triple bottom line

34
1 Triple Bottom Line แนวคิด ประโยชน และเครื่องมือในการประเมิน สฤณี อาชวานันทกุล 25 กุมภาพันธ 2552 งานนี้เผยแพรภายใตสัญญาอนุญาต Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa) โดยผูสรางอนุญาตใหทําซ้ํา แจกจาย แสดง และสรางงานดัดแปลงจากสวนใดสวนหนึ่งของงานนี้ไดโดยเสรี แตเฉพาะใน กรณีที่ใหเครดิตผูสราง ไมนําไปใชในทางการคา และเผยแพรงานดัดแปลงภายใตสัญญาอนุญาตแบบเดียวกันนี้เทานั้น

Upload: sarinee-achavanuntakul

Post on 20-Aug-2015

6.692 views

Category:

Business


4 download

TRANSCRIPT

Page 1: Triple Bottom Line

1

Triple Bottom Line

แนวคิด ประโยชน และเครื่องมือในการประเมิน

สฤณี อาชวานันทกุล

25 กุมภาพันธ 2552

งานนี้เผยแพรภายใตสัญญาอนญุาต Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa)

โดยผูสรางอนุญาตใหทําซ้าํ แจกจาย แสดง และสรางงานดัดแปลงจากสวนใดสวนหนึ่งของงานนี้ไดโดยเสรี แตเฉพาะใน

กรณีที่ใหเครดิตผูสราง ไมนาํไปใชในทางการคา และเผยแพรงานดัดแปลงภายใตสัญญาอนุญาตแบบเดียวกันนี้เทานั้น

Page 2: Triple Bottom Line

2

หัวขอนําเสนอ

แนวคิดและประโยชน

Global Reporting Initiative (GRI)

ISO 26000

ตัวอยางการวัด “ผลตอบแทนดานสงัคม”

สรุป

Page 3: Triple Bottom Line

3

แนวคิดและประโยชน

Page 4: Triple Bottom Line

4

“Triple Bottom Line” คืออะไร?

“The triple bottom line focuses corporations not just on the economic value they add, but also on the environmental and social value they add –and destroy. At its narrowest, the term ‘triple bottom line’ is used as a framework for measuring and reporting corporate performance against economic, social and environmental parameters.”

- John Elkington, The Ecology of Tomorrow’s World (1980)

Triple Bottom Line = People, Planet, Profit

สังคม สิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ

Page 5: Triple Bottom Line

5

“ภาพใหญ” : การเปลีย่นผานไปสู “ระบอบทุนนิยมที่ยั่งยืน”

“In our rapidly evolving capitalist economies, where it is in thenatural order of things for corporations to devour competing corporations, for industries to carve up and digest other industries, one emerging form of capitalism with a fork –sustainable capitalism – would certainly constitute real progress.”

- John Elkington, Cannibals With Forks – The Triple

Bottom Line of 21st Century Business (1997)

ถาวัดผลกระทบสุทธิดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอมของบริษัทไมได ก็เปลี่ยนวิธดีําเนินธุรกิจไปสูวิถ ี“ธรุกิจที่ยั่งยืน” ไมได

Page 6: Triple Bottom Line

6

“Triple Bottom Line” ไมใชผลกําไรของบรษิทั

TBL หมายถึงผลตอบแทนสุทธิที่บริษัทสงมอบตอระบอบเศรษฐกิจ

สังคม และสิ่งแวดลอม ไมใชประโยชนทางธุรกิจที่บริษัทไดรับ

อยางไรก็ดี แนวคิดการทํา “ธุรกิจอยางยั่งยืน” เสนอวา บริษัทจะไดรับ

ประโยชนทางธุรกิจจากกิจกรรมที่สรางผลตอบแทนตอสังคมและ

สิ่งแวดลอมในระยะยาว

ยกตัวอยางเชน การลงทุนในเทคโนโลยีสะอาด : ผลตอบแทนดาน

สิ่งแวดลอม = การลดการปลอยกาซเรือนกระจก และผลตอบแทนดาน

การเงิน = การลดตนทุนในการดําเนินธุรกิจ (เชน คาใชจายเชื้อเพลิง)

ดังนั้น เงื่อนเวลา (time horizon) จึงเปนประเด็นสําคัญในการคิดเรื่อง

triple bottom line : บริษัทจะตองเปลีย่นวิสัยทัศนใหมองยาวขึ้น

Page 7: Triple Bottom Line

77

1400AD 2000AD futureprehistory

INTUITION

financial accounting

environmental and social accounting

SYSTEMS

STORIES

การทํา “บัญชี” ดานสงัคมและสิง่แวดลอมเปนเรื่องใหม...

Page 8: Triple Bottom Line

8

(People) (Planet) (Profit)Social Environment Economics

The International Bill

of Human Rights

Johannesburg Action

Plan

Rio Declaration

The UN Biodiversity

Convention

ISO 14000

ISO 26000 (2010)

Taxes

Antitrust laws and

regulations

UN Anti-Corruption

Convention

Accounting standards

& regular financial

reporting

...แตเริ่มมีมาตรฐานสากล และปฏิญญาระดับโลกทีช่วยวัด

Page 9: Triple Bottom Line

9

จากการมองแค “financial value” สู “blended value”

9

แตละกิจการเลือกไดวาจะ

ใหน้ําหนักเทาไรระหวาง

ผลตอบแทนทางสังคมและ

สิ่งแวดลอม กับผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ

Page 10: Triple Bottom Line

10

Triple Bottom Line ชี้โอกาสในวิกฤต

ที่มา: Triple Bottom Line Reporting: A Strategic Introduction to Economic, Environmental and Social Performance

Measurement, David Crawford, Certified Management Accountants Canada, www.cma-canada.org

Page 11: Triple Bottom Line

1111

บริษัทยักษใหญเริ่มทาํ “sustainable livelihood business” เจาะลูกคาในตลาด

ฐานประมิด (bottom-of-pyramid market)

Page 12: Triple Bottom Line

12

1. มองเห็นผลกระทบทกุมิติของการดําเนินธุรกิจ ชวยใหบริษทัประเมินและ

บริหารจัดการความเสี่ยงไดดีขึ้น ตอบสนองตอความตองการและความ

เดือดรอนของผูมีสวนไดเสียฝายตางๆ ไดดีขึ้น

2. สอดคลองกับแนวคิดเรื่อง “การพัฒนาที่ยั่งยืน” – เชื่อวาบริษทัที่ดู triple

bottom line นั้น จะมีผลประกอบการดีขึ้นในระยะยาว

3. ชี้ใหเห็นโอกาสในวิกฤต และขับเคลื่อนบริษทัไปสูแนวทางทาํ “ธุรกิจอยาง

ยั่งยืน” ที่หลายอยางอาจเริ่มทําไมไดถาไมคิดแบบ triple bottom line เพราะ

โดยธรรมชาติ การลงทุนที่จะสงมอบผลตอบแทนดานสังคมและสิ่งแวดลอม

นาจะตองใชระยะเวลานานกวาการลงทุนทางธุรกิจทั่วไป

สรุปประโยชนของแนวคิด Triple Bottom Line

Page 13: Triple Bottom Line

13

Global Reporting Initiative (GRI)

Page 14: Triple Bottom Line

14

Global Reporting Initiative (GRI)

ชุดหลักเกณฑในการผลิต “รายงานการพัฒนาเพื่อความยั่งยืน”(sustainability report) – บางบริษัทเรียก “รายงานความรับผิดชอบตอสังคม” (CSR report)

ครอบคลุมมิติตางๆ และสอดคลองกับแนวคิด triple bottom line ที่สุด

พัฒนามาจาก CERES Principles จนปจจุบันเปนเครือขายที่มีสมาชิก 30,000 รายทั่วโลก มีบริษัทที่ผลิตรายงานตามเกณฑ GRI 1,500 แหง

เปาหมายหลักของ GRI คอืการสงเสริมใหองคกรทุกรูปแบบจัดทํารายงานความยั่งยืนอยางสม่ําเสมอและมี “มาตรฐาน” เพียงพอที่จะใหคนนอกใชเปรียบเทียบผลงานระหวางองคกรได ไมตางจากการรายงานงบการเงินประจําป

Page 15: Triple Bottom Line

15

สวนที่ 1: Defining report content, quality, and boundary

สวนนี้อาจเรียกไดวาเปน “ปจจัยผลิต” (inputs) ที่จะกําหนดขอบเขตและเนื้อหาของ “ผลผลิต” (outputs) ซึ่งหมายถึงขอมูลที่บริษัทจะเปดเผยในสวนถัดไป หลักในการทํารายงานมีสองหัวขอยอยดังตอไปนี้

หลักที่บริษัทใชในการทํารายงานความยั่งยืน มีสี่ประเด็นไดแก

ระดับความสําคัญของขอมูลที่เปดเผย (materiality) ตองใชมุมมองของผูมีสวนไดเสียเปนหลัก

ระดับความครอบคลุมผูมสีวนไดเสีย (stakeholder inclusiveness) ตองอธิบายกระบวนการการมีสวนรวมของผูมีสวนไดเสียแตละฝาย และประเด็นที่ผูมีสวนไดเสียใหความสาํคัญ

ที่ทางของรายงานในบริบทความยัง่ยืน (sustainability context)

ระดับความครบถวนสมบูรณของขอมูล (completeness)

การจัดเรียงลํา ดับหัวขอเหลานี้ในรายงาน GRI ควรจัดเรียงตามลํา ดับ ความ สํา คัญเพื่อ ให ผูอานเห็นภาพวาบริษัทใหน้ําหนักกบัประเด็นใด ประเด็นใดมีความสําคัญมากตอกิจการของบริษัท (เชน บริษัทกระดาษ ควรใหน้ําหนักกบัมิติดานสิ่งแวดลอมมากกวาสถาบันการเงิน)

GRI สวนที่ 1: หลักในการทํารายงานและคําแนะแนว

Page 16: Triple Bottom Line

16

หลักที่บริษัทใชในการกําหนด “คุณภาพ” ของรายงาน มีหกประเด็นไดแก

ระดับความสมดุลของเนื้อหา (balance) - ตองรายงานทั้งผลงานเชิงบวกและเชิงลบ

ระดับการเปรยีบเทียบได(กับองคกรอื่น) (comparability)

ระดับความถูกตองเที่ยงตรง (accuracy)

ระดับความทันทวงทีของการรายงาน (timeliness)

ระดับความเชื่อถือไดของขอมูล (reliability)

ระดับความชัดเจน (clarity)

GRI สวนที่ 1: หลักในการทํารายงานและคําแนะแนว (ตอ)

Page 17: Triple Bottom Line

17

สวนที ่2: Standard Disclosures

สวนนี้นับเปน “ผลผลิต” ของหลักในการทํารายงานที่อธิบายในสวนแรก ประกอบดวยขอมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ แบงเปนสองสวนยอยไดแก คําอธิบาย (Profile) และดัชนีชี้วัดผลงานของบริษัทในดานตางๆ หกดาน (Performance Indicators)

คําอธิบาย (Profile) - รายงานจากมมุมองของการพัฒนาอยางยั่งยืนเปนหลัก

กลยุทธและบทวิเคราะห (strategy and analysis)

โครงสรางองคกรและธุรกจิหลัก (organizational profile)

ขอบเขตของรายงาน (report parameters)

โครงสรางการบรหิารจัดการ (governance) ดานความรบัผดิชอบตอสังคม

พันธะตอขอตกลงภายนอก (commitment to external initiatives)

กระบวนการการมสีวนรวมของผูมีสวนไดเสีย (stakeholder engagement)

GRI สวนที่ 2: ขอมูลที่เปดเผย

Page 18: Triple Bottom Line

18

ตัวอยาง: stakeholder engagement ของ SCG Paper

ผูมีสวนไดเสีย กระบวนการสรางความสัมพันธ ประเด็นที่ผูมีสวนไดเสียใหความสําคัญ ผูถือหุน การประชุมสามัญประจําปสําหรับผูถือ

หุนรายยอย, ระบบธรรมาภิบาล,

รายงานประจําป, เว็บไซตของบริษัท

• ชื่อเสียงและความสามารถในการแขงขัน

ของบริษัท • ผลตอบแทนจากการลงทุน

ลูกคา การเยี่ยมเยียนลูกคาโดยพนักงาน • ราคายุติธรรม • สงสินคาตรงเวลา • คุณภาพและความปลอดภัยของสินคา • สินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม

ซัพพลายเออร การประเมินซัพพลายเออร, การเยี่ยม

เยือนซัพพลายเออรรายใหญ, โครงการ

สานสัมพันธกับซัพพลายเออร

• ราคายุติธรรม • จายเงินตรงเวลา

Page 19: Triple Bottom Line

19

ตัวอยาง: stakeholder engagement ของ SCG Paper (ตอ)ผูมีสวนไดเสีย กระบวนการสรางความสัมพันธ ประเด็นที่ผูมีสวนไดเสียใหความสําคัญ พนักงาน คณะกรรมการสวัสดิการ, แบบสํารวจ

ความคิดเห็นของพนักงาน, การเยี่ยม

เยือนพนักงานของผูบริหาร

• ทิศทางและนโยบายบริษัท • ความมั่นคงในงาน • คาตอบแทนที่เปนธรรม • สภาพแวดลอมในการทํางาน

ชุมชน การสํารวจความคิดเห็น, การเยี่ยมเยือน

ชุมชน, โครงการ open house,

โครงการสานสัมพันธกับชุมชน

• โอกาสในการทํางาน • การรักษาสิ่งแวดลอม • การพัฒนาชุมชน

องคกรของรัฐ การเยี่ยมเยียนของผูบริหาร, การสราง

พันธมิตรเพื่อสงเสริมการพัฒนาอยาง

ยั่งยืน

• การปฏิบัติตามกฎหมาย • การชวยพัฒนาเศรษฐกิจ

องคกรพัฒนาเอกชน

(เอ็นจีโอ)

การขอคําปรึกษาเกี่ยวกับชุมชน, การ

พบปะสนทนา, การสรางพันธมิตรเพื่อ

สงเสริมการพัฒนาอยางยั่งยืน

• การเพิ่มมูลคาทางสังคม • การใหการสนับสนุนโครงการดานสังคม

และสิ่งแวดลอม • สุขภาวะและความเจริญของสังคม

Page 20: Triple Bottom Line

20

ดัชนีชี้วัดผลงานของบริษัท (Performance Indicators) ไดแก

1. ดัชนีดานสิ่งแวดลอม เชน ปริมาณกาซเรือนกระจกที่บริษัทปลอยในรอบป,

ปริมาณน้ําที่ใช, คาปรับกรณีละเมิดกฎหมายดานสิ่งแวดลอมที่จายใหกับรัฐ

2. ดัชนีดานสิทธิมนุษยชน เชน สัดสวนของลูกจางที่เปนสมาชิกสหภาพแรงงาน,

จํานวนกรณีความลําเอียงในที่ทํางานและการจัดการของบริษัทในกรณีเหลานี้

3. ดัชนีดานแรงงานและพนักงาน เชน สัดสวนของลูกจางและพนักงานที่เปน

สมาชิกสหภาพแรงงาน, อัตราการออกของพนักงาน (turnover rate), จาํนวน

ชั่วโมงการอบรมที่พนักงานไดรับโดยเฉลี่ย, อัตราสวนเงินเดือนขั้นต่ําของ

พนักงานชายตอเงินเดือนขั้นต่ําของพนักงานหญิง

GRI สวนที่ 2: ขอมูลที่เปดเผย (ตอ)

Page 21: Triple Bottom Line

21

4. ดัชนีดานสังคม เชน คําอธิบายหลักการ ขอบเขต และประสิทธิผลของโครงการหรือกระบวนการที่ประเมินและบริหารจัดการผลกระทบของการดําเนินธุรกิจของบริษัทตอชุมชน โดยครอบคลุมตั้งแตขั้นตอนการริเริ่มกิจการในชุมชน (เชน กอสรางโรงงานใหม) การดําเนินกิจการ และการลมเลิกหรือยายกิจการออกจากพื้นที่, การจัดการกรณีเกิดเหตุฉอฉลหรือคอรรัปชั่นของพนักงาน

5. ดัชนีดานความรบัผิดชอบตอผูบริโภค เชน คําอธิบายกระบวนการติดฉลากและวิธีใชสินคาและบริการ, มูลคาคาปรบัฐานละเมิดกฎหมายดานความปลอดภัยของสินคา

6. ดัชนีดานเศรษฐกจิ เชน มูลคาทางเศรษฐกิจที่บริษัทสรางและจัดสรรไปยังผูมีสวนไดเสียฝายตางๆ อาทิ รายได คาใชจายในการดําเนินงาน คาตอบแทนพนกังาน เงินบริจาค เงินลงทุนในชุมชน กําไรสะสม (สวนของผูถือหุน) เงินตนและดอกเบี้ย (จายคืนใหกับเจาหนี้) และภาษี (จายใหกับรัฐ)

GRI สวนที่ 2: ขอมูลที่เปดเผย (ตอ)

Page 22: Triple Bottom Line

22

ตัวอยาง: ผลตอบแทนดานเศรษฐกิจของ SCG Paper

ที่มา: SCG Paper, Sustainability Report, 2006

Page 23: Triple Bottom Line

23

ISO 26000

Page 24: Triple Bottom Line

24

ISO 26000: มาตรฐานวาดวยความรับผิดชอบตอสงัคม

พัฒนาตัง้แตป 2005 คาดวาจะประกาศใชในป 2010 มีหลักการ 7 ขอ ไดแก

1. หลักการปฏิบัตติามกฎหมาย (Principle of legal compliance) : บริษัทจะตอง

ปฏิบัตติาม กฎหมาย และกฎเกณฑตางๆ ที่ เกี่ยวของ ในระดับชาต ิและ ระดบัสากล ทั้ง ใน เชิงรุก และ เชงิรับ

2. หลักการเคารพตอแนวปฏิบัตริะดบัชาต ิหรือ ระดบัสากล (Principle of respect for

authoritative inter-government agreements or internationally recognized

instruments) รวม ถงึ สนธิสญัญาสากล คํา สั่ง ประกาศ ขอตกลง มต ิ และ ขอชีน้ํา ตางๆ ซึ่ง ได รับการรับรอง จาก องคกรสากลที่ เกีย่วของ กับบริษัท

3. หลักการ ให ความ สํา คัญ กับ ผู มี สวน ได เสยี ( Principle of recognition of

stakeholders and concerns) บริษัทควรตระหนัก ใน สิทธิ และ ผลประ โยชนของ ผู มี สวน ได เสยี โดย เปดโอกาส ให แสดง ความ คิดเห็นเกีย่ว กับ กิจกรรมของบรษิัท

และ การตดัสินใจใดๆ ก็ตามที ่จะ สงผลกระทบตอ ผู มี สวน ได เสยี

Page 25: Triple Bottom Line

25

ISO 26000: มาตรฐานวาดวยความรับผิดชอบตอสงัคม (ตอ)

4. หลักของการแสดงรบัผดิที ่สามารถ ตรวจสอบ ได (Principle of accountability) การดํา เนินงาน ใดๆ ก็ตามของบริษัท ตอง สามารถ ตรวจสอบ ได จาก ภายนอก

5. หลักความ โปรงใส (Principle of transparency) บริษัทควรเปดเผยขอมลูตางๆ ให ผู มี สวน ได เสยีฝายตางๆ รวม ถงึ ผู ที่ เกี่ยวของ ได รับทราบอยางชดัเจนและทันทวงที

6. หลัก ความ เคารพ ใน สิทธิมนุษยชน (Principle of respect of fundamental

human right) บริษัทควรดํา เนินกิจการในทางที่สอดคลอง กับ ปฏิญญาสากลวา

ดวย สิทธิมนุษยชน

7. หลัก ความ เคารพ ใน ความ หลากหลาย (Principle of respect for diversity) บริษัทควรจางพนักงาน โดย ไม มีการแบงแยกเชือ้ชาต ิ สีผิว ความ เชื่อ อาย ุ เพศ

Page 26: Triple Bottom Line

26

องคประกอบของความรบัผิดชอบตอสงัคมใน ISO 26000

1. มีการกํา กับ ดู แลกิจการที่ดี (Organization governance) บริษัทควรกํา หนดหนาที่ ให คณะกรรมการฝายจดัการ ผู ถอืหุน และ ผู มี สวน ได เสีย สามารถ สอดสองด ูแลผลงาน และ การดําเนินธุรกิจของบริษัทได เพื่อแสดง ถงึ ความ โปรงใส พรอมรับการตรวจสอบ และ สามารถ ชี้ แจง ให ผู มี สวน ได เสยี ได รับทราบ ผลการปฏิบัตงิาน ได

2. คํา นึง ถึง สิทธิมนุษยชน (Human rights) ซึ่ง เปน สิทธิขั้นพื้นฐานของมนษุย โดย สิทธิดังกลาวควรครอบคลุม ถงึ สิทธิ ความ เปน พลเมือง สิทธิทางการเมอืง สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม และ สิทธิตามกฎหมายระหวางประ เทศ ดวย

3. ขอปฏบิัติดานแรงงาน (Labor practices) บริษัทตอง ตระหนักวา แรงงาน ไม ใช

สินคา ดงั นั้น แรงงาน จงึ ไม ควรถกูปฏิบัต ิเสมือน เปน ปจจยัการผลิต

4. การดู แลสิ่งแวดลอม (Environment) บริษัทจะ ตอง คํา นึง ถงึ หลักการปอง กัน ปญหามลพิษ สงเสริมการบริ โภคอยางยัง่ยืน (sustainable consumption) และ การ ใช ทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ ใน การผลิต และ บริการ

Page 27: Triple Bottom Line

27

องคประกอบของความรบัผิดชอบตอสงัคมใน ISO 26000 (ตอ)

5. การดํา เนินธุรกิจอยาง เปน ธรรม (Fair operating practices) ธุรกิจควรแขงขัน

อยาง เปน ธรรม และ เปดกวาง ซึ่ง จะ ชวย สงเสริมประสิทธิภาพ ใน การลดตนทุนสินคา และ บริการ สงเสริม นวัตกรรมใหมๆ ในการทําธุรกิจ ตลอดจน ชวย ขยายการเติบโต

ทางเศรษฐกจิ และ มาตรฐานการครองชีพ ใน ระยะยาว

6. ใส ใจตอ ผู บริ โภค (Consumer issues) บริษัทจะ ตอง เปดโอกาส ให ผู บริ โภค ได รับทราบขอมูล ใน การ ใช สินคา และ บริการอยางเหมาะสม และตอง ให ความ สํา คัญ กับ การพัฒนาสินคา และ บริการที่ เปน ประ โยชนตอสังคม โดย คํา นึง ถงึ ความ ปลอดภยั ใน การ ใช งาน และ สุขภาพของ ผู บริ โภค เมือ่พบวาสินคา ไม เปน ไปตามเกณฑที่กํา หนด จะ ตอง มีกลไก ใน การเรยีกคนืสินคา และเคารพในกฎหมาย

คุมครองผูบริโภค

7. การแบงปนสูสังคม และ ชุมชน (Contribution to the community and

society)

Page 28: Triple Bottom Line

28

ตัวอยางการวัด “ผลตอบแทนดานสังคม”

Page 29: Triple Bottom Line

29

Progress out of Poverty Index (PPI) ของมูลนิธกิรามนีขั้นแรก วัดคะแนน PPI ของลูกคาแตละคน จากดัชนีชี้วัดความจน 10 ตัว

Page 30: Triple Bottom Line

30

การคาํนวณ PPI (ตอ)ขั้นทีส่อง ดูวาคะแนน PPI มีคาความเปนไปไดเทาไรทีจ่ะอยูเหนือเสนความจน

Page 31: Triple Bottom Line

31

การคาํนวณ PPI (ตอ)ขั้นทีส่าม ประเมินสัดสวนของลูกคาทั้งหมดที่อยูเหนือเสนความยากจน เมื่อไดอัตราสวนนี้แลวก็จะ

สามารถเปรียบเทยีบปตอปได

Page 32: Triple Bottom Line

32

สรปุ

Page 33: Triple Bottom Line

33

Triple Bottom Line มีความเปนภววิสัยโดยธรรมชาติ ไมสามารถคํานวณผลงานดานสังคมและสิ่งแวดลอมทุกเรื่องออกมาเปนมูลคาทางการเงิน (monetized) ได

ดงันั้นจงึเหมาะที่จะใชเปน กรอบคดิ (framework) ในการขับเคลื่อนการทําธุรกิจอยางยัง่ยืน (sustainable business) มากกวาจะพยายามผลิตตัวเลข “กําไรสุทธิ” หนึ่งตัวที่เปน triple bottom line

อยางไรก็ดี บริษัทควรหาตัววดั หรือ proxy สะทอนผลงานดานสังคมและสิ่งแวดลอม ที่เปนตัวเลข (quantified) ใหไดมากที่สุด เพื่อ

เชื่อมโยงกับกลยุทธของบริษัทในการปรับเปลี่ยนไปสู “ธุรกิจอยางยั่งยืน”

สรางแรงจูงใจและความรับผิดดานสังคมและสิ่งแวดลอมภายในองคกร (เชน KPI)

เปรียบเทียบผลงานดานสังคมและสิง่แวดลอมกับคูแขง

ดึงดูดผูมีสวนไดเสยีที่ใหความสาํคัญดานนี้มากขึ้นเรื่อยๆ เชน ผูบริโภคที่หวงใยสิ่งแวดลอม กองทุนที่ลงทุนในบริษัททีม่ีความรับผิดชอบตอสังคม (socially responsible investing (SRI) funds)

สรุป

Page 34: Triple Bottom Line

34

มาตรฐานในการรายงาน triple bottom line ที่เริ่มเปนสากล เชน ชดุหลักเกณฑ

GRI ชวยไดมากในการเปดเผย blended value ใหสาธารณชนรับรู

แตบริษทัอาจตองเลือก “มาตรฐานสากล” บางตัวมาประยุกต ดดัแปลง หรือคดิตัว

วัดบางตัวดวยตัวเอง เพื่อเชือ่มโยงผลงานดานสังคมและสิ่งแวดลอมเขากับพันธกิจ

และธุรกิจหลักของบริษัท เพื่อขับเคลื่อนไปสู “ธุรกิจทีย่ัง่ยนื” (ดงัตัวอยาง PPI

Index ที่มูลนิธิกรามีนคิดคนขึน้ เพื่อใหสอดคลองกับเปาหมาย “กําจดัความ

ยากจน” ของธนาคารกรามีน)

ดงันั้น ตัววดัหรือ proxy ของผลงานดานสังคมและสิ่งแวดลอมของบริษัท ควร

สอดคลองกับประเภทธุรกิจและพันธกิจของบริษัท

การวัดและรายงาน output สําคัญกวาการวัดและรายงาน input

แตเหนือสิ่งอื่นใด การ “กระทํา” สําคัญกวาการ “รายงาน”

สรุป (ตอ)