เอกเทศสัญญา 2-1

32
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 1 1 สรุปหลักกฎหมาย สัญญาจางแรงงาน (Hire of Services) บทที1. บทนํา สัญญาจางแรงงานเปนสัญญาชนิดหนึ่งที่ไดบัญญัติไวในประมวลกฎหมายแพงและ พาณิชยบรรพ 3 ลักษณะ 6 ซึ่งถือไดวาเปนสัญญาที่มีความสําคัญเชนเดียวกับสัญญาชนิดอื่น ตามทีประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยบัญญัติเอาไว สัญญาจางแรงงานตามประมวลกฎหมายแพงและ พาณิชยเปนเรื่องที่กลาวถึงความสัมพันธในทางกฎหมายระหวาง ผูวาจางกับ ผูรับจางที่จะพึงมี ตอกันอันเนื่องมาจากการที่ทั้งสองฝายตกลงวาจางทํางานและตกลงรับจางทํางานใหแกกัน มาตรา 575 อันวาจางแรงงานนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกวาลูกจาง ตกลงจะ ทํางานใหแกบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกวานายจางและนายจางตกลงจะใหสินจางตลอดเวลาที่ทํางานใหอยางไรก็ตามเมื่อกลาวถึงสัญญาจางแรงงาน (Hire of Services) ตามประมวลกฎหมาย แพงและพาณิชยจะตองทําความเขาใจในเบื้องตนกอนวากฎหมายที่เขามาเกี่ยวของกับสัญญาจาง แรงงานนั้นมีทั้งกฎหมายเอกชน คือ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และกฎหมายอื่นอื่นอีกหลาย ฉบับซึ่งเรียกทั่ว ไปวา กฎหมายแรงงาน (Labor Law) 1 โดยกฎหมายแรงงานนั้นอาจจัดไดวามี ลักษณะของการเปนกฎหมายมหาชนประเภทหนึ่งเพราะเปนกฎหมายที่มีวัตถุประสงคคุมครองลูกจาง ที่รับจางทํางานในกิจการการคา กิจการอุตสาหกรรม หรือกิจการอื่นใดทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญทีมีการจางแรงงาน เพื่อมิใหนายจางเอารัดเอาเปรียบลูกจางในเรื่องตาง เชน เกี่ยวกับสภาพการทํางาน สวัสดีการของลูกจาง การกําหนดคาจางขั้นต่ํา การรักษาสุขภาพ รวมถึงการกําหนดลักษณะของงาน ในแตละประเภทใหเหมาะสมกับตัวลูกจาง ฯลฯ โดยไดกําหนดหนาที่ของนายจางบางประการขึ้นเพื่อ ประโยชนของลูกจางหรือคนงาน อันเปนการกําหนดหนาทีที่นายจางจะตองกระทําเพิ่มขึ้นจากหนาทีที่ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยกําหนดเอาไว ทําใหนายจางไมอาจใชสิทธิบางประการที่ตนมีอยู ในฐานะนายจางตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยไดอยางเสรี รวมทั้งไมยอมใหนายจางและ ลูกจางทําความตกลงกันในเรื่องบางเรื่องใหแตกตางไปจากเกณฑที่กฎหมายกําหนดไวได แมลูกจางจะ ยินยอมก็ตาม ปจจุบันกฎหมายแรงงานมีความสําคัญมากขึ้นเปนลําดับและเปนกฎหมายที่จําเปนของ ทุกประเทศโดยเฉพาะอยางยิ่งในประเทศที่เจริญในดานอุตสาหกรรมและการพาณิชย หากพิจารณา กฎหมายแรงงานของประเทศไทยจะพบวามีอยูหลายฉบับที่จะเขามาเกี่ยวของและตองพิจารณา ประกอบกับสัญญาจางแรงงานตามกฎหมายแพงและพาณิชย กลาวคือ 1 ศึกษารายละเอียดไดในรายวิชากฎหมายแรงงาน ( LA 461 )

Upload: api-3821739

Post on 14-Nov-2014

721 views

Category:

Documents


3 download

TRANSCRIPT

Page 1: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

1

1

สรุปหลักกฎหมาย สัญญาจางแรงงาน (Hire of Services)

บทท่ี 1. บทนํา

สัญญาจางแรงงานเปนสัญญาชนิดหนึ่งที่ไดบัญญัติไวในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยบรรพ 3 ลักษณะ 6 ซ่ึงถือไดวาเปนสัญญาที่มีความสําคัญเชนเดียวกับสัญญาชนิดอื่น ๆ ตามที่ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยบัญญัติเอาไว สัญญาจางแรงงานตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยเปนเรื่องที่กลาวถึงความสัมพันธในทางกฎหมายระหวาง “ผูวาจาง” กับ “ผูรับจาง” ที่จะพึงมีตอกันอันเนื่องมาจากการที่ทั้งสองฝายตกลงวาจางทํางานและตกลงรับจางทํางานใหแกกัน

มาตรา 575 “อันวาจางแรงงานนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกวาลูกจาง ตกลงจะทํางานใหแกบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกวานายจางและนายจางตกลงจะใหสินจางตลอดเวลาที่ทํางานให”

อยางไรก็ตามเมื่อกลาวถึงสัญญาจางแรงงาน (Hire of Services) ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยจะตองทําความเขาใจในเบื้องตนกอนวากฎหมายที่เขามาเกี่ยวของกับสัญญาจางแรงงานนั้นมีทั้งกฎหมายเอกชน คือ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และกฎหมายอื่นอื่นอีกหลายฉบับซึ่งเรียกทั่ว ๆ ไปวา กฎหมายแรงงาน (Labor Law)1 โดยกฎหมายแรงงานนั้นอาจจัดไดวามีลักษณะของการเปนกฎหมายมหาชนประเภทหนึ่งเพราะเปนกฎหมายที่มีวัตถุประสงคคุมครองลูกจางที่รับจางทํางานในกิจการการคา กิจการอุตสาหกรรม หรือกิจการอื่นใดทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญที่มีการจางแรงงาน เพื่อมิใหนายจางเอารัดเอาเปรียบลูกจางในเรื่องตาง ๆ เชน เกี่ยวกับสภาพการทํางาน สวัสดีการของลูกจาง การกําหนดคาจางขั้นต่ํา การรักษาสุขภาพ รวมถึงการกําหนดลักษณะของงานในแตละประเภทใหเหมาะสมกับตัวลูกจาง ฯลฯ โดยไดกําหนดหนาที่ของนายจางบางประการขึ้นเพื่อประโยชนของลูกจางหรือคนงาน อันเปนการกําหนดหนาที่ ที่นายจางจะตองกระทําเพิ่มขึ้นจากหนาที่ ที่ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยกําหนดเอาไว ทําใหนายจางไมอาจใชสิทธิบางประการที่ตนมีอยูในฐานะนายจางตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยไดอยางเสรี รวมท้ังไมยอมใหนายจางและลูกจางทําความตกลงกันในเรื่องบางเรื่องใหแตกตางไปจากเกณฑท่ีกฎหมายกําหนดไวได แมลูกจางจะยินยอมก็ตาม ปจจุบันกฎหมายแรงงานมีความสําคัญมากขึ้นเปนลําดับและเปนกฎหมายที่จําเปนของทุกประเทศโดยเฉพาะอยางยิ่งในประเทศที่เจริญในดานอุตสาหกรรมและการพาณิชย หากพิจารณากฎหมายแรงงานของประเทศไทยจะพบวามีอยูหลายฉบับที่จะเขามาเกี่ยวของและตองพิจารณาประกอบกับสัญญาจางแรงงานตามกฎหมายแพงและพาณิชย กลาวคือ

1 ศึกษารายละเอียดไดในรายวิชากฎหมายแรงงาน ( LA 461 )

Page 2: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

2

2

1. พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 กฎหมายคุมครองแรงงาน เปนกฎหมายที่บัญญัติถึงสิทธิและหนาที่ของนายจางและลูกจาง โดยกําหนดมาตรฐานขั้นต่ําในการทํางานในสวนตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการใชแรงงาน การกําหนดคาตอบแทน ลักษณะของงานและลูกจาง ช่ัวโมงการทํางาน วันหยุด วันลา ของลูกจาง เปนตน

2. พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ.2537 เปนกฎหมายคุมครองลูกจางหรือผูที่อยูในอุปการะของลูกจาง ดวยการกําหนดให

นายจางจายเงินใหแกบุคคลดังกลาวเมื่อลูกจางไดรับภยันตรายหรือเจ็บปวยหรือตายอันมีสาเหตมุาจากการทํางานใหแกนายจาง และกําหนดใหมีกองทุนเงินทดแทนขึ้นโดยใหนายจางจายเงินสมทบกองทุนดังกลาวไวเพื่อเปนหลักประกันในการจายเงินทดแทนแกลูกจางหรือผูอยูในอุปการะของลูกจางแทนนายจาง

3. พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ.2518 กฎหมายแรงงานสัมพันธ เปนกฎหมายที่กําหนดแนวทางปฏิบัติตอกันระหวาง

บุคคลสองฝายคือ ฝายนายจาง และฝายลูกจาง เพื่อใหบุคคลทั้งสองฝายไดมีความเขาใจอันดีตอกัน สามารถทําขอตกลงในเรื่องสิทธิ หนาที่และผลประโยชนในการทํางานรวมกันได รวมท้ังกําหนดวิธีการระงับขอขัดแยงหรือขอพิพาทแรงงานที่เกิดขึ้นใหยุติลงโดยรวดเร็วและดวยความพอใจของทั้งสองฝายมากที่สุด ทั้งนี้เพื่อใหเกิดความสงบสุขในการทํางานรวมกัน อันจะนํามาซึ่งประสิทธิภาพการทํางาน ความรุงเรืองทางเศรษฐกิจและความมั่นคงของประเทศชาติตอไปเปนสําคัญ

4. พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ.2522 กฎหมายวาดวยศาลแรงงานเปนกฎหมายที่จัดตั้งศาลแรงงานขึ้นเพื่อใหเปนศาล

ชํานาญพิเศษ มีอํานาจในการพิจารณาคดีแรงงานอันเปนขอขัดแยงระหวางนายจางและลูกจาง โดยผูพิพากษาที่มีความรูความเขาใจในปญหาแรงงานรวมกับผูพิพากษาสมทบฝายนายจางและผูพิพากษาสมทบฝายลูกจาง และกําหนดวิธีการพิจารณาคดีใหเปนไปโดยสะดวก ประหยัด รวดเร็ว เสมอภาคและเปนธรรม เพื่อใหคูความมีโอกาสประนีประนอมยอมความและสามารถกลับไปทํางานรวมกัน โดยไมเกิดความรูสึกที่ขัดแยงหรือตอตานตอกัน

5. พระราชบัญญัติประกันสงัคม พ.ศ.2533 กฎหมายประกันสังคม เปนกฎหมายที่กําหนดใหมีการจัดตั้งกองทุนประกันสังคม

ขึ้น โดยใหลูกจางหรือผูสมัครเขาประกันตน นายจาง และรัฐบาลรวมออกเงินสมทบ เพื่อใชกองทุนดังกลาวเปนหลักประกันใหแกลูกจางและผูสมัครเขาประกันตนไดรับการสงเคราะหเมื่อประสบอันตราย เจ็บปวยทุพพลภาพ หรือตายอันมิใชเนื่องจากการทํางาน คลอดบุตร ชราภาพ และวางงาน รวมทั้งการสงเคราะหบุตร ซ่ึงจะทําใหชีวิตของลูกจางและสังคมมีความมั่นคงขึ้น

Page 3: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

3

3

6. พระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2535 กฎหมายกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เปนกฎหมายที่สงเสริมใหนายจางและลูกจางจัดตั้ง

กองทุนขึ้นเพื่อเปนสวัสดิการแกลูกจางเมื่อออกจากงาน เพื่อสงเสริมการออมเงินและระดมเงินออมไปใชในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยกําหนดหลักเกณฑการดําเนินการและการจัดการกองทุนเพื่อใหเกิดความมั่นคงและเปนประโยชนแกลูกจาง

7. พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 กฎหมายโรงงาน เปนกฎหมายที่ควบคุมการประกอบกิจการโรงงานโดยวิธีการ

กําหนดหลักเกณฑ มาตรการและมาตรฐานตาง ๆ เพื่อใหการประกอบกิจการเปนไปโดยราบรื่นไมเกิดเหตุเดือดรอนรําคาญ ไมกอใหเกิดความเสียหาย ไมเปนอันตรายตอบุคคลและสิ่งแวดลอม

8. พระราชบัญญัติฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ.2534 พระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ เปนกฎหมายที่กําหนดใหนายจางหรือ

เจาของสถานประกอบการที่มีลูกจางตั้งแต 200 คนขึ้นไป ตองรับคนพิการที่สามารถทํางานไดเขาทํางานในอัตราลูกจาง 200 คน ตอคนพิการ 1 คน เศษของ 200 คน ถาเกิน 100 คน ตองรับคนพิการเพิ่มอีก 1 คน และหลักเกณฑขอจํากัด ขอยกเวนและความรับผิดของนายจางที่ไมปฏิบัติตามกฎหมาย เปนตน

ฯลฯ........................................

Page 4: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

4

4

บทท่ี 2. ความหมายและลักษณะสําคัญของสัญญาจางแรงงาน ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 575 “อันวาจางแรงงานนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกวาลูกจางตกลงจะทํางานใหแกบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกวานายจาง และนายจางตกลงจะใหสินจางตลอดเวลาที่ทํางานให” จากบทนิยามตามมาตรา 575 ดังกลาวสามารถแยกลักษณะสําคัญของสัญญาจางแรงงานไดดังตอไปนี้ คือ

(1) เปนสัญญาประเภทหนึ่งท่ีมีลักษณะตางตอบแทน กลาวคือ มีลักษณะที่กอใหเกิดหนี้แกคูสัญญาทั้งสองฝายคือฝายนายจางและฝายลูกจาง โดยฝายนายจางมีหนาที่หรือหนี้ที่ตองจายสินจางตอบแทนใหแกลูกจางตลอดเวลาที่ลูกจางทํางานให และฝายลูกจางมีหนาที่หรือหนี้ที่ตองทํางานใหแกนายจาง ดังนั้นจึงตองนําหลักเกณฑในเรื่องหนี้ที่เกี่ยวกับสัญญาตางตอบแทนมายังคับใชกับสัญญาจางแรงงานเทาที่ไมขัดหรือแยงกับบทบัญญัติแหงกฎหมายและสภาพแหงสัญญาจางแรงงานดวย ขอสังเกต “สัญญาจางแรงงาน” มิไดหมายถึงเฉพาะการจางทํางานที่ตองกระทําดวยกําลังทางรางกายเพียงอยางเดียวเทานั้น แตมีความหมายรวมไปถึงงานที่มีลักษณะของการใชความรู ความสามารถดวย เชน ทําสัญญาจางนักกฎหมายเปนที่ปรึกษาของบริษัทโดยจายคาตอบแทนใหเปนรายเดือนมีหนาที่คอยใหคําปรึกษาเกี่ยวกับปญหาทางกฎหมายของบริษัท ฯลฯ “สินจาง” จะเปนจํานวนเงินหรือทรัพยสินอยางอื่นตอบแทนการจางก็ได2 เชน จางใหมาทํานาเปนรายวัน โดยตอบแทนการทํางานใหเปนขาวเปลือกเมื่อเก็บเกี่ยวขาวเสร็จ และสิ่งที่จะเปนสินจางหรือคาจางนั้นจะตองจายเพื่อตอบแทนการทํางานของลูกจางที่ลูกจางทําใหกับนายจาง หากเปนการใหเพื่อใชในการทํางานโดยตรง ไมไดใหเพื่อตอบแทนการทํางานก็ไมถือวาเปนสินจาง เชน คําพิพากษาฎีกาที่ 2601/2526 จําเลยจายคาน้ํามันรถใหแกโจทกกิโลเมตรละ 3.50 บาท และการเบิกตองมีใบเสร็จมาแสดง โดยเบิกไดไมเกินเดือนละ 5,420 บาท แสดงวาจําเลยเจตนาจายเงินดังกลาวใหโจทกไปใชจายเปนคาน้ํามันโดยตรงจึงเปนคาใชจายในการทํางาน มิใชเปนเงินเพื่อตอบแทนการทํางานจึงไมใชสวนหนึ่งของคาจาง

2พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 บัญญัติเกี่ยวกับสินจางไวแตใชคําวา “คาจาง” โดยให

ความหมายวา “เงินที่นายจางและลูกจางตกลงกันจาย เปนคาตอบแทนในการทํางานตามสัญญาจางสําหรับระยะเวลาการทํา งานปกติเปนรายชั่วโมง รายวัน รายสัปดาห รายเดือน หรือระยะ เวลาอื่น หรือจายใหโดยคํานวณตามผลงานที่ลูกจางทําไดในเวลาทํา งานปกติของวันทํางาน และใหหมายความรวมถึงเงินที่นายจางใหแก ลูกจางในวันหยุดและวันลาที่ลูกจางมิไดทํางาน แตลูกจางมีสิทธิ์ไดรับตามพระราชบัญญัตินี้”

Page 5: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

5

5

อยางไรก็ตามในกรณีที่สัญญานั้นมีการตกลงจายเฉพาะคาใชจายที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากการทํางานซึ่งเปนคาใชจายที่มีการสํารองจายไปกอน โดยไมมีการตกลงจายคาตอบแทนการทํางานใหเลยกรณีนี้ไมถือวาเปนสัญญาจางแรงงาน เชนใหคนรับใชไปซื้อของ โดยจายเงินคารถให เปนตน รวมถึงการใหคาตอบแทนเนื่องจากการทํางานใหในลักษณะที่ไมใชคาจาง เชน ใหเพื่อเปนสินน้ําใจที่ทํางานใหโดยมิไดมุงหวังวาเปนคาตอบแทนการทํางานเชนใหเงินรางวัลแกพนักงานยกกระเปาของโรงแรม หรือพนักงานของรานอาหารที่ชวยบริการดูแลรถยนตให เปนตน

(2) เปนสัญญาที่สมบูรณโดยการแสดงเจตนาของคูกรณี กลาวคือ สัญญาจางแรงงานสมบูรณและมีผลบังคับทันทีที่มีการแสดงเจตนาระหวางนายจางและลูกจาง โดยไมตองทําตามแบบในทางกฎหมายใด ๆ อีก และในสวนของการฟองรองใหปฏิบัติตามสัญญาจางแรงงานนั้นก็ไมจําเปนตองมีหลักฐานเปนหนังสือหรือมีการทําลายลักษณอักษรไวก็สามารถฟองรองบังคับคดีได 3 แตอยางไรก็ตามเพื่อลดขอยุงยากในการนําสืบพยานบุคคลเพื่อตอสูคดีในชั้นศาล การทําสัญญาจางแรงงานไวยอมสงผลดีตอทั้งสองฝาย

(3) เปนสัญญาที่มีจุดมุงหมายในประโยชนจากแรงงานของลูกจางไมคํานึงถึงผลสําเร็จของงาน

กลาวคือ เปนสัญญาที่ถือเอาความรูความสามารถของลูกจางเปนสําคัญมากวาการสําเร็จผลของงานที่ลูกจางทํา ตัวอยางเชน สัญญาจางเปนพนักงานทําความสะอาดอาคาร โดยในขอตกลงไดมีขอกําหนดเกี่ยวกับระยะเวลาการจางและกําหนดการจายคาจางไวเปนรายเดือน ๆ ละ 5,000 บาท แตถาหากมีลักษณะของการตกลงที่เปลี่ยนแปลงไปวา ลูกจางจะไดคาตอบแทนโดยคิดจากพื้นที่ที่ลูกจางไดทําความสะอาดไปคิดเปนตารางเมตรและจายคาจางใหเมื่อทําความสะอาดเสร็จ และหากจะจางใหทําความสะอาดอีกก็จะมาตกลงกันภายหลัง กรณีเชนนี้ถือไดวา เปนสัญญาที่มุง

3 คําพิพากษาฎีกาที่ 2652/2529 แมสัญญาจางโจทกที่ 1 จะไดทําขึ้นกอนที่จําเลยจะไดจดทะเบียนเปน

บริษัทก็ตามแตก็อยูในระหวางการดําเนินการกอต้ังบริษัทและสัญญาดังกลาวมี ส. ผูเริ่มกอการของบริษัทซึ่งตอมาไดเปนกรรมการบริษัทเมื่อจดทะเบียนแลวเปนผูลงช่ือในนามของบริษัทจําเลยในฐานะผูวาจางและไดทําสัญญากันกอนจดทะเบียนตั้งบริษัทเพียง 7 วัน ทั้งหลังจากบริษัทมีสภาพเปนนิติบุคคลแลวก็ยอมรับผลแหงสัญญาจางดังกลาวจางโจทกที่ 1 และจายคาจางใหตอมาดังนี้โจทกที่ 1 จึงเปนลูกจางของบริษัทจําเลยแลว ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 575 หาไดบัญญัติวา สัญญาจางแรงงานจะตองทําเปนหนังสือไม เพียงแตตกลงจางและใหสินจางกันสัญญาจางแรงงานยอมเกิดแลว ส. กรรมการบริษัทจําเลยทําสัญญาจางโจทกที่ 2 ซึ่งโจทกที่ 2 ไดทํางานใหบริษัทจําเลยและจําเลยจายคาจางใหโจทกที่ 2 ตลอดมาเปนเวลา 4 เดือน ถือไดวาโจทกที่ 2 เปนลูกจางของจําเลยแลวโดยไมจําตองพิจารณาวาสัญญาที่ทําเปนหนังสือดังกลาว ส. ทําไปโดยชอบดวยขอบังคับของบริษัทจําเลยหรือไม

Page 6: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

6

6

ความสําเร็จของงานเปนสําคัญจึงไมใชลักษณะของสัญญาจางแรงงาน แตมีลักษณะเปนสัญญาจางทําของ4 เชน คําพิพากษาฎีกาท่ี 2364/2524 จําเลยจางโจทกทั้งสองปลูกบานเปนรายวัน เครื่องมือเปนของโจทก แตวัสดุเปนของจําเลย ไมปรากฏวาไดแบงงานเปนงวดและตกลงกันใหถือเอาความสําเร็จของแตละงวดเปนผลสําเร็จของงานทั้งหมดเปนเงื่อนไขในการจายคาจาง สัญญาระหวางโจทกและจําเลยทั้งสองจึงเปนสัญญาจางแรงงาน คําพิพากษาฎีกาท่ี 4644/2540 จําเลยจางโจทกรองเพลงประจํารานอาหารตกลงเงินเดือนๆละ 6,500 บาท โดยตองมารองเพลงวันละ 1 ช่ัวโมง ระหวางเวลา 22 – 23 นาฬิกา ในการทํางานตองมีการตอกบัตรลงเวลาทํางาน หากวันใดโจทกไมมารองเพลงตองหาบุคคลอื่นมารองเพลงแทนโดยโจทกเปนผูจายเงินใหแกนักรองที่มารองเพลงเอง หากไมสามารถหานักรองมาไดจําเลยจะตัดคาตอบแทนในสวนนี้ลงตามสวน แมขอเท็จจริงจะเปนการทํางานที่ตองมีการตอกบัตร แตการทํางานนั้นจําเลยไมมีอํานาจบังคับบัญชาโจทก ลักษณะของสัญญามุงถึงการรองเพลงใหครบตามกําหนดเวลา 1 ช่ัวโมงเปนหลักซึ่งจะรองเองหรือหาคนอื่นมารองแทนก็ได อีกทั้งการทํางานของโจทกก็ไมมีเร่ืองของการลาหยุดพักผอนประจําป การลาปวยหรือลาหยุด สัญญาดังกลาวจึงไมเปนสัญญาจางแรงงานแตมีลักษณะของสัญญาจางทําของ

(4) เปนสัญญาที่ฝายนายจางมีอํานาจบังคับบัญชาฝายลูกจาง ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 583 “ถาลูกจางจงใจขัดคําสั่งของนายจางอันชอบดวยกฎหมายก็ดี หรือละเลยไมนําพาตอคําสั่งเชนวานั้นเปนอาจิณก็ดี ละทิ้งการงานไปเสียก็ดี กระทําความผิดอยางรายแรงก็ดี หรือทําประการอื่นอันไมสมแกการปฏิบัติหนาที่ของตนใหลุลวงไปโดยถูกตองและสุจริตก็ดี ทานวานายจางจะไลออกโดยมิพักตองบอกกลาวลวงหนาหรือใหสินไหมทดแทนก็ได” จากบทบัญญัติดังกลาวจะเห็นไดวา นายจางสามารถที่จะควบคุมและบังคับบัญชาลูกจางได แตตองเปนไปในลักษณะที่ชอบดวยกฎหมายเทานั้น ไมไดหมายถึงการออกคําสั่งแลวลูกจางตองทําตามคําสั่งนั้นทั้งหมด เชน ส่ังใหลูกจางไปทํารายผูอ่ืนแตลูกจางปฏิเสธ เชนนี้ นายจางก็อางเหตุดังกลาวเลิกจางลูกจางไมได เปนตน ลักษณะของการที่นายจางมีอํานาจบังคับบัญชาฝาย

4 มาตรา 587 “อันวาจางทําของนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกวาผูรับจาง ตกลงจะทําการงานสิ่ง

ใดสิ่งหนึ่งจนสําเร็จใหแกบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกวาผูวาจาง และผูวาจางตกลงจะใหสินจางเพื่อผลสําเร็จแหงการที่ทําน้ัน”

Page 7: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

7

7

ลูกจาง5 ถือเปนลักษณะที่สําคัญของสัญญาจางแรงงาน ดังนั้น ถาสัญญาใดไมมีลักษณะที่นายจางมีอํานาจในการบังคับบัญชาหรืออํานาจในการสั่งการลูกจางสัญญานั้นก็ไมเปนสัญญาจางแรงงาน ตัวอยางเชน คําพิพากษาฎีกาท่ี 352/2524 โจทกเปนชางตัดผมอยูที่รานของจําเลย โจทกไดตัดผมคาตัดผมรอยละ 60 จําเลยไดรอยละ 40 ไมมีระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการทํางาน จําเลยไมมีอํานาจสั่งการเกี่ยวกับการทํางานของโจทก โจทกคนใดจะมาทํางานหรือไมก็ไดไมมีระเบียบเกี่ยวกับการลา หากโจทกคนใดขาดบอบก็จะตอวาบาง ซ่ึงเปนการบนวาธรรมดาไมมีสภาพบังคับ ระยะเวลาที่โจทกมาทํางานหรือไม ไมมีผลเกี่ยวกับการที่จําเลยจะตองจายคาจางใหโจทกหรือไม การทํางานของโจทกเปนไปเพื่อใหไดมาซึ่งคาจางกับลูกคา คาจางที่ไดรับเปนเงินที่ลูกคาจายใหโจทกและเปนผลอันเกิดจากการตัดผลใหแกลูกคาโดยตรง จําเลยเพียงแตมีสิทธิรับสวนแบงจากโจทกในฐานะเปนเจาของราน เจาของอุปกรณเครื่องใชตาง ๆ เทานั้น คางจางที่โจทกไดรับมิใชคาจางที่จําเลยจายใหจึงถือไมไดวาโจทกตกลงทํางานใหแกจําเลยเพื่อรับคาจาง โจทกจึงมิใชลูกจางของจําเลย คําพิพากษาฎีกาท่ี 51/2537 โจทกเปนชางตัดผมชายใชสถานที่ของจําเลยเปดบริการใหแกลูกคา จําเลยเปนผูจัดหาสถานที่ โตะ เกาอี้และของใชตาง ๆ โจทกมีกรรไกร บัตตาเลี่ยน เครื่องมือใชเช็ดหู รายไดจากการแตงผมชายของโจทกแบงกันคนละครึ่งกับจําเลย โดยจําเลยจายสวนที่จะไดแกโจทกทุกวันที่ 1 และ 16 ของเดือน มีการตกลงเรื่องระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการทํางานวาโจทกตองตอกบัตรลงเวลาทํางานหากโจทกไมมาทํางานหรือมาสายวันใด โจทกตองถูกหักคาจาง โจทกไดรับบัตรประจําตัวพนักงานจากจําเลยเพื่อใชแสดงวาเปนพนักงานและใชตรวจสอบการอนุมัติเขาออกบริเวณสถานที่ของจําเลย โจทกทํางานสัปดาหละ 6 วัน ถือไดวาโจทกมีเวลาทํางานเปนปกติแนนอน จําเลยมีอํานาจสั่งการบังคับบัญชาใหโจทกปฏิบัติตามระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการทํางานมีอํานาจหักเงินรายไดของโจทกในกรณีที่ขาดงานหรือมาทํางานสาย เงินรายไดที่จายใหเปนการคํานวณตามผลงานที่โจทกทําได จึงเปนสัญญาจางแรงงาน

5 คําพิพากษาฎีกาที่ 4198/2546 โจทกเปนผูประกอบธุรกิจคาขาว ในการขนขาวลงเรือไปขายใหแก

ลูกคาที่อยูตางประเทศ โจทกวาจาง ส. จีนเต็งใหญเปนผูรับเหมาคาแรงขน ส. จะให ท. จีนเต็งหัวหนาสายเปนคนจัดหาคนงานซึ่งสมัครใจรับจางรายวันเฉพาะกิจเปนคราว ๆ มาขนขาวสาร โดยกอนขนขาวสารลงเรือ คนงานตองผสมขาวสารดวยเครื่องจักรของโจทกและบรรจุใสกระสอบผานสายพานในโกดังของโจทก อันเปนเครื่องมือสําคัญสําหรับใชทํางานที่โจทกเปนผูจัดหา แลวแบกกระสอบขาวสารไปลงเรือ การทํางานของคนงานจึงอยูภายใตการควบคุมและสั่งการของ ส. และ ส. ยอมมีอํานาจบังคับบัญชาเหนือคนงานทุกคน ประกอบกับ ส. เปนคนจายคาจางใหแกคนงานที่มาแบกขนขาวสารแตละวัน นิติสัมพันธระหวาง ส. กับคนงานจึงเขาลักษณะจางแรงงาน ตาม ป.พ.พ. มาตรา 575

Page 8: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

8

8

ขอสังเกต - ขาราชการไมถือวาเปนลูกจาง ถึงแมวาโดยสภาพทั่วไปจะมีลักษณะของการเปน

ลูกจางก็ตาม แตเนื่องจากมีกฎหมายพิเศษบังคับไวโดยเฉพาะ (เชน พ.ร.บ. ขาราชการพลเรือน) (ฏ.755/2498)6 แตอยางไรก็ตามในหนวยงานราชการก็อาจมีลูกจางซึ่งไมมีสภาพเปนขาราชการได ซ่ึงก็ตองบังคับตามสัญญาจางแรงงาน (ฏ.677/2501)

- ในกรณีของผูที่ปฏิบัติงานในรัฐวิสาหกิจถือวาเปนลูกจาง จึงตองพิจารณาความสัมพันธตามสัญญาจางแรงงาน (ฎ.183/2526) บทท่ี 3. ความสําคัญของคูสัญญาในสัญญาจางแรงงาน สัญญาจางแรงงาน โดยมากเปนสัญญาที่ทําขึ้นโดยถือความสําคัญในตัวบุคคลที่เปนคูสัญญาดวย กลาวคือ คุณสมบัติของคูสัญญา(นายจางและลูกจาง) ถือไดวาเปนสาระสําคัญแหงการทาํสัญญา เมื่อตกลงเขาทําสัญญาผูกพันกันนั้นโดยทั่วไปจะพิจารณาถึงบุคลิกลักษณะ ความรูความสามารถโดยเฉพาะของฝายลูกจางมาประกอบการพิจารณาดวย ซ่ึงสามารถแยกพิจารณาไดดังนี้คือ (1) ความสําคัญของลูกจาง มาตรา 577 บัญญัติวา “นายจางจะโอนสิทธิของตนใหแกบุคคลภายนอกก็ได เม่ือลูกจางยินยอมพรอมใจดวยลูกจางจะใหบุคคลภายนอกทํางานแทนตนก็ไดเม่ือนายจางยินยอมพรอมใจดวยถาคูสัญญาฝายใดทําการฝาฝนบทบัญญัตินี้ คูสัญญาอีกฝายหนึ่งจะบอกเลิกสัญญาเสียก็ได” จากมาตรา 577 ดังกลาว หมายความวา คูสัญญาแตละฝายจะโอนสิทธิ์ และหนาที่ตามสัญญาจางแรงงานใหกับผูอ่ืนไมได นอกจากอีกฝายหนึ่งจะยินยอมดวย เพราะคูสัญญาตางฝายตางถือความสําคัญในตัวบุคคลที่เปนคูสัญญาเปนเหตุหนึ่งในการทําสัญญา และดวยเหตุนี้เมื่อลูกจางตายลง สัญญาจางแรงงานจึงตองระงับไป ทายาทจะมาสวมสิทธิและหนาที่ตามสัญญาจางแรงงานแทนผูตายไมได (ในกรณีนี้แมไมมีกฎหมายบัญญัติไว แตนักกฎหมายสวนมากเขาใจเชนนั้น)

6 คําพิพากษาฎีกาที่ 769/2505 ความสัมพันธระหวางขาราชการกับกระทรวงทะบวงกรมนั้น มีขึ้นโดย

กฎหมายฝายปกครอง เชน พระราชบัญญัติวาดวยระเบียบขาราชการพลเรือนเปนตน หาไดเกิดขึ้นและเปนไปเพราะผลของนิติกรรมสัญญา เชน จางแรงงาน ไม (นัยคําพิพากษา ฎีกาที่ 123/2504) การที่ขาราชการประมาทเลินเลอทําใหกระทรวงทะบวงกรมเสียหาย จึงเปนเรื่องละเมิดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 420 มิใชเรื่องใหตัวแทนรับผิดตามมาตรา 812 ฉะนั้น อายุความจึงมี 1 ป นับแตทราบถึงการละเมิดตามมาตรา 448 ตาม นัยคําพิพากษาฎีกาที่กลาวขางตน

Page 9: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

9

9

ความสําคัญของนายจาง มาตรา 584 บัญญัติวา “ถาจางแรงงานรายใดมีสารสําคัญอยูท่ีตัวบุคคลผูเปนนายจาง ทานวาสัญญาจางเชนนั้นระงับไปดวยมรระแหงนายจาง” ดังนั้น ถาในสัญญาจางแรงงานนั้นตัวนายจางมิไดเปนสาระสําคัญ เชนสัญญาจางลูกจางทํางานในโรงงานใหญ ๆ ซ่ึงเจาของ (นายจาง) ไมเคยมาติดตอกับลูกจางโดยตรงเลย ผูจัดการเปนผูควบคุมลูกจางอีกทีหนึ่ง กรณีเชนนี้การที่นายจางตายจะไมสงผลใหสัญญาจางแรงงานระงับไป แตอยางไรก็ตามกรณีสัญญาจางแรงงานจะระงับลงเพราะความตายของนายจางหรือไมนั้น ตองพิจารณาสัญญาจางแรงงานแตละเรื่องแตละรายไปวามีสาระสําคัญอยูที่ตัวนายจางหรือไม เชน จางคนใชมาทํางานในบาน หรือจางลูกจางมาคอยพยาบาลในชวงที่ไมสบาย ทั้งสองกรณีนี้ตัวนายจางยอมถือไดวาเปนสาระสําคัญ บทท่ี 4. สิทธิหนาท่ีของคูสัญญาในสญัญาจางแรงงาน 4.1 หนาท่ีของลูกจาง เนื่องจากสัญญาจางแรงงานเปนสัญญาตางตอบแทนที่กอใหเกิดหนี้แกคูกรณีทั้งสองฝาย คือ ทั้งฝายนายจางและลูกจาง โดยลูกจางมีหนี้หรือหนาที่ที่จะตองปฏิบัติตามสัญญาจางแรงงานใน 2 ลักษณะ คือ (1) ตองทํางานใหแกนายจาง และ (2) ตองทํางานภายใตบังคับบัญชาของนายจาง 4.1.1. ตองทํางานใหแกนายจาง หนาที่ในลักษณะดังกลาวปรากฏอยูในมาตรา 575 ที่บัญญัติไววา “...ลูกจางตกลงจะทํางานใหแกบุคคลอีกคนหนึ่งเรียกวานายจาง” ดังนั้น หนาที่ของลูกจางที่ตองกระทําใหแกนายจางก็คือ ตองทํางานใหและงานที่จะทําใหไดแกงานที่ไดตกลงกันไวในสัญญาจางแรงงาน ซ่ึงอาจเปนงานที่ใชแรงงานหรืองานที่ใชความรูความสามารถหรือประกอบกันทั้งสองลักษณะ ระยะเวลาการจางหรือการสิ้นสุดของสัญญา อาจเปนระยะเวลามากนอยเพียงใดก็ไดขึ้นอยูกับการตกลงกันของคูสัญญา เชน กําหนดไวเปนชั่วโมง เปนวัน เปนเดือน หรือป เปนตน หนาที่หรือการทํางานใหแกนายจางดังกลาวนี้ ลูกจางมีหนาที่ที่ตองทํางานใหแกนายจางในลักษณะดังตอไปนี้คือ (1) ลูกจางจะใหบุคคลภายนอกมาทํางานแทนตนโดยพลการไมได จะทําไดก็ตอเมื่อนายจางยินยอมพรอมใจดวย แตถาเปนกรณีที่นายจางไมไดใหความยินยอมนายจางมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได (มาตรา577 วรรคสอง)

Page 10: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

10

10

มาตรา 577 “นายจางจะโอนสิทธิของตนใหแกบุคคลภายนอกก็ไดเมื่อลูกจางยินยอมพรอมใจดวย ลูกจางจะใหบุคคลภายนอกทํางานแทนตนก็ไดเมื่อนายจางยินยอมพรอมใจดวย ถาคูสัญญาฝายใดทําการฝาฝนบทบัญญัตินี้คูสัญญาอีกฝายหนึ่งจะบอกเลิกสัญญาเสียก็ได” (2) ถางานที่ลูกจางตกลงทํานั้น ลูกจางไดรับรองโดยการแสดงออกโดยชัดแจงหรือโดยปริยายวา ตนเองงนั้นมีความสามารถพิเศษ ลูกจางตองทํางานใหไดตามที่ตนรับรองไว หากปรากฏในภายหลังวา ลูกจางไรฝมือเชนนั้นแลว นายจางยอมมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได (มาตรา 578) ทั้งนี้ โดยถือวาลูกจางผิดสัญญาฐานไมปฏิบัติตามที่ตกลงไวในสัญญา มาตรา 578 “ถาลูกจางรับรองโดยแสดงออกชัดหรือโดยปริยายวาตนเปนผูมีฝมือพิเศษ หากมาปรากฏวาไรฝมือเชนนั้นไซร ทานวานายจางชอบที่จะบอกเลิกสัญญาเสียได (3) ลูกจางตองทํางานใหแกนายจางตามขอตกลง ถาลูกจางไมทํางานนั้นใหซ่ึงอาจเปนกรณีที่ไมทํางานนั้นใหเลย หรือทําใหบางแตละทิ้งงานไปเสีย ถือไดวาเปนกรณีที่ลูกจางผิดสัญญา ในกรณีเชนนี้

นายจางมีสิทธิที่จะไมจายสินจางให ตามหลักของสัญญาตางตอบแทนทั่วไป (มาตรา 369)7

นายจางมีสิทธิบอกเลิกสัญญาจางแรงงาน โดยบอกกลาวใหลูกจางทํางานตามขอตกลงใหเสร็จภายในเวลาอันสมควร ถาพนกําหนดเวลานั้นไปแลวนายจางบอกเลิกสัญญาได (มาตรา 3878 ประกอบกับมาตรา 583)

นายจางมีสิทธิฟองรองบังคับใหลูกจางชดใชคาสินไหมทดแทน ในความเสียหายตาง ๆ ที่เกิดขึ้นเพราะเหตุที่ลูกจางไมทํางานใหแกนายจางได แตควรสังเกตวานายจางจะฟองรองใหศาลบังคับลูกจางใหทํางานตามสัญญาจางแรงงานนั้นไมได เพราะสภาพแหงหนี้ไมเปดชองใหทํา

7 มาตรา 369 “ในสัญญาตางตอบแทนนั้น คูสัญญาฝายหนึ่งจะไม ยอมชําระหนี้จนกวาอีกฝายหนึ่งจะ

ชําระหนี้ หรือขอปฏิบัติการชําระ หนี้ก็ได แตความขอนี้ทานมิใหใชบังคับ ถาหนี้ของคูสัญญาอีกฝาย หนึ่งยังไมถึงกําหนด”

8 มาตรา 387 “ถาคูสัญญาฝายหนึ่งไมชําระหนี้ อีกฝายหนึ่งจะกําหนด ระยะเวลาพอสมควร แลวบอกกลาวใหฝายนั้นชําระหนี้ภายในระยะเวลา นั้นก็ไดถาและฝายนั้นไมชําระหนี้ภายในระยะเวลาที่กําหนดใหไซรอีก ฝายหนึ่งจะเลิกสัญญาเสียก็ได”

Page 11: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

11

11

เชนนั้นได (มาตรา 213 วรรคหนึ่ง) แตนายจางอาจเรียกผูอ่ืนใหมาทํางานแทนและใหลูกจางชดใชคาใชจายที่จายไปนั้นได(มาตรา 213 วรรคสอง)9

ขอสังเกต การที่ลูกจางขาดงานไมทํางานใหแกนายจางโดยมีเหตุอันสมควรและเปนระยะเวลาพอสมควรไมทําใหนายจางมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได เหตุอันสมควร ไดแก เจ็บปวยหรือเหตุพนวิสัยอ่ืนที่ทําใหลูกจางมาทํางานใหแกนายจางไมได และในกรณีที่ลูกจางไมไดทํางานใหแกนายจาง เพราะเหตุที่นายจางไมมีงานใหทํานั้น ก็จะถือวาเปนความผิดของลูกจางไมไดเชนกัน ตรงกันขามนายจางจะตองจายสินจางใหแกลูกจางดวย

4.1.2 ตองทํางานภายใตบงัคับบัญชาของนายจาง หนาที่ของลูกจางในการที่ตองทํางานภายใตบังคับบัญชาควบคุมดูแลของนายจางนี้มีปรากฏใหเห็นอยูในมาตรา 583 ที่วา “ถาลูกจางจงใจขัดคําสั่งของนายจางอันชอบดวยกฎหมายก็ดี หรือละเลยไมนําพาตอคําสั่งเชนวานั้นเปนอาจิณก็ดี ละท้ิงการงานไปเสียก็ดี กระทําความผิดอยางรายแรงก็ดี หรือทําประการอื่นอันไมสมแกการปฏิบัติหนาท่ีของตนใหลุลวงไปโดยถูกตองและสุจริตก็ดี ทานวานายจางจะไลออกโดยมิพักตองบอกกลาวลวงหนาหรือใหสินไหมทดแทนก็ได” จากบทบัญญัติดังกลาวแสดงใหเห็นถึงอํานาจตามกฎหมายของนายจางที่จะไลลูกจางออกจากงานได ถาหากลูกจางไมยอมทํางานภายใตบังคับบัญชา หรือกระทําการอันเขาลักษณะอยางหนึ่งอยางใดดังที่กําหนดไวในมาตรา 583 นั้น กลาวคือ

(1) ลูกจางจงใจขัดคําสั่งของนายจางอันชอบดวยกฎหมาย (2) ลูกจางละเลยไมนําพาตอคําสั่งอันชอบดวยกฎหมายของนายจางเปนอาจิณ (3) ลูกจางจะทิ้งการงานไป (4) ลูกจางกระทําผิดอยางรายแรง

9 มาตรา 213 “ถาลูกหนี้ละเลยเสียไมชําระหนี้ของตน เจาหนี้จะ รองขอตอศาลใหสั่งบังคับชําระหนี้ก็

ได เวนแตสภาพแหงหนี้จะไมเปด ชองใหทําเชนนั้นได เมื่อสภาพแหงหนี้ไมเปดชองใหบังคับชําระหนี้ได ถาวัตถุแหงหนี้ เปนอันใหกระทําการอันหนึ่งอันใด

เจาหนี้จะรองขอตอศาลใหสั่งบังคับ ใหบุคคลภายนอกกระทําการอันนั้นโดยใหลูกหนี้เสียคาใชจายใหก็ได แตถาวัตถุแหงหนี้เปนอันใหกระทํานิติกรรมอยางใดอยางหนึ่งไซร ศาลจะสั่งใหถือเอาตามคําพิพากษาแทนการแสดงเจตนาของลูกหนี้ก็ได

สวนหนี้ซึ่งมีวัตถุเปนอันจะใหงดเวนการอันใด เจาหนี้จะเรียกรองใหรื้อถอนการที่ไดกระทําลงแลวนั้นโดยใหลูกหนี้เสียคาใชจายและใหจัดการอันควรเพื่อกาลภายหนาดวยก็ได

อนึ่ง บทบัญญัติในวรรคทั้งหลายที่กลาวมากอนนี้ หากระทบกระทั่งถึงสิทธิที่จะเรียกเอาคาเสียหายไม”

Page 12: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

12

12

(5) ลูกจางกระทําประการอื่นอนัไมเหมาะสมแกการปฏิบัตหินาที่ของตนใหลุลวงไปโดยถกูตองและสุจริต

(1) การจงใจขัดคาํสั่งของนายจางอันชอบดวยกฎหมายนัน้ตองมีลักษณะดงันี1้0 1.1 ตองเปนคําสั่งท่ีไมผิดกฎหมาย ไมขัดตอความสงบเรียบรอยของประชาชน

และไมพนวิสัยท่ีจะปฏิบัติได ตัวอยางเชน เปนลูกจางในโรงพิมพและนายจางสั่งใหพิมพธนบัตรปลอม คําสั่งนี้ไมชอบดวยกฎหมาย ลูกจางไมตองปฏิบัติตาม หรือนายจางสั่งใหลูกจางดําน้ําเพื่อหากุญแจรถยนตที่ตกลงไปในแมน้ําเจาพระยาซึ่งโดยสภาพไมสารมารถจะปฏิบัติตามได ถือไดวาคําสั่งเชนวานั้นเปนคําสั่งที่พนวิสัยจะปฏิบัติได

1.2 ตองเปนคําสั่งท่ีเก่ียวกับสัญญาจางแรงงานนั้น ตัวอยางเชน ตกลงกันจางเปนคนขับรถยนตของบริษัท เชนนี้ นายจางจะสั่งใหลูกจางทําการขุดดินไมไดและหากลูกจางไมปฏิบัติตามคําสั่งนั้นก็จะถือวาลูกจางขัดคําสั่งไมได แตหากนายจางสั่งใหไปตอทะเบียนและนํารถไปเปลี่ยนถายน้ํามันเครื่อง เชนนี้ ถือไดวาเปนคําสั่งที่เกี่ยวเนื่องกับสัญญาจางรับรถยนตไดและหากลูกจางจงใจขัดคําสั่งเชนนี้ ก็เปนเหตุที่นายจางจะยกขึ้นมาไลลูกจางออกจากงานได ตัวอยางเชน คําพิพากษาฎีกาที่ 5520/2530 โจทกเปนพนักงานรักษาความปลอดภัยของบริษัทจําเลย ฝาฝนระเบียบขอบังคับการทํางานโดยปลอยใหบุคคลภายนอกเขามาภายในบริเวณโรงงานของจําเลย แมจะเปนกรณีรายแรงหรือไมก็ตาม ก็เปนการที่โจทกจงใจขัดคําสั่งอันชอบดวยกฎหมายของจําเลยตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 583 จําเลยจึงมีสิทธิเลิกจางโจทก โดยมิพักตองบอกกลาวลวงหนา

10 ขอสังเกต- สิทธิและหนาที่ของนายจางและลูกจางตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 575

และมาตรา 583 เปนบทบัญญัติบังคับระหวางนายจางและลูกจาง ไมสามารถนํามาปฏิเสธความรับผิดของนายจางตอบุคคลภายนอกในมูลละเมิดที่ลูกจางกระทําตอบุคคลภายนอกไมได

คําพิพากษาฎีกาที่ 3153/2525 จําเลยที่ 2 ลูกจางขับรถยนตไปสงจําเลยที่ 1 ในทางการที่จาง ในระหวางรอรับจําเลยที่ 1 กลับบานจําเลยที่ 2 ไดลอบขับรถไปทําธุรกิจสวนตัว แลวขับรถไปชนโจทกไดรับบาดเจ็บ ก็ถือไดวาจําเลยที่ 2 ยังอยูในระหวางปฏิบัติหนาที่ในทางการที่จางนั้น เพราะจําเลยที่ 2 จะพนหนาที่ขับรถใหแกจําเลยที่ 1 ก็ตอเมื่อไดรับจําเลยที่ 1 สงกลับ นํารถเขาที่เก็บเรียบรอยเปนปกติเชนที่เคยปฏิบัติทุกวันนั้นแลว ขณะที่จําเลยที่ 2 ยังอยูในหนาที่ขับรถ จําเลยที่ 1 ชอบที่จะควบคุมดูแลจําเลยที่ 2 ใหเปนไปตามคําสั่งจําเลยที่ 1 จะอางการละเวนการปฏิบัติตามคําสั่งของจําเลยที่ 2 ซึ่งเปนเรื่องระหวางจําเลยทั้งสองในฐานะเปนนายจางลูกจางมาใชยันโจทกซึ่งเปนบุคคลภายนอกเพื่อปฏิเสธความรับผิดหาไดไม และจําเลยที่ 1 จะอางบทบัญญัติของกฎหมายวาดวยสิทธิและหนาที่ของนายจางและลูกจางตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 575 และมาตรา 583 ซึ่งเปนบทบัญญัติบังคับระหวางนายจางและลูกจางเพื่อปฏิเสธความรับผิดของนายจางตอบุคคลภายนอกในมูลละเมิดที่ลูกจางกระทําตอบุคคลภายนอกก็ไมไดเชนกัน จําเลยที่ 1 จึงตองรับผิดรวมกับจําเลยที่ 2

Page 13: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

13

13

(2) ลูกจางละเลยไมนําพาตอคําสั่งอันชอบดวยกฎหมายของนายจางเปนอาจิณ การที่ลูกจางไมนําพาหรือละเลยตอคําสั่งอันชอบดวยกฎหมายของนายจาง หมายถึงการไมปฏิบัติตามคําสั่งอันชอบดวยกฎหมายของนายจางโดยที่ลูกจางไมเอาใจใส ไมเห็นความสําคัญแตไมใชกรณีที่จงใจฝาฝนคําสั่งนั้นเพราะหากเปนการจงใจขัดคําสั่งตองเปนกรณีขอ (1) และตองเปนกรณีที่ปรากฏวาลูกจางละเลยหรือไมนําพาเปนอาจิณ หรือบอย ๆ ในลักษณะที่เปนประจํา ถาละเลยเพียงครั้งเดียว นายจางจะยกมาเปนเหตุไลลูกจางออกยังไมได (3) ลูกจางละทิ้งงานไป หมายถึง การที่ลูกจางละทิ้งหรือไมมาทํางาน(ขาดงาน) ไมใชกรณีที่ขาดงานไปเพียงชั่วคราว เพราะถาเปนการขาดงานเพียงชั่วคราวกรณีนี้นายจางอาจมีสิทธิเพียงบอกเลิกสัญญา จะใชสิทธิไลออกยังไมได 11 (4) ลูกจางกระทําผิดอยางรายแรง หมายถึงกรณีที่ลูกจางกระทําการอยางใดอยางหนึ่งที่พิจารณาแลวเห็นไดวาเปนความผิดอยางรายแรงซึ่งตองพิจารณาขอเท็จจริงเปนกรณีๆไปวาการกระทํานั้นๆเปนความผิดที่รายแรงหรือไมแตอยางไรก็ตามการกระทําที่จะเปนความผิดอยางรายแรงตามบทบัญญัติดังกลาวนั้นอาจเปนการกระทําที่เกี่ยวของโดยตรงกับการทํางาน

11 คําพิพากษาฎีกาที่ 169/2527 การที่โจทกยื่นใบลาหยุดพักผอนวันที่ 21 ถึง 25 กุมภาพันธ 2526 แตผูจัดการใหโจทกเลื่อนการลาหยุดพักผอนไปกอนเพราะบริษัทมีงานคางมาก โจทกจึงไดแกวันที่ขอลาหยุดเปนวันที่ 1 ถึง 7 มีนาคม 2526 ผูจัดการเซ็นคําสั่งไมอนุมัติเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ 2526 ภายหลังจากวันโจทกยื่นใบลา แลวโจทกหยุดงานไปโดยเขาใจวาไดรับอนุมัติใหลาได นั้น เมื่อขอบังคับของจําเลยระบุวา การขอลาหยุดพักผอนประจําป ลูกจางจะหยุดไดก็ตอเมื่อไดรับอนุมัติจากผูจัดการแลว ฉะนั้น การที่โจทกหยุดงานไปดังกลาวจึงเปนการไมปฏิบัติใหถูกตองตามขอบังคับ ถือไดวาเปนการละทิ้งการงานตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 583 จําเลยมีสิทธิเลิกจางโจทกไดโดยไมจําตองบอกกลาวลวงหนา

คําพิพากษาฎีกาที่ 5192/2539 โจทกทํางานเปนลูกจางจําเลยมานานหลายป ในปสุดทายที่จําเลยเลิกจางโจทกดํารงตําแหนงผูชวยฝายบริหารซึ่งเปนตําแหนงช้ันสูง โจทกควรจะมีความรับผิดชอบตองานในหนาที่ การที่โจทกลากิจโดยไมมีกําหนดเวลาแสดงใหเห็นถึงการขาดความรับผิดชอบตองานในหนาที่ของโจทกที่ปฏิบัติอยู และเมื่อโจทกยื่นใบลาแลวโจทกหยุดงานทันทีโดยไมรอฟงวาจําเลยที่ 1 อนุมัติหรือไมเปนการขัดตอระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการทํางานวาดวยการลาของจําเลยที่ 1ในที่สุดเมื่อจําเลยที่ 1 ไมอนุมัติการลา จึงตองถือวาโจทกขาดงาน และโจทกก็ยังคงหยุดงานติดตอกันมาจนจําเลยมีหนังสือเลิกจาง หากโจทกมิไดจงใจขาดงานหรือละทิ้งหนาที่ โจทกสามารถติดตอแจงใหจําเลยที่ 1 ซึ่งตั้งอยูในกรุงเทพฯทราบไดโดยสะดวกถึงความจําเปนของโจทกเพราะโจทกไปเฝาบุตรที่ปวยที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณซึ่งตั้งอยูในกรุงเทพมหานครเชนเดียวกัน แตโจทกหาไดปฏิบัติเชนนั้นไม ต้ังแตวันที่โจทกหยุดงานจนถึงวันที่จําเลยเลิกจาง โจทกไมเคยติดตอจําเลย พฤติการณที่โจทกขาดงานติดตอกันดังกลาวเกิน 3 วัน และเปนเวลานานเกือบหนึ่งเดือนจนจําเลยมีหนังสือเลิกจาง ถือไดวาเปนการละทิ้งการงานไปเสียตาม ป.พ.พ. มาตรา 583 จําเลยจึงเลิกจางโจทกไดโดยไมตองบอกกลาวลวงหนา และไมตองจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา

Page 14: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

14

14

ตัวอยางเชน นาย ก. ลูกจางของนาย ข. เปนผูมีหนาที่เก็บเงินแทนนายจางไดทําการยักยอกทรัพยของนายจางไป หรืออาจไมเกี่ยวของกับการทํางานก็ได เชน กรณีลูกจางทํารายนายจางนอกเวลางาน12 และรวมถึงกรณีลูกจางถูกศาลไดพิพากษาลงโทษจําคุกฐานประมาทเปนเปนเหตุใหผูอ่ืนถึงแกความตายแตใหรอการลงโทษไวดวย13 เปนตน (5) ลูกจางกระทําประการอื่น อันไมเหมาะสมแกการปฏิบัติหนาท่ีของตนใหลุลวงไปโดยถูกตองและสุจริต เปนการกระทําอื่นๆนอกเหนือจากที่กลาวมาในขอ (1) ถึง (4) ซ่ึงตองพิจารณาเปนกรณีไปวาการกระทําของลูกจางนั้นๆเปนการกระทําที่เหมาะสมกับการปฏิบัติหนาที่ของลูกจางหรือไมซ่ึงตองพิจารณาจากพฤติกรรม และผลของการกระทํานั้น ๆ ประกอบกัน เชน ลูกจางของรานอาหารแหงหนึ่งไมพอใจแขกที่มาทานอาหารเนื่องจากถูกตอวาจึงเกิดการโตเถียงและดาวาแขกไป และรวมถึงการที่ลูกจางมาทํางานสายเปนประจําและนายจางไดเตือนแลวแตก็ยังมาสายเปนประจํา14

12 คําพิพากษาฎีกาที่ 2351/2532 ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางของจําเลยมิไดระบุหามกอการวิวาทหรือชกตอยกันนอกโรงงานหรือบริษัทฯ แต สาเหตุที่โจทกชกตอยพนักงานระดับหัวหนางานในแผนกเดียว กับโจทกก็เนื่องมาจากการปฏิบัติงานในหนาที่ของหัวหนางาน แมจะเปนการกระทํานอกโรงงานหรือบริษัทของจําเลย ก็ยอมเปนเหตุใหเกิดการแตกแยกความสามัคคีในหมูพนักงานดวยกันของจําเลย และอาจเปนเหตุใหกระทบกระเทือนตอการดําเนินงานของจําเลยตลอดจนอํานาจบังคับบัญชาของหัวหนางานตอไปในภายหนา การกระทําของโจทกทําใหจําเลยเสียหายจําเลยเลิกจางโจทกจึงมิใชการเลิกจางไมเปนธรรม โจทกชกตอยหัวหนางานนอกเวลาทํางานและนอกบริเวณโรงงานหรือบริษัทของจําเลย กรณีมิใชเปนเร่ืองที่โจทกได กระทําการอันไมสมควรแกการปฏิบัติหนาที่ของตนใหลุลวงไปโดยถูกตองและสุจริตตาม ความหมายแหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 583 แตเปนการกระทําผิดอยางรายแรงตามบทมาตราดังกลาว

13 คําพิพากษาฎีกาที่ 1811/2529 ตามระเบียบขอบังคับของนายจาง นายจางไลลูกจางออกจากงานไดหากลูกจางประพฤติช่ัวอยางรายแรง การที่ลูกจางพกพาอาวุธปนและนําไปจอหนาอกเด็กชาย ต. ในขณะที่ลูกจางมึนเมาสุรา กระสุนปนลั่นโดยประมาทเปนเหตุใหเด็กชาย ต.ถึงแกความตาย ศาลไดพิพากษาลงโทษจําคุกแตใหรอการลงโทษไว และลูกจางยังถูกลงโทษตามพระราชบัญญัติอาวุธปน ฯ อีกกระทงหนึ่งซึ่งศาลไดพิพากษาจําคุกแตใหรอการลงโทษไวอีกเชนเดียวกันกรณีดังกลาวถือไดวาลูกจางไดประพฤติช่ัวอยางรายแรงอันเปนเหตุที่นายจางจะไลออกจากงานไดตามระเบียบดังกลาวแลว การเลิกจางจึงเปนการเลิกจางที่เปนธรรม และนายจางเลิกจางไดโดยไมตองบอกกลาวลวงหนาตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 583

14 คําพิพากษาฎีกาที่ 362/2525 การที่ลูกจางมาทํางานสายเปนประจําและนายจางไดเตือน แลวถือไดวาเปนการกระทําอันไมสมควรแกการปฏิบัติหนาที่ของตนใหลุลวงไปโดยถูกตองและสุจริต นายจางยอมมีสิทธิที่จะไลออกโดยมิพักตองบอกกลาวลวงหนาตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 583

Page 15: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

15

15

4.2 หนาท่ีความรบัผิดของนายจาง 4.2.1. ตองจายสนิจางใหแกลูกจาง เมื่อลูกจางไดทํางานใหกับนายจางแลว ฝายนายจางก็มีหนาที่(หนี้) ที่ตองปฏิบัติตอลูกจาง คือ จายสินจางใหแกลูกจางตามที่ตกลงกันไว (มาตรา 575) และถึงแมวาจะไมมีการตกลงเรื่องของสินจางไวก็ตามนายจางก็ยังมีหนาที่จายคาสินจางใหแกลูกจาง เวนแตจะมีพฤติกรรมแสดงใหเห็นวาเปนการทํางานใหเปลา (ไมหวังคาสินจางตอบแทน) (มาตรา 576)15 กําหนดเวลาในการจายสินจาง ก็ใหเปนไปตามที่ตกลงกันไว หากไมมีการตกลงในเร่ืองของกําหนดเวลาในการจายสินจางไวก็พิจารณาตามจารีตประเพณีวาจะจายกันเมื่อใด หากไมสามารถทราบไดก็พึงจายเมื่อทํางานใหเสร็จแลว (มาตรา 580)16 4.2.2. ออกหนังสือสําคัญแสดงผลงานและระยะเวลาที่ทํางานใหแกลูกจางเมื่อสัญญาจางแรงงานสิน้สุดลงแลว (มาตรา 585)17 4.2.3. ออกคาเดินทางขากลับใหแกลูกจางซึ่งมาจากตางถิ่นหากไดออกคาเดินทางขามาใหแกเขา ซ่ึงตองประกอบดวยหลักเกณฑดังตอไปนี้ (มาตรา 586)18 (ก) สัญญามิไดเลิกหรือระงบัเพราะการกระทําหรือความผิดของลูกจาง และ (ข) ลูกจางกลับไปยังถ่ินที่ไดจางเอามาภายในเวลาอันสมควร

15 มาตรา 576 “ถาตามพฤติการณไมอาจจะคาดหมายไดวางานนั้นจะพึงทําใหเปลาไซร ทานยอมถือเอาโดยปริยายวามีคํามั่นจะใหสินจาง”

16 มาตรา 580 “ถาไมมีกําหนดโดยสัญญาหรือจารีตประเพณีวาจะพึงจายสินจางเมื่อไร ทานวาพึงจายเมื่องานไดทําแลวเสร็จ ถาการจายสินจางนั้นไดกําหนดกันไวเปนระยะเวลา ก็ใหพึงจายเมื่อสุดระยะเวลาเชนนั้นทุกคราวไป”

17 มาตรา 585 “เมื่อการจางแรงงานสุดสิ้นลงแลว ลูกจางชอบที่จะไดรับใบสําคัญแสดงวาลูกจางนั้นไดทํางานมานานเทาไรและงานที่ทํานั้นเปนงานอยางไร”

18 มาตรา 586 “ถาลูกจางเปนผูซึ่งนายจางไดจางเอามาแตตางถิ่นโดยนายจางออกเงินคาเดินทางใหไซร เมื่อการจางแรงงานสุดสิ้นลงและถามิไดกําหนดกันไวเปนอยางอื่นในสัญญาแลว ทานวานายจางจําตองใชเงินคาเดินทางขากลับให แตจะตองเปนดังตอไปนี้ คือ

(1) สัญญามิไดเลิกหรือระงับเพราะการกระทําหรือความผิดของลูกจาง และ (2) ลูกจางกลับไปยังถิ่นที่ไดจางเอามาภายในเวลาอันสมควร”

Page 16: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

16

16

บทท่ี 5. ความระงับของสัญญาจางแรงงาน 5.1 ระงับตามสัญญา 5.1.1 สัญญาจางแรงงานที่มีกําหนดระยะเวลาไว สัญญาจางแรงงานที่มีกําหนดระยะเวลาแนนอน หรือกําหนดวันเดือนปแนนอนไววาสัญญาจางแรงงานจะสิ้นสุดหรือระงับลงวันมด สัญญาจางแรงงานนั้นยอมระงับลงเมื่อถึงกําหนดเวลาที่กําหนดไวนั้นโดยไมตองบอกกลาวลวงหนาวาจะเลิกสัญญา ทั้งนี้ เปนไปตามเจตนาระหวางนายจางและลูกจางตามที่ตกลงกําหนดระยะเวลาจางแรงงานนั้นขึ้น

คําพิพากษาฎีกาท่ี 1821/2545 เมื่อลูกจางทํางานใหนายจางถึงวันที่ครบกําหนดระยะเวลาในสัญญาจางแรงงาน สัญญาจางยอมสิ้นสุดลงโดยมิตองบอกกลาวลวงหนาตาม พ.ร.บ.คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 17 วรรคหนึ่ง นายจางจึงไมตองจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาใหแกลูกจาง ในสวนของสัญญาจางแรงงานที่มีการแบงทําสัญญาจางเปนชวงสั้น ๆ หลายชวงโดยมีการกําหนดระยะเวลาเริ่มตนและสิ้นสุดของสัญญาเปนชวง ๆ ตอเนื่องกัน เพื่อแสดงวาลูกจางไมไดทํางานติดตอกัน ถือวานายจางมีเจตนาไมใหลูกจางมีสิทธิไดรับคาชดเชยตามกฎหมาย จึงตองนับระยะเวลาการทํางานทุกชวงเขาดวยกันเพื่อประโยชนในการไดสิทธิของลูกจางนั้นตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 20

ขอสังเกตเกี่ยวกับลักษณะของสัญญาที่มีกําหนดเวลาไวแตใหสิทธินายจางเลิกสัญญาหรือไลออกไดกอนครอบกําหนด คําพิพากษาฎีกาที่ 3348/2532 สัญญาจางแรงงานระหวางโจทกกับจําเลยไดกําหนดวันที่เร่ิมมีผลใชบังคับและวันที่ส้ินสุดไวแนนอนแลว แมจะกําหนดเงื่อนไขไววา หากโจทกผิดสัญญาไมวาจะเปนขอหนึ่งขอใดก็ดี โจทกยินยอมใหจําเลยเลิกจางหรือไลออกไดทันทีกอนที่จะครบกําหนดเลิกจางตามสัญญาและโจทกไมขอเรียกรองสิทธิและผลประโยชนตอบแทน หรือคาเสียหายหรือคาชดเชยจากจําเลยแตอยางใดทั้งสิ้นก็มีความหมายเพียงวา ถาโจทกทําผิดสัญญาไมวาขอหนึ่งขอใดโจทกยอมใหจําเลยเลิกจางหรือไลโจทกออกจากงานไดทันทีกอนที่จะครบกําหนดเลิกจางตามสัญญาไดเทานั้น มิใชขอกําหนดหรือเงื่อนไขที่ทําใหระยะเวลาที่กําหนดไวในสัญญาเปลี่ยนแปลงไปแตอยางใด สัญญาดังกลาวจึงเปนสัญญาจางที่มีกําหนดระยะเวลาการจางไวแนนอน 5.1.2 สัญญาจางแรงงานที่กําหนดระยะเวลาตามความสําเร็จของงานที่จาง สัญญาจางแรงงานบางชนิดอาจกําหนดเอาความสําเร็จของงานที่จางเปนเกณฑส้ินสุดของสัญญา เชน ตกลงจางไถนา 1 แปลง หรือตกลงทํางานเปนลูกเรือในเรือ 1 เที่ยวเรือ (คือเดินทางไปและกลับ) เชนนี้ แมไมไดกําหนดวันเดือนปหรือระยะเวลาของการสิ้นสุดของสัญญาไว แต

Page 17: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

17

17

เมื่องานที่ทํานั้นไดสําเร็จลงแลว สัญญาจางแรงงานก็ระงับไปเชนกัน ลักษณะเชนนี้มีลักษณะเปนสัญญาที่มีเงื่อนไขบังคับหลังตามมาตรา 183 วรรคสอง 19 5.2 เม่ือมีการแสดงเจตนาเลิกสัญญา 5.2.1 คูสัญญาแสดงเจตนาเลิกสัญญา 5.2.2 ฝายใดฝายหนึง่ใชสิทธิบอกเลิกสัญญา (หลักทั่วไปตามมาตรา 386 - 394)20 สิทธิบอกเลิกสัญญา (ก) สิทธิบอกเลิกสัญญาตามขอสัญญา คือในสัญญาระบุถึงเหตุหรือกรณีที่ใหสิทธิคูสัญญา

บอกเลิกสัญญาได สัญญาก็อาจเลิกกันไดเมื่อคูกรณีใชสิทธิตามสัญญานั้น (ข) สิทธิบอกเลิกสัญญาตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย

เลิกสัญญาเมื่อนายจางโดยโอนสิทธิของตนใหแกบุคคลภายนอกโดยที่ลูกจางมิไดยินยอมพรอมใจดวย กรณีดังกลาวลูกจางจะใชสิทธิบอกเลิกสัญญาก็ได (มาตรา 577)21

เลิกสัญญาเมื่อลูกจางใหบุคคลภายนอกทํางานแทนตนโดยนายจางไมยินยอม (มาตรา 577)

เลิกสัญญาเมื่อลูกจางขาดคุณสมบัติตามที่ลูกจางนั้นเคยไดใหคํารับรองไวกับนายจาง (มาตรา 578)22

เลิกสัญญาในกรณีท่ีลูกจางขาดงานไปโดยไมมีเหตุอันสมควรเปนระยะเวลานานเกินสมควร (ดูคําพิพากษาฎีกาที่ 3162/2524) แตถาเปนกรณีที่ลูกจางขาดงานไปโดยมีเหตุอันสมควร เชน ปวย เจ็บ หรือมีกิจธุระจําเปนเรงดวน เปนตน แตกรณีที่ขาดงาน

19 มาตรา 183 “นิติกรรมใดมีเงื่อนไขบังคับกอน นิติกรรมนั้นยอมเปนผลตอเมื่อเงื่อนไขนั้นสําเร็จแลว นิติกรรมใดมีเงื่อนไขบังคับหลัง นิติกรรมนั้นยอมสิ้นผลในเมื่อเงื่อนไขนั้นสําเร็จแลว ถาคูกรณีแหงนิติกรรมไดแสดงเจตนาไวดวยกันวา ความสําเร็จแหงเงื่อนไขนั้นใหมีผลยอนหลังไปถึง

เวลาใดเวลาหนึ่งกอนสําเร็จ ก็ใหเปนไปตามเจตนาเชนนั้น” 20 มาตรา 386 “ถาคูสัญญาฝายหนึ่งมีสิทธิเลิกสัญญาโดยขอสัญญา หรือโดยบทบัญญัติแหงกฎหมาย

การเลิกสัญญาเชนนั้นยอมทําดวยแสดงเจตนาแกอีกฝายหนึ่ง แสดงเจตนาดั่งกลาวมาในวรรคกอนนั้น ทานวาหาอาจจะถอนไดไม” 21 มาตรา 577 “นายจางจะโอนสิทธิของตนใหแกบุคคลภายนอกก็ไดเมื่อลูกจางยินยอมพรอมใจดวย ลูกจางจะใหบุคคลภายนอกทํางานแทนตนก็ไดเมื่อนายจางยินยอมพรอมใจดวย ถาคูสัญญาฝายใดทําการฝาฝนบทบัญญัตินี้ คูสัญญาอีกฝายหนึ่งจะบอกเลิกสัญญาเสียก็ได” 22 มาตรา 578 “ถาลูกจางรับรองโดยแสดงออกชัดหรือโดยปริยายวาตนเปนผูมีฝมือพิเศษ หากมา

ปรากฏวาไรฝมือเชนนั้นไซร ทานวานายจางชอบที่จะบอกเลิกสัญญาเสียได”

Page 18: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

18

18

ไปเพียงชั่วระยะเวลานอยพอสมควรนั้น ยังไมทําใหนายจางมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได (มาตรา 579)

เลิกสัญญาโดยตองบอกกลาวลวงหนาในสัญญาจางแรงงานที่ไมมีกําหนดระยะเวลาจางไว

มาตรา 582 วรรคแรก ไดบัญญัติวา “ถาคูสัญญาไมไดกําหนดลงไวในสัญญาวาจะจางกันนานเทาไร ทานวาฝายใดฝายหนึ่งจะเลิกสัญญาดวยการบอกกลาวลวงหนาในเมื่อถึงหรือกอนจะถึงกําหนดจายสินจางคราวใดคราวหนึ่ง เพื่อใหเปนผลเลิกสัญญากันเมื่อกําหนดจายสินจางคราวถัดไปขางหนาก็อาจทําได แตไมจําตองบอกกลาวลวงหนากวาสามเดือน…” กลาวคือ การใชสิทธิบอกเลิกสัญญากรณีที่เปนสัญญาจางแรงงานที่มิไดกําหนดระยะเวลาจางหรือกําหนดเวลาสิ้นสุดของสัญญาจางไว นายจางหรือลูกจางฝายใดฝายหนึ่งจะบอกเลิกสัญญาไดจะตองอยูภายใตเงื่อนไข 2 ประการ ดังตอไปนี้ (ก) ตองบอกกลาวลวงหนากอนเวลาเลิกสัญญาชั่วระยะเวลาจายสินจางระยะหนึ่ง

เปนอยางนอย แตไมจําเปนตองบอกลวงหนาเกินสามเดือน เชน สัญญาจางแรงงานตกลงจายสินจางเปนรายเดือนทุกวันสุดทายของเดือน จะใหเลิกสัญญาเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม ตองบอกกลาวลวงหนาอยางชา ในวันที่ 30 พฤศจิกายน สวนที่วาไมตองบอกกลาวลวงหนาเกินกวาสามเดือนนั้นไดแกกรณีที่จายสินจางกันเปนรายป หรือรายครึ่งป เชนนี้ ใหบอกกลาวลวงหนากอนเลิกสัญญาเพียงสามเดือนก็พอ

(ข) มีผลเลิกสัญญาเมื่อถึงกําหนดเวลาจายสินจาง เชน สัญญาจางแรงงานตกลงจายสินจางเปนรายเดือนทุก ๆ วันสุดทายของเดือน ตองเลิกสัญญาเมื่อถึงวันสุดทายของเดือน จะเลิกสัญญาในวันอื่นไมได

หากนายจางใชสิทธิบอกเลิกสัญญาโดยการบอกกลาวลวงหนาตามหลักเกณฑดังกลาวยอมถือเปนการเลิกสัญญาโดยชอบแลว23 การบอกกลาวลวงหนาชั่วระยะเวลาการจายสินจาง

23 คําพิพากษาฎีกาที่ 51/2545 สัญญาจางแรงงานระหวางโจทกจําเลยไมไดกําหนดระยะเวลาจางไว

โจทกและจําเลยจึงมีสิทธิเลิกสัญญาไดดวยการบอกกลาวใหอีกฝายหนึ่งทราบลวงหนาตาม ป.พ.พ. มาตรา 582 วรรคหนึ่ง และ พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 17 วรรคสอง การที่จําเลย(นายจาง)ใชสิทธิบอกเลิกสัญญาจางแรงงานจึงเปนการใชสิทธิตามกฎหมายโดยชอบ ไมใชเปนการผิดสัญญา และไมใชเปนการจงใจหรือประมาทเลินเลอทําตอโจทก(ลูกจาง) โดยผิดกฎหมายทําใหโจทกเสียหายตาม ป.พ.พ. มาตรา 420 จําเลยจึงมิไดกระทําละเมิดตอโจทก การบอกกลาวเลิกสัญญาจางที่ไมไดกระทําใหถูกตองตามระยะเวลาที่กฎหมายกําหนดเปนเรื่องที่โจทกชอบจะไดรับสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา หรือคาชดเชยพิเศษแทนการบอกกลาวลวงหนาตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 17 วรรคสี่, 121 วรรคสอง ป.พ.พ. มาตรา 582 วรรคสอง แลวแตกรณี และหากการเลิกจางนั้นเปนการเลิก

Page 19: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

19

19

ช่ัวระยะหนึ่งนี้แมมีการตกลงแบงจายเปนหลาย ๆ งวด แตหากพิจารณาแลวเปนการตกลงจางเปนรายเดือนการบอกลาวลวงหนาก็ตองบอกกลาวลางหนากอนหนึ่งเดือน คําพิพากษาฎีกา 521/2502 “ลูกจางรายเดือนที่มีสัญญาจางกําหนดเวลาจายสินจางกันเมื่อส้ินเดือนนั้น แมภายหลังจะเปลี่ยนเวลาจายคาจางออกเปนเดือนละ 2 คร้ัง คือ กลางเดือนครั้งหนึ่ง และสิ้นเดือนอีกครั้งหนึ่ง เพื่อชวยเหลือลูกจาง ก็หาทําใหเปลี่ยนฐานะจากลูกจางรายเดือนไปดวยไม การที่นายจางบอกเลิกสัญญาจางในตอนจายสินจางกลางเดือนจึงไมถือวาเปนการบอกกลาวลวงหนาเมื่อถึงกําหนดจายสินจางคราวใดคราวหนึ่งตามมาตรา 582 ขอสังเกต ในกรณีที่สัญญาจางแรงงานไดกําหนดระยะเวลาเลิกสัญญาเอาไว และเมื่อถึงกําหนดเวลาแลว ลูกจางยังคงทํางานนั้นใหกับนายจางตอไปอีกและนายจางรูแตก็ไมไดทักทวง แสดงวาคูสัญญาทั้งสองฝายพอใจที่จะใหสัญญาจางแรงงานนั้นมีผลระหวางกันตอไปอีก ซ่ึงตามกรณีดังกลาวนี้มาตรา 581 ใหสันนิษฐานวาคูสัญญาเปนอันไดทําสัญญาจางกันใหม โดยมีความอยางเดียวกับสัญญาเดิมทุกประการ ผิดกันก็แตขอเลิกสัญญา คือในสัญญาใหมนี้นายจางหรือลูกจางฝายใดฝายหนึ่งอาจบอกเลิกสัญญาโดยการบอกกลาวไดตามเงื่อนไขที่บัญญัติไวในมาตรา 582 เร่ืองสัญญาจางที่มิไดมีกําหนดระยะเวลาไว

การเลิกสัญญาโดยการชาํระสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา มาตรา 582 “ถาคูสัญญาไมไดกําหนดลงไวในสัญญาวาจะจางกันนานเทาไร ทานวาฝายใดฝายหนึ่งจะเลิกสัญญาดวยการบอกกลาวลวงหนาในเมื่อถึงหรือกอนจะถึงกําหนดจายสินจางคราวใดคราวหนึ่ง เพื่อใหเปนผลเลิกสัญญากันเมื่อถึงกําหนดจายสินจางคราวถัดไปขางหนาก็อาจทําไดแตไมจําตองบอกกลาวลวงหนากวาสามเดือน

อนึ่งในเมื่อบอกกลาวดังวานี้ นายจางจะจายสินจางแกลูกจางเสียใหครบจํานวนที่จะตองจายจนถึงเวลาเลิกสัญญาตามกําหนดที่บอกกลาวนั้นทีเดียว แลวปลอยลูกจางจากงานเสียในทันทีก็อาจทําได”

การบอกเลิกสัญญาจางแรงงานที่ไมมีกําหนดระยะเวลาจางนอกจากใชสิทธิบอกลาวลวงหนาตามมาตรา 582 วรรคแรก แลวนายจางยังสามารถใชสิทธิบอกเลิกสัญญาไดทันที โดยที่นายจางจะตองชําระสินจางใหแกลูกจางจนครบจํานวนที่ตองจายจนถึงเวลาที่นายจางกําหนดใหสัญญาจางแรงงานสิ้นสุด ตัวอยางเชน สัญญาจางแรงงานซึ่งตกลงจายสินจางเปนรายเดือนทุก ๆ ส้ินเดือน ปกตินายจางจะตองบอกเลิกสัญญาในวันที่ 31 ตุลาคม เพื่อใหการเลิกสัญญามีผลในวันที่ 30 พฤศจิกายน ตามมาตรา 582 วรรคแรก แตหากนายจางตองการบอกเลิกทันทีในวันที่ 31 ตุลาคม จางไมเปนธรรม โจทกก็ชอบจะไดคาเสียหายตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 49 มิใชไดรับคาสินไหมทดแทนเพื่อละเมิด

Page 20: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

20

20

นายจางตองจายสินจางสําหรับเดือนพฤศจิกายนลวงหนาใหแกลูกจาง เชนนี้ เทากับนายจางบอกเลิกสัญญาจางแรงงานทันที แตถานายจางบอกกลาวเลิกสัญญาเมื่อพนวันที่ 31 ตุลาคมไปแลว เชน บอกกลาววันที่ 15 พฤศจิกายน นายจางก็ตองชําระสินจางของเดือนพฤศจิกายน และเดือนธันวาคมดวย การเลิกสัญญาโดยฝายนายจางเชนนี้เรียกกันทั่วไปวา “การชําระสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา” กลาวคือ ถือเอาเกณฑการบอกกลาวลวงหนาในการเลิกสัญญาตามมาตรา 582 วรรคแรก มาเปนเกณฑคํานวณสินจางที่นายจางจะตองจายลวงหนาใหแกลูกจาง ขอสังเกต สิทธิเลิกสัญญาฝายเดียวทันทีโดยไมตองบอกกลาวลางหนาดังกลาวนี้เปนสิทธิของนายจางโดยเฉพาะ กฎหมายจึงกําหนดใหนายจางตองจายสินจางใหแกลูกจางจนถึงวันที่กําหนดจะใหสัญญาจางแรงงานสิ้นสุด ซ่ึงเปนประโยชนแกลูกจางที่ไดรับสินจางโดยไมตองทํางานใหแกนายจาง สวนกรณีของลูกจางนั้นไมมีสิทธิเลิกสัญญาแตฝายเดียวเหมือนกับนายจางและหากลูกจางขอเลิกสัญญาทันที แมจะไมเอาสินจางเลย การที่ละทิ้งการงานไปเชนนี้ยอมทําใหนายจางไดรับความเสียหายนายจางก็ยอมมีสิทธิฟองเรียกคาสินไหมทดแทนความเสียหายที่เกิดขึ้นได 5.2.3 เม่ือคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งถึงแกความตาย (ก) ลูกจางถึงแกความตาย สัญญาจางแรงงานเปนสัญญาซึ่งเล็งเห็นถึงคุณสมบัติของลูกจางเปนสําคัญ ดังนั้น เมื่อลูกจางตายสัญญาจางแรงงานก็ยอมระงับ24 (ข) นายจางถึงแกความตาย ถาสัญญาจางแรงงานนั้นมีสาระสําคัญอยูที่ตัวผูเปนนายจาง เมื่อนายจางตาย สัญญานั้นก็ยอมระงับไป ตามที่บัญญัติไวในมาตรา 584 แตถาสาระสําคัญของสัญญาจางแรงงานไมไดอยูที่ตัวผูเปนนายจาง สัญญายอมไมระงับ ทายาทของนายจางยอมเขาสวมสิทธิและหนาที่ตามสัญญาจางแรงงานตอไป 25

24 ขอสังเกต - ศาสตราจารยกมล สนธิเกษตริน มีความเห็นวา ถาลูกจางอยูในสภาพที่ไมอาจทํางานให

นายจางไดตามสัญญา เชน เจ็บปวยเรื้อรัง หรือวิกลจริต สัญญาจางแรงงานก็ยอมระงับลงเชนกัน 25 มาตรา 584 “ถาจางแรงงานรายใดมีสาระสําคัญอยูที่ตัวบุคคลผูเปนนายจาง ทานวาสัญญาจางเชนนั้น

ยอมระงับไปดวยมรณะแหงนายจาง”

Page 21: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

21

21

5.2.4 เม่ือนายจางไลลูกจางออกจากงานกรณีลูกจางกระทําผิดหนาท่ีตามมาตรา 583 26 ลูกจางจงใจขัดคําสั่งของนายจางอันชอบดวยกฎหมาย ลูกจางละเลยไมนําพาตอคําสั่งอันชอบดวยกฎหมายของนายจางเปนอาจิณ ลูกจางจะทิ้งการงานไป ลูกจางกระทําผิดอยางรายแรง ลูกจางกระทําประการอื่นอนัไมเหมาะสมแกการปฏิบัตหินาที่ของตนใหลุลวงไปโดยถูกตองและสุจริต

5.2.5 สัญญาจางแรงงานระงับไปดวยเหตุอ่ืน เชน การชําระหนี้ตกเปนพนวิสัย หรือกลายเปนสิ่งที่ขัดตอกฎหมาย ยกตัวอยางเชน ทําสัญญาจางคนงานใหทําหนาที่เก็บรังนกนางแอน แตตอมาปรากฏวารัฐบาลไดออกกฎหมายหามเอกชนทําการเก็บรังนกนางแอน เชนนี้ สัญญาจางแรงงานดังกลาวก็ระงับลง เปรียบเทียบการเลิกจางตามกฎหมายแพงและพาณิชยกับกฎหมายคุมครองแรงงาน เมื่อสัญญาจางแรงงานระงับไปโดยการเลิกจางของนายจาง หากการที่เลิกจางหรือสัญญาจางไดระงับไปนั้น ตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 นายจางจะตองจายเงินชดเชยใหแกลูกจางเมื่อมีการเลิกจาง ไมวาจะเปนการใหออก ปลดออก หรือไลออก โดยใหจายตามอัตราและระยะเวลาที่ลูกจางผูนั้นทํางานติดตอกันใหกับนายจาง (มาตรา 118)27 เวนแตจะเปนกรณีที่มีกฎหมายกําหนดขอยกเวนไว เชน กรณีเลิกจางเพราะลูกจางกระทําความผิด เปนตน

26 ดูรายละเอียดในเรื่อง หนาที่ของลูกจางทีตองทํางานภายใตบังคับบัญชาของนายจาง 27พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 118 ใหนายจางจายคาชดเชยใหแกลูกจางซึ่งเลิกจางดังตอไปนี้ (1) ลูกจางซึ่งทํางานติดตอกันครบหนึ่งรอยยี่สิบวัน แตไมครบหนึ่งป ใหจายไมนอยกวาคาจางอัตรา

สุดทายสามสิบวัน หรือไมนอยกวาคาจางของการทํางานสามสิบวันสุดทายสําหรับลูกจางซึ่งไดรับคาจางตามผลงานโดยคํานวณเปนหนวย

(2) ลูกจางซึ่งทํางานติดตอกันครบหนึ่งป แตไมครบสามป ใหจายไมนอยกวาคาจางอัตราสุดทายเกาสิบวัน หรือไมนอยกวาคาจางของการทํางานเกาสิบวันสุดทายสําหรับลูกจางซึ่งไดรับคาจางตามผลงานโดยคํานวณเปนหนวย

(3) ลูกจางซึ่งทํางานติดตอกันครบสามป แตไมครบหกป ใหจายไมนอยกวาคาจางอัตราสุดทายหน่ึงรอยแปดสิบวัน หรือไมนอยกวาคาจางของการทํางานหนึ่งรอยแปดสิบวันสุดทายสําหรับลูกจางซึ่งไดรับคาจางตามผลงานโดยคํานวณเปนหนวย

Page 22: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

22

22

(4) ลูกจางซึ่งทํางานติดตอกันครบหกป แตไมครบสิบป ใหจายไมนอยกวาคาจางอัตราสุดทายสองรอย

สี่สิบวัน หรือไมนอยกวาคาจางของการทํางานสองรอยสี่สิบวันสุดทายสําหรับลูกจางซึ่งไดรับคาจางตามผลงานโดยคาํนวณเปนหนวย

(5) ลูกจางซึ่งทํางานติดตอกันครบสิบปขึ้นไป ใหจายไมนอยกวาคาจางอัตราสุดทายสามรอยวัน หรือไมนอยกวาคาจางของการทํางานสามรอยวันสุดทายสําหรับลูกจางซึ่งไดรับคาจางตามผลงานโดยคํานวณเปนหนวย

การเลิกจางตามมาตรานี้ หมายความวา การกระทําใดที่นายจางไมใหลูกจางทํางานตอไปและไมจายคาจางให ไมวาจะเปนเพราะเหตุสิ้นสุดสัญญาจางหรือเหตุอื่นใด และหมายความรวมถึงกรณีที่ลูกจางไมไดทํางานและไมไดรับคาจางเพราะเหตุที่นายจางไมสามารถดําเนินกิจการตอไป

ความในวรรคหนึ่งมิใหใชบังคับแกลูกจางที่มีกําหนดระยะเวลาการจางไวแนนอนและเลิกจางตามกําหนดระยะเวลานั้น

การจางที่มีกําหนดระยะเวลาตามวรรคสามจะกระทําไดสําหรับการจางงานในโครงการเฉพาะที่มิใชงานปกติของธุรกิจหรือการคาของนายจางซึ่งตองมีระยะเวลาเริ่มตนและสิ้นสุดของงานที่แนนอน หรือในงานอันมีลักษณะเปนครั้งคราวที่มีกําหนดการสิ้นสุดหรือความสําเร็จของงาน หรือในงานที่เปนไปตามฤดูกาลและไดจางในชวงเวลาของฤดูกาลนั้น ซึ่งงานนั้นจะตองแลวเสร็จภายในเวลาไมเกินสองป โดยนายจางและลูกจางไดทําสัญญาเปนหนังสือไวต้ังแตเมื่อเริ่มจาง

Page 23: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

23

23

สัญญาจางแรงงาน

กฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ ลักษณะสําคัญ ความสําคัญของคูสัญญา หนาที่ของลูกจาง หนาที่ของนายจาง

พ.ร.บ.คุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 - เปนสัญญาตางตอบแทน ทํางานใหแกนายจาง 1. ตองจายสินจางใหแกลูกจาง

พ.ร.บ.เงินทดแทน พ.ศ.2537 - สมบูรณโดยการแสดงเจตนา 1. ตองทํางานดวยตนเอง พ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ พ.ศ.2518 2. ตองทํางานใหไดตามที่รับรองไว พ.ร.บ.ประกันสังคม พ.ศ.2533

- มุงในประโยชนจากแรงงานของลูก จางไมคํานึงถึงผลสําเร็จของงาน

3. ตองทํางานใหตามขอตกลง

พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ.2535 - นายจางมีอํานาจบังคับบัญชาลูกจาง

2. ออกหนังสือสําคัญแสดงผลงานและระยะเวลาที่ทํางานใหแกลูกจางเมื่อสัญญาจางแรงงานสิ้นสุดลงแลว (มาตรา 585)

ทํางานตามคําสั่งของนายจาง พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ.2522

พ.ร.บ.ฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ.2534

พ .ร .บ .กองทุนสํ า รอง เ ลี้ ย ง ชีพ พ.ศ.2535

3.ออกคาเดินทางขากลับใหแกลูกจางซึ่งมาจากตางถิ่นหากไดออกคาเดินทางขามาใหแกเขา ซึ่งตองประกอบดวยหลักเกณฑดังตอไปนี้ (มาตรา 586)

ฯลฯ........................................

กรณีของลูกจาง

- ลูกจางจะใหบุคคลภายนอกทํางานแทนตนไดตอเมื่อนายจางยินยอม ถาฝาฝน นายจางมีสิทธิบอกเลิกสัญญา (ม 577)

กรณีของนายจาง

- นายจ างจะโอนสิทธิของตนใหแกบุคคลอื่นไดตอเมื่อลูกจางยินยอมลูกจางมีสิทธิบอกเลิกสัญญา (ม 577)

- ถาสัญญาจางมีสาระสําคัญอยูที่ตัวนายจาง สัญญาจางจะระงับลงเมื่อนายจางตาย (มาตรา 584)

ถาลูกจางจงใจขัดคําสั่งของนายจางอันชอบดวยกฎหมาย หรือละเลยไมนําพาตอคําสั่งเชนวานั้นเปนอาจิณ ละทิ้งการงานไปเสีย กระทําความผิดอยางรายแรง หรือทําประการอื่นอันไมสมแกการปฏิบัติหนาที่ของตนใหลุ ล ว ง ไปโดยถู กต อ งและสุ จ ริ ต นายจางจะไลออกโดยมิพักตองบอกกล า ว ล ว งหน าห รื อ ให สิ น ไหมทดแทนก็ได (ม.583)

Page 24: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

24

24

การระงับของสัญญาจางแรงงาน

1. สิ้นสุดตามสัญญา 2. เลิกสัญญา

3. คูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งตาย

4. เมื่อนายจางไลลูกจางออกจากงานกรณีลูกจางกระทําผิดหนาที่ ม. 583

5. สัญญาจางแรงงานระงับไปดวยเหตุอื่น

1.1 สัญญาจางแรงงานที่มีกําหนดระยะเวลา

2.1 คูสัญญาแสดงเจตนาเลิกสัญญา

1.2 สัญญาจางแรงงานที่กําหนดระยะเวลาตามความสําเร็จของงานที่จาง

2.2 ฝายใดฝายหนึ่งใชสิทธิ บอกเลิกสัญญา

เมื่อนายจางทําผิดหนาที่ (ม. 577)

สิทธิบอกเลิกสัญญาตามสัญญา สิทธิบอกเลิกสัญญาตามกฎหมาย เมื่อลูกจางทําผิดหนาที่ (ม. 577)

เมื่อลูกจางขาดคุณสมบัติ ตามที่ลูกจางนั้นเคยรับรองไว (ม. 578)

ชําระสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา (ม. 582 ว.2 )

บอกกลาวลวงหนาในสัญญาจางแรงงานที่ไมมีกําหนดระยะเวลาจางไว (ม. 582)

ลูกจางขาดงานไปโดยไมมีเหตุอันสมควรเปนระยะเวลานานเกินสมควร(ม. 579)

Page 25: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

25

25

สัญญาจางแรงงาน ทําที่…………………………………… ………………………………………..

วันที…่…….เดือน…………………พ.ศ…………

หนังสือสัญญานี้ทําขึ้นระหวางบริษัท………………………..………………………จํากัด ซ่ึงตอไปในสัญญานี้เรียกวา “นายจาง” กับนาย………………...…………………..………………… ซ่ึงตอไปในสัญญานี้เรียกวา"ลูกจาง" อีกฝายหนึ่ง ตามรายละเอียดและเงื่อนไขดังตอไปนี้ ขอ 1. นายจางตกลงวาจางใหลูกจางทํางานในบริษัทของนายจาง ในตําแหนง………….…อัตราเงินเดือน……………….บาท (…………………………………) มกีําหนดเวลา………………ป ขอ 2. ในระหวางการจางตามสัญญานี้ ลูกจางมีสิทธิที่จะไดรับ 2.1 อาหารและที่พักอาศัยโดยนายจางเปนผูจัดหางานให 2.2 การรักษาพยาบาลโดยนายแพทยของนายจาง หรือโดยโรงพยาบาลของรัฐบาล 2.3 วันหยุดพักผอน…………วัน เมื่อไดทํางานอยางมีประสิทธิภาพครบ………….ป 2.4 เงินปนผลในอัตรารอยละ 3 ของยอดกําไรสุทธิของนายจางในแตละป 2.5 สําหรับกรณีที่ทํางานอยางมีประสิทธิภาพครบ 1 ป แลวจะไดรับการพิจารณาเพิ่มเงินเดือนไมเกินรอยละ 5 ขอ 3. ลูกจางจะตองปฏิบัติตามกฎขอบังคับของนายจางโดยเครงครัด ขอ 4. ลูกจางจะตองปฏิบัติหนาที่ของตนดวยความซื่อสัตย และขยันหมั่นเพียร โดยปฏิบัติตามคําสั่งหรือขอบังคับใด ๆ ของนายจาง หรือผูควบคุมงาน ณ สถานที่ทํางานของตน ขอ 5. ลูกจางจะตองทํางานวันละ …………….ช่ัวโมง สัปดาหละ…………..วัน โดยมีวันหยุดตามวันหยุดของทางราชการ ลูกจางจะตองทํางานลวงเวลาตามที่นายจางกําหนดให โดยจะไดรับคาจางลวงเวลา สวนการจายนั้นใหเปนไปตามระเบียบของนายจาง ขอ 6. เงินรอยละ 10 ของเงินเดือนปกติแตละเดือนของลูกจาง จะถูกนายจางหักไวเพื่อเปนคาใชจายของนายจางกรณีบอกเลิกของสัญญานี้ เนื่องมาจากการผิดสัญญาของลูกจางนายจางจะคืนเงินที่หักไวใหแกลูกจางเมื่อไดทํางานอยางมีประสิทธิภาพครบ……………ป แลว ขอ 7. ลูกจางจะตองเปนผูรับผิดของตอตนเองในเรื่องความเจ็บปวย บาดเจ็บหรือตายอันเกิดจากความประมาท หรือการผิด หรือการศีลธรรมของลูกจางเอง

Page 26: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

26

26

ขอ 8. ในกรณีที่ลูกจางมีความจําเปนที่จะออกงานนี้ เนื่องมาจากความจําเปนสวนตัวกอนครบสัญญาจะกระทํามิได เวนแตจะไดรับอนุมัติจากนายจางเปนลายลักษณอักษร ขอ 9. นอกจากการทํางานใหแกนายจางแลว ลูกจางไมมีสิทธิไปทํางานใหกับผูอ่ืนอีกไมวาจะเปนการทํางานในวันหยุดหรือนอกเวลาการทํางานปกติก็ตาม ขอ 10. ในกรณีที่ลูกจางไดเปนผูกอใหเกิดความเสียหายแกทรัพยสินของนายจางอันเกิดจากการละทิ้งหนาที่ หรือการทําผิดพลาดของตน ลูกจางจะตองถูกบังคับใหชดใชตอความเสียหายนั้นดวยคาใชจายของตัวเอง ขอ 11. ลูกจางรับรองวากอนจะไดลงนามในสัญญานี้ ตนไดรับรูสภาพการอยูอาศัย สภาพของงาน ขนบธรรมเนียมประเพณีของประเทศไทยซึ่งตนตกลงทํางานดีแลว ขอ 12. สัญญานี้อาจถูกบอกเลิกในเวลาใด ๆ ก็ได หากลูกจางไมปฏิบัติตามสัญญาในระหวางการจาง หรือไมปฏิบัติตามกฎหมายของประเทศไทย ลูกจางจะตองถูกสงกลับประเทศของตนดวยคาใชจายของตนเอง ขอ 13. รายละเอียดและเงื่อนไขของสัญญานี้ อาจมีการแกไขไดตามความจําเปน

ลงชื่อ……………………………………….นายจาง(……………………………………………..)

ลงชื่อ……………………………………….ลูกจาง(……………………………………………..)

ลงชื่อ……………………………………….พยาน

(……………………………………………..)

ลงชื่อ……………………………………….พยาน(……………………………………………..)

Page 27: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

27

27

สัญญาจางแรงงาน สัญญาฉบับนี้ทําขึ้นเมื่อ……………………………………

ระหวาง…………………………………………. (ตอไปในสัญญานี้เรียกวา นายจาง)

ฝายหนึ่ง กับนาย………………………………………………...……..…………… หนังสือเดินทางเลขที่…………………….. (ตอไปในสัญญานี้เรียกวา ลูกจาง) อีกฝายหนึ่ง ตามรายละเอียดและเงื่อนไขดังนี้ ขอ 1. นายจางตกลงวาจางใหลูกจางทํางานในบริษัทของนายจาง ณ ประเทศ............ตําแหนง………………………………………..อัตราเงินเดือน……………………….……………… ขอ 2. สัญญาฉบับนี้จะมีผลบังคับเปนเวลา 2 ป นับแตวันที่ลูกจางไดเดินทางมาถึงราชอาณาจักรและในปที่ 2 จะเริ่มนับตั้งแตวันที่ลูกจางเดินทางกลับมาถึงราชอาณาจักรหลังจากไดหยุดพักผอนประจําปแลว ขอ 3. เมื่อลูกจางไดเดินทางมาถึงสถานที่ทํางาน จะตองทํางานภายใตการควบคุมดูแลอยางใกลชิดจากนายจางเปนเวลา 90 วัน ในกรณีที่การทํางานของลูกจางไมมีประสิทธิภาพจะตองถูกสงกลับถ่ินเดิมของลูกจางดวยคาใชจายของผูจัดสงไทย ขอ 4. ในระหวางการจางตามสัญญานี้ ลูกจางมีสิทธิที่จะไดรับ (ก) อาหารและที่พักอาศัยโดยนายจางเปนผูจัดหาให (ข) การรักษาพยาบาลโดยแพทยของนายจาง หรือโดยโรงพยาบาลของรัฐ (ค) วันหยุดพักผอน 15 วัน เมื่อไดทํางานอยางมีประสิทธิภาพครบ 1 ปแลว โดยไดรับเงินคาจางตามปกติเทากับวันหยุดดังกลาว เงินจํานวนนี้จะจายใหเฉพาะกับลูกจางที่ไดเดินทางกลับมาทํางานตอในปที่ 2 ตามสัญญาเทานั้นเฉพาะกับลูกจางที่ไดเดินทางกลับมาทํางานตอในปที่ 2 ตามสัญญาเทานั้น สําหรับผูที่ไมกลับมาทํางานตอ เงินจํานวนนี้จะถูกริบรวมทั้งเงินจํานวน 10% ของเดิมที่นายจางไดหักไวตามที่กลาวมาขอ 8. จะตองถูกริบดวย เพื่อนํามาเปนคาใชจายสําหรับตั๋วเครื่องบิน สวนคนงานใดที่ไมตองการหยุดพักผอน เงินจํานวนเทากับการทํางานปกติ 15 วันนี้ จะจายใหแกคนงานเมื่อไดทํางานครบ 1 ป รวมทั้งจะไดรับเงินเทากับตั๋วเดินทางไปกลับ...............................ซ่ึงจะจายใหเมื่อไดทํางานครบ 1 ป ตามสัญญาแลว

(ง) สําหรับคนงานที่ทํางานอยางมีประสิทธิภาพ 1 ปแลว จะไดรับการพิจารณาเพิ่มเงินเดือนไมเกิน 5% (จ) ใบรับรองการผานงาน เมื่อคนงานรองขอหลังจากทํางานครบ 2 ป ตามสัญญาแลว

Page 28: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

28

28

ขอ 5. ลูกจางจะตองปฏิบัติตามกฎขอบังคับของประเทศ........................... และนายจางโดยเครงครัด

ขอ 6. ลูกจางตองปฏิบัติหนาที่ของตนดวยความซื่อสัตยและขยันหมั่นเพียร โดยปฏิบัติตามคําสั่งหรือขอบังคับใด ๆ ของนายจางหรือผูควบคุมงาน ณ สถานที่ทํางานของตน ขอ 7. ลูกจางจะตองทํางานวันละ 8 ช่ัวโมง สัปดาหละ 6 วัน โดยมีวันหยุดตามวันหยุดของทางราชการ ลูกจางจะตองทํางานลวงเวลาตามที่นายจางกําหนดให โดยจะไดรับคาลวงเวลา สวนการจายนั้นใหเปนไปตามระเบียบของนายจาง ขอ 8. เงิน 10% ของเงินเดือนปกติแตละเดือนของลูกจาง จะถูกนายจางหักไวเพื่อเปนคาใชจายของนายจางกรณีบอกเลิกสัญญานี้ เนื่องมาจากการผิดสัญญาของลูกจาง นายจางจะคืนเงินที่หักไวใหแกลูกจาง เมื่อไดทํางานอยางมีประสิทธิภาพครบ 2 ป แลว ขอ 9. นายจางมีอํานาจที่จะพิจารณายายลูกจางจากสถานที่ทํางานหนึ่งไปยังอีกแหงหนึ่ง ภายในราชอาณาจักรได ขอ 10. ลูกจางจะตองเปนผูรับผิดชอบตอตนเองในเรื่องความเจ็บปวย บาดเจ็บ หรือตาย อันเกิดจากความประมาท การกระทําความผิด หรือการผิดศีลธรรมของลูกจางเอง ขอ 11. ในกรณีที่ลูกจางมีความจําเปนที่จะออกจากงานนี้ เนื่องมาจากความจําเปนสวนตัว ครบสัญญา จะตองเสนอหลักฐานใหแกนายจางเพื่ออนุมัติ และลูกจางจะตองออกคาใชจายสําหรับคาเดินทางเอง ขอ 12. กรณีที่ลูกจางขาดงานโดยไมมีเหตุผล และไมไดรับอนุมัติจากผูจัดการโครงการในระหวางสัญญา นายจางจะแจงเรื่องราวดังกลาวใหแกเจาหนาที่ตํารวจและเจาหนาที่เกี่ยวกับหนังสือเดินทาง เพื่อใหดําเนินการตามกฎหมาย และลูกจางจะตองถูกลงโทษตามกฎหมายของประเทศ……………………... ขอ 13. นอกจากการทํางานใหกับนายจางแลว ลูกจางไมมีสิทธิไปทํางานใหกับผูอ่ืนอีก ไมวาจะเปนการทํางานในวันหยุดหรือนอกเวลาทํางานปกติก็ตาม ขอ 14. ลูกจางจะตองเปนผูรับผิดชอบคาใชจายทั้งหมดที่เกี่ยวกับการขอหนังสือเดินทางใหมและคาใชจายในการขอหนังสือสําคัญสําหรับอยูอาศัยใหมหรือหนังสือเดินทางกรณีที่ไดทําหายไป ขอ 15. ในกรณีที่ลูกจางไดเปนผูกอใหเกิดความเสียหายแกทรัพยสินของนายจางหรือเครื่องมือซ่ึงตนเปนผูใช อันเกิดจากการละทิ้งหนาที่หรือการทําผิดพลาดของตน ลูกจางจะตองถูกบังคับใหชดใชตอความเสียหายนั้นในวงเงินไมเกินคาจาง 1 เดือน และเงินสะสม 10% ที่นายจางไดหักไว หากความเสียหายดังกลาวมีมากและรายแรง ลูกจางอาจถูกใหออกจากงานและจะถูกสงกลับดวยคาใชจายของตนเอง

Page 29: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

29

29

ขอ 16. ลูกจางรับรองวากอนจะไดลงนามในสัญญานี้ ตนไดรับรูถึงสภาพการอยูอาศัย สภาพของงาน ขนบธรรมเนียมและประเพณีของประเทศ.......................... ซ่ึงตนตกลงจะไปทํางานดีแลว ขอ 17. ลูกจางจะตองเปดบัญชีเงินฝากไวกับธนาคารในประเทศของตน สําหรับสงเงินจํานวน 80% ของเงินเดือนปกติของตนกลับมาเขาบัญชีดังกลาวเพื่อเล้ียงดูครอบครัว การสงเงินที่นอกเหนือไปจาก 80% ดังกลาว จะตองไดรับอนุมัติจากผูจัดการโครงการกอนทุกครั้ง ขอ 18. สัญญาฉบับนี้อาจถูกบอกเลิกในเวลาใด ๆ ก็ได หากลูกจางไมปฏิบัติตามสัญญาในระหวางการจาง หรือไมปฏิบัติตามกฎหมายของประเทศ.......................... ลูกจางจะตองถูกสงกลับประเทศของตนเองดวยคาใชจายของตนเอง ขอ 19. รายละเอียดและเงื่อนไขของสัญญานี้ อาจมีการแกไขไดตามความจําเปนของนายจาง

ลงชื่อ……………………………………….นายจาง(……………………………………………..)

ลงชื่อ……………………………………….ลูกจาง(……………………………………………..)

ลงชื่อ……………………………………….พยาน

(……………………………………………..)

ลงชื่อ……………………………………….พยาน(……………………………………………..)

Page 30: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

30

30

สัญญาจางและขอตกลงเกีย่วกบัสภาพการจาง

สัญญาฉบับนี้ทําขึ้นเมื่อวันที่……เดือน………………..…พ.ศ.………… ระหวาง บริษัท......…………………………จํากัดโดย………………………………………

และ…………………………………………กรรมการผูมีอํานาจสํานักงานตั้งอยูที่……………...……ถนน………….…ต รอก /ซอย……………………ตํ า บ ล /แข ว ง………………………อํ า เ ภ อ /เขต…………………………จังหวัด…………………อายุ……………ป สัญชาติ…………………บัตรประจําตัวประชาชนเลขที่ ………………………..ออกใหเมื่อ………………………………สิ้นสุดเมื่อวันที่………………………ณ เขต…………………………………..…อยูบานเลขที่………ถนน…………..…………ตรอก/ซอย………ตําบล/แขวง…………………อําเภอ/เขต………………จังหวัด……………………มีคุณวุฒิ…………………………………ดังรายละเอียดตามใบสมัครงานพรอมเอกสาร เคยทํางานครั้งสุดทายที่……………………………………………………………..….มีใบรับรองการทํางานของนายจาง…………………………………………………………………ซ่ึงตอไปในสัญญานี้เรียกวา ลูกจาง อีกฝายหนึ่ง คูสัญญาทั้งสองตกลงกันดังตอไปนี้

ขอ 1. นายจางตะลงวาจางใหลูกจางทํางานในบริษัท……………………..…………………จํากัด ของนายจาง ซ่ึงมีวัตถุประสงค……………………………………………………..……………โดยรังทํางานในตําแหนง………………………………………ฝาย…………………………………เพื่อทําหนาที่…………………………….…………………………………………………………… โดยทดลองทํางานมีกําหนดสามเดือน เมื่อการทํางานเปนที่พอใจของนายจางก็จะรับสมัครเขาทํางานในตําแหนงประจํามีกําหนดเวลา………ป หรืออาจเปลี่ยนแปลงตําแหนงตามความเหมาะสมได ในวันทําสัญญานี้ลูกจาง ไดทราบระเบียบกฎขอบังคับการทํางานของบริษัท………….…… นายจาง เปนที่เขาใจดีแลว ใหลูกจางเริ่มทํางานตั้งแตวันที่…………………………………………………..…………

ขอ 2. นายจางตกลงใหคาจาง และลูกจางตกลงรับคาจางดังนี้ ในระหวางทดลองงาน จะจายเงินเดือนใหลูกจางในอัตราเดือนละ ………….…………บาท

(…………………..…………………) กําหนดวันจายในวันที่ 15 ของเดือน และวันสุดทายของเดือน เมื่อนายจางรับลูกจางเขาทํางานในตําแหนงที่วาจางเปนลูกจางประจําก็จะจายคาจางใหเดือนละ …………………บาท (………………………………………) ดังที่กําหนดเวลาการจายดังกลาว

Page 31: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

31

31

เงื่อนไขขอตกลงอ่ืน ๆ ……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………..

ขอ 3. ลูกจางใหสัญญาแกนายจางวา งานในตําแหนงหนาที่ซ่ึงรับจางตามสัญญานี้ ลูกจางมีความรูความสามารถ และตกลงวาจะปฏิบัติหนาที่จากการทํางาน มิใหนายจางไดรับความเสียหาย อันเกิดจากความบกพรอง และละเลยทอดทิ้งงานหรือทําใหนายจางเสื่อมเสียช่ือเสียงเกียรติคุณ ลูกจางตกลงจะปฏิบัติงานตาง ๆ ตามที่นายจางมอบหมายใหสําเร็จลุลวงดวยดี ลูกจางใหสัญญาวาจะไมนําความลับที่ลวงรูไมวาโดยทางตรงหรือทางออมไปเปดเผยใหกับบุคคลภายนอก ขอ 4. นายจางตกลงจะใหสวัสดิการและคุมครองแกลูกจางดังนี้ คารักษาพยาบาลเจ็บปวยอันเนื่องจากการทํางานใหนายจาง ซ่ึงรวมทั้งคูสมรสและบุตร…คน ใหสวัสดิการประกันสังคมใหสวัสดิการดานประกันชีวิตในวงเงิน……………บาท (………………) จะจัดใหมีการนําเงินทุนสํารองเลี้ยงชีพ ตอสถาบันการเงิน โดยการหักเงินเดือนตามความสมัครใจของลูกจาง ขอ 5. งานที่นายจางมอบหมายใหอยูในความรับผิดชอบของลูกจาง ดังตอไปนี้ ……..………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….. ลูกจางจะตองมาปฏิบัติการทํางานใหนายจางตามเวลาทาํงานตั้งแตเวลา ………….…….……จนถึงเวลาเลิกงาน…………..น. เปนประจําทุกวัน ยกเวนวัน………………….หรือวัน หยุดตามที่นายจางไดประกาศ ซ่ึงลูกจางไดอานและทราบดีแลว ขอ 6. นอกเหนือจากคาจางดังกลาวขางตน นายจางจะจายเงินใหกับลูกจางเพิ่มอีกดังนี้ เงินโบนัสประจําป นายจางจะจายใหลูกจางในกรณีที่นายจางมีกําไร แตทั้งจะตองไดรับความเห็นชอบจาก………………………. (คณะกรรมการของบริษัทอนุมัติ) เงินรางวัล จะจายใหลูกจางที่มีขยันในการเทานั้น แตทั้งนี้ใหอยูในดุลพินิจของนายจาง ขอ 7. ลูกจางจะตองหาผูค้ําประกันมารับรองความประพฤติและรับผิดชอบรวมกับลูกจาง ในกรณีที่ลูกจางทําความเสียหายใหกับนายจางภายในวงเงิน ………………………………..……บาท (………………………) โดยนําหลักทรัพยมาใหนายจางยึดถือไวเปนประกัน และนายจางจะคืนใหเมื่อไมมีความเสียหายเกิดขึ้นเมื่อลูกจางออกจากงานผูที่มาค้ําประกันจะตองเปนบุคคลที่นายจางยอมรับไดเทานั้น การค้ําประกันมีอายุนับแตวันที่ลูกจางปฏิบัติหนาที่การทํางาน และสิ้นสุดเมื่อครบกําหนดตามสัญญานี้

Page 32: เอกเทศสัญญา 2-1

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางแรงงาน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

32

32

ขอ 8. กรณีที่ลูกจางฝาฝนระเบียบขอบังคับการทํางาน ในกรณีที่ลูกจางไมปฏิบัติตามระเบียบกฎขอบังคับการทํางานที่ไดตกลงไวกับนายจางจะใชสิทธิดังตอไปนี้ (1) มีหนังสือแจงเตือน และเรียกมาวากลาวตักเตือน และใหลูกจางลงลายมือช่ือรับทราบ (2) มีหนังสือแจงเตือนครั้งที่สองในกรณีทําซ้ําหลังจากที่เตือนแลว หรือทําความผิดอยางอื่น (3) มีหนังสือแจงเลิกจาง โดยจะไมจายเงินคาบอกลวงหนากอนเลิกจางและคาทดแทน ในกรณีกระทําความผิดตามกฎหมายคุมครองแรงงาน การเลิกจางนายจางจะไมใชสิทธิเลิกจางกับลูกจางโดยไมเปนธรรม นายจางจะใชสิทธิเลิกจางในกรณีที่สัญญาจางสิ้นสุดโดยทําเปนหนังสือบอกกลาวลวงหนา หนึ่งเดือนนายจางจะใชสิทธิเลิกจางเมื่อลูกจางประพฤติผิดวินัย ผิดกฎหมายคุมครองแรงงาน ในกรณีลูกจางจะบอกเลิกการทํางานเปนลูกจางไมวาลูกจางนั้นจะเปนลูกจางที่มีกําหนดเวลา หรือลูกจางประจํา ลูกจางจะตองทําหนังสือแจงใหนายจางทราบลวงหนาไมนอยกวาหนึ่งเดือน อีกทั้งจะตองสะสางานที่คางอันอยูในความรับผิดชอบของลูกจาง สงมอบใหนายจางโดยการทํารายงานโดยละเอียด สัญญานี้ไดทําขึ้นเปนสองฉบับมีขอความตรงกันซึ่งคูสัญญาทั้งสองฝายไดอานและเขาใจขอความของสัญญานี้ดีโดยตลอดแลวจึงลงลายมือช่ือไวเปนสําคัญตอหนาพยาน

ลงชื่อ……………………………………….นายจาง(……………………………………………..)

ลงชื่อ……………………………………….ลูกจาง(……………………………………………..)

ลงชื่อ……………………………………….พยาน

(……………………………………………..)

ลงชื่อ……………………………………….พยาน(……………………………………………..)