหน่ึงหรือมีสมาธิที่ตองการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ

การฟงอยางมีประสิทธิภาพน้ันเปนสิ่งที่สามารถสอนและฝกฝนกันได โดยพื้นฐานสําคัญอันดับแรกสุดในการ

ฝกฝนน้ัน คือ การฝกฝนความอดทนในการเปนผูฟงที่ดี อยาพูดสอดแทรก รอใหอีกฝายพูดจนจบกอน มีมารยาทใน

การฟง เรียนรูที่จะใหเกียรติผูพูด เปนการฝกฝนใหตนไมเปนคนที่เยอหย่ิงหรือเอาตนเองเปนศูนยกลางคิดวา

Page 13: The 7 habits of highly effective people all

The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |13 |

ความคิดของตนดีกวาจนไมยอมรับฟงผูใด จนเปนเหตุใหเกิดการปดกั้นการเรียนรูจากแหลงตาง ๆ ไปอยางน า

เสียดาย รวมทั้งเปนการสรางสัมพันธอันดีตอทั้งผูพูดและผูฟง ทําใหการสนทนาน้ันเปนไปอยางสรางสรรคและจบลง

ดวยดี

ผูฟงที่ดีจะตองมีลักษณะแหงความกระตือรือรนอยูดวย หรือที่เรียกวา Active Listening คือ แสดงทาทาง

ภายนอกวากําลังฟงอยู และในสมองตองมีการทํางานแลวคิดไปดวยอยูตลอดเวลา ผูฟงที่ ดีจะตองพัฒนา

ความสามารถในการจับประเด็นไปดวย เพราะเปนตัวช้ีวาการสื่อสารที่เกิดข้ึนน้ันผูสงสารสามารถบรรลุเปาหมายใน

การสื่อสารที่ตองการไปยังผูรับสารหรือไม การสื่อสารเปนไปอยางมีประสิทธิภาพหรือไม ดังน้ัน ผูฟงที่ดี ตองต้ังใจ

ฟง รูถึงความรูสึกและอารมณของเขา รับฟงอยางมีสติมั่นคง รับฟงอยางเปนกลางสายตาอยูที่ผูพูด อยาเพียงแตได

ยิน โดยที่ในใจคิดเรื่องอื่นอยู

เคล็ดลับ คนเรามักยึดตนเองเปนศูนยกลาง อยากใหใคร ๆ มาเขาใจเรา ทําในสิ่งท่ีเรา แตคนท่ีมีเสนห

คือ คนท่ีรับฟง แลวเขาใจผูอ่ืน ทําไดโดย ฟงใหมากขึ้น พูดใหนอยลง และท่ีสําคัญการฟงน้ัน ตองฟงในสิ่งท่ีเคา

ไมไดพูด จะทําใหเขาใจผูอ่ืนไดจริง ๆ

Page 14: The 7 habits of highly effective people all

The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |14 |

อุปนิสัยท่ี 6 ประสานพลัง (Synergize)

“หลักการรวมมืออยางสรางสรรค (Creative Collaboration)”

เมื่อเขาใจผูอื่นแลวจะเห็นความแตกตางระหวางบุคคล แลวจะใหคุณคาในความแตกตางเหลาน้ัน อัน

จะนําไปสูความสามารถในการใชความแตกตางน้ันมาผนึกพลัง ประสานความตางได เมื่อเกิดความรวมมือ

กัน (Synergy) เราจะสามารถพึ่งพากันได และเมื่อน้ันเราจะมีชัยชนะ

การประสานพลัง (Synergize) หมายถึง การผนึกพลังผสานความตาง โดยการรวมมือกันกับคนอื่นอยาง

สรางสรรค เปนการนําขอดีของอุปนิสัยทั้งหมดมารวมเขาดวยกันเพื่อทํางานใหญใหสําเร็จ กุญแจสําคัญของการ

ประสานพลังระหวางบุคคล คือ การประสานพลังในตัวบุคคลน่ันเอง เปนการประสานพลังภายในตัวเองโดยการทํา

ใหอุปนิสัยทั้ง 3 ขอแรกฝงอยูในตัวเราใหได ซึ่งจะทําใหเรารูสึกมั่นคงเพียงพอที่จะรับมือกับความเสี่ยงตาง ๆ ที่

อาจจะเกิดข้ึน เมื่อเรามีหลักการทั้งสามอยูในใจแลว ก็เหมือนกับเราไดพัฒนาจิตใจที่เอื้อเฟอ และมีความคิด

แบบ ชนะ / ชนะ อันเปนพลังของอุปนิสัยท่ี 5 ในการสื่อสารแบบประสานพลัง เราตองเปดใจ เปดความคิดใหกวาง

และเตรียมความรูสึกใหดี พรอมรับมือกับสิ่งใหม ๆ ที่จะเกิดข้ึนรวมทั้งทางเลือกใหมและโอกาสใหม ซึ่งฟ งดู

เหมือนกับวาจะขัดแยงกับอุปนิสัยที่ 2 (เริ่มตนดวยจุดมุงหมายในใจ) แตในความเปนจริงเรากําลังทําใหมันสมบูรณ

ย่ิงข้ึนตางหาก หรือ ผนึกพลังผสานความตาง คนเรามักอยูในมุมของตัวเอง ไมยอมรับความเห็นของผูอื่น ถาเราเปด

ใจยอมรับความเห็นที่แตกตางได น่ันยอมนํามาซึ่งผลลัพธที่คาดไมถึง 1+1 > 2 ก็เพราะการยอมรับในความแตกตาง

การยอมรับในคุณคาของตนเองหรือการนับถือตนเอง (Self - esteem) หมายถึง ความรูสึก ความเช่ือที่

บุคคลที่มีตอตนเองวามีความสามารถมีคุณคา ซึ่งจะมีระดับต้ังแตการนับถือตนเองตํ่าไปจนถึงการนับถือตนเองสูง

การที่บุคคลยอมรับตนเองนับเปนทักษะสําคัญในการที่จะเรียนรูพัฒนาตนเอง และการดําเนินชีวิต เพราะ

ความสามารถในการรักษาสัมพันธภาพระหวางบุคคลไดดี มีผลมาจากการที่บุคคลยอมรับหรือปฏิเสธตนเอง ทําให

สามารถใชทํานายสัมพันธภาพที่บุคคลอื่นมีตอเราไดเชนกัน การนับถือตนเอง (Self - esteem) ประกอบดวย ความ

ตระหนักถึงคุณคาตนเอง (Self-respect) และ ความเช่ือมั่นในความสามารถตนเอง(Self-efficacy) จนกลายเปน

ภาพแหงตน (Self-image) ทําใหบุคคลรูจักตนเอง มองโลกในแงดีเสมอ มองวิกฤตใหเปนโอกาส ประเมินตัวเราให

มีคุณคาอยูเสมอ เช่ือมั่นในความสามารถตัวเอง มองวาตัวเราเปนสวนหน่ึงของชีวิตและเราสามารถเปลี่ยนแปลง

ตามที่เราตองการ และไมหลงตนเอง ทําใหมีความมั่นใจ มีความหวัง มีพลังในการตอสู ที่สําคัญคือเราตองเปดใจ

เขาใจในความแตกตางของผูอื่น และใชความแตกตางน้ันใหเกิดประโยชน

โบราณวาไว สองหัวดีกวาหัวเดียว ดังน้ัน เมื่อคนสองคนคิดหาทางออกรวมกัน ยอมดีกวาที่ตางคนตาง

หาทางออกโดยไมปรึกษากัน หรือตัดสินใจคนเดียวตามลําพัง ความรวมมือรวมใจไมใชการยอมความ หากแตเปน

การสื่อสารกันดวยความเคารพในสิทธิและความคิดสรางสรรคของกันและกัน ทําใหเกิดการเรียนรู เกิดความเขาใจ

และสามารถหาทางออกไดดีกวาเดิม จึงทําใหเกิดสูตร Synergy คือ 1+1= 3

การทํางานใดๆ คงหลีกเลี่ยงอุปสรรคปญหาไมได แตการทํางานรวมกันเปนทีม (Team Work) ชวยให

บุคคลหลายคนทํางานรวมกันโดยมีความพึงพอใจในการทํางานน้ัน เพื่อใหบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายเดียวกันอยาง

มีประสิทธิภาพ ทําใหสามารถแกปญหาไดมีประสิทธิภาพดีกวา ตัดสินใจไดรอบคอบย่ิงข้ึน และกอเกิดความคิด

สรางสรรคดีกวาคิดอยูคนเดียว การประสานพลัง คือ การประสานความแตกตาง โดยพยายามรวมกันเพื่อบรรลุ

เปาหมายของทุกคนในทีม ... The whole is greater than the sum of its parts.

Page 15: The 7 habits of highly effective people all

The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |15 |

การทํางานดวยการประสานประโยชนอยางสรางสรรคเพิ่มพูน (Synergize) จึงเปนการแสวงหาทางเลือกใน

การแกปญหา ทางเลือกที่ไดเปนทางเลือกจากการปรึกษาพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดและขอมูลซึ่งกันและ

กัน สรุปผลเปนทางเลือกใหมที่ดีกวาทางเลือกของแตละคน เปนทางเลือกที่มีการยอมถอยคลละกาว การจะทํางาน

แบบประสานประโยชนอยางสรางสรรคได จะตองเปดใจรับฟงกันและกัน โดยใชอุปนิสัยที่ 4 และ5 มาชวยใหการ

ประสานพลัง มีประโยชน สรางสรรคและเพิ่มพูน

เคล็ดลับ ยอมรับในความแตกตางวาเปนเรื่องธรรมดา และตองคิดเสมอวาเราจะนําจุดเดนของแตละ

คน มาเสริมใหเกิดประโยชนซึ่งกันและกันไดอยางไร

Page 16: The 7 habits of highly effective people all

The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |16 |

อุปนิสัยท่ี 7 ลับเล่ือยใหคม (Sharpen the saw)

“หลักการเรียนรูตลอดชีวิต (Life Long Learning)”

สิ่งใดก็ตาม ถาหากเราใชไปโดยไมหยุดพัก เมื่อถึงวันหน่ึงก็จะชํารุดไมสามารถใชงานไดตอไป ลับเลื่อย

ใหคมจึงเปนการใหพลังกับชีวิต ถาเลื่อยมันทื่อเพราะใชงานหนัก ก็ลับมันบาง ทั้งดานรางกาย อารมณ สังคม

สติปญญา เพราะถึงที่สุดแลว ชีวิตตองมีความสมดุล จึงจะอยูในสังคมไดอยางมีความสุข

ถาคนเกง หรือคนที่คิดวาตัวเองเกงแลว แตไมพัฒนาตัวเอง ความรูความสามารถที่มีอยูเดิมอาจจะใชการ

ไมได เพราะโลกมีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ ผลงานที่เคยทําไดดีก็อาจจะไมดีเหมือนเคย เหมือนกับเลื่อยที่ถูกใชงาน

ไปเรื่อย ๆ ถาไมหมั่นลับคม สักวันมีดก็ทื่อ ใชการไมไดในที่สุด

"ลับเลื่อยใหคม" หมายถึง การแสวงหาความรูใหมๆใหแกตนเองอยูเสมอใน 4 ดาน การแสดงใหเห็นถึงพลัง

ขับดันทั้ง 4อยางและการฝกหัดใชพลังทั้ง 4 ที่มีอยูในตัวเราอยางตอเน่ือง สม่ําเสมอ อยางฉลาดและสมดุลย ซึ่งจะ

ทําไดก็ตองเปนคนที่ชอบลงมือกอน โดยหมั่นเติมพลังใหชีวิต ทั้ง 4 ดานไดแก

1. ดานกายภาพ เชน หมั่นออกกําลังกาย พักผอนใหพอ กินอาหารที่มีประโยชน

2. ดานอารมณ เชน มองโลกในแงดี คิดในสิ่งที่ดี ทําความดี สรางความสัมพันธที่ดีกับคนรอบขาง เอาใจเคา

มาใสในเราและการอยูรวมกับผูอื่น

3. ดานสติปญญา เชน อานหนังสือ เรียนรูสิ่งใหมๆ การเดินทางหาประสบการณ การเขาอบรมสัมมนาใน

หลักสูตรตางๆ

4. ดานจิตวิญญาณ เชน เขาวัด ทําบุญ ปฏิบัติธรรม อยูกับธรรมชาติ

อุปนิสัยที่ 7 เปนหลักการปรับตัวใหมใหสมดุลซึ่งทําใหอุปนิสัยที่เหลือทั้งหมดทํางานไดผล เปรียบเสมือน

เครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคลที่ชวยรักษาและเพิ่มคุณคาที่มีอยูในตัวใหมากข้ึน เปนการปรับเปลี่ยนของสิ่งที่มีอยูใน

ตัวเราโดยธรรมชาติ 4 อยาง ไดแก รางกาย จิตวิญญาณ สติปญญา และความรูสึกที่มีตอสังคม ในขณะที่ภาค

รางกาย สติปญญา และใจเกี่ยวของอยางใกลชิดกับอุปนิสัยที่ 1, 2 และ 3 ซึ่งมีศูนยรวมเนนไปที่วิสัยทัศนสวนตัว

ความเปนผูนํา และการจัดการ แตทางภาคสังคมและอารมณจะเนนไปท่ีอุปนิสัยท่ี 4, 5 และ 6 ซึ่งมีศูนยรวมที่เนน

ไปที่การติดตอระหวางบุคคลของการเปนผูนํา การติดตอสื่อสาร และการรวมมือกันสรางสรรค ดังน้ันการที่จะ

ประสบความสําเร็จในอุปนิสัยที่ 4, 5 และ 6 น้ันไมใชเปนเรื่องของสติปญญาแตเปนเรื่องของอารมณ

นิทานสอนเด็กบางครั้งก็มีคติเตือนใจเราไดมาก ถาเราจะลองพิจารณาดู อยางเรื่อง หานทองคํา ที่เรา

เรียน และไดฟงมาต้ังแตเล็ก

นิทานเรื่อง “หานทองคํา”

เรื่องมีวาชายคนหน่ึงโชคดีไดหานมา หานตัวน้ีออกไขมาเปนทองคําทุกวัน ๆ เจาของดีใจมาก แตตอนหลัง

รูสึกวาไดวันละฟองมันนอยไป อยากจะไดมากกวาน้ัน และก็เช่ือวาในตัวหานนาจะมีไขที่ เปนทองคําอีกต้ัง

เยอะแยะ ถาจะรอใหมันออกมาวันละฟอง ๆ มันชาไป อยากระน้ันเลยควานทองเอาไขออกมาดีกวา ก็เลยฆาหาน

ตัวน้ัน ปรากฏวาไมไดไขทองคําแมแตฟองเดียว ชายคนน้ันลืมไปวาถาอยากจะไดไขทองคํามาก ๆ ก็ตองดูแลรักษา

ตัวหานใหดี แตน่ีกลับไมสนใจ มิหนําซ้ําไปฆามันเสีย ก็เทากับวาไปฆาตนทุนเสีย จะมีผลงอกงามไดอยางไร

ขอคิดของนิทานเรื่องน้ี

Page 17: The 7 habits of highly effective people all

The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |17 |

นิทานเรื่องน้ีนอกจากจะสอนวา "โลภมาก ลาภมักหาย" อยางที่เราไดยินครูสอนตอนเด็ก ๆ แลว ยังสอน

ผูใหญดวยวา อยากไดผล ก็ตองสนใจที่ตนทุนหรือเหตุปจจัย ถาอยากไดไขเยอะ ๆ ก็อยาไปใชทางลัด เชน ควาน

ทองหาน วิธีที่ถูกตองก็คือ ดูแลหานใหดีใหมันกินอิ่ม นอนนุม มีสุขภาพดี ปลอดจากโรคภัยไขเจ็บ แตทั้งน้ีทั้งน้ันก็

ตองตระหนักดวยวา หานก็มีขีดจํากัดในการใหไข ไมใชวาวันหน่ึง ๆ จะใหกี่ฟองก็ไดตามใจเรา

เหมือนกับชีวิตของเราซึ่งมีขอบเขตจํากัดในการทํางาน วันหน่ึงรางกายของเราทํางานไดอยางมากก็ ๑๘

ช่ัวโมง ถาไปเรงหรือบังคับทํางานมากกวาน้ัน เชน กินกาแฟหรือยาบาจะไดไมตองหลับ ไมนานก็ตองลมพับ โรค

รุมเรา เทากับเปนการทํารายรางกายของเรา ไมตางจากชายที่ฆาหานเพื่อจะไดไขเยอะ ๆ สุดทายก็ไมไดอะไรเลย ผล

ก็ไมได ตนทุนที่เคยมีก็เสียไป

อุปนิสัยที่ 7 เปนการปฏิบัติตามอุปนิสัยที่กลาวมาทั้ง 6 ประการ และผสมผสานอุปนิสัยเหลาน้ันให

เหมาะสมและเกิดประโยชนสูงสุดในการสรางภูมิคุมกันใหกับสุขภาพทางดานรางกายและจิตใจของตนเอง ตลอดจน

สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมอยางมีความสุข หมั่นทบทวนและนํามาปรับใชในชีวิตประจําวัน อยางตอเน่ืองและ

สม่ําเสมอ โดยใชอยางฉลาดและสมดุล แลวจะทําใหเราเปนคนที่ประสบความสําเร็จในชีวิต เพราะดําเนินชีวิต

อยางมีประสิทธิผลสูงสุด

นิทานเรื่อง “คนตัดไม”

กาลครั้งหน่ึงนานมาแลว มีคนตัดไมที่เกงมากคนหน่ึง ซึ่งไดทํางานกับพอคาไม เน่ืองจากพอคาไมไดจาย

ผลตอบแทนและสภาพการทํางานที่ดีใหแกเขา ดังน้ัน คนตัดไมจึงต้ังใจแนวแนที่จะทํางานของเขาใหดีที่สุด เจานาย

ไดใหขวานและบอกใหเขาไปตัดไมในพื้นที่ที่กําหนดให

ในวันแรกคนตัดไม สามารถตัดไมไดถึง 18 ตน เจานายประทับใจในตัวเขามาก และกลาวชมเขา “ดีมาก

ทํางานใหดีตอไปนะ”

เพราะเขาไดรับกําลังใจที่ดีจากเจานาย เขาจึงต้ังใจที่จะทํางานหนักข้ึนในวันตอมา แตเขากลับตัดไมไดเพียง

15 ตนเทาน้ัน

ในวันที่สาม เขาเพียรพยายามมากข้ึนไปอีก แตกลับตัดไมไดเพียง 10 ตนเทาน้ัน

แตละวันผานไปเขากลับตัดไมไดนอยลงทุกที คนตัดไมรําพึงกับตนเองวา ความแข็งแรงของเขาคงลดนอย

ถอยลงเสียแลว

เขาจึงไปหาเจานายของเขาเพื่อขอโทษ และบอกกับเจานายวา เขาไมเขาใจวาทําไมผลลัพธมันจึงเปนเชนน้ี

เจานายจึงถามเขาวา “ เธอไดลับขวานครั้งสุดทายเมื่อไหร?”

“ลับขวานเหรอครับ ? ผมไมมีเวลาท่ีจะลับขวานของผมเลย ผมยุงอยูแตการตัดตนไม”

ขอคิดของนิทานเรื่องน้ี

บางครั้งคนเราก็เหมือนกับชายคนน้ี คือ เอาแตเลื่อยอยางเดียวไมยอมหยุด ทั้ง ๆ ที่การหยุดพักจะทําใหมี

พลังดีข้ึน และถารูจักหยุดเพื่อลับคมเลื่อยใหคมข้ึน ก็จะทําใหเลื่อยไดเร็วข้ึน ทุนทั้งแรงทุนทั้งเวลา แตเขาก็ยังไม

ยอมเลย เหตุผลที่เขาใหก็คือ กําลังวุนอยูกับการเลื่อย เลยไมสนใจอะไรทั้งน้ัน ไมสนใจแมกระทั่งการทําใหเลื่อยคม

ข้ึน เขาหาไดเฉลียวใจไมวา เพียงแคเสียเวลานิดหนอยก็จะทําใหการเลื่อยน้ันเร็วข้ึนดีข้ึน และเหน่ือยนอยลง เขาไม

ยอมหยุดเพราะคิดวา จะทําใหเสียเวลา ลึก ๆ ก็เพราะคิดวา ทําอะไรมาก แลวมันจะดี แตที่จริงแลวทํานอยลง แต

อาจไดผลดีกวาก็ได ในประสบการณของเรา เราพบบอยไปวา การทําอะไรใหชาลงกลับทําใหไดผลดีข้ึน

Page 18: The 7 habits of highly effective people all

The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |18 |

ชีวิตของพวกเราก็เชนกัน บางครั้งเรายุงเสียจนไมมีเวลาจะลับขวานใหคมอยูเสมอ ในโลกทุกวันน้ีดูเหมือน

ทุกคนจะยุงมากข้ึน ทํางานมากข้ึน แตกลับมีความสุขนอยลง ทุกขมากข้ึนกวาเคย ทําไมจึงเปนเชนน้ัน ?

เปนไปไดไมวา พวกเราลืมที่จะมีชีวิตอยูอยางชาญฉลาด มันไมผิดที่เราจะทํางานหนัก แตเราไมควรจะเรง

รีบ วุนวายจนละเลยสิ่งที่สําคัญในชีวิต เชน ชีวิตสวนตัว ครอบครัว ศาสนา การทําความดี เอาใจใสผูอื่น การ

ทองเที่ยว และอื่นๆ

เราทุกคนตองการเวลาที่จะพักผอน คลายเครียด ที่จะคิด ที่จะสรางสมาธิ เจริญสติ เพื่อที่จะไดเรียนรูและ

เติบโตอยางตอเน่ือง ถาเราไมยอมใชเวลาที่จะลับคมใหแกชีวิตของเรา เราจะกลายเปนผูที่โงเขลาและสูญเสียซึ่ง

ประสิทธิผลและศักยภาพของเรา

เราตองมีความรับผิดชอบที่จะรักษาและพัฒนาศักยภาพของเรา เพราะมันจะเปนสวนหน่ึงที่จะรับประกันความสําเร็จ และความเปนที่ตองการในอาชีพของตัวเรา ดังน้ัน ขอใหเริ่มตนต้ังแตวันน้ี ลองคิดหาหนทางที่จะพัฒนาศักยภาพของเรา เพื่อที่จะทําใหเราสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิผลและสรางมูลคาเพิ่มใหแกงานของเรา

มากข้ึน การไปปฏิบัติธรรม จะเรียกวา เปนการมาลับคมเลื่อยก็ได เราวางเลื่อยเอาไวกอน แลวมาลับคมเลื่อย

กอนที่จะเลื่อยตอไป การพักผอนในตัวมันเองก็เปนการลับคมเลื่อยอยูแลว แคพักผอนรางกายก็สําคัญไม

นอย เพราะวารางกายชองเราก็คือ ตัวเลื่อยน่ันเอง แตตอนน้ีมันบิ่นแลว ทํางานมากมันก็บิ่น มันไมคมแลว เพียง

แคการมาพักรางกายอยางเดียว ก็จะชวยใหเลื่อยคมข้ึน

เรามาพักใจดวยการฝกจิตใหสงบมีสติมีความมั่นคง และทําใหชีวิตมีสมดุล ก็เทากับวาเลื่อยถูกลับใหคมข้ึน

กวาเดิม ถาเรากลับไปเลื่อยตอเมื่อไหร ก็แนใจไดวาจะเลื่อยไดดีข้ึนเร็วข้ึน แตถาเราไมพักเสียเลย อยางชายคนน้ัน

ไมพักเสียเลย แทนที่จะทําไดเร็วก็กลับทําไดชา หรืออาจจะทําไมเสร็จเลยก็ได เพราะวาลมพับเสียกอน แทนที่จะ

เสร็จในตอนคํ่าก็มาเสร็จวันรุงข้ึนชาไปอีกต้ังหลายช่ัวโมง เพราะวาปวยเสียกอน หรือไมมือไมก็พองทําตอไมได ย่ิง

อยากจะใหเสร็จไว ๆ กลับเสร็จชาแตถาเวนวรรคใหรางกายและจิตใจไดพักผอนบาง ก็จะทํางานไดดี การหยุดพัก

น้ันดูเผิน ๆ เหมือนจะทําใหเสร็จชาลง แตที่จริงทําใหเสร็จไวข้ึน

คนเรามักไปเนนเรื่องผลหรือความสําเร็จมากไป แตลืมตนทุนที่จะเอาลงไปในงานน้ัน ๆ ผลสําเร็จหรือ

ผลงานก็เหมือนกับผลไม ผลไมออกมาดีหรือไมตองอาศัยตนทุนคือ ตนไม ถาตนไมน้ันเราเอาใจใสดูแล รักษา รดนํ้า

พรวนดิน ใสปุย ตนไมเติบโตแข็งแรง ก็ยอมใหผลดี ทั้งดก และหอมหวานทํานองเดียวกันกับดอกเบี้ยเงินฝาก จะ

มากหรือนอยก็ข้ึนอยูกับตนทุนที่ฝาก ถาเงินตนกอนนิดเดียวดอกเบี้ยก็นอยตามไปดวย ถาสนใจแตดอกเบี้ย อยาก

ไดดอกเบี้ยเยอะ ๆแตไมสนใจตนทุนความอยากน้ันก็เปนแคความฝนลม ๆ แลง ๆ แตวาคนจํานวนมากก็ทําอยางน้ัน

จริง ๆ ก็คือวา อยากจะใหงานออกมาดี ประสบความสําเร็จเต็มที่ แตวาไมไดเอาใจใสตนทุนคือรางกายและ

จิตใจ รางกายและจิตใจเปนตนทุนสําคัญ หรือปจจัยพื้นฐานที่จํานําไปสูงานที่ดีได ถารางกายออนแอ จิตใจหอเหี่ยว

ทอแทอารมณไมดี ความสําเร็จก็เกิดข้ึนไดยาก

อุปนิสัยน้ี ตองการบอกใหเราหมั่นฝกฝนพัฒนาตนเองใหดีขึ้นเกงขึ้นอยูเสมอน่ันเอง

เคล็ดลับ การสรางสมดุลในการเรียนรูตลอดชีวิต การฝกฝน และการพัฒนาตนเองกับการทํางาน คือ การลับ

เลื่อยใหคมอยูเสมอน่ันเอง เพราะโลกหมุนเร็วไปทุกวัน เราตองหมุนใหเร็วกวาโลก หรือ อยางนอยตองไมชากวา

โลก เมื่อกอนมีคําวา "ถาเราหยุด ก็เหมือนกับถอยหลัง" แตตอนน้ี "แคเราเดิน ก็เหมือนถอยหลังแลว เพราะคน

อ่ืนเขาว่ิงกัน!! " ดังน้ัน “อยาหยุดน่ิงอยูกับท่ี…”

Page 19: The 7 habits of highly effective people all

The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |19 |

จะนําอุปนิสัยท้ัง 7 ไปใชไดอยางไร ?

จะเห็นไดวาอุปนิสัยทั้ง 7 น้ี สอดแทรกอยูในวิถีชีวิตของชาวตะวันออกมาชานาน แลวคุณ Covey ก็

รวบรวมออกมาเปนหมวดหมู ถาสังเกตดีๆ นิสัยเหลาน้ีเราถูกปลูกฝงกันมาต้ังแตเด็กๆ ในรูปคําอบรมสั่งสอนจาก

ปูยาตายาย จากศาสนา จากพอแม ครูอาจารย แตเราไมไดเอาออกมาใชกันเทาไหรนัก ซึ่งจริงๆแลว สามารถนําเอา

ไปใชในชีวิตไดหลายเรื่อง เชน เรื่องการเรียน การงาน ครอบครัว เพื่อนฝูง เปนตน

ดร.สตีเฟนอาร โควีย ผูแตง "7 อุปนิสัย พัฒนาสูผูมีประสิทธิภาพ (THE 7 HABITS OF HIGHLY

EFFECTIVE PEOPLE)หนังสือที่ไดรับการยกยองจากนิตยสารฟอรบใหเปน 1 ใน 2 หนังสือที่มีอิทธิพลที่สุดใน

ศตวรรษ 20 โควียบอกถึงหลักคิดพื้นฐานสําคัญสุดในการพัฒนาตนเองและการสรางความเปนผูนําคือ ตองผสาน

สรีระหรือกาย (Body), ความคิด (Mind), จิตวิญญาณ (Spirit), และหัวใจ (Heart) ใหเปนหน่ึงเดียว

1. Body สรีระเปนเสมือนตัวแทนของเศรษฐกิจ

2. Mind รับรู เรียนรู วิเคราะห

3. Heart เปนตัวแทนของความรักความสัมพันธ ความมุงมั่นต้ังใจ

4. Spirit เปนเรื่องของจุดมุงหมายและหลักการ สํานึกตางๆ ของชีวิต

4 เรื่องหลักที่กลาวไปขางตน เขาบอกวาเปนหลักคิดพื้นฐานของศาสนาทุกศาสนาในโลก!!! และ

ทั้ง 4 องคาพยพตองขับเคลื่อนไปดวยกัน จะขาดอยางใดอยางหน่ึงไปมิได หากขาดดานใดดานหน่ึงไปจะกระทบกับ

อีกดานหน่ึงได"

โควียบอกวา องคกรหรือผูนําที่ไมสามารถกาวผานไปสูเปาหมายที่วางไวไดเพราะ คนในองคกรไมสามารถ

จะผสมผสาน 4 เรื่องหลักเขาดวยกันเขาใหลองถามตัวเองเลนๆ ดูอยางน้ี !!!!

1. หัวใจ (Heart) !!!

คําถามคือ จะมีสักกี่คนที่เช่ืออยางแทจริงวามีความสามารถเหนือกวางานที่ทํางาน หรือ

ทํางานดวยความกดดันเพื่อใหไดมาซึ่งผลผลิต หรือตองตกอยูภายใตสถานการณที่ตองทําใหผลผลิตมากข้ึนแตตองกด

ใหตนทุนตํ่าลง คําตอบที่ไดคือ คนสวนใหญไมมีใครอยากตกอยูในสถานการณเย่ียงน้ี และตรงน้ีเองที่ตองกลับไปขบ

คิดวา วัฒนธรรมเปนตัวกําหนดและมีอํานาจเหนือตัวบุคคลหรือไม

โควียบอกวาวัฒนธรรมเปนสิ่งที่ดีสามารถใหประโยชนไดแตก็แคเครื่องจักรตัวหน่ึง คุณอาจจะเปนลูกนองที่

ดี แตอาจเปนเจานายที่เลวก็ได ตองพจิารณาและดูตัวเองวาเกงเรื่องไหน ทํางานไปแลวถูกตองถูกใจหรือไม หากมี

คุณสมบัติที่กลาวไปในขางตนน่ันแสดงวาคุณคนพบตัวจริงของคุณเขาใหแลว ที่บอกวาตองขบคิดเพราะในโลกของ

เศรษฐกิจเราตองเผชิญกับภาวะการแขงขันจากจีนและอินเดีย และกวา 80% ของสินคาที่ผลิตขายกันอยูในโลก

ตอนน้ีเปนสินคามูลคาเพิ่มที่กอเกิดมาจากฐานความรู (KNOWLEDGE WORKER) จากเมื่อกอนที่สินคามูลคาเพิ่ม

จากฐานความรูมีสัดสวนเพียงรอยละ 30 เทาน้ัน

2. ความคิด(Mind)

สตีเฟนเช่ือวาหากมีจิตใจที่ปดกั้นแลวเปนเรื่องยากที่จะปรับเปลี่ยนคานิยมได หรือใชวิสัยทัศนใหมๆ ได

3. สรีระ Body

คําถามที่สตีเฟนอยากใหตอบคือแตละวันคุณใชเวลากี่เปอรเซ็นตไปกับการทํางานเรงดวน หากแตเปนเรื่องที่

ไมมีความสําคัญ?

คําตอบคือ เวลากวา 50% หมดไปกับงานเรงดวนแตไมมีความสําคัญ อยางเชนเรื่องของการประชุม

Page 20: The 7 habits of highly effective people all

The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |20 |

4. จิตวิญญาณ Spirit

ถามวาคุณใหเวลากับงานขององคกรมากนอยแคไหน หรือเวลาสวนใหญหมดไปกับการเลนเกม หรือหมกมุน

อยูกับวาระซอนเรน

คําตอบคือ 75% หมดไปกับเรื่องที่กลาวในขางตน จะมีเพียงแค 25% เทาน้ันที่ทุมเทไปกับการทํางาน ไม

เทาน้ันอีกปญหาสําคัญของคนและองคกรคือขาดความไวเน้ือเช่ือใจซึ่งกันและกัน มีคนถามสตีเฟนวาทําไมคนใน

องคกรจึงไมไววางใจในกันและกัน เขาตอบแบบน้ี!!! มันเกิดจากการที่กลุมคนยังยึดติดอยูกับกรอบคิดในยุคของ

อุตสาหกรรมเดิมอยู ทํางานในแนวทางแบบเดิมอยูสตีเฟนบอกวายุคของเศรษฐกิจมี 5 สมัยยุคแรกเปนยุคของนักลา

หรือ Hunter/Gatherers

กอนจะปรับเปลี่ยนเขาสูยุคการทํา การเกษตร หรือ Agrarian โลกยังคงพัฒนาตอเน่ืองจากเกษตรกรรมสูยุค

อุตสาหกรรม Industrial และปรับเปลี่ยนพัฒนาสูยุคของขอมูลขาวสารInformation/Knowledge Worker และยุค

ของสติปญญา (Wisdom) ถึงตอนน้ีเราอยูในยุคที ่4 เปนยุคแหงขอมูลขาวสารและสังคมแหงความรู กอนพัฒนาสูยุค

ของสติปญญา

สตีเฟนบอกวาสิ่งสําคัญสุดในยุคน้ี คือ การลงทุนเรื่องความรู เขาเช่ือวาการลงทุนในเรื่องของมนุษยก็

เหมือนกับการลงทุนในเรื่องเครื่องจักร แตจะตางกันก็ตรงที่คุณคาของมนุษยจะเพิ่มข้ึนตามเวลา ขณะที่เครื่องจักรจะ

บุบสลายตามกาลเวลา

สตีเฟนยกตัวเหตุการณครั้งที่เขามีโอกาสพูดคุยกับผูเช่ียวชาญของบริษัทไมโครซอฟทบริษัทผูผลิตซอฟตแวร

อันดับตนของโลก และผูเช่ียวชาญคนที่เขาพูดคุยดวยบอกวาซอฟตแวรของไมโครซอฟท สามารถที่จะชวยเพิ่ม

ผลผลิตไดมากถึง 10,000เทา น่ีคือสิ่งที่แสดงใหเห็นวางานที่ใชความรูจะแสดงประสิทธิผลออกมาไดอยางเต็มที่

ปญหาที่สําคัญของพนักงานองคกรก็คือ พนักงานมักไมรูเปาหมายขององคกร ไมรูวาองคกรกําลังทําอะไร

จะไปทิศทางไหน อยางไร ซึ่งทําใหไมเกิดการขับเคลื่อนไปขางหนา

ดังน้ัน ตองทําความเขาใจกอนวา ความตองการพื้นฐานของมนุษยประกอบดวย ปจจัย 4 ดาน คือ

1. รางกาย ( Body )

2. จิตใจ ( Heart )

3. สติปญญา ( Mind )

4. จิตวิญญาณ ( Spirit )

หากขยายความของทั้ง 4 ปจจัย รางกายจะหมายความรวมถึง ภาวะเศรษฐกิจ การดํารงชีพใหอยูรอด ( To

Live ) สติปญญารวมไปถึง สมอง ความคิด ทําอยางไรจะใหเกิดการเรียนรูและการพัฒนา ( To Learn ) จิตใจจะ

เกี่ยวของกับอารมณและสังคม ( To Love ) และสุดทายคือ บุคคลจะดํารงชีวิตอยางมีคุณคาไดอยางไร จะสราง

ตํานานของชีวิตใหกับโลกใบน้ีไดอยางไร ( To Leave a Legacy )

จากการวิจัย โควีย ช้ีใหเห็นวาความไววางใจในองคกรมักอยูในระดับตํ่า เหตุผลที่ความไววางใจระหวางกัน

และกันอยูในระดับตํ่า ซึ่งกอใหเกิดตนทุนสูง เพราะสติปญญาของคนไมไดเรียนรูใหมีวิสัยทัศนหรือเปาหมายเดียวกัน

ไมไดยึดถือคานิยมในการอยูรวมกัน เมื่อไมเห็นความสําคัญเหลาน้ี รางกายจึงไมไดถูกสั่งงานใหสอดคลองกับ

เปาหมายหรือวิสัยทัศนดวย จึงไมมีพลังมากระตุนใหทุมเทกายใจที่จะทํางาน สุดทายวิญญาณที่ไวเน้ือเช่ือใจกันจึงไม

มี น่ีคือปจจัยดานพื้นฐานความตองการของมนุษย

Page 21: The 7 habits of highly effective people all

The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |21 |

ในระดับองคกรแลว สิ่งที่ทําใหพนักงานไมรูเปาหมายที่ชัดเจนขององคกร และไมปฏิบัติตามความตองการ

ขององคกร มีสาเหตุต้ังแตการขาดความชัดเจนของเปาหมายเอง หรือไมไดอธิบายความหมายใหทุกคนทราบ ทําให

ไมรูวาวิสัยทัศนขององคกรจะไปทิศทางใด หรือบางคนรูแตก็ไมมีคํามั่นสัญญาวาจะทําตามน้ันหรืออาจไมมีการแปลง

ไปเปนแผนปฏิบัติ หรือบางแงมุม เพราะไมไดนําไปผูกโยงกับะบบการจายคาตอบแทน ไมมีการผนึกกําลังประสาน

ความตาง ( Synergy ) ทําใหคนยังมองไมเห็นวามแตกตางความสามารถของแตละคน หรือเพราะคนไมมีความ

รับผิดชอบจึงไมมีการนําไปปฏิบัติอยางจริงจัง

ทําไมพนักงานบางคนจึงอยากจะทําหรือไมอยากจะทําสิ่งท่ีเปนประโยชนสูงสุดใหกับองคกร โควีย ต้ังคําถาม 4 คําถาม เพื่อวิเคราะหประเด็นดังกลาว คือ 1. ถาทํางานอยูในองคกรที่มีการเมืองในองคกรมาก และระบบการจายคาตอบแทนไมยุติธรรม ไดรับคาจาง

ที่ไมเหมาะสมกับองคกร จะทําอยางไรถาไดรับคาตอบแทนอยางยุติธรรม แตไมไดรับการปฏิบัติอยางดี เชน ไมไดรับการเคารพ มีวิธีปฏิบัติของหัวหนาที่ไมเสมอตนเสมอปลายข้ึนอยูกับอารมณ จะทําอยางไร

2. ถาไดรับการจายคาจางที่ยุติธรรม ไดรับการปฏิบัติที่ดีจากหัวหนา แตความคิดเห็นที่เสนอไปไมไดรับการตอบสนอง จะทําอยางไร

3. ถาไดรับผลตอบแทนที่เหมาะสม ไดลาออกจากงานไปเลย หรือ สองทําตามคําสั่งแตผูกพยาบาทกับหัวหนาของตนเอง สาม ทําไปตามกฎระเบียบของบริษัท สี่ รูสึกอยากทํางานรวมมือใหกับบริษัท หา มีคํามั่นสัญญา ทํางานใหกับองคกรดวยความจริงใจ และ หก มีความทาทาย ต่ืนเตน ที่จะสรางอะไร ใหม ๆ ใหกับองคกร

4. ถาไดรับคาจางที่เหมาะสม ไดรับการปฏิบัติที่ดี ไดเขาไปเกี่ยวของกับการทํางานที่มีคุณคา มีความหมายตอเรา แตในที่ทํางานกลับมีแตการหลอกลวงลูกคาและคูคาหรือแมแตพนักงานคนอื่นจะทําอยางไร

จากคําถามทั้ง 4 เขาพบวา พนักงานสวนใหญเลือกตอบ 3 ขอแรกมากที่สุด คือ ถาไดรับการปฏิบัติที่ไมดีจะเปนกบฎ หรือลาออกไปเลย ถาไดรับคาจางที่ไมเหมาะสมแตดูแลไมดี ข้ึนอยูกับอารมณของหัวหนา ก็จะทําตามสั่ง แตผูกพยาบาทไว หรือ ทําตามกฎระเบียบเทาน้ัน ไมไดทําอะไรที่นอกเหนือความคาดหมาย น่ีเปนเพราะการจัดการของผูบริหารใชอํานาจตามตําแหนงหนาที่ที่ไดรับจากองคกรเขามาจัดการ แตสําหรับยุค knowledge Worker แลว องคกรตองการคําตอบวาพนักงานพรอมที่จะรวมมือรวมใจใหกับองคกร หรือมีคํามั่นสัญญาวาจะทํางานใหเสร็จ หรือ สรางสรรคสิ่งที่ดีและมีความต่ืนเตนกับสิ่งที่ทาทายตลอดเวลา ซึ่งสิ่งเหลาน้ีจะเกิดข้ึนไดตองใชภาวะผูนําจัดการ

ถาเราละเลยการดูแลปจจัยทั้ง 4 ดานของมนุษย เทากับวาเราไดเปลี่ยนพนักงานไปสูสิ่งไมมีชีวิต แลวเราจะจัดการกับสิ่งของในองคกรอยางไร สวนใหญคนเปนหัวหนาก็จะเขาไปดูแลและใชวิธีกระตุนจูงใจดวย Carrot-and-Stick ทําไดก็ใหรางวัล ทําไมไดก็ลงโทษ แลวองคกรก็มุงไปสูความสําเร็จได ดังน้ันบทบาทขององคกรจึงตอง กําหนด วิสัยทัศน พันธกิจและคานิยมใหสอดคลองกัน และองคกรยังตองสื่อสารถายทอดใหพนักงานรับรู วาองคกรตองการมุงไปทางไหนอยางแทจริง จึงจะทําใหพนักงานมีคํามั่นสัญญาที่จะปฏิบัติตาม และจะตองแปลงไปสูแผนปฏิบัติอยางจริงจัง ตองใหคุณคาในความแตกตางของพนักงานแตละคน เพื่อใหเกิดความรวมมือกันในการทํางาน และไมลืมท่ีจะสรางผลตอบแทนที่เหมาะสมดวย ตองทําใหเกิดความมุงมั่นที่จะทําตามน้ันออกมา พนักงานคือผูมีสวนในการผลักดันองคกรอยางแทจริง และเขาจะทําไดก็ตอเมื่อเขาใจ เห็นความสําคัญ และพรอมที่จะฝกตนเองใหมีภาวะผูนํา

7 อุปนิสัยน้ี ทําแลวไมไดบอกวาเราจะเปนผูสําเร็จในชีวิต แตจะพัฒนาเราใหมีประสิทธิผลท่ีสูงขึ้น โดยพัฒนาเราจากการท่ีเปนคนท่ี "ตองพ่ึงคนอ่ืน" สูการเปนคนท่ีสามารถ "พ่ึงพาตนเองได"

จากน้ันพัฒนาสูเปาหมายการ "พ่ึงพาซึ่งกันและกัน" การอยูรวมกันกับผูอื่นอยางมีความสุข ดังน้ัน ตองถามตัวเองวา วันน้ีอุปนิสัยของเราเปนแบบผูที่มีประสิทธิผลหรือยัง

และท่ีสําคัญ คือ เรียนรูอยูเสมอ และตองเรียนรูอยางตอเน่ืองตลอดชีวิต

ที่มา http://www.gotoknow.org/blogs/books/view/the7habits