personal.sut.ac.thpersonal.sut.ac.th/worawat/rawlabs/lab0/rungtiwa_lab0.docx · web viewว ธ...

12
เเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเ กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก 2 กกก กกก Fdrag=-bv กกก Fdrag=-kv^2 กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกก กกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก เเเเเ กกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกก กกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกก กกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกก กกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก F=-kv (1) กกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกก f กกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกก

Upload: others

Post on 07-Jan-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: personal.sut.ac.thpersonal.sut.ac.th/worawat/RawLabs/lab0/rungtiwa_lab0.docx · Web viewว ธ ทำการทดลอง นำล กเหล กมวล 44.1616 g เส

เรื่อง การตกของลกูโฟมภายใต้แรงต้านอากาศ

บทนำา

การทดลองการตกของลกูโฟมภายใต้แรงต้านอากาศทำาขึ้นเพื่อทำานายการเคล่ือนท่ีตกของลกูโฟมขนาดต่างๆโดยใชแ้บบจำาลองแรงต้านอากาศ 2 แบบ คือ Fdrag=-bv และ Fdrag=-kv^2 จะทำาการทดลองเพื่อดวูา่ผลของความเรว็ในการตกลงสูพ่ื้น กับขนาดของโฟม มผีลต่อการการเคล่ือนท่ีของโฟมหรอืไม่

ทฤษฏี

แรงต้านการเคล่ือนที่

พจิารณาแรงต้านการเคล่ือนท่ี ซึ่งมกีารเปล่ียนแปลงตามความเรว็ของวตัถ ุตัวอยา่งของแรงต้านการเคล่ือนที่ ที่มคีณุสมบติัดังกล่าวคือ แรงหนืดในของเหลว แรงต้านของอากาศ เป็นต้น โดยทัว่ไป วตัถท่ีุมขีนาดเล็ก และเคล่ือนท่ีด้วยความเรว็ตำ่า เชน่ ลกูกลมโลหะขนาดเล็ก เคล่ือนที่ตกลงมายงัก้นภาชนะ ที่บรรจุของเหลวภายใต้แรงดึงดดูของโลก จะถกูต้านการเคล่ือนท่ี ด้วยแรงต้านซึ่งแปรผันตรง กับขนาดของความเรว็ของวตัถ ุและสามารถเขยีน ในรูปสมการทางคณิตศาสตร์ได้ดังน้ี

F=-kv (1)

เครื่องหมายลบ แสดงวา่แรงต้านการเคล่ือนท่ีมทิีศตรงขา้มกับความเรว็ของวตัถ ุโดยท่ี

f คือ แรงต้านการเคล่ือนท่ี

Page 2: personal.sut.ac.thpersonal.sut.ac.th/worawat/RawLabs/lab0/rungtiwa_lab0.docx · Web viewว ธ ทำการทดลอง นำล กเหล กมวล 44.1616 g เส

v คือ ความเรว็ของวตัถ ุb คือ ค่าคงท่ีซึ่งขึ้นอยูก่ับชนิดของตัวกลางและรูปรา่งของวตัถ ุ

ค่า b=6pietaD (2)โดยท่ี eta คือสมัประสทิธิค์วามหนืดของของเหลว

D คือเสน้ผ่านศูนยก์ลางของทรงกลม

( b ตัวน้ี ไมม่คีวามเกี่ยวขอ้งใดๆ ทัง้สิน้กับค่าคงตัวของสปรงิ)

ในกรณีของทรงกลมมวล m ถกูปล่อยใหเ้คล่ือนท่ีตกลงมา ภายใต้แรงดึงดดูของโลก เมื่อพจิารณา แรงที่กระทำาต่อวตัถใุนแนวดิ่งประกอบด้วย f และ mg (โดยในตอนน้ี ยงัไมพ่จิารณาถึงแรงต้านอากาศ เมื่อใหก้ารแก้สมการไมยุ่ง่ยากมากนัก) ดังนัน้ เมื่อใชก้ฎขอ้ที่สองของนิวตันจะได้วา่

และหากกำาหนดใหทิ้ศชีล้งเป็นบวกจะได้วา่

(3)

เขยีนสมการที่ (3) ใหมไ่ด้เป็น

(4)

สมการท่ี 4 น้ีเรยีกวา่สมการอนุพนัธ ์(differential equation)

Page 3: personal.sut.ac.thpersonal.sut.ac.th/worawat/RawLabs/lab0/rungtiwa_lab0.docx · Web viewว ธ ทำการทดลอง นำล กเหล กมวล 44.1616 g เส

สมการน้ีแสดงถึงความสมัพนัธร์ะหวา่งความเรว็ กับเวลา t เราสามารถแก้สมการน้ีเพื่อเขยีน ในรูปของ t ได้เป็น

V(t)=gt-(bg/2m)t^2อินทรเิกรทได้

Y(t)=(g/2)t^2-(bg/6m)t^3

(5) สำาหรบัในอีกกรณีหน่ึงท่ีวตัถมุขีนาดใหญ่และเคล่ือนท่ีด้วยความเรว็สงู

เชน่ นักด่ิงพสธุาท่ีกระโดดจากเครื่องบนิ เขาจะถกูต้านการเคล่ือนที่จากอากาศด้วย ซึ่งแรงต้านจากอากาศน้ีจะไมไ่ด้แปรผันตามความเรว็เหมอืนสมการท่ี 1 แต่จะแปรผันกับขนาดของความเรว็ยกกำาลังสอง ซึ่งสามารถ

เขยีนเป็นสมการได้ดังน้ี

F=-kv^2 (6)

k=ρCA/2 (7)

รูปภาพ แสดงแผนภาพ ของแรงท่ีกระทำาต่อวตัถทุี่เคล่ือนที่ผ่านตัวกลางซึ่งเป็นอากาศ

(ก) แสดงภาพของแรงเมื่อวตัถเุริม่เคล่ือนท่ีผ่านอากาศโดยมคีวามเรง่(ข) แสดงภาพของแรงเมื่อวตัถเุคล่ือนที่โดยไมม่คีวามเรง่

Page 4: personal.sut.ac.thpersonal.sut.ac.th/worawat/RawLabs/lab0/rungtiwa_lab0.docx · Web viewว ธ ทำการทดลอง นำล กเหล กมวล 44.1616 g เส

ทรงกลมมวล m ตกลงมาอยา่งอิสระดังรูป แรงที่กระทำาต่อมวลดังกล่าวในแนวดิ่งประกอบด้วย f และ mg (ในกรณีน้ียงัไมน่ำาแรงลอยตัวมาพจิารณา) ดังนัน้ขนาดของแรงลัพธส์ามารถเขยีนได้เป็น

โดยท่ี

ดังนัน้ขนาดความเรง่ของทรงกลมดังกล่าวคือ

เขยีน ในรูปของ t

V(t)=gt-(kg^3/2m)t^3อินทรเิกรต ได้

Y(t)=(g/2)t^2-(kg^2/12m)t^4 (8)

วธิทีำาการทดลอง

นำาลกูเหล็กมวล 44.1616 g เสน้ผ่านศูนยก์ลาง 19.74 mm และลกูโฟมขนาดกลางมวล 0.3009 g เสน้ผ่านศูนยก์ลาง 36.04 mm ซึ่งวดัได้จากเครื่องวดัเวอรเ์นียรค์ารลิ์ปเปอร ์และเครื่องชัง่มวลสีต่ำาแหน่งตามลำาดับ ปล่อยลงอยา่งอิสระภายใต้ค่าแรงตึงดดูของโลก โดยปล่อยสงูจากพื้น 1 m โดยใชไ้มบ้รรณทัดขนาด 30 cm เป็นสเกล ในการบอกตำาแหน่ง โดยผู้

Page 5: personal.sut.ac.thpersonal.sut.ac.th/worawat/RawLabs/lab0/rungtiwa_lab0.docx · Web viewว ธ ทำการทดลอง นำล กเหล กมวล 44.1616 g เส

ทดลองอีกคนเป็นคนเป็นคนอัดวดีีโอโดยใชก้ล้องดิจติรอนในการบนัทึก ใช้เฟรมเรทประมาณ 210/s จากนัน้นำาวดีิโอท่ีได้ไปคำานวณตำาแหน่งท่ีเวลาต่างๆของมวลทัง้สองโดยใชโ้ปรแกรม Tracker

จากนัน้นำาขอ้มูลท่ีได้จากโปรแกรม Tracker ไปคำานวณหาผลของแรงต้านอากาศทัง้สองแบบคือ Fdrag=-bv และ Fdrag=-kv^2 เพื่อทำานายการเคล่ือนท่ีของลกูโฟมขนาดต่างๆ โดยใชโ้ปรแกรม MatLab ในการคำานวณและเปรยีบเท่ียบค่าคงท่ี b หรอื k ท่ีได้จากการทดลอง ซึ่งโฟมขนาดใหญ่ที่ใชใ้นการทำานายมมีวล 1.0484g เสน้ผ่านศูนยก์ลาง 59.08mm และลกูโฟมขนาดเล็กมวล 0.0756g เสน้ผ่านศูนยก์ลาง 25.00mm

ขัน้ตอนการคำานวณ

จากการคำานวณในโปรแกรม Tracker ซึ่งได้ค่า ตำาแหน่งการเคล่ือนที่ของลกูเหล็ก(ymeatal),โฟมขนาดกลาง(yfoam), โฟมขนาดใหญ่(yfoamb), โฟมขาดเล็ก(yfoams) และเวลาที่ตำาแหน่งต่างๆของลกูเหล็ก(tmeatal),โฟมขนาดกลาง(tfoam), โฟมขนาดใหญ่(tfoamb), โฟมขาดเล็ก(tfoams)

นำาขอ้มูล ymeatal และ tmetal มา fit กราฟเป็น Polynomial Degree 2 จากโปรแกรมแมทแล็ปดังภาพ(2)

Page 6: personal.sut.ac.thpersonal.sut.ac.th/worawat/RawLabs/lab0/rungtiwa_lab0.docx · Web viewว ธ ทำการทดลอง นำล กเหล กมวล 44.1616 g เส

(2)ภาพการแสดงการฟติกราฟระหวา่ง ymetal กับ tmetal

เพื่อหาค่า g ท่ีตำาแหน่งทำาการทดลอง จากนัน้ทำาการปรบัค่า yfoam ให้มค่ีา g=9.81 m/s^2 โดยการนำาค่า yfoam ที่ตำาแหน่งต่างๆคณูกับค่า g ทฤษฏี แล้วหารด้วยค่า g ที่ได้จากการ fit กราฟ แล้วนำาค่า yfoam ใหมม่าฟ ติ ก ร า ฟ เ ป ็น custom equation โ ด ย ส ม ก า ร ท ี่ใ ช ใ้ น ก า ร ฟ ติ ค ือ y=a*x^3-(4.905*x^2)+c เพื่อหาสมประสทิธิข์อ้งหน้า x^3 (a) ดังภาพ(3)เพื่อหาค่า b

Page 7: personal.sut.ac.thpersonal.sut.ac.th/worawat/RawLabs/lab0/rungtiwa_lab0.docx · Web viewว ธ ทำการทดลอง นำล กเหล กมวล 44.1616 g เส

(3)ภาพการแสดงการฟติค่าจาก custom equation degree 3

ทำาซำ้าเพื่อหาสมัประสทิธิข์า้งหน้า t^4 (a)ดังภาพ(4) เพื่อหาค่า k

(4)ภาพการแสดงการฟติค่าจาก custom equation degree 4

Page 8: personal.sut.ac.thpersonal.sut.ac.th/worawat/RawLabs/lab0/rungtiwa_lab0.docx · Web viewว ธ ทำการทดลอง นำล กเหล กมวล 44.1616 g เส

นำาขอ้มูลที่ได้(ค่า b กับ k)ไปทำานายการเคลื่อนที่ของโฟมขนาดใหญ่ และขนาดเล็ก

ผลการทดลอง

จากการคำานวณพบวา่ค่าที่ได้จากการฟติกราฟ yfoam กับ tfoam จากสมการ คือ y=a*x^3-(4.905*x^2)+c

และเมื่อนำาค่า a มาคำานวณหาค่า b จาก a= bg/6m จะได้ค่า b =5.6757e-04และจากการฟติกราฟ yfoam กับ tfoam จากสมการ คือ y=a*x^4-(4.905*x^2)+cและเมื่อนำาค่า a มาคำานวณหาค่า k จากสมการ a= kg^2/12m จะได้ค่า k = 2.9600e-04นำาค่า k กับ b ท่ีได้มาคำานวณจากสมการ (2),(7)

จะได้ cv =0.4836

cp=eta = 0.0017นำาค่า cv กับค่า cp ทำานายการเคล่ือนท่ีของโฟรมขนาดใหญ่ กับโฟมขนาดเล็ก ดังกราฟ

Page 9: personal.sut.ac.thpersonal.sut.ac.th/worawat/RawLabs/lab0/rungtiwa_lab0.docx · Web viewว ธ ทำการทดลอง นำล กเหล กมวล 44.1616 g เส

กราฟ(1)แสดงการเปรยีบเทียบ ระหวา่งการเคล่ือนท่ีของมวลใหญ่ที่ได้จากการทดลอง ,การเดา(t^3),การเดา(t^4)

yk คือ สมการการการเดาเคลือนท่ีจากสมการ (8)

yb คือ สมการการการเดาเคลือนท่ีจากสมการ (5)

yfoamb คือ สมกาการเคลือนท่ีจากการทดลอง

Page 10: personal.sut.ac.thpersonal.sut.ac.th/worawat/RawLabs/lab0/rungtiwa_lab0.docx · Web viewว ธ ทำการทดลอง นำล กเหล กมวล 44.1616 g เส

กราฟ(2)แสดงการเปรยีบเทียบ ระหวา่งการเคล่ือนท่ีของมวลเล็กที่ได้จากการทดลอง ,การเดา(t^3),การเดา(t^4)

yk คือ สมการการการเดาเคลือนท่ีจากสมการ (8)

yb คือ สมการการการเดาเคลือนท่ีจากสมการ (5)

yfoams คือ สมกาการเคลือนท่ีจากการทดลอง

Page 11: personal.sut.ac.thpersonal.sut.ac.th/worawat/RawLabs/lab0/rungtiwa_lab0.docx · Web viewว ธ ทำการทดลอง นำล กเหล กมวล 44.1616 g เส

สรุปผลการทดลอง

จากผลการทดลองพบวา่ค่า b =5.6757e-04

k = 2.9600e-04cv =0.4836cp=eta = 0.0017

เมื่อเปรยีบเท่ียบกับค่าทฤษฎี cv=0.5

%error =(0.5-0.4836)/0.5= 0.0328 หรอื= 3.28%

จากแบบจำาลองทัง้สองพบวา่แบบจำาลองแรงต้านอากาศ f=-kv^2 ทำานายการเคล่ือนท่ีของโฟมขนาดต่างๆได้ดีกวา่ แบบจำาลองแรงต้านอากาศ f=-kv

เอกสารอ้างอิง

http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/ap-physics1/lesson2_11b.html