สายไฟฟ าอากาศต วนำอะ...

26
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ICS 29.060.20 ISBN 978-974-292-605-2 มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม THAI INDUSTRIAL STANDARD มอก. 2341 2550 ALUMINIUM SPACE AERIAL POWER CABLES WITH XLPE INSULATED AND SHEATHED FOR RATED VOLTAGES OF 25 kV AND 35 kV สายไฟฟาอากาศตัวนำอะลูมิเนียมหุมดวยฉนวนและ เปลือกครอสลิงกดพอลิเอทิลีนสำหรับแรงดันไฟฟา ที่กำหนด 25 กิโลโวลต และ 35 กิโลโวลต

Upload: hadang

Post on 16-Jul-2018

221 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: สายไฟฟ าอากาศต วนำอะ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2341-2550.pdf · มอก. 2341 2550 มาตรฐานผลิตภัณฑ

สำนักงานมาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรม

กระทรวงอตุสาหกรรม ICS 29.060.20 ISBN 978-974-292-605-2

มาตรฐานผลิตภณัฑอตุสาหกรรมTHAI INDUSTRIAL STANDARD

มอก. 2341 2550

ALUMINIUM SPACE AERIAL POWER CABLES WITH XLPE INSULATED ANDSHEATHED FOR RATED VOLTAGES OF 25 kV AND 35 kV

สายไฟฟาอากาศตัวนำอะลมูเินยีมหมุดวยฉนวนและเปลอืกครอสลงิกดพอลเิอทลินีสำหรบัแรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด 25 กโิลโวลต และ 35 กโิลโวลต

Page 2: สายไฟฟ าอากาศต วนำอะ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2341-2550.pdf · มอก. 2341 2550 มาตรฐานผลิตภัณฑ

มอก. 2341 2550

มาตรฐานผลิตภณัฑอตุสาหกรรมสายไฟฟาอากาศตัวนำอะลมูเินยีมหมุดวยฉนวนและเปลอืกครอสลงิกดพอลเิอทลินีสำหรบัแรงดนัไฟฟา

ทีก่ำหนด 25 กโิลโวลต และ 35 กโิลโวลต

สำนักงานมาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรมกระทรวงอตุสาหกรรม ถนนพระรามที ่6 กรงุเทพฯ 10400

โทรศพัท 0 2202 3300

ประกาศในราชกจิจานุเบกษา ฉบับประกาศทัว่ไป เลม 125 ตอนพิเศษ 54งวนัที ่14 มนีาคม พุทธศกัราช 2551

Page 3: สายไฟฟ าอากาศต วนำอะ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2341-2550.pdf · มอก. 2341 2550 มาตรฐานผลิตภัณฑ

(2)

คณะกรรมการวชิาการคณะที ่ 960มาตรฐานสายไฟฟาหุมฉนวนแรงสูง

ประธานกรรมการรศ.วีรกร อองสกลุ คณะสิง่แวดลอม ทรัพยากร และการพฒันา

สถาบนัเทคโนโลยีแหงเอเชยี

กรรมการนายชาญณรงค บาลมงคล คณะวศิวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวทิยาลยั

นายบญุเหนอื พึง่ศริิ คณะวศิวกรรมศาสตร

มหาวทิยาลยัเทคโนโลยพีระจอมเกลาธนบรุี

นายณฏัฐ นีลวชัระ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

นายวิชชา ชาครพพิฒัน การไฟฟานครหลวง

นายไพฑรูย พรหมพทิกัษ การไฟฟาสวนภูมภิาค

นายสมพล ตนัชยัเอกกลุ บรษัิท เฟลปส ดอดจ ไทยแลนด จำกดั

นายอนันต ชยัสงค บริษัท สายไฟฟาบางกอกเคเบิล้ จำกดั

นางนิภา สนุทรธนโสภณ บรษัิท จรุงไทยไวรแอนดเคเบิล้ จำกดั (มหาชน)

นายวินัย อริยะสกลุทรัพย บรษัิท สายไฟฟาไทย-ยาซากิ จำกดั

กรรมการและเลขานุการนายพฒุพิงศ คงเจริญ สำนักงานมาตรฐานผลิตภณัฑอตุสาหกรรม

Page 4: สายไฟฟ าอากาศต วนำอะ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2341-2550.pdf · มอก. 2341 2550 มาตรฐานผลิตภัณฑ

(3)

สายไฟฟาอากาศตวันำอะลมูเินียมหมุดวยฉนวนและเปลอืกครอสลงิกดพอลเิอทลินีสำหรบัแรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด 25

กโิลโวลต และ 35 กโิลโวลต เปนอุปกรณสำคญัท่ีใชในการสงและจำหนายพลงังานไฟฟา เน่ืองจากใชกบัแรงดันไฟฟาสงู

อันตรายอันเกิดจากสายไฟฟาจึงมีมากหากคุณภาพของสายไฟฟาไมดีพอ ปจจุบันโรงงานภายในประเทศสามารถ

ทำสายไฟฟาขึน้ใชไดเอง ดงัน้ันเพือ่ใหเกดิความปลอดภัยตอสาธารณะและเปนการสงเสรมิอุตสาหกรรมภายในประเทศ

จึงกำหนดมาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรม สายไฟฟาอากาศตวันำอะลมูเินยีมหมุดวยฉนวนและเปลอืกครอสลงิกดพอลิ

เอทลินีสำหรบัแรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด 25 กโิลโวลต และ 35 กโิลโวลต ข้ึน

มาตรฐานผลิตภณัฑอตุสาหกรรมนีก้ำหนดขึน้โดยอาศยัเอกสารตอไปนีเ้ปนแนวทาง

Insulated Cable Engineers Association, Inc. Cross-Linked-Thermosetting-Polyethylene-Insulated

(ICEA) S-66-524 (1988) Wire and Cable for the Transmission and Distribution

of Electrical Energy

Insulated Cable Engineers Association, Inc. Standard Test Methods for Extruded Dielectric Power,

(ICEA) T-27-581 (2000) Control, Instrumentation, and Portable Cables for

Test

Insulated Cable Engineers Association, Inc. Test Method for Measurement of Hot Creep of

(ICEA) T-28-562 (2003) Polymeric Insulations

มอก.293-2541 สายไฟฟาอะลมูเินยีมหมุดวยฉนวนโพลไิวนลิคลอไรด

คณะกรรมการมาตรฐานผลิตภณัฑอตุสาหกรรมไดพจิารณามาตรฐานน้ีแลว เหน็สมควรเสนอรัฐมนตรีประกาศตาม

มาตรา 15 แหงพระราชบญัญัตมิาตรฐานผลิตภณัฑอุตสาหกรรม พ.ศ. 2511

Page 5: สายไฟฟ าอากาศต วนำอะ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2341-2550.pdf · มอก. 2341 2550 มาตรฐานผลิตภัณฑ

(5)

ประกาศกระทรวงอตุสาหกรรมฉบับท่ี 3810 ( พ.ศ. 2550 )

ออกตามความในพระราชบญัญัตมิาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรม

พ.ศ. 2511

เรือ่ง กำหนดมาตรฐานผลิตภณัฑอตุสาหกรรม

สายไฟฟาอากาศตวันำอะลมูเินียมหมุดวยฉนวนและเปลือกครอสลงิกดพอลเิอทลินี

สำหรบัแรงดันไฟฟาทีก่ำหนด 25 กโิลโวลต และ 35 กโิลโวลต

อาศยัอำนาจตามความในมาตรา 15 แหงพระราชบญัญัตมิาตรฐานผลิตภณัฑอตุสาหกรรม พ.ศ. 2511

รฐัมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกำหนดมาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรม สายไฟฟาอากาศตวันำ

อะลมูเินยีมหมุดวยฉนวนและเปลอืกครอสลงิกดพอลเิอทลินี สำหรบัแรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด 25 กโิลโวลต และ 35

กโิลโวลต มาตรฐานเลขที ่ มอก. 2341-2550 ไว ดงัมรีายละเอยีดตอทายประกาศนี้

ประกาศ ณ วันท่ี 19 พฤศจกิายน พ.ศ. 2550

โฆสิต ปนเปยมรษัฎรฐัมนตรีวาการกระทรวงอตุสาหกรรม

Page 6: สายไฟฟ าอากาศต วนำอะ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2341-2550.pdf · มอก. 2341 2550 มาตรฐานผลิตภัณฑ

มอก. 2341-2550

-1-

มาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรม

สายไฟฟาอากาศตัวนำอะลูมิเนียมหุมดวยฉนวนและเปลอืกครอสลงิกดพอลเิอทลินี

สำหรบัแรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด 25 กโิลโวลตและ 35 กโิลโวลต

1. ขอบขาย1.1 มาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรมนีค้รอบคลมุเฉพาะสายไฟฟาอากาศตวันำอะลมูเินยีมแบบตเีกลยีวอดัแนน

ชนดิแกนเดยีว ฉนวนและเปลอืกเปนครอสลงิกดพอลเิอทลินี สำหรบัแรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด 25 กโิลโวลต และ

35 กโิลโวลต ซึง่สามารถตดิตัง้และใชงานในภาวะดงัตอไปนี้

(1) ระบบไฟฟา 3 เฟส ความถี ่50 เฮริตซ แรงดนัไฟฟาทีก่ำหนดไมเกนิ 25 กโิลโวลต สำหรบัสายไฟฟา

ที่ใชกับแรงดันไฟฟาที่กำหนด 25 กิโลโวลต และไมเกิน 35 กิโลโวลต สำหรับสายไฟฟาที่ใชกับ

แรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด 35 กโิลโวลต

(2) อณุหภมูขิองตวันำไมเกนิ 90 องศาเซลเซยีส สำหรบัการใชงานปกต ิไมเกนิ 130 องศาเซลเซยีส สำหรบั

การใชงานเกนิพกิดัฉกุเฉนิ และไมเกนิ 250 องศาเซลเซยีส สำหรบักรณลีดัวงจร

ซึง่ตอไปในมาตรฐานนีจ้ะเรยีกวา “สายไฟฟา”

2. บทนยิามความหมายของคำทีใ่ชในมาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรมนี ้มดีงัตอไปนี้

2.1 ครอสลงิกดพอลเิอทลินี (cross-linked polyethylene : XLPE) หมายถงึ สารประกอบพอลเิอทลินีทีถ่กูเปลีย่น

โครงสรางโมเลกลุจากเสนตรงใหเกาะเกีย่วกนัเปนรางแห เพือ่ใหมสีมบตัติามทีต่องการ

2.2 แรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด (rated voltage) หมายถงึ แรงดนัไฟฟาคารากกำลงัสองเฉลีย่ระหวางเฟสกบัเฟส

2.3 ตัวนำ (conductor) หมายถึง ลวดอะลูมิเนียมตีเกลียวซึ่งอยูในรูปของการตีเกลียวรวมศูนยกลมอัดแนน

(compact round concentric lay stranding)

Page 7: สายไฟฟ าอากาศต วนำอะ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2341-2550.pdf · มอก. 2341 2550 มาตรฐานผลิตภัณฑ

-2-

มอก. 2341-2550

2.4 ตวักัน้ตวันำ (conductor screen) หมายถงึ ชัน้ของสารกึง่ตวันำ (semi-conducting) ซึง่อยใูนรปูของสารประกอบ

ทีใ่ชหมุเพือ่ทำใหผวินอกของตวันำราบเรยีบสม่ำเสมอ และทำใหสนามไฟฟาระหวางตวันำกบัฉนวนสม่ำเสมอ

ทกุทศิทาง อกีทัง้ยงัชวยลดความเคนทางแรงดนัไฟฟา (voltage stress) ทีเ่กดิขึน้ดวย

2.5 ฉนวน (insulation) หมายถงึ ครอสลงิกดพอลเิอทลินีทีใ่ชหมุทบับนชัน้ของตวักัน้ตวันำ มหีนาทีป่องกนัไมให

กระแสไฟฟารัว่ออกมาทำอนัตรายแกบคุคลหรอืสิง่แวดลอม และปองกนัไมใหเกดิการลดัวงจร

2.6 เปลอืก (sheath) หมายถงึ ครอสลงิกดพอลเิอทลินีทีใ่ชหมุชัน้นอกสดุของสายไฟฟา มหีนาทีป่องกนัแรงกระแทก

เสยีดส ีและทนทานตอสภาวะแวดลอม

2.7 คาระบ ุ(nominal value) หมายถงึ คาซึง่ระบโุดยปรมิาณและมกัใชแสดงในตาราง

2.8 คาเฉลีย่ (average value) หมายถงึ คาทีไ่ดจากผลรวมของคาตางๆ ทัง้หมดหารดวยจำนวนของคาตางๆ ทัง้หมด

2.9 การทดสอบประจำ (routine test) หมายถงึ การทดสอบโดยผทูำบนความยาวของสายไฟฟาทีผ่ลติแตละเสน

เพือ่ตรวจสอบวาสายไฟฟาทัง้หมดทีผ่ลติแตละเสนเปนไปตามขอกำหนดตลอดความยาวหรอืไม

2.10 การทดสอบเฉพาะแบบ (type test) หมายถงึ การทดสอบทีท่ำกอนนำสายไฟฟาออกสทูองตลาด เพือ่แสดงวา

สายไฟฟาแบบทีค่รอบคลมุโดยมาตรฐานนีม้ลีกัษณะเฉพาะเชงิสมรรถนะเปนทีน่าพอใจ ซึง่ตองการการทดสอบ

ทีส่มบรูณเปนหลกัฐานเพยีงครัง้เดยีว โดยไมตองทดสอบซ้ำ

หมายเหตุ การทดสอบนี้อยูในลักษณะที่วา หลังจากทดสอบไปแลวไมจำเปนตองทดสอบซ้ำอีกนอกจากวามีการ

เปลีย่นแปลงวสัด ุหรอืการออกแบบ หรอืกระบวนการผลติซึง่อาจเปลีย่นแปลงลกัษณะเฉพาะเชงิสมรรถนะ

ของสายไฟฟา

3. ประเภทสายไฟฟาแบงเปน 2 ประเภท ตามแรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด คอื

3.1 ประเภททีใ่ชกบัแรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด 25 กโิลโวลต

3.2 ประเภททีใ่ชกบัแรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด 35 กโิลโวลต

4. ขนาด4.1 ขนาดและรายละเอยีดของสายไฟฟา

ใหเปนไปตามทีก่ำหนดในตารางที ่1 หรอืตารางที ่2

Page 8: สายไฟฟ าอากาศต วนำอะ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2341-2550.pdf · มอก. 2341 2550 มาตรฐานผลิตภัณฑ

มอก. 2341-2550

-3-

ตารางที ่1 ขนาดและรายละเอยีดของสายไฟฟาทีใ่ชกบัแรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด 25 กโิลโวลต(ขอ 4.1)

ตารางที ่2 ขนาดและรายละเอยีดของสายไฟฟาทีใ่ชกบัแรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด 35 กโิลโวลต(ขอ 4.1)

5. วสัดแุละการทำ5.1 ตวันำ

ตวันำตองเปนอะลมูเินยีม มโีครงสรางแบบตเีกลยีวรวมศนูยกลมอดัแนน เปนไปตาม มอก.293

พ้ืนท่ีหนาตัดระบุของตัวนํา mm2 35 50 70 95 120 150 185 240

เสนผานศูนยกลางของตัวนํา mm 6.6 ถึง

7.5

7.7 ถึง

8.6

9.3 ถึง

10.2

11.0 ถึง

12.0

12.5 ถึง

13.5

13.9 ถึง

15.0

15.5 ถึง

16.8

17.8 ถึง

19.2

แรงดึงของตัวนําจากการคํานวณ N 5 591 7 313 10 420 14 098 18 518 22 457 28 974 37 506

ความตานทานเชิงปริมาตรที่ 20oC สูงสุด Ω⋅mm

2/m 0.028264 0.028264 0.028264 0.028264 0.028264 0.028264 0.028264 0.028264

ความตานทานกระแสตรงท่ี 20oC สูงสุด Ω/km 0.868 0.641 0.443 0.320 0.253 0.206 0.164 0.125

ความหนาต่ําสุดของตัวก้ันตัวนํา mm 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07

ความหนาเฉลี่ยของตัวกั้นตัวนํา mm 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3

สภาพตานทานเชิงปริมาตรของตัวก้ันตัวนํา

ท่ี 90oC สูงสุด

Ω⋅cm 50 000 50 000 50 000 50 000 50 000 50 000 50 000 50 000

ความหนาของฉนวน mm 3.18 3.18 3.18 3.18 3.18 3.18 3.18 3.18

ความหนาของเปลือก mm 3.18 3.18 3.18 3.18 3.18 3.18 3.18 3.18

เสนผานศูนยกลางของสายไฟฟาโดยประมาณ mm 19.9 ถึง

21.5

22.0 ถึง

24.0

23.0 ถึง

25.0

25.0 ถึง

27.0

26.5 ถึง

28.7

28.0 ถึง

30.2

29.4 ถึง

31.7

32.1 ถึง

34.4

พ้ืนท่ีหนาตัดระบุของตัวนํา mm2 50 70 95 120 150 185 240

เสนผานศูนยกลางของตัวนํา mm 7.7 ถึง

8.6

9.3 ถึง

10.2

11.0 ถึง

12.0

12.5 ถึง

13.5

13.9 ถึง

15.0

15.5 ถึง

16.8

17.8 ถึง

19.2

แรงดึงของตัวนําจากการคํานวณ N 7 313 10 420 14 098 18 518 22 457 28 974 37 506

ความตานทานเชิงปริมาตรที่ 20 °C สูงสุด Ω⋅mm2/m 0.028264 0.028264 0.028264 0.028264 0.028264 0.028264 0.028264

ความตานทานกระแสตรงที่ 20 °C สูงสุด Ω/km 0.641 0.443 0.320 0.253 0.206 0.164 0.125

ความหนาต่ําสุดของตัวกั้นตัวนํา mm 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07

ความหนาเฉลี่ยของตัวกั้นตัวนํา mm 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3

สภาพตานทานเชิงปริมาตรของตัวกั้นตัวนํา

ท่ี 90 °C สูงสุด

Ω⋅cm 50 000 50 000 50 000 50 000 50 000 50 000 50 000

ความหนาของฉนวน mm 4.45 4.45 4.45 4.45 4.45 4.45 4.45

ความหนาของเปลือก mm 3.18 3.18 3.18 3.18 3.18 3.18 3.18

เสนผานศูนยกลางของสายไฟฟาโดยประมาณ mm 24.2 ถึง

26.4

25.6 ถึง

27.8

27.3 ถึง

29.5

28.8 ถึง

31.0

30.2 ถึง

32.5

32.0 ถึง

34.4

34.4 ถึง

36.8

Page 9: สายไฟฟ าอากาศต วนำอะ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2341-2550.pdf · มอก. 2341 2550 มาตรฐานผลิตภัณฑ

-4-

มอก. 2341-2550

5.2 ตวักัน้ตวันำ

ความหนาเฉลีย่ของตวักัน้ตวันำตองไมนอยกวาคาทีร่ะบใุนตารางที ่1 หรอืตารางที ่2 และความหนาต่ำสดุของ

ตวักัน้ตวันำตองไมนอยกวาคาทีร่ะบใุนตารางที ่1 หรอืตารางที ่2

5.3 ฉนวน

ฉนวนตองเปนครอสลิงกดพอลิเอทิลีนไมมีคารบอนแบล็กที่ผลิตโดยใชตัวเรงปฏิกิริยาแบบเพอรออกไซด

(peroxide cross linking agent) และคณุลกัษณะของฉนวนตองเปนไปตามทีร่ะบไุวในตารางที ่3 ความหนาเฉลีย่

ของฉนวนตองไมนอยกวาคาทีร่ะบใุนตารางที ่1 หรอืตารางที ่2 และความหนาต่ำสดุของฉนวนตองไมนอยกวา

รอยละ 90 ของคาทีร่ะบใุนตารางที ่1 หรอืตารางที ่2

5.4 เปลือก

เปลอืกตองเปนครอสลงิกดพอลเิอทลินีชนดิเตมิคารบอนแบลก็ไมนอยกวารอยละ 2 และไมเกนิรอยละ 10

โดยน้ำหนกั และคณุลกัษณะของเปลอืกตองเปนไปตามทีร่ะบไุวในตารางที ่3 ความหนาเฉลีย่ของเปลอืกตอง

ไมนอยกวาคาทีร่ะบใุนตารางที ่1 หรอืตารางที ่2 ความหนาต่ำสดุของเปลอืกตองไมนอยกวารอยละ 90 ของคา

ทีร่ะบใุนตารางที ่1 หรอืตารางที ่2

6. คณุลกัษณะทีต่องการ6.1 คณุลกัษณะทีต่องทดสอบประจำ

6.1.1 ความคงทนของเครือ่งหมาย

เครือ่งหมายทีส่ายไฟฟาตองมคีวามคงทนและไมลบเลอืนงาย การทดสอบใหปฏบิตัติามขอ 10.10

6.1.2 ฉนวนและเปลอืก

6.1.2.1 ความตานแรงดงึและความยดืกอนและหลงัเรงอายกุารใชงาน

เมื่อทดสอบตามขอ 10.4 แลว คาเฉลี่ย และ/หรือ คาต่ำสุดของความตานแรงดึงและความยืด

กอนเรงอายกุารใชงาน และหลงัเรงอายกุารใชงานเมือ่เทยีบกบัคากอนเรงอายกุารใชงาน ใหเปนไป

ตามทีก่ำหนดในตารางที ่3

6.1.2.2 ความยดืตวัเมือ่ไดรบัความรอน

เมือ่ทดสอบตามขอ 10.5 แลว ความยดืตวัเมือ่ไดรบัความรอนและมนี้ำหนกัถวง และความยดืตวั

หลงัจากปลอยใหเยน็ตวัและไมมนี้ำหนกัถวง ใหเปนไปตามทีก่ำหนดในตารางที ่3

6.1.3 สายไฟฟา

6.1.3.1 ลกัษณะตวันำ ขนาด และความหนาของชัน้ตางๆ

เมือ่ทดสอบตามขอ 10.1 และ 10.3 แลว ตองเปนไปตามทีก่ำหนดในตารางที ่1 หรอืตารางที ่2

Page 10: สายไฟฟ าอากาศต วนำอะ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2341-2550.pdf · มอก. 2341 2550 มาตรฐานผลิตภัณฑ

มอก. 2341-2550

-5-

6.1.3.2 ความตานทานของตวันำ

เมือ่ทดสอบตามขอ 10.2 ความตานทานกระแสตรงสงูสดุของตวันำที ่20 องศาเซลเซยีส ตองไมเกนิ

คาทีร่ะบใุนตารางที ่1 หรอืตารางที ่2

6.1.3.3 ความทนทานไฟฟาของสายไฟฟา

เมือ่ทดสอบตามขอ 10.6 แลว สายไฟฟาตองไมเสยีสภาพฉบัพลนั

6.2 คณุลกัษณะทีต่องทดสอบเฉพาะแบบ

6.2.1 ความตานทานฉนวน

เมือ่ทดสอบตามขอ 10.7 ความตานทานของฉนวนตองไมนอยกวาคาทีค่ำนวณโดยใชคาคงตวัของฉนวน

เทากบั 20 000 ที ่15.6 องศาเซลเซยีส

6.2.2 คาตวัเกบ็ประจแุละตวัประกอบกำลงั

เมือ่ทดสอบตามขอ 10.8 แลว คาคงตวัไดอเิลก็ทรกิ (dielectric constant หรอื specific inductive capacity)

ของฉนวน และคาตวัประกอบกำลงัตองไมเกนิคาทีร่ะบใุนตารางที ่3

6.2.3 การดดูซมึน้ำแบบเรงภาวะ (accelerated water absorption)

เมือ่ทดสอบตามขอ 10.9 แลว ตองไมเกนิคาทีร่ะบใุนตารางที ่3

6.2.4 ความตานทานการวาบไฟของเปลอืก

เมือ่ทดสอบตามขอ 10.11 แลว คาแรงดนัไฟฟาวาบไฟตองไมนอยกวาคาทีร่ะบใุนตารางที ่3

6.2.5 สภาพตานทานเชงิปรมิาตรของตวักัน้ตวันำ

เมือ่ทดสอบตามขอ 10.12 แลว คาสภาพตานทานเชงิปรมิาตรของตวักัน้ตวันำตองไมเกนิคาทีร่ะบใุนตารางที่

1 หรอืตารางที ่2

Page 11: สายไฟฟ าอากาศต วนำอะ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2341-2550.pdf · มอก. 2341 2550 มาตรฐานผลิตภัณฑ

-6-

มอก. 2341-2550

ตารางที ่3 คณุลกัษณะทีต่องการ(ขอ 5.3 ขอ 5.4 ขอ 6.1.2.1 ขอ 6.1.2.2 ขอ 6.2.2 ขอ 6.2.3 และขอ 6.2.4)

รายละเอียด หนวย เกณฑกําหนด

ฉนวน

ก. กอนเรงอายุการใชงาน

- ความตานแรงดึงตํ่าสุด N/mm2

12.5

- ความยืดตํ่าสุด % 250

ข. หลังเรงอายุการใชงานท่ี 121oC ± 1

oC เปนเวลา 168 ชั่วโมง

- ความตานแรงดึงตํ่าสุด เม่ือเทียบกับกอนเรงอายุการใชงาน % 75

- ความยืดตํ่าสุด เม่ือเทียบกับกอนเรงอายุการใชงาน % 75

ค. ความยืดสูงสุดเม่ือไดรับความรอนท่ี 150oC ± 2

oC เปนเวลา 15 นาที % 175

ง. ความยืดสูงสุด หลังจากปลอยใหเย็นลง % 10

เปลือก

ก. กอนเรงอายุการใชงาน

- ความตานแรงดึงตํ่าสุด N/mm2

12.5

- ความยืดตํ่าสุด % 250

ข. หลังเรงอายุการใชงานท่ี 121oC ± 1

oC เปนเวลา 168 ชั่วโมง

- ความตานแรงดึงตํ่าสุด เม่ือเทียบกับกอนเรงอายุการใชงาน % 75

- ความยืดตํ่าสุด เม่ือเทียบกับกอนเรงอายุการใชงาน % 75

ค. ความยืดสูงสุดเม่ือไดรับความรอนท่ี 150oC ± 2o

C เปนเวลา 15 นาที % 175

ง. ความยืดสูงสุดหลังจากปลอยใหเย็นลง % 10

จ. ความตานทานการวาบไฟ

- คาแรงดันไฟฟาวาบไฟต่ําสุด kV 2

สายไฟฟา

ก. คาคงตัวไดอิเล็กทริกของฉนวน - 3.5

ข. คาตัวประกอบกําลังสูงสุด % 2.0

ค. การดูดซึมน้ําแบบเรงภาวะ

- คาคงตัวไดอิเล็กทริกของฉนวนสูงสุด หลังจาก 24 ชั่วโมง - 3.5

- อัตราการเพิ่มคาความจุไฟฟาสูงสุด หลังจาก 1 วัน กับ 14 วัน % 3.0

- อัตราการเพิ่มคาความจุไฟฟาสูงสุด หลังจาก 7 วัน กับ 14 วัน % 1.5

- คาตัวประกอบเสถียรภาพสูงสุดหลังจาก 14 วัน* - 1.0

- ความแตกตางระหวางคาตัวประกอบเสถียรภาพสูงสุดหลังจาก 14 วัน

กับคาตัวประกอบเสถียรภาพหลังจาก 1 วัน*

- 0.5

หมายเหตุ * ใหเลือกรายงานผลคาใดคาหนึ่งท่ีผานตามขอกําหนด

Page 12: สายไฟฟ าอากาศต วนำอะ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2341-2550.pdf · มอก. 2341 2550 มาตรฐานผลิตภัณฑ

มอก. 2341-2550

-7-

7. การบรรจุ7.1 การปดปลายสายไฟฟา

หลังจากผูทำไดทดสอบสายไฟฟาเรียบรอยแลว ตองปดผนึกปลายสายไฟฟาทั้ง 2 ดาน หรือครอบปลาย

สายไฟฟาดวยปลอกพวีซีหีรอืวสัดทุีเ่ทยีบเทาเพือ่ปองกนัความชืน้

7.2 การบรรจสุายไฟฟา

7.2.1 ใหบรรจสุายไฟฟาบนลอเหลก็หรอืลอไมทีม่คีวามแขง็แรงเพยีงพอ

7.2.2 แกนลอบรรจุสายไฟฟาตองกลม และตองปดหรือหอหุมดวยวัสดุที่แข็งแรงเพื่อปองกันไมใหสายไฟฟา

เกดิความเสยีหาย และมแีผนเหลก็ทีม่รีปูรางกลม สีเ่หลีย่ม หรอืหกเหลีย่มทีม่คีวามหนาเหมาะสมตดิไวที่

รเูพลาหมนุของปกลอ แผนเหลก็นีเ้จาะรสูำหรบัใชสอดแกนเหลก็ถาวร

7.3 ความยาวของสายไฟฟาทีบ่รรจใุนแตละลอ

ใหเปนไปตามขอตกลงระหวางผซูือ้กบัผขูาย

8. การทำเครือ่งหมายและฉลาก8.1 ทีส่ายไฟฟาทกุระยะชวงหางไมเกนิ 500 มลิลเิมตร อยางนอยตองมเีลข อกัษร หรอืเครือ่งหมายบนสายไฟฟา

แจงรายละเอยีดดงัตอไปนี ้ใหเหน็ไดงาย ชดัเจน และไมลบเลอืน

(1) แรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด

(2) ชนดิของตวันำ

(3) ชนดิของฉนวนและเปลอืก

(4) พืน้ทีห่นาตดัระบุ

(5) ปทีท่ำ

(6) ชือ่ผทูำหรอืโรงงานทีท่ำ หรอืเครือ่งหมายการคาทีจ่ดทะเบยีน

8.2 ทีห่นวยบรรจเุปนลอ อยางนอยตองมเีลข อกัษร หรอืเครือ่งหมายแจงรายละเอยีดดงัตอไปนี ้ใหเหน็ไดงาย

ชดัเจน และไมลบเลอืน

(1) แรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด

(2) ชนดิของตวันำ

(3) ชนดิของฉนวนและเปลอืก

(4) พืน้ทีห่นาตดัระบุ

(5) น้ำหนกัสทุธ ิและน้ำหนกัรวม เปนกโิลกรมั

(6) ปทีท่ำ

(7) ความยาวของสายไฟฟา

(8) มลีกูศรแสดงทศิทางการหมนุลอ และตำแหนงปลาย

Page 13: สายไฟฟ าอากาศต วนำอะ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2341-2550.pdf · มอก. 2341 2550 มาตรฐานผลิตภัณฑ

-8-

มอก. 2341-2550

(9) ชือ่ผทูำหรอืโรงงานทีท่ำ หรอืเครือ่งหมายการคาทีจ่ดทะเบยีน

8.3 ในกรณทีีใ่ชภาษาตางประเทศ ตองมคีวามหมายตรงกบัภาษาไทยทีก่ำหนดไวขางตน

9. การชกัตวัอยางและเกณฑการตดัสนิ9.1 รนุ ในทีน่ี ้หมายถงึ สายไฟฟาประเภท ชนดิของตวันำ ชนดิของฉนวนและเปลอืก พืน้ทีห่นาตดัระบขุนาดเดยีวกนั

ทีท่ำในคราวเดยีวโดยตอเนือ่ง หรอืสงมอบ หรอืซือ้ขายในระยะเวลาเดยีวกนั

9.2 การชกัตวัอยางและเกณฑการตดัสนิ

ใหเปนไปตามแผนการชกัตวัอยางทีก่ำหนดตอไปนี ้หรอือาจใชแผนการชกัตวัอยางทีเ่ทยีบเทากนัทางวชิาการ

กบัแผนทีก่ำหนดไว

9.2.1 การชกัตวัอยาง

ใหชกัตวัอยางโดยวธิสีมุจากรนุเดยีวกนั จากลอบรรจใุนแตละรนุ ใหไดตวัอยางเพยีงพอสำหรบัการทดสอบ

9.2.2 เกณฑการตดัสนิ

ตวัอยางตองเปนไปตามเกณฑทีก่ำหนดในขอ 4. ขอ 5. ขอ 6. ขอ 7. และขอ 8. ทกุรายการ จงึจะถอืวา

สายไฟฟารนุนัน้เปนไปตามขอกำหนดของมาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรมนี้

10. การทดสอบ10.1 การตรวจสอบตวันำ

10.1.1 เครื่องมือ

ไมโครมเิตอรหรอืเวอรเนยีรแคลลเิปอรทีว่ดัไดละเอยีด 0.01 มลิลเิมตร

10.1.2 วธิทีดสอบ

10.1.2.1 วดัเสนผานศนูยกลางของตวันำทีห่นาตดัเดยีวกนัในแนวตัง้ฉากซึง่กนัและกนั

10.1.2.2 นบัจำนวนเสนลวด

10.1.3 การรายงานผล

ใหรายงานคาเสนผานศนูยกลางของตวันำเปนคาเฉลีย่ และจำนวนเสนลวด

Page 14: สายไฟฟ าอากาศต วนำอะ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2341-2550.pdf · มอก. 2341 2550 มาตรฐานผลิตภัณฑ

มอก. 2341-2550

-9-

10.2 การทดสอบความตานทานกระแสตรงของตวันำ

10.2.1 เครื่องมือ

เครือ่งทดสอบความตานทานกระแสตรงของตวันำทีส่ามารถวดัความตานทานตวันำในตารางที ่1 หรอื

ตารางที ่2 ได

10.2.2 การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ตดัตวัอยางสายไฟฟาหรอืตวัอยางทีม่คีวามยาวอยางนอย 1 เมตร กอนวดัความตานทานตองเก็บตวัอยาง

ไวที่อุณหภูมิหองทดสอบอยางนอย 12 ชั่วโมง ในกรณีที่สงสัยวาอุณหภูมิตัวนำจะไมเทากับอุณหภูมิ

หองทดสอบ ใหทดสอบหลงัจากสายไฟฟาอยใูนหองทดสอบเปนเวลา 24 ชัว่โมง

10.2.3 วธิทีดสอบ

วดัความตานทานกระแสตรงของตวันำทีอ่ณุหภมูหิองทดสอบ และคำนวณความตานทานตอ 1 กโิลเมตร

ทีอ่ณุหภมู ิ20 องศาเซลเซยีส จากสตูร

R20 = Rt ×

เมื่อ

R20 คือ ความตานทานของตวันำทีอ่ณุหภมู ิ20 องศาเซลเซยีส เปนโอหมตอกโิลเมตร

Rt คือ ความตานทานของสายไฟฟายาว L เมตร ทีอ่ณุหภมู ิt องศาเซลเซยีส เปนโอหม

t คือ อณุหภมูขิองตวัอยางสายไฟฟาขณะทีว่ดั เปนองศาเซลเซยีส

L คือ ความยาวของตวัอยางสายไฟฟา เปนเมตร

10.2.4 การรายงานผล

ใหรายงานคาความตานทานกระแสตรง เปนโอหมตอกโิลเมตร ทีอ่ณุหภมู ิ20 องศาเซลเซยีส

10.3 การตรวจสอบความหนาของตวักัน้ตวันำ ฉนวน และเปลอืก

10.3.1 เครื่องมือ

กลองจลุทรรศน หรอืเครือ่งฉายหนาขาง (profile projector) ทีม่กีำลงัขยายอยางนอย 10 เทา และวดัได

ละเอยีด 0.01 มลิลเิมตร

10.3.2 การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ตดัตวัอยางจากปลายดานหนึง่ของสายไฟฟา ถาตวักัน้ตวันำ ฉนวน และเปลอืกเปนแบบยดึตดิกนักไ็มตอง

เอาออก ตดัใหเปนแผนบางตามระนาบทีต่ัง้ฉากกบัแนวแกนของตวันำดวยอปุกรณทีเ่หมาะสม ถาการทำ

เครื่องหมายบนเปลือกเปนเหตุใหความหนาสวนนั้นลดลง ใหใชเปลือกตรงที่มีเครื่องหมายนั้นเปน

ชิน้ทดสอบ

248 1000

228 + t L

Page 15: สายไฟฟ าอากาศต วนำอะ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2341-2550.pdf · มอก. 2341 2550 มาตรฐานผลิตภัณฑ

-10-

มอก. 2341-2550

10.3.3 วธิทีดสอบ

10.3.3.1 ถาผวิภายในและภายนอกของชิน้ทดสอบเปนวงกลมเรยีบสม่ำเสมอ ใหวดัความหนา 6 ครัง้ ทีร่ะยะ

ตามแนวเสนรอบวงเทาๆ กนั ดงัแสดงในรปูที ่1 จดุแรกทีว่ดัตองเปนจดุทีค่วามหนาของฉนวนและ

เปลอืกต่ำสดุ

10.3.3.2 ถาผวิภายในชิน้ทดสอบไมเรยีบแตผวิภายนอกเรยีบ ใหวดัความหนา 6 ครัง้ ทีร่ะยะตามแนวเสน

รอบวงเทาๆ กนั ดงัแสดงในรปูที ่2 จดุแรกทีว่ดัตองเปนจดุทีค่วามหนาของฉนวนและเปลอืกต่ำสดุ

10.3.3.3 ในกรณทีีต่วักัน้ตวันำ ฉนวน และเปลอืกเปนแบบยดึตดิกนั ไมสามารถแยกออกจากกนัได การวดั

จะไมรวมความหนาของตวักัน้ตวันำ และใหวดัแยกชัน้กนัระหวางฉนวนกบัเปลอืก

10.3.4 การรายงานผล

ใหรายงานคาเฉลีย่จาก 6 คา และคาความหนาต่ำสดุของชัน้ตวักัน้ตวันำ ชัน้ฉนวน และชัน้เปลอืก

10.4 การทดสอบความตานแรงดงึและความยดืของฉนวนและเปลอืก

10.4.1 ความตานแรงดงึและความยดืกอนเรงอายกุารใชงาน

10.4.1.1 เครื่องมือ

(1) กลองจุลทรรศน หรือเครื่องวัดที่เทียบเทาที่มีแรงกดสัมผัสไมเกิน 7 นิวตันตอตาราง

เซนตเิมตร

(2) เครือ่งทดสอบแรงดงึทีม่อีตัราการดงึ 508 มลิลเิมตรตอนาท ี± 50 มลิลเิมตรตอนาที

10.4.1.2 การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ตดัชิน้ทดสอบรปูดมับเบลล 3 ชิน้ (อกี 3 ชิน้ สำหรบัการทดสอบภายหลงัเรงอายกุารใชงานโดยตดั

จากบรเิวณทีอ่ยตูดิกนั การทดสอบความตานแรงดงึกอนเรงอายกุารใชงาน และภายหลงัเรงอายุ

การใชงาน ใหทำอยางตอเนือ่งทนัท)ี หากตวัอยางชำรดุซึง่เกดิจากความเสยีหายทางกล ไมให

ทำเปนชิน้ทดสอบ

ในการทำชิน้ทดสอบรปูดมับเบลล ใหผาฉนวนหรอืเปลอืกตามแนวแกนและเปดเอาตวันำออก ตดั

ตวัอยางแตละชิน้ใหมขีนาดเพยีงพอสำหรบัทดสอบ และทำเครือ่งหมายทีช่ิน้ตวัอยางและตวัอยาง

ทดสอบใหสัมพันธกัน เพื่อใหทราบวาตัดชิ้นทดสอบมาจากตัวอยางใดที่ตำแหนงใด และมี

ความสมัพนัธกนัอยางไร ขดัหรอืตดัชิน้ทดสอบจนผวิทดสอบทัง้ 2 ดานขนานกนัในชวงความยาว

พกิดั ในขณะขดัแตงตองระวงัไมใหอณุหภมูสิงูขึน้เกนิควร ภายหลงัการขดัหรอืตดัชิน้ทดสอบ

ตองมพีืน้ทีห่นาตดัไมเกนิ 16 ตารางมลิลเิมตร

นำชิน้ทดสอบแตละชิน้ทีเ่ตรยีมไวมาตดัเปนชิน้ทดสอบรปูดมับเบลล ตามรปูที ่3 หรอืถาเปนไปได

ใหตดัชิน้ทดสอบใหดานยาวอยใูนตำแหนงเคยีงขางกนั

ทำขดีเครือ่งหมาย 2 แหง หางกนั 25.4 มลิลเิมตร เปนความยาวพกิดัตรงกลางของชิน้ทดสอบ

ตามรปูที ่3

Page 16: สายไฟฟ าอากาศต วนำอะ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2341-2550.pdf · มอก. 2341 2550 มาตรฐานผลิตภัณฑ

มอก. 2341-2550

-11-

10.4.1.3 การหาพืน้ทีห่นาตดัของชิน้ทดสอบ

พืน้ทีห่นาตดัของชิน้ทดสอบรปูดมับเบลล คำนวณจากความกวางและความหนาต่ำสดุซึง่ไดมาจาก

การวดัชิน้ทดสอบ 3 ครัง้ ระหวางขดีเครือ่งหมาย ในกรณทีีม่ขีอสงสยัในเรือ่งความสม่ำเสมอของ

ความกวาง ใหวดัความกวางทีผ่วิของชิน้ทดสอบทัง้ 2 ดาน 3 ตำแหนงทีเ่ดยีวกบัการวดัความหนา

แลวหาคาเฉลีย่ของการวดัทัง้ 2 ดานนัน้เปนความกวางของแตละตำแหนง

คานอยทีส่ดุของพืน้ทีห่นาตดั 3 คาทีห่าได ใหนำไปคำนวณหาความตานแรงดงึ

ในการวดัความหนาและความกวาง ใหคดิทศนยิม 2 ตำแหนง เปนมลิลเิมตร

10.4.1.4 การปรบัภาวะของชิน้ทดสอบ

กอนทดสอบความตานแรงดงึ ใหเกบ็ชิน้ทดสอบทัง้หมดไวทีอ่ณุหภมู ิ20 องศาเซลเซยีส ถงึ 28

องศาเซลเซยีส เปนเวลาอยางนอย 30 นาที

10.4.1.5 วธิทีดสอบ

(1) อณุหภมูทิดสอบ

ใหทดสอบทีอ่ณุหภมูหิองทดสอบ โดยทดสอบใหเสรจ็ภายใน 5 นาท ีนบัจากนำชิน้ทดสอบ

ออกจากการปรบัภาวะตามขอ 10.4.1.4

(2) ระยะระหวางปากจบั

ระยะระหวางปากจบัเทากบั 63.5 มลิลเิมตร

(3) การวดั

บันทึกคาแรงดึง และระยะหางระหวางขีดเครื่องหมายทั้ง 2 ในขณะที่ชิ้นทดสอบขาด

ผลทีไ่มเปนไปตามเกณฑเนือ่งจากชิน้ทดสอบขาดนอกความยาวพกิดั ไมตองนำมาพจิารณา

ในกรณนีีห้ากมผีลทีเ่ปนไปตามเกณฑอยางนอย 2 คา ใหนำมาคำนวณความตานแรงดงึ และ

ความยดื แตถามผีลทีเ่ปนไปตามเกณฑนอยกวา 2 คา ตองทดสอบซ้ำ

10.4.1.6 การรายงานผล

ใหคำนวณความตานแรงดงึและความยดืดงันี้

TS =

เมื่อ

TS คือ ความตานแรงดงึ เปนนวิตนัตอตารางมลิลเิมตร

F คือ แรงทีว่ดัไดขณะขาด เปนนวิตนั

A คือ พืน้ทีห่นาตดัเดมิของชิน้ทดสอบ เปนตารางมลิลเิมตร

F

A

Page 17: สายไฟฟ าอากาศต วนำอะ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2341-2550.pdf · มอก. 2341 2550 มาตรฐานผลิตภัณฑ

-12-

มอก. 2341-2550

EL = × 100

เมื่อ

EL คือ ความยดื เปนรอยละ

L1 คือ ความยาวพกิดัขณะขาด เปนมลิลเิมตร

L0 คือ ความยาวพกิดัเดมิ เปนมลิลเิมตร

ใหรายงานผล เปนคาเฉลีย่

10.4.2 ความตานแรงดงึและความยดืหลงัเรงอายกุารใชงาน

10.4.2.1 เครื่องมือ

ตอูบความรอนทีม่อีากาศหมนุเวยีนตามธรรมชาต ิหรอืโดยการขบั ทัง้นีอ้ากาศตองไหลผานทัว่ผวิ

ชิน้ทดสอบ และไหลออกใกลสวนบนของตอูบ อากาศในตอูบตองถายเทชัว่โมงละไมนอยกวา 8

เทา และไมเกนิ 20 เทาของปรมิาตรตอูบ ทีอ่ณุหภมูทิีก่ำหนดในตารางที ่3

10.4.2.2 การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ชิน้ทดสอบรปูดมับเบลลใหปฏบิตัติามขอ 10.4.1.2

10.4.2.3 การหาพืน้ทีห่นาตดัของชิน้ทดสอบ

ใหปฏบิตัเิชนเดยีวกบัทีก่ำหนดในขอ 10.4.1.3

10.4.2.4 การปรบัภาวะของชิน้ทดสอบ

ใหปฏบิตัเิชนเดยีวกบัทีก่ำหนดในขอ 10.4.1.4

10.4.2.5 วธิทีดสอบ

แขวนชิน้ทดสอบรปูดมับเบลลในแนวดิง่ ใหอยบูรเิวณกลางตอูบ แตละชิน้หางกนัอยางนอย 20

มลิลเิมตร เปนเวลาตามทีก่ำหนดในตารางที ่3 เมือ่ครบตามเวลาทีก่ำหนด นำชิน้ทดสอบออกจาก

ตูอบทิ้งไวที่อุณหภูมิหองทดสอบไมใหถูกแสงอาทิตยโดยตรง เปนเวลาอยางนอย 16 ชั่วโมง

แตไมเกนิ 96 ชัว่โมง แลวนำไปทดสอบความตานแรงดงึและความยดื ตามวธิทีีก่ำหนดในขอ

10.4.1.5

10.4.2.6 การรายงานผล

ใหปฏบิตัเิชนเดยีวกบัทีก่ำหนดในขอ 10.4.1.6

L1 - L0

L0

Page 18: สายไฟฟ าอากาศต วนำอะ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2341-2550.pdf · มอก. 2341 2550 มาตรฐานผลิตภัณฑ

มอก. 2341-2550

-13-

10.5 การทดสอบความยดืตวัเมือ่ไดรบัความรอน

10.5.1 เครื่องมือ

10.5.1.1 ตอูบทีม่ขีนาดภายในไมนอยกวา 305 มลิลเิมตร × 305 มลิลเิมตร × 508 มลิลเิมตร (ความกวาง

× ความยาว × ความสูง) และควรมีชองกระจก มีการหมุนเวียนอากาศตามธรรมชาติเพื่อให

ความรอนสม่ำเสมอทัง้ตอูบ ตองควบคมุอณุหภมูใิหเปนไปตามทีก่ำหนดในตารางที ่3 ดวยอปุกรณ

ควบคมุแบบเทอรมอสแตต

10.5.1.2 อปุกรณรองรบัชิน้ทดสอบ ทีแ่ขวนชิน้ทดสอบในแนวตัง้ระหวางตวัจบัดานบนยดึกบัทีก่บัตวัจบั

ดานลางไมยดึกบัทีซ่ึง่ประกอบขึน้โดยไมสมัผสักบัสวนใดๆ ของตอูบหรอือปุกรณรองรบัยดึสเกล

กบัอปุกรณรองรบัในตำแหนงทีส่ามารถวดัความยดืตวัของชิน้ทดสอบได ชดุชิน้สวนตวัจบัดานลางมี

ตวัรองรบัน้ำหนกัเพิม่ขนาดเลก็ในรปูของเมด็กลมหรอืวสัดทุีเ่หมาะสมอืน่ซึง่ใชเพิม่เพือ่ใหไดแรงดงึ

ทีก่ำหนด (ดรูปูที ่4 สำหรบัอปุกรณทีใ่ชกนัโดยทัว่ไป)

10.5.2 การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ใหเตรยีมชิน้ทดสอบ 3 ชิน้จากตวัอยาง โดยแยกตวักัน้ออกตามแนวแกน ขดัหรอืตดัชิน้ทดสอบจนผวิทัง้

2 ดาน มคีวามหนาสม่ำเสมอตลอดความยาวพกิดั ในขณะทีข่ดัแตงตองระวงัไมใหอณุหภมูสิงูเกนิควร

ภายหลงัการขดัหรอืตดั ความหนาของชิน้ทดสอบตองมพีืน้ทีห่นาตดัไมเกนิ 16 ตารางมลิลเิมตร นำชิน้

ทดสอบมาตดัเปนรปูดมับเบลลดงัแสดงในรปูที ่3 และทำเครือ่งหมายบนชิน้ทดสอบ 2 แหง หางกนั

25.4 มลิลเิมตร เปนความยาวพกิดั

10.5.3 วธิทีดสอบ

แขวนชิน้ทดสอบในตอูบ โดยมนี้ำหนกัถวงอยดูานลาง ใชแรงถวงเทากบั 20 นวิตนัตอตารางเซนตเิมตร

ของพืน้ทีห่นาตดัชิน้ทดสอบสวนทีท่ำเครือ่งหมาย

อบชิน้ทดสอบเปนเวลา 15 นาท ีทีอ่ณุหภมู ิ150 องศาเซลเซยีส ± 2 องศาเซลเซยีส แลววดัระยะหาง

ระหวางเครือ่งหมาย และคำนวณรอยละของความยดื ถาตอูบไมมชีองกระจก การเปดประตตูอูบเพือ่วดั

ตองทำใหเสรจ็ภายใน 30 วนิาท ีในกรณทีีม่ขีอโตแยง ตองทดสอบโดยใชตอูบทีม่ชีองกระจก และการวดั

ตองทำโดยไมเปดประตตูอูบ

นำน้ำหนกัถวงออก โดยตดัชิน้ทดสอบดานลางใตเครือ่งหมายทีท่ำไว ปลอยชิน้ทดสอบไวในตอูบอกี 5

นาที แลวนำชิ้นทดสอบจากตูอบ และปลอยใหเย็นลงอยางชาๆ ที่อุณหภูมิหองอยางนอย 1 ชั่วโมง

หลงัจากนัน้วดัระยะหางระหวางเครือ่งหมายอกีครัง้

10.5.4 การรายงานผล

ใหรายงานผลเปนคาเฉลีย่ของความยดืหลงัจากอบ 15 นาท ีและคาเฉลีย่ของความยดืหลงัจากปลอย

ใหเยน็ เปนรอยละ

Page 19: สายไฟฟ าอากาศต วนำอะ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2341-2550.pdf · มอก. 2341 2550 มาตรฐานผลิตภัณฑ

-14-

มอก. 2341-2550

10.6 การทดสอบความทนทานไฟฟาของสายไฟฟา

10.6.1 เครื่องมือ

เครื่องกำเนิดไฟฟาหรือหมอแปลงไฟฟาที่จายแรงดันไฟฟาความถี่กำลังครอบคลุมแรงดันไฟฟา

ทดสอบ ความถีอ่ยใูนชวง 25 เฮริตซ ถงึ 60 เฮริตซ

10.6.2 วธิทีดสอบ

นำสายไฟฟาทีจ่ะทดสอบตลอดความยาวแชลงในน้ำ โดยใหปลายสายไฟฟาทัง้ 2 ขางพนน้ำ เพือ่ปอน

แรงดนัไฟฟาทดสอบระหวางตวันำกบัน้ำซึง่ทำหนาทีเ่ปนดนิ โดยการเพิม่แรงดนัไฟฟาอยางชาๆ ภายใน

ระยะเวลาไมนอยกวา 10 วนิาท ีและไมเกนิ 60 วนิาท ีจนกระทัง่แรงดนัไฟฟาทดสอบกระแสสลบัเทากบั

38 กโิลโวลต สำหรบัสายไฟฟาทีใ่ชกบัแรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด 25 กโิลโวลต หรอืเทากบั 49 กโิลโวลต

สำหรบัสายไฟฟาทีใ่ชกบัแรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด 35 กโิลโวลต คงแรงดนัทดสอบนีไ้ว เปนเวลา 5 นาที

สายไฟฟาตองไมเสยีสภาพฉบัพลนั จงึจะถอืวาผานการทดสอบ

10.6.3 การรายงานผล

ใหรายงานวาใชแรงดนัไฟฟาทดสอบเทาใด และผานหรอืไมผาน

10.7 การทดสอบความตานทานของฉนวน

10.7.1 เครื่องมือ

เครือ่งจายแรงดนัไฟฟากระแสตรง 100 โวลต ถงึ 500 โวลต

10.7.2 วธิทีดสอบ

การทดสอบความตานทานของฉนวน ตองวดัหลงัจากการทดสอบความทนทานไฟฟากระแสสลบัตามขอ

10.6 และการทดสอบใหเปนไปตามมาตรฐาน ICEA T-27-581

10.7.3 การรายงานผล

ใหรายงานอณุหภมูขิองสายไฟฟาขณะทีว่ดั เปนองศาเซลเซยีส และรายงานคาความตานทานของฉนวน

ทีว่ดัได และคาความตานทานทีค่ำนวณได โดยใชคาคงตวัของฉนวนเทากบั 20 000 ที ่15.6 องศาเซลเซยีส

เปนเมกะโอหมกโิลเมตร

10.8 การทดสอบหาคาคงตวัไดอเิลก็ทรกิของฉนวน และตวัประกอบกำลงั

10.8.1 เครื่องมือ

เครือ่งวดัคาความจไุฟฟาและตวัประกอบกำลงัทีม่คีวามถีป่ระมาณ 50 เฮริตซ

10.8.2 การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ตดัตวัอยางสายไฟฟาทีม่คีวามยาวประมาณ 5 เมตร นำชิน้ทดสอบบรเิวณกึง่กลางสายไฟฟาความยาว

ประมาณ 3 เมตร จมุลงในน้ำทีอ่ณุหภมูโิดยรอบปกตอิยางนอย 24 ชัว่โมง

Page 20: สายไฟฟ าอากาศต วนำอะ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2341-2550.pdf · มอก. 2341 2550 มาตรฐานผลิตภัณฑ

มอก. 2341-2550

-15-

10.8.3 วธิทีดสอบ

วดัคาความจไุฟฟา และตวัประกอบกำลงัทีพ่สิยัแรงดนัไฟฟาทีก่ำหนดของสายไฟฟา และคำนวณคาคงตวั

ไดอเิลก็ทรกิของฉนวน (dielectric constant) จากสตูร

คาคงตวัไดอเิลก็ทรกิของฉนวน = 13 600 C log10

เมื่อ

C คือ คาความจไุฟฟาตอความยาว 3 เมตร เปนไมโครฟารดั

D คือ เสนผานศนูยกลางของสายไฟฟา เปนมลิลเิมตร

d คือ เสนผานศนูยกลางขอบในของฉนวน เปนมลิลเิมตร

10.8.4 การรายงานผล

ใหรายงานคาคงตวัไดอเิลก็ทรกิของฉนวนทีค่ำนวณได และคาตวัประกอบกำลงั เปนรอยละ

10.9 การทดสอบการดดูซมึน้ำแบบเรงภาวะ

10.9.1 เครื่องมือ

เครือ่งวดัคาความจไุฟฟาและตวัประกอบกำลงัทีม่คีวามถีป่ระมาณ 50 เฮริตซ

10.9.2 การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ตดัตวัอยางสายไฟฟาทีม่คีวามยาวประมาณ 5 เมตร นำชิน้ทดสอบบรเิวณกึง่กลางสายไฟฟาตวัอยาง

ความยาวประมาณ 3 เมตร จมุลงในน้ำทีอ่ณุหภมู ิ75 องศาเซลเซยีส ± 1 องศาเซลเซยีส ตลอดระยะเวลา

14 วัน

10.9.3 วธิทีดสอบ

10.9.3.1 วดัคาความจไุฟฟาของสายไฟฟาตวัอยาง หลงัจากแชน้ำเปนเวลา 1 วนั 7 วนั และ 14 วนั ทีแ่รงดนั

ไฟฟาทดสอบขนาด 3.2 กโิลโวลตตอมลิลเิมตร ของความหนาฉนวน

10.9.3.2 วดัคาตวัประกอบกำลงัของสายตวัอยาง หลงัจากแชน้ำเปนเวลา 1 วนั และ 14 วนั ทีแ่รงดนัไฟฟา

ทดสอบขนาด 1.6 กโิลโวลตตอมลิลเิมตร และทีแ่รงดนัไฟฟาทดสอบขนาด 3.2 กโิลโวลตตอ

มลิลเิมตร ของความหนาฉนวน

D

d

Page 21: สายไฟฟ าอากาศต วนำอะ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2341-2550.pdf · มอก. 2341 2550 มาตรฐานผลิตภัณฑ

-16-

มอก. 2341-2550

10.9.3.3 ใหคำนวณคาคงตวัไดอเิลก็ทรกิของฉนวนตามขอ 10.8.3 และคำนวณคาตางๆ ดงันี้

อตัราการเพิม่คาความจไุฟฟาหลงัจาก 1 วนั กบั 14 วนั =

คาความจไุฟฟาหลงัจาก 14 วนั - คาควมมจไุฟฟาหลงัจาก 1 วนั

คาความจไุฟฟาหลงัจาก 1 วนั

อตัราการเพิม่คาความจไุฟฟาหลงัจาก 7 วนั กบั 14 วนั =

คาความจไุฟฟาหลงัจาก 14 วนั - คาควมมจไุฟฟาหลงัจาก 7 วนั

คาความจไุฟฟาหลงัจาก 7 วนั

คาตวัประกอบเสถยีรภาพ (stability factor : SF) =

คาตวัประกอบกำลงัทีแ่รงดนัไฟฟา 3.2 kV/mm - คาตวัประกอบกำลงัทีแ่รงดนัไฟฟา 1.6 kV/mm

คาความแตกตางระหวางคาตวัประกอบเสถยีรภาพหลงัจาก 14 วนั กบัคาตวัประกอบเสถยีรภาพ

หลงัจาก 1 วนั (alternate to stability factor 1-14 days : ASF) =

SF14 - SF1

เมื่อ

SF14 คือ คาตวัประกอบเสถยีรภาพหลงัจาก 14 วนั

SF1 คือ คาตวัประกอบเสถยีรภาพหลงัจาก 1 วนั

10.9.4 การรายงานผล

ใหรายงานคาตวัประกอบกำลงั คาคงตวัไดอเิลก็ทรกิของฉนวน อตัราการเพิม่คาความจไุฟฟาหลงัจาก

1 วนั กบั 14 วนั อตัราการเพิม่คาความจไุฟฟาหลงัจาก 7 วนั กบั 14 วนั และคาความแตกตางระหวาง

คาตวัประกอบเสถยีรภาพหลงัจาก 14 วนั กบัคาตวัประกอบเสถยีรภาพหลงัจาก 1 วนั เปนรอยละ

10.10 การทดสอบความคงทนของเครือ่งหมาย

ใชผาทีช่มุน้ำถเูครือ่งหมายทีส่ายไฟฟา 10 ครัง้ แลวตรวจพนิจิ เครือ่งหมายตองยงัคงตดิแนนและเหน็ไดชดั

10.11 การทดสอบความตานทานการวาบไฟของเปลอืก

10.11.1 เครื่องมือ

ชดุจายแรงดนัไฟฟากระแสสลบัความถี ่50 เฮริตซ

10.11.2การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ตัดชิ้นตัวอยางที่มีพื้นผิวดานนอกของเปลือกเปนชิ้นทดสอบ มีความหนาอยางนอย 1.52 มิลลิเมตร

ความยาว 50.8 มลิลเิมตร

× 100

× 100

Page 22: สายไฟฟ าอากาศต วนำอะ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2341-2550.pdf · มอก. 2341 2550 มาตรฐานผลิตภัณฑ

มอก. 2341-2550

-17-

10.11.3 วธิทีดสอบ

10.11.3.1 จบัขัว้ไฟฟากบัปลายดานหนึง่ของชิน้ทดสอบทีบ่รเิวณพืน้ผวิซึง่เปนผวิดานนอกของเปลอืก แลวนำ

ชิน้ทดสอบไปจมุในสารละลายแอมโมเนยีมคลอไรดความเขมขนรอยละ 0.1 ซึง่มศีกัยไฟฟาเทากบั

ดนิ

10.11.3.2 ปอนแรงดนัไฟฟาตามทีก่ำหนดในตารางที ่3 เขาทีข่ัว้ไฟฟากบัชิน้ทดสอบ จมุชิน้ทดสอบลงไป

จนกระทัง่ขัว้ไฟฟาสมัผสักบัผวิหนาของสารละลายแลวดงึขึน้มาประมาณ 25.4 มลิลเิมตรของ

ความยาวชิน้ทดสอบทีจ่มุอยใูนสารละลาย

10.11.3.3 ตองทำเชนนี้อยางนอยที่สุด 10 รอบ และมากที่สุดไมเกิน 50 รอบ หรือจนกระทั่งเกิด

ความบกพรองขึน้ โดยความเรว็ในการจมุสารละลายประมาณ 4 รอบตอนาท ีความบกพรองเกดิขึน้

เมือ่เกดิการอารกหรอืมปีระกายไฟเกดิขึน้ 2 รอบตอเนือ่งกนัในขณะทีด่งึขัว้ไฟฟาขึน้พนผวิหนา

ของสารละลายประมาณ 25.4 มลิลเิมตร ระหวางขัว้ไฟฟากบัสารละลาย

10.11.4การรายงานผล

ใหรายงานคาแรงดนัไฟฟาวาบไฟ (tracking voltage) ซึง่เปนแรงดนัไฟฟาทีไ่มทำใหเกิดความบกพรองหรอื

อารกบนพืน้ผวิของชิน้ทดสอบทัง้ 5 ชิน้

10.12 การทดสอบสภาพตานทานของตวักัน้ตวันำ

10.12.1 เครื่องมือ

เครือ่งวดัความตานทาน

10.12.2การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ตดัตวัอยางสายไฟฟายาว 150 มลิลเิมตร และเตรยีมตวัอยางกอนและหลงัเรงอายกุารใชงานตามรปู

ที ่5

10.12.3 วธิทีดสอบ

10.12.3.1 ทำขัว้ไฟฟาทีต่ำแหนง A B C และ D ตามรปูที ่5

10.12.3.2 การเชือ่มตอขัว้ไฟฟาตองใชตวัหนบีทีเ่หมาะสม

10.12.3.3 นำตวัอยางทีเ่ตรยีมตามขอ 10.12.3.2 เขาตอูบทีม่อีณุหภมู ิ90 องศาเซลเซยีส ± 2 องศาเซลเซยีส

เปนเวลาอยางนอย 30 นาท ีสภาพตานทานระหวางขัว้ไฟฟาตองวดัดวยวงจรทีม่กีำลงัไมเกิน 100

มลิลวิตัต

10.12.3.4 หลงัจากวดัคาทางไฟฟา ใหวดัเสนผานศนูยกลางขอบนอกของตวักัน้ตวันำ ความหนาของตวักัน้

ตวันำทีอ่ณุหภมูหิองทดสอบ ใหใชคาเฉลีย่จากการวดั 6 ครัง้ วดัจากตวัอยางทีแ่สดงในรปูที ่5

การคำนวณสภาพตานทาน ρC หนวยเปนโอหม⋅เซนตเิมตร จากสตูร

Page 23: สายไฟฟ าอากาศต วนำอะ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2341-2550.pdf · มอก. 2341 2550 มาตรฐานผลิตภัณฑ

-18-

มอก. 2341-2550

ρC =

เมื่อ

ρC คือ สภาพตานทานเชงิปรมิาตร เปนโอหม⋅เซนตเิมตรRC คือ ความตานทานทีว่ดัได เปนโอหม

LC คือ ระยะระหวางขัว้ไฟฟา B กบั C เปนเซนตเิมตร

DC คือ เสนผานศนูยกลางขอบนอกของตวักัน้ตวันำ เปนเซนตเิมตร

TC คือ ความหนาเฉลีย่ของตวักัน้ตวันำ เปนเซนตเิมตร

10.12.4การรายงานผล

ใหรายงานคาสภาพตานทานของตวักัน้ตวันำ เปนโอหม⋅เซนตเิมตร

RC × π × (DC - TC) × TC

2LC

Page 24: สายไฟฟ าอากาศต วนำอะ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2341-2550.pdf · มอก. 2341 2550 มาตรฐานผลิตภัณฑ

มอก. 2341-2550

-19-

รปูที ่1 การตรวจสอบความหนาของฉนวนหรอืเปลือก(ขอ 10.3.3.1)

รปูที ่2 การตรวจสอบความหนาของฉนวนหรอืเปลือก(ขอ 10.3.3.2)

ความหนาตํ่าสุด

ความหนาต่ําสุด

Page 25: สายไฟฟ าอากาศต วนำอะ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2341-2550.pdf · มอก. 2341 2550 มาตรฐานผลิตภัณฑ

-20-

มอก. 2341-2550

หนวยเปนมลิลเิมตร

รปูที ่3 รปูดมับเบลล(ขอ 10.4.1.2 และขอ 10.5.2)

รายการสวนประกอบ

1. ตวัจบัดานบน

2. ชิน้ทดสอบ

3. ตวัจบัดานลาง

4. ตวัรองรบัน้ำหนกั

5. น้ำหนกัเพิม่ขนาดเลก็

6. สเกลวดัความยาวเปนมลิลเิมตร

7. ฐาน

8. เหลก็รองรบัแนวตัง้

9. ตวัคัน่เปนทอเหลก็

รปูที ่4 อปุกรณรองรบัชิน้ทดสอบ(ขอ 10.5.1.2)

Page 26: สายไฟฟ าอากาศต วนำอะ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2341-2550.pdf · มอก. 2341 2550 มาตรฐานผลิตภัณฑ

มอก. 2341-2550

-21-

หนวยเปนมลิลเิมตร

รปูที ่5 การทดสอบความตานทานของตวักัน้ตวันำ(ขอ 10.12.3.1)

ฉนวน ตัวกั้นตัวนํา

เปลือก

B, C ขัว้ความตางศกัย

A, D ขัว้กระแสไฟฟา

A

B

C

D