unit 3 2 basic to video-pdf

13
หนวยที่ ๓ ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับโทรทัศนและวีดิทัศน Pipit Sitthisak Poh Chang Academy of ARTs RMUTR . ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวีดิทัศน การผลิตรายการโทรทัศนเพื่อออกอากาศทางสถานีโทรทัศน ทําได 2 ลักษณะ คือ การ ผลิตเปนรายการสด และการบันทึกเปนเทปโทรทัศนไวกอน ซึ่งเปนที่นิยมในปจจุบัน เนื่องจากการ บันทึกรายการลงในเทปโทรทัศนสามารถผลิตรายการไดงายกวา และสามารถ แกไขขอบกพรองตาง กอนนําไปออกรายการได ที่สําคัญคือเปนการบันทึกภาพไวกอน แลวนํามาตัดตอภายหลัง เชนเดียวกับการผลิตภาพยนตร ซึ่งเทคนิคการตัดตอจะชวยใหการดําเนินเรื่องกระชับไมอืดอาด และ ยังชวยใหสามารถนําภาพเหตุการณอื่นหรือเวลาอื่น หรือแฟมภาพที่มีอยู (Stock shot) มานําเสนอ รวมอยูในรายการในหองสตูดิโอได (สุพัฒตรา ลิมปะพันธ ... : 16 - 20) ภาพที่ ๑ การผลิตรายการโทรทัศนเพื่อออกอากาศทางสถานีโทรทัศน (tv studio.www.nrk.no) สําหรับการผลิตรายการโทรทัศนที่ไมไดผลิตเพื่อออกอากาศทางสถานีโทรทัศน เรา เรียกวา วิดีโอเทป (Video Tape) หรือวิดีทัศน

Upload: pipit-sitthisak

Post on 28-May-2015

779 views

Category:

Education


1 download

DESCRIPTION

unit 3.2 Basic to Video for http://filmv.wordpress.com/

TRANSCRIPT

Page 1: Unit 3 2  basic to video-pdf

หนวยท่ี ๓ ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับโทรทัศนและวีดิทัศน

Pipit Sitthisak

Poh Chang Academy of ARTs RMUTR

๒. ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับวีดิทัศน

การผลิตรายการโทรทัศนเพ่ือออกอากาศทางสถานีโทรทัศน ทําได 2 ลกัษณะ คือ การผลิตเปนรายการสด และการบันทึกเปนเทปโทรทัศนไวกอน ซ่ึงเปนท่ีนิยมในปจจุบัน เนื่องจากการบันทึกรายการลงในเทปโทรทัศนสามารถผลิตรายการไดงายกวา และสามารถ แกไขขอบกพรองตาง ๆ กอนนําไปออกรายการได ท่ีสําคัญคือเปนการบันทึกภาพไวกอน แลวนํามาตัดตอภายหลังเชนเดียวกับการผลิตภาพยนตร ซ่ึงเทคนิคการตัดตอจะชวยใหการดําเนินเรื่องกระชับไมอืดอาด และยังชวยใหสามารถนําภาพเหตุการณอ่ืนหรือเวลาอ่ืน หรือแฟมภาพท่ีมีอยู (Stock shot) มานําเสนอรวมอยูในรายการในหองสตูดิโอได (สุพัฒตรา ลิมปะพันธ ม.ป.ป. : 16 - 20)

ภาพท่ี ๑ การผลิตรายการโทรทัศนเพ่ือออกอากาศทางสถานีโทรทัศน (tv studio.www.nrk.no)

สําหรับการผลิตรายการโทรทัศนท่ีไมไดผลิตเพ่ือออกอากาศทางสถานีโทรทัศน เรา

เรียกวา “วิดีโอเทป (Video Tape) หรือวิดีทัศน”

Page 2: Unit 3 2  basic to video-pdf

ภาพยนตรและวดีทัิศนเบ้ืองตน

หนวยท่ี ๓ ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกบัโทรทัศนและวีดิทัศน > ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับวดีิโอ

[ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ] Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔

๒.๑ ความหมายของวิดโีอเทป คําวา “วิดีโอ” เปนคําเรียกทับศัพทในภาษาอังกฤษ มาจากคําวา Video ซ่ึงเวลา

เขียนตองเขียนเปนคําเต็ม ไมใชเขียนเปนคํายอวา V.D.O อยางเชนท่ีรานใหเชา หรือรานจําหนาย มวนวิดีโอใชกัน

ความหมายของคําวา Video แปลวา เก่ียวกับการเห็น หรือท่ีเก่ียวกับภาพ สวนความหมายของคําวา Tape แปลวา ผาหรือกระดาษทําเปนแผนบาง ๆ อยางริบบิ้น แตเทปท่ีนํามาใชในท่ีนี้ ทํามาจากพลาสติก

เม่ือนําคําขางตนท้ังสองคํามารวมกันเปน Video Tape แปลความหมายวา แถบพลาสติกเคลือบสารแมเหล็กสําหรับบันทึกภาพ (สมเจตน เมฆพายัพ. 2540 : 100 - 109)

ความหมายของวิดีทัศน

คําวา “วิดีทัศน” เปนคําท่ีคณะกรรมการบัญญัติศัพทวิทยาศาสตร ราชบัณฑิตยสถาน บัญญัติข้ึนเพ่ือใชในเชิงวิชาการแทนคําวา วิดีโอ โดยใหความหมายดังนี้

วิดีทัศน หมายถึง กระบวนการบันทึกหรือเก็บสัญญาณทางดานภาพ และสัญญญาณเสียงไวในสื่อกลางท่ีเปนวัสดุทางแมเหล็กไฟฟา และรวมไปถึงกระบวนการ ถายทอดภาพและเสียง โดยผานอุปกรณทางอีเล็กทรอนิกสไปสูผูรับ (บุญเท่ียง จุยเจริญ. 2534 : 179)

๒.๒ ส่ือบันทึกวีดิโอ

ภาพท่ี ๒ สื่อบันทึกภาพยนตรและวีดิโอประเภทตาง ๆ

(http://www.vt.tv/index.php?link=t)

Page 3: Unit 3 2  basic to video-pdf

ภาพยนตรและวดีทัิศนเบ้ืองตน

หนวยท่ี ๓ ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกบัโทรทัศนและวีดิทัศน > ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับวดีิโอ

[ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ] Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔

วัสดุท่ีเปนสื่อบันทึก (Storage Media) สําหรับบันทึกและถายทอดภาพและเสียงไปสูผูรับ แบงออกเปน ๖ ลักษณะ ไดแก

๑) แถบวิดีทัศน (Video Tape) ทําดวยวัสดุท่ีเปน แถบแมเหล็กยาว ๆ ปจจุบันไมคอยเปนท่ีนยิมใชแลว มีเหลือท่ีใชอยูไมก่ีประเภท

VHS, Mini DV

ภาพท่ี ๓ แถบวิดีทัศนแบบ VHS แบบ mini DV และแบบ Betacam (www.asia.cnet.com, www.completemedia.com.au)

Page 4: Unit 3 2  basic to video-pdf

ภาพยนตรและวดีทัิศนเบ้ืองตน

หนวยท่ี ๓ ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกบัโทรทัศนและวีดิทัศน > ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับวดีิโอ

[ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ] Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔

๒) วิดีโอดิสค (Video Disc) เปนแผนโลหะกลมบาง

ภาพท่ี ๔ วิดีโอดิสค video disc (www.george-porter.com)

๓) ดีวีดี วีดิโอ (DVD Video)

ภาพท่ี ๕ dvd-r disc (www.bdharper.com.jpg)

Page 5: Unit 3 2  basic to video-pdf

ภาพยนตรและวดีทัิศนเบ้ืองตน

หนวยท่ี ๓ ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกบัโทรทัศนและวีดิทัศน > ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับวดีิโอ

[ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ] Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔

๔) บูลเลย ดิสก (Blu Ray Disc) โดยท่ัวไปมีขนาด เสนผาศูนยกลาง ๔.๗๕ นิ้ว (๑๒ ซม.)

ภาพท่ี ๖ แผนบูลเลย (Blu ray Disc)

(http://www.dimensionsguide.com/wp-content/uploads/2009/10/Blu-ray-Disk.jpg)

ภาพท่ี ๗ เคลื่องเลนแผนบูลเลย

(http://www.techgiftguide.com/entertainment/sony-bdps350-blu-ray-player/134) ๕) Hard disk ๖) Memory Card

Page 6: Unit 3 2  basic to video-pdf

ภาพยนตรและวดีทัิศนเบ้ืองตน

หนวยท่ี ๓ ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกบัโทรทัศนและวีดิทัศน > ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับวดีิโอ

[ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ] Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔

๒.๓ รปูแบบของสัญญาณวีดิโอ

ภาพท่ี ๘ ลักษณะสัญญาณวีดิโอ

(http://www.inlethd.com/?q=node/248)

รูปแบบของสัญญาณวิดีโอ จะมี 2 รูปแบบคือ (ไพบูลย เปยศิริ. 2545 : 9-10) 1. แบบอนาล็อค (Analog) เปนสัญญาณภาพในรูปคลื่นท่ีมีความตอเนื่อง ซ่ึงจะมีความ

เปนธรรมชาติมาก แตมีขอดอย คือ จะเกิดการสูญเสียสัญญาณในระหวางเดินทาง ยิ่งใชสายสัญญาณยาว จะสูญเสียมากข้ึนตามไปดวย สื่อบันทึกท่ีใชกับสัญญาณแบบนี้ ก็คือ มวนวิดีโอเทปแบบ VHS , S-VHS (Super VHS) HI-8 , Betacam sp/sx และ Umatic

2. ดิจิตอล (Digital) เปนสัญญาณภาพท่ีอยูในรูปของรหัสตัวเลข 0 กับ 1 ดังนั้นไมวาจะตอพวงสายสัญญาณไปในระยะทางไกล ๆ รูปแบบของสัญญาณจะไมสูญเสียตามไปดวย ดังนั้น ภาพวิดีโอในรูปแบบนี้จึงมีความคมชัด

ขอดีของระบบดิจิตอล มีดังนี้ 1) ไมมีการสูญเสียขอมูลระหวางการสงผานหรือบันทึกตอกันหลาย ๆ ทอด 2) สามารถบีบอัดใหเล็กลงตามความตองการได 3) สามารถบรรจุภาพ เสียง การเคลื่อนไหว และกราฟกไปพรอม ๆ กัน 4) สามารถทํางานเชิงโตตอบได

Page 7: Unit 3 2  basic to video-pdf

ภาพยนตรและวดีทัิศนเบ้ืองตน

หนวยท่ี ๓ ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกบัโทรทัศนและวีดิทัศน > ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับวดีิโอ

[ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ] Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔

๒.๔ รปูแบบของเทปวิดทัีศน เทปวีดิทัศนแบบอนาล็อค (Analog)

VHS Super-VHS Hi-8

BETACAM U-matic

ภาพท่ี ๙ เทปวีดิทัศนแบบอนาล็อคประเภทตาง ๆ

(http://www.vt.tv/c_analogue_video_tape.php?link=l,http://www.torontohomemovies.com/hi8-tape-transfers.php)

เทปวิดีทัศนดิจิตอล (DV Format Family) มวนเทป DV สวนใหญจะเปนเนื้อเทปโลหะ ซ่ึงตางจากมวนเทประบบอนาลอกท่ีเนื้อเทป

เปนสารสังเคราะหเคลือบดวยแมเหล็ก มวนเทป DV จะมีหลายแบบ ดังนี้ (อติพร แสวงสุข. 2546 : 17, Lofty. มปป. : 5)

๑. DV และ MiniDV เปนเทปวิดีทัศนดิจิตอลฟอรแมตแรกท่ีสามารถใชงานรวมกันไดหลายบริษัท ตั้งแตป

ค.ศ. 1994 เพ่ือใหเปนมาตรฐานของเทปดิจิตอลสําหรับผูใชตามบานท่ัวไป เดิมทีใชชื่อเรียกวา DVC

Page 8: Unit 3 2  basic to video-pdf

ภาพยนตรและวดีทัิศนเบ้ืองตน

หนวยท่ี ๓ ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกบัโทรทัศนและวีดิทัศน > ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับวดีิโอ

[ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ] Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔

(Digital Video Cassette) บันทึกแบบ 8 bit อัตราความเร็วในการถายขอมูล 25 Mbit/s ความถ่ีในการบันทึกเสยีง 32-48 MHz มี 2 ขนาด คือ

1) ขนาดมาตรฐาน (Standard) ขนาดความกวางของเนื้อเทป ¼ นิ้ว บันทึกเทปไดนาน 270 นาที

ภาพประกอบท่ี ๑๐ เปรียบเทียบขนาดมวนเทป DV กับมวนเทป MiniDV (http://www.tvprogear.com/pages/DVandMiniDV.aspx)

2) ขนาดมินิดีวี (Mini DV) เปนเทปตลับเล็ก ขนาดความกวางของเนื้อเทป 10 มม

บันทึกเทปไดนาน 60 นาที เม่ือบันทึกระบบ SP (Standard Play) และบันทึกไดนานถึง 90 นาทีเม่ือบันทึกระบบ LP (Long Play) ภาพท่ีบันทึกไดมีความชัดถึง 500 เสน

ภาพประกอบท่ี ๑๑ มวนเทป Mini DV

(www.nychousing.org)

Page 9: Unit 3 2  basic to video-pdf

ภาพยนตรและวดีทัิศนเบ้ืองตน

หนวยท่ี ๓ ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกบัโทรทัศนและวีดิทัศน > ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับวดีิโอ

[ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ] Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔

๒. DVCAM เปนเทปท่ีมีพ้ืนฐานมาจากเทป DV พัฒนาโดยบริษัท Sony เพ่ิมความกวางของลู

(Track) เปน 15 มม. และปรับความเร็วในการเดินเทปเปน 28.2 mm./s เวลาในการบันทึกเทปจึงนอยลงกวามวนแบบ DV เม่ือเทปยาวเทากัน เครื่องเลนเทปแบบ DVCAM จะสามารถเลนเทป DV ไดดวย

ภาพประกอบท่ี ๑๒ มวนเทปแบบ DVCAM (www.clwelectronics.com)

๓. DVCPro

เปนเทปท่ีมีพ้ืนฐานการพัฒนามาจากเทป DV โดยบริษัท Panasonic ความกวางของลู (Track) เปน 18 mm ความเร็วในการเดินเทปเปน 33.8 mm./s หรือเกือบสองเทาของเทป DV

ภาพประกอบท่ี ๑๓ มวนเทปแบบ DVCPro (www.1stopshop.nl)

Page 10: Unit 3 2  basic to video-pdf

ภาพยนตรและวดีทัิศนเบ้ืองตน

หนวยท่ี ๓ ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกบัโทรทัศนและวีดิทัศน > ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับวดีิโอ

๑๐

[ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ] Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔

๔. Digital 8 เปนเทปท่ีมีพ้ืนฐานการพัฒนามาจากเทป DV โดยบริษัท Sony แตบันทึกลงตลับ

เทป Hi 8 ท่ีเปนระบบอนาล็อก (Analog) ทําใหกลองวิดีโอท่ีใชเทป Digital 8 ใชมวนแบบ Hi 8 กันได

ภาพประกอบท่ี ๒๘ มวนเทปแบบ Digital 8 (www.fujifilm.co.uk)

๕. D9 (Digital-S)

เปนเทปท่ีมีพ้ืนฐานการพัฒนามาจากเทป DV โดยบริษัท JVC ความกวางของลู (Track) เปน 20 mm ความเร็วในการเดินเทป 57.8 mm./s บันทึกไดนานสูงสุด 104 นาที

๖. MICROMV

เปนตลับเทประบบใหมลาสุด มีขนาดเล็กเพียง 30 เปอรเซนตของเทปแบบ Mini DV บันทึกภาพไดนานถึง 60 นาที โดยบันทึกสัญญาณแบบ MPEG-2 ทําใหภาพท่ีไดมีคุณภาพสูง

ภาพประกอบท่ี ๑๔ มวนเทปแบบ MICROMV

(www.ritzcamera.com)

Page 11: Unit 3 2  basic to video-pdf

ภาพยนตรและวดีทัิศนเบ้ืองตน

หนวยท่ี ๓ ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกบัโทรทัศนและวีดิทัศน > ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับวดีิโอ

๑๑

[ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ] Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔

๒.๕ รปูแบบของไฟลวิดโีอ (Video File Formats)

ไฟลวิดีโอหรือไฟลภาพเคลื่อนไหวไฟลจะมีอยูหลายรูปแบบ โดยสังเกตจากนามสกุลของไฟลนั้น ๆ เชน movie.mpg ซ่ึงหมายถึง ไฟลนี้ชื่อ movie มีนามสกุลเปน mpg ก็คือเปนไฟล mpeg นั่นเอง (ไพบูลย เปยศิริ. 2545 : 10-11, Loffty. มปป. : 10)

สําหรับไฟลท่ีนิยมใชสําหรับการสราง Video CD มีดังนี้ ๒.๕.๑ AVI (Audio Video Interleave) เปนรูปแบบ (format) ท่ีพัฒนาโดยบริษัท

ไมโครซอฟต ปจจุบันเปนรูปแบบมาตรฐานท่ีใชในการตัดตอวีดิทัศนบนเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล (Personal Computer เรียกยอ ๆ วา PC) คุณสมบัติของไฟล AVI เปนไฟลวีดีโอท่ีใหคุณภาพสูง เนื่องจากมีการบีบอัดนอย จึงทําใหไฟลมีขนาดใหญ วีดีโอท่ีมีความยาว 1 นาที อาจมีขนาดไฟลถึง 1 GB (Gigabyte) และมีขอจํากัด คือ จับภาพวิดีโอไดขนาดไฟลไมเกิน 4 GB

๒.๕.๒ QuickTime เปนรูปแบบที่พัฒนาโดยบริษัทแอปเปล (Apple) เพ่ือใชกับเครื่อง

แมคอินทอช (Macintosh) QuickTime มีขอไดเปรียบกวา AVI ท้ังในคุณภาพและการใชงาน และมีขอดีอีกประการหนึ่งก็คือ QuickTime สามารถใชกับเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล (Personal Computer)

Page 12: Unit 3 2  basic to video-pdf

ภาพยนตรและวดีทัิศนเบ้ืองตน

หนวยท่ี ๓ ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกบัโทรทัศนและวีดิทัศน > ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับวดีิโอ

๑๒

[ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ] Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔

๒.๕.๓ MPEG (Motion Picture Expert Group) เปนไฟลท่ีมีการเขารหัสหรือบีบอัด (Codec) จากไฟล AVI ทําใหไดไฟลท่ีมีขนาดเล็กลง เปนรูปแบบมาตรฐานท่ีนิยมใชกันกวางขวางมากท่ีสุด และคุณภาพหลายระดับ ตั้งแตคมชัดท่ีสุด จนถึงอยูในเกณฑพอใชได

อยางไรก็ตาม ยังมีไฟลอีกประเภทหนึ่ง นั่นคือ DAT (*.dat) เปนไฟล ใน

รูปแบบ MPEG-1 ท่ีอยูในแผน VCD ซ่ึงสามารถเปดดูไดท้ังคอมพิวเตอรและเครื่องเลน VCD ท่ีใชตามบาน ซ่ึงไฟลรูปแบบนี้จะมีอยูเฉพาะในแผน Video CD หากจะนําไปตัดตอหรือใชงานอยางอ่ืน จะตองแปลงใหอยูในรูปแบบของไฟล MPEG-1 เสียกอน โดยใชโปรแกรมแปลงไฟล เชน โปรแกรม Tmpeg

๒.๖ การบีบอัดขอมูลวิดีโอ ขอมูลวิดีโอเปนขอมูลท่ีมีปริมาณสูงมาก จึงไมสะดวกตอการนําไปใชงานหลาย ๆ แบบ

ดังนั้นจึงจําเปนตองมีการนําไปบีบอัดใหเปนขอมูลท่ีมีขนาดเล็กลงเสียกอน (Lofty. มปป. : 4) การบีบอัดขอมูลจะใชอุปกรณท่ีเรียกวา CODEC (Compressor-DECompressor) ซ่ึงจะ

ทําหนาท่ีท้ังบีบอัดและคลายขอมูล โดยในอดีต CODEC จะตองอาศัยฮารดแวรเปนหลัก แตตอมาในปจจุบันไดมีการพัฒนา CODEC ท่ีใชซอฟตแวรอยางเดียว โดยไมตองติดตั้งฮารดแวรเพ่ิมเติม

ชนิดของการบีบอัดขอมูลวิดีโอ ๑. M-JPEG หรอื Motion-JPEG เปนการบีบอัดภาพนิ่งแบบ JPEG (Joint

Photographic Expert Group) ซ่ึงจะใชหลักการลดความซํ้าซอนภายในภาพเดียวกัน ๒. MPEG (Moving Picture Experts Group) ใชหลักการลดความซํ้าซอนกันระหวาง

ภาพในกลุมภาพเดียวกัน (Group of Picture) ซ่ึง MPEG เปนมาตรฐานของการบีบอัดสัญญาณภาพและเสียงคุณภาพสูง ท่ีกําหนดโดยคณะอนุกรรมการขององคกรกําหนดมาตรฐานสากล (ISO) มาตรฐาน MPEG แบงยอยออกเปนอีกหลายชนิด ดังนี้ (ไพบูลย เปยศิริ. 2545 : 133-134)

Page 13: Unit 3 2  basic to video-pdf

ภาพยนตรและวดีทัิศนเบ้ืองตน

หนวยท่ี ๓ ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกบัโทรทัศนและวีดิทัศน > ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับวดีิโอ

๑๓

[ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ] Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔

๑) MPEG-1 เปนมาตรฐานท่ีกําหนดข้ึนเพ่ือใหใชกับสัญญาณวิดีโอระดับ VHS ท่ีใชอัตราการสงผานขอมูล 1.15 Mb/s จึงมีความละเอียดเพียง 1 ใน 4 ของระบบโทรทัศน คือ 352 x 288 Pixels (Pal) 352x 240 Pixels (NTSC) ซ่ึงสามารถใชเลนกับเครื่องคอมพิวเตอรและเครื่องเลน Video CD ท่ัวไปได

๒) MPEG-2 เปนมาตรฐานท่ีพัฒนาข้ึนเพ่ือใหใชกับสัญญาณวิดีโอคุณภาพสูง (Broadcast) มีลักษณะการบีบอัดคลายกับ MPEG-1 แตใชอัตราการสงผานขอมูลท่ีสูงกวามาก จึงสามารถแสดงภาพบนจอไดละเอียดเทากับหนาจอโทรทัศน คือ 704x756 Pixels (PAL) 704 x 480 Pixels (NTSC) ดังนั้น เนื่องจากเปนมาตรฐานท่ีใหสัญญาณวิดีโอคุณภาพสูง จึงนิยมนํา MPEG-2 ไปผลิตเปน SVCD หรอื DVD ท่ีกําลังเปนท่ีนิยมกันไปท่ัวโลก

๓) MPEG-3 เปนมาตรฐานท่ีพัฒนาเพ่ือใชกับวิดีโอคุณภาพสูง ในระบบโทรทัศนแบบความคมชดัสงู (HDTV) แตยังไมเปนท่ีนิยม

๔) MPEG-4 เปนมาตรฐานท่ีพัฒนาเพ่ือใหใชกับวิดีโอท่ีมีอัตราการสงผานขอมูลต่ํามาก เชน การใชงานบนอินเตอรเน็ต โดยยังใหคุณภาพของภาพและเสียงท่ีดีอยู

๕) MPEG-7 เปนมาตรฐานท่ีกําลังอยูระหวางการพัฒนา ๓. DV (Digital Video) เปนการบีบอัดขอมูลท่ีใชกับระบบเทป DV ลกัษณะคลายกับ M-

JPEG แตมีประสิทธิภาพสูงกวา

ประเภทของการบีบอัดขอมูลวิดีโอ ๑. Loss less เปนการบีบอัดท่ีไมมีการสูญเสียคุณภาพเลย เชน M-JPEG CODEC ท่ี

อัตราสวนการบีบอัด 2:1 หรือนอยกวา ๒. Visual less เปนการบีบอัดขอมูลท่ีมีการสูญเสียคุณภาพไปสวนหนึ่ง แตเปนการ

สูญเสียท่ีมองไมเห็นดวยตาเปลา เชน DV CODEC ๓. Lossy เปนการบีบอัดขอมูลท่ีมีการสูญเสียคุณภาพจนสังเกตเห็นได เชน M-JPEG

CODEC ท่ีอัตราสวนการบีบอัดมากกวา 5:1