timeline nstda 20 year

1
พ.ศ. 2526 ตั้งคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีเพื่อการพัฒนา (กพวท.) หรือ Science and Technology Development Board (STDB) ภายใตการสนับสนุนของ รัฐบาลสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2527 เริ่มสนับสนุนโครงการวิจัยและพัฒนาสาขา เทคโนโลยีชีวภาพ ในปแรกจำนวน 7 โครงการ งบประมาณรวม 7.5 ลานบาท พ.ศ. 2528 เริ่มจัดตั้งหนวยปฏิบัติการวิจัย ณ สถาบัน เครือขายที่มีความพรอมดานโครงสราง พื้นฐานและบุคลากรวิจัยเพื่อสงเสริมและ พัฒนางานวิจัยดานเทคโนโลยีชีวภาพ พ.ศ. 2529 ประกาศใชมาตรฐานรหัสอักขระภาษาไทย สำหรับคอมพิวเตอร (มอก. 620-2529) 2526-2529 2531-2535 2536-2539 2540-2543 2544-2549 2550-2554 พ.ศ. 2536 เริ่มโครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ ดานกุง เพื่อแกไขวิกฤติการณการระบาดของ โรคหัวเหลืองในกุงกุลาดำ พ.ศ. 2537 เริ่มโครงการเครือขายคอมพิวเตอรเพื่อ โรงเรียนไทย (SchoolNet Thailand) เริ่มสงเสริมการวิจัย พัฒนา และถายทอด เทคโนโลยีสูพื้นที่ชุมชนชนบท การสนับสนุนวิจัยและพัฒนาของ สวทช. ทำใหคนพบราทำลายแมลงชนิดใหมของ โลก 2 ชนิด ตั้งชื่อวา Cordyceps khaoyaiensis และ Cordyceps pseudomilitaris พ.ศ. 2538 เปนหนวยประสานงานหลักในการ ขับเคลื่อนกิจกรรมในปแหงเทคโนโลยี สารสนเทศไทย ประกาศใชนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT2000) ฉบับแรกของประเทศ เริ่มสนับสนุนงานวิจัยดานความหลากหลาย ทางชีวภาพของประเทศไทยเปนครั้งแรก โดย สวทช. รวมกับ สกว. ภายใตโครงการ พัฒนาองคความรูและศึกษานโยบาย การจัดการทรัพยากรชีวภาพในประเทศไทย (บีอารที) พ.ศ. 2539 สวทช. เริ่มดำเนินงานวิจัยเอง ที่อาคารโยธี เริ่มโครงการเครือขายกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2531 เปดใชเครือขาย “ไทยสาร” เพื่อบริการ อินเทอรเน็ตในประเทศไทย พ.ศ. 2532 เริ่มดำเนินงานโครงการดานเทคโนโลยี ชีวภาพขาว โดยการสนับสนุนของ มูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร พ.ศ. 2533 เริ่มโครงการสนับสนุนนักเรียนทุนรัฐบาล ศึกษาตอตางประเทศดานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีเพื่อเรงการผลิตบุคลากรวิจัย 3 สาขา ไดแก เทคโนโลยีชีวภาพ, โลหะและ วัสดุ, อิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอร พ.ศ. 2534 ประกาศใชพระราชบัญญัติพัฒนา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี พ.ศ. 2534 จัดตั้งสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) โดยรวม ศูนยแหงชาติภายใตกระทรวงวิทยาศาสตรฯ และ กพวท. เขาดวยกัน พ.ศ. 2535 เนคเทคไดรับมอบหมายใหทำหนาที่สำนักงาน เลขานุการคณะกรรมการสงเสริมการพัฒนา เทคโนโลยีสารสนเทศแหงชาติ ประกาศใชแนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทาง ชีวภาพ (Biosafety Guidelines) ฉบับแรกของ ประเทศไทย จัดทำขึ้นโดยคณะอนุกรรมการ กำหนดมาตรการความปลอดภัยในการทำงาน ดานพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ ซึ่งไบโอเทคทำหนาที่เปนเลขานุการฯ พ.ศ. 2550 ประกาศใช พ.ร.บ. วาดวยการกระทำความผิด ทางคอมพิวเตอร ถอดรหัสดีเอ็นเอไมสักเสาชิงชา พ.ศ. 2551 ประกาศใช พ.ร.บ. วาดวยวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ ไดรับสิทธิบัตรยีนควบคุมความหอมในขาวและ การใชประโยชน ในประเทศสหรัฐอเมริกา ไดรับสิทธิบัตรการสังเคราะหอนุพันธสารตาน มาลาเรียกลุมไพริมิดีน ในประเทศสหรัฐอเมริกา ซอฟตแวรดานทันตกรรม DentiPlan พ.ศ. 2552 Size Thailand เพื่อพัฒนามาตรฐานรูปราง คนไทย เครื่องรบกวนสัญญาณโทรศัพทเคลื่อนที่ T-Box 3.0 ไดรับรางวัลผลงานรางวัลประดิษฐคิดคน รางวัลดีเยี่ยมดานวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและ อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมศาสตรและ อุตสาหกรรมวิจัย จากสำนักงานคณะกรรมการ วิจัยแหงชาติ (วช.) ซอฟตแวรทันตกรรม AlignBracket 3D พ.ศ. 2553 สวทช. และสำนักงานคณะกรรมการอาหาร และยา รวมมือทางวิชาการดานการประเมิน ความปลอดภัยของอาหารที่ไดจากเทคโนโลยี ชีวภาพสมัยใหม ไดรับพระราชทานชื่อ “ธัญสิริน” จากสมเด็จ- พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ใหกับพันธุขาวเหนียวตานทานโรคไหม ที่นักวิจัย สวทช. วิจัยและพัฒนารวมกับหนวยงานตางๆ พัฒนาระบบตอบรับโทรศัพทอัตโนมัติสอบถาม สภาพจราจร (ทราฟฟ) ตั้ง NSTDA Academy พ.ศ. 2554 สวทช. รวมกับสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) และองคการ พิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ (อพวช.) ในการจัดการขอมูลดานความหลากลายทาง ชีวภาพของประเทศ พ.ศ. 2544 เริ่มโครงการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ แบบบูรณาการ (ลุมแมน้ำเจาพระยา) พ.ศ. 2545 สวทช. ยายที่ทำการไปยังอุทยานวิทยาศาสตร ประเทศไทย อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี เมื่อ 6 เมษายน 2545 ประกาศใชกรอบนโยบายเทคโนโลยี สารสนเทศ พ.ศ. 2544-2553 ประกาศใช พ.ร.บ. วาดวยธุรกรรม อิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2546 คนพบโครงสรางของเอนไซมที่เปนเปาหมาย ใหมในการทำลายเชื้อมาลาเรีย ตีพิมพใน วารสาร Nature Structural Biology พ.ศ. 2547 ประกาศใชกรอบนโยบายการพัฒนา เทคโนโลยีชีวภาพของประเทศไทย (พ.ศ. 2547-2552) พัฒนาขาวสายพันธุขาวดอกมะลิ 105 ทนน้ำทวมฉับพลัน โดยการปรับปรุงพันธุ ดวยอณูวิธี พ.ศ. 2548 หนังสือเสียงสารานุกรมไทยฯ ระบบเดซี พ.ศ. 2549 สวทช. และกรมการขาว รวมมือวิจัยเรื่อง “โครงการวิจัยและพัฒนาพันธุ ขาวนาน้ำฝน ระยะที่ 1” สวทช. และกรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข รวมมือวิจัยพัฒนา ดานโรคติดเชื้ออุบัติใหม สวทช. กับเหตุการณสำคัญบนเสนทางการพัฒนาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีของประเทศไทย ระหวางป พ.ศ. 2526-2554 พ.ศ. 2550 สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องคการมหาชน) พ.ศ. 2551 ธนาคารจุลินทรีย ศูนยกลางการศึกษาดาน จุลินทรียเขตรอนของภูมิภาค สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.) พ.ศ. 2552 เปดบานวิทยาศาสตรสิรินธร เพื่อเปนศูนยพัฒนาและสงเสริมเด็กและ เยาวชน ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี พ.ศ. 2554 สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส (องคการ มหาชน) และสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส (องคการมหาชน) พ.ศ. 2540 สำนักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศภาครัฐ (สบทร.) พ.ศ. 2541 ศูนยคาดการณเทคโนโลยีเอเปค (APEC Center for Technology Foresight) พ.ศ. 2543 ศูนยวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสิ่งอำนวย ความสะดวกเพื่อคนพิการ (ASTEC) โครงการศูนยความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ. 2539 ศูนยบริการอินเทอรเน็ตประเทศไทย (ปจจุบันคือ บริษัทอินเทอรเน็ตประเทศไทย จำกัด (มหาชน)) เขตอุตสาหกรรมซอฟตแวรประเทศไทย (Software Park Thailand) ศูนยเทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอนิกส (TMEC) พ.ศ. 2532 ศูนยฝกอบรมคอมพิวเตอรเพื่ออุตสาหกรรม (CAD Center) พ.ศ. 2526 ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ แหงชาติ (ไบโอเทค) พ.ศ. 2529 ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส และคอมพิวเตอรแหงชาติ (เนคเทค) ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ (เอ็มเทค) กิจกรรมสำคัญ องคกรที่เกิดขึ้นจาก สวทช. พ.ศ. 2544 คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีแหงชาติ พ.ศ. 2546 ศูนยนาโนเทคโนโลยีแหงชาติ (นาโนเทค) ศูนยวิจัยและพัฒนาสายพันธุกุง (ศวพก.) พ.ศ. 2547 ศูนยเทคโนโลยีทางทันตกรรมขั้นสูง (ADTEC) โดย : งานออกแบบ ฝายสื่อวิทยาศาสตร จัดทําโดย ดร.ทวีศักดิกออนันตกูล ดร.ชฏามาศ ธุวะเศรษฐกุล ลัญจนา นิตยพัฒน์ ไบโอเทค เนคเทค เอ็มเทค นาโน และ STKS

Upload: boonlert-aroonpiboon

Post on 12-Apr-2017

2.269 views

Category:

Technology


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Timeline NSTDA 20 Year

พ.ศ. 2526ตั้งคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพ่ือการพัฒนา (กพวท.) หรือ Science and Technology Development Board (STDB) ภายใตการสนับสนุนของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา

พ.ศ. 2527เริ่มสนับสนุนโครงการวิจัยและพัฒนาสาขาเทคโนโลยีชีวภาพ ในปแรกจำนวน 7 โครงการ งบประมาณรวม 7.5 ลานบาท

พ.ศ. 2528เริ่มจัดตั้งหนวยปฏิบัติการวิจัย ณ สถาบันเครือขายที่มีความพรอมดานโครงสรางพื้นฐานและบุคลากรวิจัยเพื่อสงเสริมและพัฒนางานวิจัยดานเทคโนโลยีชีวภาพ

พ.ศ. 2529ประกาศใชมาตรฐานรหัสอักขระภาษาไทยสำหรับคอมพิวเตอร (มอก. 620-2529)

2526-2529 2531-2535 2536-2539 2540-2543 2544-2549 2550-2554

พ.ศ. 2536เร่ิมโครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพดานกุง เพ่ือแกไขวิกฤติการณการระบาดของโรคหัวเหลืองในกุงกุลาดำ

พ.ศ. 2537เริ่มโครงการเครือขายคอมพิวเตอรเพื่อโรงเรียนไทย (SchoolNet Thailand)เริ่มสงเสริมการวิจัย พัฒนา และถายทอด เทคโนโลยีสูพื้นที่ชุมชนชนบท การสนับสนุนวิจัยและพัฒนาของ สวทช. ทำใหคนพบราทำลายแมลงชนิดใหมของโลก 2 ชนิด ตั้งชื่อวา Cordyceps khaoyaiensis และ Cordyceps pseudomilitaris

พ.ศ. 2538เปนหนวยประสานงานหลักในการ ขับเคลื่อนกิจกรรมในปแหงเทคโนโลยีสารสนเทศไทยประกาศใชนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT2000) ฉบับแรกของประเทศเร่ิมสนับสนุนงานวิจัยดานความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทยเปนครั้งแรก โดย สวทช. รวมกับ สกว. ภายใตโครงการ พัฒนาองคความรูและศึกษานโยบายการจัดการทรัพยากรชีวภาพในประเทศไทย (บีอารที)

พ.ศ. 2539สวทช. เริ่มดำเนินงานวิจัยเอง ที่อาคารโยธี เริ่มโครงการเครือขายกาญจนาภิเษก

พ.ศ. 2531เปดใชเครือขาย “ไทยสาร” เพื่อบริการอินเทอรเน็ตในประเทศไทย

พ.ศ. 2532เร่ิมดำเนินงานโครงการดานเทคโนโลยีชีวภาพขาว โดยการสนับสนุนของ มูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร

พ.ศ. 2533เร่ิมโครงการสนับสนุนนักเรียนทุนรัฐบาลศึกษาตอตางประเทศดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อเรงการผลิตบุคลากรวิจัย 3 สาขา ไดแก เทคโนโลยีชีวภาพ, โลหะและ วัสดุ, อิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอร

พ.ศ. 2534ประกาศใชพระราชบัญญัติพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี พ.ศ. 2534 จัดตั้งสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) โดยรวม ศูนยแหงชาติภายใตกระทรวงวิทยาศาสตรฯ และ กพวท. เขาดวยกัน

พ.ศ. 2535เนคเทคไดรับมอบหมายใหทำหนาท่ีสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสงเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศแหงชาติประกาศใชแนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety Guidelines) ฉบับแรกของประเทศไทย จัดทำข้ึนโดยคณะอนุกรรมการ กำหนดมาตรการความปลอดภัยในการทำงานดานพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ ซึ่งไบโอเทคทำหนาที่เปนเลขานุการฯ

พ.ศ. 2550ประกาศใช พ.ร.บ. วาดวยการกระทำความผิดทางคอมพิวเตอรถอดรหัสดีเอ็นเอไมสักเสาชิงชา

พ.ศ. 2551 ประกาศใช พ.ร.บ. วาดวยวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติไดรับสิทธิบัตรยีนควบคุมความหอมในขาวและการใชประโยชน ในประเทศสหรัฐอเมริกาไดรับสิทธิบัตรการสังเคราะหอนุพันธสารตานมาลาเรียกลุมไพริมิดีน ในประเทศสหรัฐอเมริกาซอฟตแวรดานทันตกรรม DentiPlan

พ.ศ. 2552Size Thailand เพื่อพัฒนามาตรฐานรูปรางคนไทยเครื่องรบกวนสัญญาณโทรศัพทเคลื่อนที่ T-Box 3.0 ไดรับรางวัลผลงานรางวัลประดิษฐคิดคน รางวัลดีเยี่ยมดานวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมศาสตรและอุตสาหกรรมวิจัย จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)ซอฟตแวรทันตกรรม AlignBracket 3D

พ.ศ. 2553สวทช. และสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมมือทางวิชาการดานการประเมินความปลอดภัยของอาหารที่ไดจากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหมไดรับพระราชทานชื่อ “ธัญสิริน” จากสมเด็จ- พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ใหกับพันธุขาวเหนียวตานทานโรคไหม ที่นักวิจัย สวทช. วิจัยและพัฒนารวมกับหนวยงานตางๆ พัฒนาระบบตอบรับโทรศัพทอัตโนมัติสอบถามสภาพจราจร (ทราฟฟ)ตั้ง NSTDA Academy

พ.ศ. 2554สวทช. รวมกับสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) และองคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ (อพวช.) ในการจัดการขอมูลดานความหลากลายทางชีวภาพของประเทศ

พ.ศ. 2544เริ่มโครงการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแบบบูรณาการ (ลุมแมน้ำเจาพระยา)

พ.ศ. 2545สวทช. ยายท่ีทำการไปยังอุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี เมื่อ 6 เมษายน 2545ประกาศใชกรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ. 2544-2553 ประกาศใช พ.ร.บ. วาดวยธุรกรรม อิเล็กทรอนิกส

พ.ศ. 2546คนพบโครงสรางของเอนไซมที่เปนเปาหมายใหมในการทำลายเชื้อมาลาเรีย ตีพิมพใน วารสาร Nature Structural Biology

พ.ศ. 2547ประกาศใชกรอบนโยบายการพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพของประเทศไทย (พ.ศ. 2547-2552)พัฒนาขาวสายพันธุขาวดอกมะลิ 105 ทนน้ำทวมฉับพลัน โดยการปรับปรุงพันธุ ดวยอณูวิธี

พ.ศ. 2548หนังสือเสียงสารานุกรมไทยฯ ระบบเดซี

พ.ศ. 2549สวทช. และกรมการขาว รวมมือวิจัยเรื่อง “โครงการวิจัยและพัฒนาพันธุ ขาวนาน้ำฝน ระยะที่ 1”สวทช. และกรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข รวมมือวิจัยพัฒนา ดานโรคติดเชื้ออุบัติใหม

และ กพวท. เขาดวยกัน

พ.ศ. 2535

สวทช. กับเหตุการณสำคัญบนเสนทางการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของประเทศไทย ระหวางป พ.ศ. 2526-2554

พ.ศ. 2550สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องคการมหาชน)พ.ศ. 2551ธนาคารจุลินทรีย ศูนยกลางการศึกษาดาน จุลินทรียเขตรอนของภูมิภาคสำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.)

พ.ศ. 2552เปดบานวิทยาศาสตรสิรินธร เพื่อเปนศูนยพัฒนาและสงเสริมเด็กและเยาวชน ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

พ.ศ. 2554สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส (องคการ มหาชน) และสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส (องคการมหาชน)

พ.ศ. 2540สำนักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศภาครัฐ (สบทร.)

พ.ศ. 2541ศูนยคาดการณเทคโนโลยีเอเปค (APEC Center for Technology Foresight)

พ.ศ. 2543ศูนยวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อคนพิการ (ASTEC)โครงการศูนยความหลากหลายทางชีวภาพ

พ.ศ. 2539ศูนยบริการอินเทอรเน็ตประเทศไทย (ปจจุบันคือ บริษัทอินเทอรเน็ตประเทศไทย จำกัด (มหาชน))เขตอุตสาหกรรมซอฟตแวรประเทศไทย(Software Park Thailand)

ศูนยเทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอนิกส(TMEC)

พ.ศ. 2532ศูนยฝกอบรมคอมพิวเตอรเพ่ืออุตสาหกรรม (CAD Center)

พ.ศ. 2526ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ แหงชาติ (ไบโอเทค)

พ.ศ. 2529ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (เนคเทค)

ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ (เอ็มเทค)

กิจก

รรมสำค

ัญองค

กรท

ี่เกิดขึ้น

จาก ส

วทช. กรน้ำและการเกษตร

พ.ศ. 2544คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ

พ.ศ. 2546ศูนยนาโนเทคโนโลยีแหงชาติ (นาโนเทค)

ศูนยวิจัยและพัฒนาสายพันธุกุง (ศวพก.)

พ.ศ. 2547ศูนยเทคโนโลยีทางทันตกรรมขั้นสูง (ADTEC)

โดย : งานออกแบบ ฝายส่ือวิทยาศาสตร จัดทําโดย ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ดร.ชฏามาศ ธุวะเศรษฐกุล ลัญจนา นิตยพัฒน์ ไบโอเทค เนคเทค เอ็มเทค นาโน และ STKS