สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด...

46
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ICS 29.060.20 ISBN 978-974-292-604-5 มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม THAI INDUSTRIAL STANDARD มอก. 2340 2550 POWER CABLES WITH XLPE INSULATED FOR RATED VOLTAGES OF 12/20(24) kV AND 18/30(36) kV สายไฟฟาหุมดวยฉนวนครอสลิงกดพอลิเอทิลีน สำหรับแรงดันไฟฟาที่กำหนด 12/20(24) กิโลโวลต และ 18/30(36) กิโลโวลต

Upload: others

Post on 08-Mar-2021

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

สำนักงานมาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรม

กระทรวงอตุสาหกรรม ICS 29.060.20 ISBN 978-974-292-604-5

มาตรฐานผลิตภณัฑอตุสาหกรรมTHAI INDUSTRIAL STANDARD

มอก. 2340 2550

POWER CABLES WITH XLPE INSULATED FOR RATED VOLTAGES OF12/20(24) kV AND 18/30(36) kV

สายไฟฟาหมุดวยฉนวนครอสลงิกดพอลเิอทลินีสำหรับแรงดันไฟฟาท่ีกำหนด 12/20(24) กโิลโวลตและ 18/30(36) กโิลโวลต

Page 2: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

มอก. 2340 2550

มาตรฐานผลิตภณัฑอตุสาหกรรมสายไฟฟาหมุดวยฉนวนครอสลงิกดพอลเิอทลินี

สำหรับแรงดันไฟฟาท่ีกำหนด 12/20(24) กโิลโวลตและ 18/30(36) กโิลโวลต

สำนักงานมาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรมกระทรวงอตุสาหกรรม ถนนพระรามที ่6 กรงุเทพฯ 10400

โทรศพัท 0 2202 3300

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศท่ัวไป เลม 125 ตอนพิเศษ 54งวนัที ่14 มนีาคม พุทธศกัราช 2551

Page 3: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

(2)

คณะกรรมการวชิาการคณะที ่ 960มาตรฐานสายไฟฟาหุมฉนวนแรงสูง

ประธานกรรมการรศ.วีรกร อองสกลุ คณะสิง่แวดลอม ทรัพยากร และการพฒันา

สถาบนัเทคโนโลยีแหงเอเชยี

กรรมการนายชาญณรงค บาลมงคล คณะวศิวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวทิยาลยั

นายบญุเหนอื พึง่ศริิ คณะวศิวกรรมศาสตร

มหาวทิยาลยัเทคโนโลยพีระจอมเกลาธนบรุี

นายณฏัฐ นีลวชัระ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

นายวิชชา ชาครพพิฒัน การไฟฟานครหลวง

นายไพฑรูย พรหมพทิกัษ การไฟฟาสวนภูมภิาค

นายสมพล ตนัชยัเอกกลุ บรษัิท เฟลปส ดอดจ ไทยแลนด จำกดั

นายอนันต ชยัสงค บริษัท สายไฟฟาบางกอกเคเบิล้ จำกดั

นางนิภา สนุทรธนโสภณ บรษัิท จรุงไทยไวรแอนดเคเบิล้ จำกดั (มหาชน)

นายวินัย อริยะสกลุทรัพย บรษัิท สายไฟฟาไทย-ยาซากิ จำกดั

กรรมการและเลขานุการนายพฒุพิงศ คงเจริญ สำนักงานมาตรฐานผลิตภณัฑอตุสาหกรรม

Page 4: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

(3)

สายไฟฟาหุมดวยฉนวนครอสลิงกดพอลิเอทิลีนสำหรับแรงดันไฟฟาที่กำหนด 12/20(24) กิโลโวลต และ

18/30(36) กโิลโวลต เปนอปุกรณสำคญัท่ีใชในระบบไฟฟาของสถานไีฟฟาและอาคารขนาดใหญ เนือ่งจากใชกบั

แรงดันไฟฟาสงูและสวนใหญวางอยใูตดนิ อนัตรายอันเกดิจากสายไฟฟาจงึมมีากหากคณุภาพของสายไฟฟาไมดพีอ

ปจจุบนัโรงงานภายในประเทศสามารถทำสายไฟฟาขึน้ใชไดเอง ดงัน้ันเพือ่ใหเกดิความปลอดภัยตอสาธารณะและ

เปนการสงเสรมิอตุสาหกรรมภายในประเทศ จึงกำหนดมาตรฐานผลิตภณัฑอตุสาหกรรม สายไฟฟาหมุดวยฉนวน

ครอสลงิกดพอลเิอทลินีสำหรบัแรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด 12/20(24) กโิลโวลต และ 18/30(36) กโิลโวลต ข้ึน

มาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรมนีก้ำหนดขึน้โดยอาศยัเอกสารตอไปนีเ้ปนแนวทาง

IEC 60060-1 (1989-11) High-voltage test techniques. Part 1: General definitions and test

requirements

IEC 60228 (2004-11) Conductors of insulated cables

IEC 60230 (1966-01) Impulse tests on cables and their accessories

IEC 60502-2 (2005-03) Power cables with extruded insulation and their accessories for rated

voltages from 1 kV (Um = 1.2 kV) up to 30 kV (Um = 36 kV)

Part 2: Cables for rated voltages from 6 kV (Um = 7.2 kV) up

to 30 kV (Um = 36 kV)

IEC 60811-1-1 (2001-07) Common test methods for insulating and sheathing materials of

electric cables and optical cables - Part 1-1: Methods for general

application - Measurement of thickness and overall dimensions -

Tests for determining the mechanical properties

IEC 60811-1-2 (1985) Common test methods for insulating and sheathing materials of

Amendment 1 (1989-10) electric cables - Part 1: Methods for general application - Section

Amendment 2 (2000-07) Two - Thermal ageing methods

IEC 60811-1-3 (2001-07) Common test methods for insulating and sheathing materials of

electric and optical cables - Part 1-3: General application -

Methods for determining the density - Water absorption tests -

Shrinkage test

IEC 60811-2-1 (2004-11) Common test methods for insulating and sheathing materials of

electric and optical cables - Part 2-1: Methods specific to

elastomeric compounds - Ozone resistance, hot set and mineral oil

immersion tests

Page 5: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

(4)

IEC 60811-3-1 (1985) Common test methods for insulating and sheathing materials of

Amendment 1 (1994-10) electric cables - Part 3: Methods specific to PVC compounds -

Amendment 2 (2001-05) Section One - Pressure test at high temperature - Tests for

resistance to cracking

IEC 60811-3-2 (1985) Common test methods for insulating and sheathing materials of

Amendment 1 (1993-09) electric cables - Part 3: Methods specific to PVC compounds -

Amendment 2 (2003-12) Section Two - Loss of mass test - Thermal stability test

IEC 60811-4-1 (2004-11) Insulating and sheathing materials of electric and optical cables -

Common test methods - Part 4-1: Methods specific to polyethylene

and polypropylene compounds - Resistance to environmental stress

cracking - Measurement of the melt flow index - Carbon black and/

or mineral filler content measurement in polyethylene by direct

combustion - Measurement of carbon black content by

thermogravimetric analysis (TGA) - Assessment of carbon black

dispersion in polyethylene using a microscope

IEC 60885-3 (1988-07) Electrical test methods for electric cables. Part 3: Test methods for

partial discharge measurements on lengths of extruded power cables

มอก.293-2541 สายไฟฟาอะลมูเินยีมหมุดวยฉนวนโพลไิวนลิคลอไรด

คณะกรรมการมาตรฐานผลิตภณัฑอตุสาหกรรมไดพจิารณามาตรฐานน้ีแลว เหน็สมควรเสนอรัฐมนตรีประกาศตาม

มาตรา 15 แหงพระราชบญัญัตมิาตรฐานผลิตภณัฑอตุสาหกรรม พ.ศ. 2511

Page 6: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

(5)

ประกาศกระทรวงอตุสาหกรรมฉบับท่ี 3809 ( พ.ศ. 2550 )

ออกตามความในพระราชบญัญัตมิาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรม

พ.ศ. 2511

เรือ่ง กำหนดมาตรฐานผลิตภณัฑอตุสาหกรรม

สายไฟฟาหมุดวยฉนวนครอสลิงกดพอลเิอทิลนี

สำหรบัแรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด 12/20(24) กโิลโวลต และ 18/30(36) กโิลโวลต

อาศยัอำนาจตามความในมาตรา 15 แหงพระราชบญัญัตมิาตรฐานผลิตภณัฑอตุสาหกรรม พ.ศ. 2511

รฐัมนตรีวาการกระทรวงอตุสาหกรรมออกประกาศกำหนดมาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรม สายไฟฟาหมุดวยฉนวน

ครอสลิงกดพอลิเอทิลีนสำหรับแรงดันไฟฟาที่กำหนด 12/20(24) กิโลโวลต และ 18/30(36) กิโลโวลต

มาตรฐานเลขท่ี มอก. 2340- 2550 ไว ดงัมรีายละเอยีดตอทายประกาศนี้

ประกาศ ณ วันท่ี 19 พฤศจกิายน พ.ศ. 2550

โฆสิต ปนเปยมรษัฎรฐัมนตรีวาการกระทรวงอตุสาหกรรม

Page 7: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

มอก. 2340-2550

-1-

มาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรม

สายไฟฟาหมุดวยฉนวนครอสลงิกดพอลเิอทลินีสำหรบัแรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด 12/20(24) กโิลโวลต

และ 18/30(36) กโิลโวลต

1. ขอบขาย1.1 มาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรมนีค้รอบคลมุเฉพาะสายไฟฟาตวันำทองแดงหรอือะลมูเินยีม ซึง่มแีกนเดยีว

ฉนวนครอสลงิกดพอลเิอทลินี ตวักัน้โลหะ เปลอืกพอลเิอทลินีหรอืพอลไิวนลิคลอไรด สำหรบัแรงดนัไฟฟา

ทีก่ำหนด U0/U(Um) เทากบั 12/20(24) กโิลโวลต และ 18/30(36) กโิลโวลต เหมาะทีจ่ะใชงานในทอ

ราง หรอืฝงดนิโดยตรง ซึง่สามารถตดิตัง้และใชงานในภาวะดงัตอไปนี้

(1) ระบบไฟฟา 3 เฟส ความถี ่50 เฮริตซ แรงดนัไฟฟาทีก่ำหนดไมเกนิ 24 กโิลโวลต สำหรบัสายไฟฟา

ทีใ่ชกบัแรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด 12/20(24) กโิลโวลต และไมเกิน 36 กโิลโวลต สำหรบัสายไฟฟาทีใ่ชกบั

แรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด 18/30(36) กโิลโวลต

(2) อณุหภมูขิองตวันำไมเกนิ 90 องศาเซลเซยีส สำหรบัการใชงานปกต ิไมเกนิ 130 องศาเซลเซยีส สำหรบั

การใชงานเกนิพกิดัฉกุเฉนิ และไมเกนิ 250 องศาเซลเซยีส สำหรบักรณลีดัวงจร

ซึง่ตอไปในมาตรฐานนีจ้ะเรยีกวา “สายไฟฟา”

1.2 มาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรมนีไ้มครอบคลมุถงึสายไฟฟาชนดิพเิศษ เชน สายไฟฟาทีใ่ชใตทะเล (submarine

cable)

2. บทนยิามความหมายของคำทีใ่ชในมาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรมนี ้มดีงัตอไปนี้

2.1 ครอสลงิกดพอลเิอทลินี (cross-linked polyethylene : XLPE) หมายถงึ สารประกอบพอลเิอทลินีทีถ่กูเปลีย่น

โครงสรางโมเลกลุจากเสนตรงใหเกาะเกีย่วกนัเปนรางแห เพือ่ใหมสีมบตัติามทีต่องการ

2.2 แรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด U หมายถงึ แรงดนัไฟฟาคารากกำลงัสองเฉลีย่ระหวางเฟสกบัเฟส

2.3 แรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด U0 หมายถงึ แรงดนัไฟฟาคารากกำลงัสองเฉลีย่ระหวางเฟสกบัดนิ

2.4 แรงดนัไฟฟา Um หมายถงึ แรงดนัไฟฟาคารากกำลงัสองเฉลีย่สงูสดุระหวางเฟสกบัเฟส

Page 8: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

-2-

มอก. 2340-2550

2.5 ตัวนำ (conductor) หมายถึง ลวดทองแดงหรือลวดอะลูมิเนียมตีเกลียวซึ่งอยูในรูปของการตีเกลียวรวม

ศนูยกลมอดัแนน (compact round concentric lay stranding)

2.6 ตวักัน้ตวันำ (conductor screen) หมายถงึ ชัน้ของสารกึง่ตวันำ (semi-conducting) ซึง่อยใูนรปูของสารประกอบ

ทีใ่ชหมุเพือ่ทำใหผวินอกของตวันำราบเรยีบสม่ำเสมอ และทำใหสนามไฟฟาระหวางตวันำกบัฉนวนสม่ำเสมอ

ทกุทศิทาง อกีทัง้ยงัชวยลดความเคนทางแรงดนัไฟฟา (voltage stress) ทีเ่กดิขึน้ดวย

2.7 ฉนวน (insulation) หมายถงึ ครอสลงิกดพอลเิอทลินีทีใ่ชหมุทบับนชัน้ของตวักัน้ตวันำ มหีนาทีป่องกนัไมให

กระแสไฟฟารัว่ออกมาทำอนัตรายแกบคุคลหรอืสิง่แวดลอม และปองกนัไมใหเกดิการลดัวงจร

2.8 ตวักัน้ฉนวน (insulation screen) หมายถงึ ชัน้ของสารกึง่ตวันำซึง่อยใูนรปูของสารประกอบทีใ่ชหมุเพือ่ทำให

ผวินอกของฉนวนราบเรยีบสม่ำเสมอ และทำใหสนามไฟฟาระหวางฉนวนกบัตวักัน้โลหะสม่ำเสมอทกุทศิทาง

อกีทัง้ยงัชวยลดความเคนทางแรงดนัไฟฟาทีเ่กดิขึน้ดวย

2.9 ตวักัน้โลหะ (metallic screen) หมายถงึ ตวักัน้ทีเ่ปนลวดทองแดงและเทปทองแดงประกอบกนั มหีนาทีป่องกนั

สนามไฟฟาไมใหเกดิอนัตรายแกบคุคลและสิง่แวดลอม และปองกนัไมใหสนามไฟฟาไปรบกวนระบบอืน่ๆ

อกีทัง้ใชเปนสายดนิตอเขากบัระบบสายดนิของระบบไฟฟา

2.10 เทปพนัทบัตวักัน้โลหะ หมายถงึ เทปทีใ่ชพนัทบับนชัน้ของตวักัน้โลหะ ซึง่ไมทำปฏกิริยิากบัวสัดปุระกอบอืน่

ไมเกดิการกดักรอนกบัตวักัน้โลหะ ซึง่อาจเปนเทปพนัรดั หรอืเทปสงัเคราะหกนัน้ำ

2.11 เทปพนัรดั (binder tape) หมายถงึ เทปทีไ่มดดูซมึน้ำ (non-hygroscopic) ซึง่ใชพนัทบับนชัน้ของตวักัน้โลหะ

เพื่อกั้นแยกกอนจะถึงชั้นเปลือก

2.12 เทปสงัเคราะหกนัน้ำ (synthetic water blocking tape) หมายถงึ เทปทีท่ำจากสารสงัเคราะหทีส่ามารถดดูซมึ

น้ำไวในตวัเทปได มหีนาทีป่องกนัไมใหน้ำซมึเขาไปในสายไฟฟา และปองกนัไมใหสวนทีเ่ปนโลหะทำใหเกดิ

รอยหรอืสมัผสัโดยตรงกบัสวนทีเ่ปนอโลหะ และเปนประเภททีไ่มนำไฟฟา (non-conducting)

2.13 เปลอืก (sheath) หมายถงึ สารประกอบพอลเิอทลินีหรอืพอลไิวนลิคลอไรดทีใ่ชหมุชัน้นอกสดุของสายไฟฟา

มหีนาทีป่องกันแรงกระแทก เสยีดส ีและทนทานตอสภาวะแวดลอม

2.14 คาระบ ุ(nominal value) หมายถงึ คาซึง่ระบโุดยปรมิาณและมกัใชแสดงในตาราง

2.15 คามัธยฐาน (median value) หมายถึง คาตรงกลางถาจำนวนคาทั้งหมดเปนเลขคี่ หรือหมายถึงคาเฉลี่ย

ของคาตรงกลาง 2 คา ถาจำนวนคาทัง้หมดเปนเลขค ูเมือ่คาทีไ่ดจากผลการทดสอบมหีลายจำนวนและเรยีงจาก

มากไปหานอย หรอืจากนอยไปหามาก

2.16 การทดสอบประจำ (routine test) หมายถงึ การทดสอบโดยผทูำบนความยาวของสายไฟฟาทีผ่ลติแตละเสน

เพือ่ตรวจสอบวาสายไฟฟาทัง้หมดทีผ่ลติแตละเสนเปนไปตามขอกำหนดตลอดความยาวหรอืไม

2.17 การทดสอบตวัอยาง (sample test) หมายถงึ การทดสอบโดยผทูำกบัตวัอยางของสายไฟฟาสำเรจ็รปูแตละ

ตัวอยาง หรือสวนประกอบที่ไดมาจากสายไฟฟาสำเร็จรูป เพื่อทวนสอบวาสายไฟฟาสำเร็จรูปเปนไปตาม

ขอกำหนด

Page 9: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

มอก. 2340-2550

-3-

2.18 การทดสอบเฉพาะแบบ (type test) หมายถงึ การทดสอบทีท่ำกอนนำสายไฟฟาออกสทูองตลาด เพือ่แสดงวา

สายไฟฟาแบบทีค่รอบคลมุโดยมาตรฐานนีม้ลีกัษณะเฉพาะเชงิสมรรถนะเปนทีน่าพอใจ ซึง่ตองการการทดสอบ

ทีส่มบรูณเปนหลกัฐานเพยีงครัง้เดยีว โดยไมตองทดสอบซ้ำ

หมายเหตุ การทดสอบนี้อยูในลักษณะที่วา หลังจากทดสอบไปแลวไมจำเปนตองทดสอบซ้ำอีกนอกจากวามี

การเปลี่ยนแปลงวัสดุ หรือการออกแบบ หรือกระบวนการผลิตซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงลักษณะเฉพาะ

เชงิสมรรถนะของสายไฟฟา

3. ประเภทสายไฟฟาแบงเปน 2 ประเภท ตามแรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด คอื

3.1 ประเภททีใ่ชกบัแรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด 12/20(24) กโิลโวลต

3.2 ประเภททีใ่ชกบัแรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด 18/30(36) กโิลโวลต

4. ขนาด4.1 ขนาดและรายละเอยีดของสายไฟฟาตวันำทองแดง

ใหเปนไปตามทีก่ำหนดในตารางที ่1 และตารางที ่2

ตารางที ่1 ขนาดและรายละเอยีดของสายไฟฟาตวันำทองแดงทีใ่ชกบัแรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด 12/20(24) กโิลโวลต

(ขอ 4.1)

พ้ืนท่ีหนาตัดระบุของตัวนํา mm2 35 50 70 120 185 240 400 500 800

จํานวนเสนลวดในตัวนํา ตํ่าสุด เสน 6 6 12 18 30 34 53 53 53

เสนผานศูนยกลางของตัวนํา mm 6.88 ถึง

7.02

7.92 ถึง

8.41

9.63 ถึง

9.83

12.82 ถึง

13.08

15.82 ถึง

16.14

18.29 ถึง

18.65

23.16 ถึง

23.62

26.40 ถึง

26.94

33.66 ถึง

34.34

ความหนาต่ําสุดของตัวกั้นตัวนํา mm 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07

ความหนาของฉนวน mm 5.5 5.5 5.5 5.5 5.5 5.5 5.5 5.5 5.5

เสนผานศูนยกลางหลังหุมฉนวนโดยประมาณ mm 19.0 20.5 22.0 25.0 28.0 30.5 35.5 39.0 47.0

ความหนาต่ําสุดของตัวกั้นฉนวน mm 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07

พ้ืนท่ีหนาตัดท้ังหมดของตัวก้ันโลหะที่เปนลวดทองแดง ตํ่าสุด mm2 10 10 10 10 25 25 25 25 25

จํานวนเสนลวดของตัวกั้นโลหะที่เปนลวดทองแดง ตํ่าสุด เสน 20 20 20 20 30 30 30 30 35

ความหนาของเปลือก mm 1.8 1.8 1.8 2.0 2.1 2.2 2.4 2.6 2.6

เสนผานศูนยกลางของสายไฟฟาโดยประมาณ mm 28 30 31 34 38 42 48 52 59

ความตานทานกระแสตรงของตัวนําท่ี 20oC สูงสุด Ω/km 0.524 0.387 0.268 0.153 0.0991 0.0754 0.0470 0.0366 0.0221

Page 10: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

-4-

มอก. 2340-2550

ตารางที ่2 ขนาดและรายละเอยีดของสายไฟฟาตวันำทองแดงทีใ่ชกบัแรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด 18/30(36) กโิลโวลต

(ขอ 4.1)

4.2 ขนาดและรายละเอยีดของสายไฟฟาตวันำอะลมูเินยีม

ใหเปนไปตามทีก่ำหนดในตารางที ่3 และตารางที ่4

ตารางที ่3 ขนาดและรายละเอยีดของสายไฟฟาตวันำอะลมูเินยีมทีใ่ชกบัแรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด 12/20(24) กโิลโวลต

(ขอ 4.2)

พ้ืนท่ีหนาตัดระบุของตัวนํา mm2 50 120 185 240 400 500

จํานวนเสนลวดในตัวนํา ตํ่าสุด เสน 6 18 30 34 53 53

เสนผานศูนยกลางของตัวนํา mm 7.92 ถึง

8.41

12.82 ถึง

13.08

15.82 ถึง

16.14

18.29 ถึง

18.65

23.16 ถึง

23.62

26.40 ถึง

26.94

ความหนาต่ําสุดของตัวก้ันตัวนํา mm 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07

ความหนาของฉนวน mm 8.0 8.0 8.0 8.0 8.0 8.0

เสนผานศูนยกลางหลังหุมฉนวนโดยประมาณ mm 25.5 30.0 33.0 35.5 40.5 44.0

ความหนาต่ําสุดของตัวก้ันฉนวน mm 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07

พ้ืนท่ีหนาตัดท้ังหมดของตัวก้ันโลหะที่เปนลวดทองแดง ต่ําสุด mm2 10 10 25 25 25 25

จํานวนเสนลวดของตัวกั้นโลหะท่ีเปนลวดทองแดง ตํ่าสุด เสน 20 20 30 30 30 30

ความหนาของเปลือก mm 2.0 2.2 2.3 2.4 2.6 2.7

เสนผานศูนยกลางของสายไฟฟาโดยประมาณ mm 35 40 44 47 55 58

ความตานทานกระแสตรงของตัวนําที่ 20oC สูงสุด Ω/km 0.387 0.153 0.0991 0.0754 0.0470 0.0366

พ้ืนท่ีหนาตัดระบุของตัวนํา mm2 35 50 70 120 185 240 400 500

จํานวนเสนลวดในตัวนํา ต่ําสุด เสน 6 6 12 15 30 30 53 53

เสนผานศูนยกลางของตัวนํา mm 6.6 ถึง

7.5

7.7 ถึง

8.6

9.3 ถึง

10.2

12.5 ถึง

13.5

15.5 ถึง

16.8

17.8 ถึง

19.2

22.9 ถึง

24.6

25.7 ถึง

27.6

ความหนาต่ําสุดของตัวกั้นตัวนํา mm 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07

ความหนาของฉนวน mm 5.5 5.5 5.5 5.5 5.5 5.5 5.5 5.5

เสนผานศูนยกลางหลังหุมฉนวนโดยประมาณ mm 19.0 20.5 22.0 25.0 28.0 30.5 35.5 39.0

ความหนาต่ําสุดของตัวกั้นฉนวน mm 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07

พ้ืนท่ีหนาตัดท้ังหมดของตัวกั้นโลหะท่ีเปนลวดทองแดง

ต่ําสุด

mm2 10 10 10 10 25 25 25 25

จํานวนเสนลวดของตัวกั้นโลหะท่ีเปนลวดทองแดง

ต่ําสุด

เสน 20 20 20 20 30 30 30 30

ความหนาของเปลือก mm 1.8 1.8 1.8 2.0 2.1 2.2 2.4 2.6

เสนผานศูนยกลางของสายไฟฟาโดยประมาณ mm 28 30 31 34 38 42 48 52

ความตานทานกระแสตรงของตัวนําที่ 20oC สูงสุด Ω/km 0.868 0.641 0.443 0.253 0.164 0.125 0.0778 0.0605

Page 11: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

มอก. 2340-2550

-5-

ตารางที ่4 ขนาดและรายละเอยีดของสายไฟฟาตวันำอะลมูเินยีมทีใ่ชกบัแรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด 18/30(36) กโิลโวลต

(ขอ 4.2)

5. วสัดแุละการทำ5.1 ตวันำ

ตวันำตองเปนทองแดงอบออนหรอือะลมูเินยีม มโีครงสรางแบบตเีกลยีวรวมศนูยกลมอดัแนน เปนไปตาม IEC

60228 สำหรบัตวันำทองแดง และ มอก.293 สำหรบัตวันำอะลมูเินยีม

5.2 ตวักัน้ตวันำ

ความหนาต่ำสดุของตวักัน้ตวันำตองไมนอยกวาคาทีร่ะบใุนตารางที ่1 ถึงตารางที ่4

5.3 ฉนวน

ฉนวนตองเปนครอสลิงกดพอลิเอทิลีนที่ไมมีคารบอนแบล็ก โดยหุมพรอมกันกับชั้นตัวกั้นตัวนำและชั้น

ตวักัน้ฉนวน กระบวนการบมตองเปนแบบแหง (dry curing process) หามบมดวยน้ำรอนหรอืไอน้ำ ความหนา

เฉลี่ยของฉนวนตองไมนอยกวาคาที่ระบุในตารางที่ 1 ถึงตารางที่ 4 และความหนาต่ำสุดของฉนวนตอง

ไมนอยกวารอยละ 90 ของคาทีร่ะบใุนตารางที ่1 ถงึตารางที ่4

5.4 ตวักัน้ฉนวน

ตวักัน้ฉนวนเปนแบบลอกออกจากฉนวนไมได (bonded type) หรอืแบบลอกออกจากฉนวนได (strippable

type) ความหนาต่ำสดุของตวักัน้ฉนวนตองไมนอยกวาคาทีร่ะบใุนตารางที ่1 ถงึตารางที ่4

พ้ืนท่ีหนาตัดระบุของตัวนํา mm2 50 120 185 240 400 500

จํานวนเสนลวดในตัวนํา ตํ่าสุด เสน 6 15 30 30 53 53

เสนผานศูนยกลางของตัวนํา mm 7.7 ถึง

8.6

12.5 ถึง

13.5

15.5 ถึง

16.8

17.8 ถึง

19.2

22.9 ถึง

24.6

25.7 ถึง

27.6

ความหนาต่ําสุดของตัวกั้นตัวนํา mm 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07

ความหนาของฉนวน mm 8.0 8.0 8.0 8.0 8.0 8.0

เสนผานศูนยกลางหลังหุมฉนวนโดยประมาณ mm 25.5 30.0 33.0 35.5 40.5 44.0

ความหนาต่ําสุดของตัวกั้นฉนวน mm 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07 0.07

พ้ืนท่ีหนาตัดท้ังหมดของตัวก้ันโลหะท่ีเปนลวดทองแดง ตํ่าสุด mm2 10 10 25 25 25 25

จํานวนเสนลวดของตัวก้ันโลหะท่ีเปนลวดทองแดง ตํ่าสุด เสน 20 20 30 30 30 30

ความหนาของเปลือก mm 2.0 2.2 2.3 2.4 2.6 2.7

เสนผานศูนยกลางของสายไฟฟาโดยประมาณ mm 35 40 44 47 55 58

ความตานทานกระแสตรงของตัวนําท่ี 20oC สูงสุด Ω/km 0.641 0.253 0.164 0.125 0.0778 0.0605

Page 12: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

-6-

มอก. 2340-2550

5.5 ตวักัน้โลหะ

ตัวกั้นโลหะตองเปนลวดทองแดงและเทปทองแดงประกอบกัน ลวดทองแดงตองตีเกลียวรอบแกนของ

สายไฟฟาและพนัดวยเทปทองแดงใหสมัผสักบัลวดทองแดงโดยมคีวามตอเนือ่งทางไฟฟาตลอดความยาวของ

สายไฟฟา พืน้ทีห่นาตดัทัง้หมดและจำนวนเสนลวดต่ำสดุของตวักัน้โลหะตองไมนอยกวาคาทีร่ะบใุนตารางที ่1

ถงึตารางที ่4

5.6 เทปพนัทบัตวักัน้โลหะ

5.6.1 เทปพนัรดั เปนเทปไมลาร (Mylar) เทปสปนบอนด (spunbond) หรอืเทปหนวงไฟ (flame retardant)

5.6.2 เทปสงัเคราะหกนัน้ำ เปนเทปสงัเคราะหประเภททีไ่มนำไฟฟา ซึง่ใชพนับนตวักัน้โลหะ เพือ่ทำหนาทีป่องกนั

การซมึผานของน้ำตลอดความยาวของสายไฟฟา

5.7 เปลือก

เปลอืกตองเปนสารประกอบพอลเิอทลินีเอสท ี7 (ST7) หรอืพอลไิวนลิคลอไรดเอสท ี2 (ST2) สำหรบัใชกบั

สายไฟฟาทีม่อีณุหภมูติวันำสงูสดุในการทำงานตามปกต ิ90 องศาเซลเซยีส ความหนาเฉลีย่ตองไมนอยกวาคา

ทีร่ะบใุนตารางที ่1 ถงึตารางที ่4 ความหนาต่ำสดุตองไมนอยกวารอยละ 80 ของคาทีร่ะบใุนตารางที ่1 ถงึ

ตารางที ่4

6. คณุลกัษณะทีต่องการ6.1 คณุลกัษณะทีต่องทดสอบประจำ

6.1.1 ความตานทานของตวันำ

เมือ่ทดสอบตามขอ 10.2 ความตานทานกระแสตรงสงูสดุของตวันำที ่20 องศาเซลเซยีส ตองไมเกนิคาที่

ระบใุนตารางที ่1 ถงึตารางที ่4

6.1.2 การปลอยประจบุางสวน (partial discharge)

เมือ่ทดสอบตามขอ 10.10 แลว การปลอยประจบุางสวนที ่1.73 U0 ตองไมเกนิ 10 พโิกคลูอมบ

6.1.3 ความทนทานไฟฟาของสายไฟฟา

เมือ่ทดสอบตามขอ 10.3 สายไฟฟาตองไมเสยีสภาพฉบัพลนั

6.2 คณุลกัษณะทีต่องทดสอบตวัอยาง

6.2.1 ลกัษณะตวันำ ขนาด และความหนาของชัน้ตางๆ

เมือ่ทดสอบตามขอ 10.4 ขอ 10.5 ขอ 10.6 และขอ 10.7 แลว จำนวนเสนลวดในตวันำตองไมนอยกวา

ทีร่ะบใุนตารางที ่ 1 ถงึตารางที ่ 4 เสนผานศนูยกลางของตวันำ ความหนาของชัน้ตางๆ แตละชัน้ และ

เสนผานศนูยกลางของสายไฟฟา ใหเปนไปตามทีร่ะบใุนตารางที ่1 ถงึ ตารางที ่4 และตามขอ 5.1 ถงึขอ

5.7

Page 13: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

มอก. 2340-2550

-7-

6.2.2 ความตานทานของตวันำ

ใหเปนไปตามขอ 6.1.1

6.2.3 ความทนทานไฟฟาของสายไฟฟาเปนเวลา 4 ชัว่โมง

เมือ่ทดสอบตามขอ 10.8 แลว สายไฟฟาตองไมเสยีสภาพฉบัพลนั

6.2.4 ความยดืตวัของฉนวนเมือ่ไดรบัความรอน (hot set)

เมือ่ทดสอบตามขอ 10.9 ความยดืตวัของฉนวนเมือ่ไดรบัความรอนและมนี้ำหนกัถวงตองมคีาสงูสุดไมเกนิ

รอยละ 175 และความยดืตวัหลงัจากปลอยใหเยน็ตวัและไมมนี้ำหนกัถวงตองมคีาสงูสดุไมเกนิรอยละ 15

6.3 คณุลกัษณะทีต่องทดสอบเฉพาะแบบ

6.3.1 คณุลกัษณะทีท่ดสอบเฉพาะแบบทางไฟฟา

6.3.1.1 การปลอยประจบุางสวนทีไ่ดหลงัจากการทดสอบความโคงงอ

เมือ่ทดสอบตามขอ 10.11 แลว การปลอยประจุบางสวนที ่1.73 U0 ตองไมเกนิ 5 พโิกคลูอมบ

6.3.1.2 ตวัประกอบพลงังานสญูเปลา (tan δ)

เมือ่ทดสอบตามขอ 10.12 แลว คาทีว่ดัไดตองไมเกนิ 0.004

6.3.1.3 ความทนทานไฟฟาขณะเกดิวฏัจกัรความรอน (heating cycle)

เมือ่ทดสอบตามขอ 10.13 แลว การปลอยประจบุางสวนที ่1.73 U0 ตองไมเกนิ 5 พโิกคลูอมบ

6.3.1.4 ความทนทานไฟฟาหลงัการทดสอบแรงดนัไฟฟาอมิพลัส

เมือ่ทดสอบตามขอ 10.14 แลว สายไฟฟาตองไมเสยีสภาพฉบัพลนั

6.3.1.5 ความทนทานไฟฟาเปนเวลา 4 ชัว่โมง

เมือ่ทดสอบตามขอ 10.8 แลว สายไฟฟาตองไมเสยีสภาพฉบัพลนั

6.3.1.6 สภาพตานทานของตวักัน้ทีเ่ปนสารกึง่ตวันำ

เมือ่ทดสอบตามขอ 10.15 แลว คาความตานทานของตวักัน้ตวันำตองไมเกนิ 1 000 โอหม เมตร

คาความตานทานของตวักัน้ฉนวนตองไมเกนิ 500 โอหม เมตร

6.3.2 คณุลกัษณะทีท่ดสอบเฉพาะแบบทีไ่มใชทางไฟฟา

6.3.2.1 โครงสรางของสายไฟฟา

เมือ่ทดสอบตามขอ 10.4 ขอ 10.5 ขอ 10.6 และขอ 10.7 แลว คาทีไ่ดตองเปนไปตามตารางที ่1

ถงึตารางที ่4 และตามขอ 5.1 ถงึขอ 5.7

.

.

Page 14: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

-8-

มอก. 2340-2550

6.3.2.2 ฉนวนและเปลอืก

(1) ความตานแรงดงึและความยดืของฉนวนกอนและหลงัเรงอายกุารใชงาน

เมื่อทดสอบตามขอ 10.16 แลวคามัธยฐาน และ/หรือ คาความเปลี่ยนแปลงของความ

ตานแรงดงึและความยดืใหเปนไปตามทีก่ำหนดในตารางที ่5

(2) ความตานแรงดงึและความยดืของเปลอืกกอนและหลงัเรงอายกุารใชงาน

เมื่อทดสอบตามขอ 10.17 แลวคามัธยฐาน และ/หรือ คาความเปลี่ยนแปลงของความ

ตานแรงดงึและความยดืใหเปนไปตามทีก่ำหนดในตารางที ่5

6.3.2.3 ความเขากนัไดของวสัดปุระกอบของสายไฟฟา

นำชิน้ตวัอยางจากสายไฟฟาไปอบทีอ่ณุหภมู ิ100 องศาเซลเซยีส ± 2 องศาเซลเซยีส เปนเวลา 168

ชั่วโมง เมื่อทดสอบตามขอ 10.18 แลวคามัธยฐาน และ/หรือ คาความเปลี่ยนแปลงของความ

ตานแรงดึงและความยืดของฉนวนและเปลือกทั้งกอนและหลังเรงอายุการใชงานใหเปนไปตามขอ

6.3.2.2

6.3.2.4 การเปลีย่นรปูของเปลอืกขณะทีม่แีรงกดทีอ่ณุหภมูสิงู

เมื่อทดสอบตามขอ 10.19 แลว คามัธยฐานของความลึกที่รอยกดตองไมเกินรอยละ 50 ของ

ความหนาเฉลีย่ของชิน้ทดสอบ

6.3.2.5 ความยดืตวัของฉนวนเมือ่ไดรบัความรอน

ใหเปนไปตามขอ 6.2.4

6.3.2.6 การดดูซมึน้ำของฉนวน

เมื่อทดสอบตามขอ 10.20 แลว คาเฉลี่ยความเปลี่ยนแปลงของมวลตองไมเกิน 1 มิลลิกรัมตอ

ตารางเซนตเิมตร

6.3.2.7 ปรมิาณคารบอนแบลก็ในเปลอืกพอลเิอทลินี

เมือ่ทดสอบตามขอ 10.21 แลว ปรมิาณคารบอนแบลก็ตองเปนไปตามทีก่ำหนดในตารางที ่5

6.3.2.8 การหดตวัของฉนวนครอสลงิกดพอลเิอทลินี

เมือ่ทดสอบตามขอ 10.22 แลว การหดตวัสงูสดุตองไมเกนิรอยละ 4

6.3.2.9 การหดตวัของเปลอืกพอลเิอทลินี

เมือ่ทดสอบตามขอ 10.23 แลว การหดตวัสงูสดุตองไมเกนิรอยละ 3

Page 15: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

มอก. 2340-2550

-9-

6.3.2.10 การลอกออกไดของตวักัน้ฉนวน (strippability of insulation screen)

ในกรณทีีต่วักัน้ฉนวนเปนแบบลอกออกได เมือ่ทดสอบตามขอ 10.24 แลว ตวักัน้ฉนวนตองลอก

ออกโดยใชแรงดงึไมต่ำกวา 4 นวิตนั และไมเกิน 45 นวิตนั ผวิของฉนวนตองไมเสยีหาย และไมมี

ตวักัน้ฉนวนฝงตดิอยใูนฉนวน

6.3.2.11 การซมึผานของน้ำ

ในกรณทีีส่ายไฟฟามกีารออกแบบใหใชเทปสงัเคราะหกนัน้ำ เมือ่ทดสอบตามขอ 10.25 แลว

ระหวางการทดสอบตองไมมนี้ำซมึไหลผานออกมาจากชิน้ทดสอบ

6.3.2.12 การสญูเสยีมวลของเปลอืกพอลไิวนลิคลอไรด

เมือ่ทดสอบตามขอ 10.26 แลว คาทีไ่ดใหเปนไปตามตารางที ่5

6.3.2.13 ความทนตอการชอ็กดวยความรอนของเปลอืกพอลไิวนลิคลอไรด

เมือ่ทดสอบตามขอ 10.27 แลว เปลอืกตองไมแตกราน

Page 16: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

-10-

มอก. 2340-2550

ตารางที ่5 คณุลกัษณะทางกลและคณุลกัษณะเฉพาะของฉนวนและเปลอืก(ขอ 6.3.2.2 ขอ 6.3.2.7 และขอ 6.3.2.12)

ฉนวน

XLPE PVC(ST2) PE(ST7)

กอนเรงอายุการใชงาน

- ความตานทานแรงดึงต่ําสุด N/mm2 12.5 12.5 12.5

- ความยืดจนขาดต่ําสุด % 200 150 300

หลังเรงอายุการใชงาน

- อุณหภูมิที่ใชอบ oC 135 100 110

- เกณฑความคลาดเคลื่อน oC ±3 ±2 ±2

- ระยะเวลาที่ใชอบ วัน 7 7 10

- ความตานแรงดึงต่ําสุด N/mm2 - 12.5 -

- ความเปล่ียนแปลงของความตานแรงดึง % ±25 ±25 -

- ความยืดจนขาดต่ําสุด % - 150 300

- ความเปล่ียนแปลงของการยืดจนขาด % ±25 ±25 -

การทดสอบแรงกดที่อุณหภูมิสูง

- อุณหภูมิทดสอบ oC - 90 110

- เกณฑความคลาดเคลื่อน oC - ±2 ±2

ปริมาณคารบอนแบล็ก

- คาระบุ % - - 2.5

- เกณฑความคลาดเคลื่อน % - - ±0.5

การสูญเสียมวลของเปลือกพอลิไวนิลคลอไรด

- อุณหภูมิที่ใชอบ oC - 100 -

- เกณฑความคลาดเคลื่อน oC - ±2 -

- ระยะเวลาที่ใชอบ วัน - 7 -

- การสูญเสียมวลสูงสุดที่ยอมรับได mg/cm2 - 1.5 -

รายละเอียด หนวย เปลือก

Page 17: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

มอก. 2340-2550

-11-

7. การบรรจุ7.1 การปดปลายสายไฟฟา

หลงัจากผทูำไดทดสอบสายไฟฟาเรยีบรอยแลว ตองปดผนกึปลายสายไฟฟาทัง้ 2 ดาน หรอืครอบปลายสายไฟฟา

ดวยปลอกพวีซีหีรอืวสัดทุีเ่ทยีบเทาเพือ่ปองกนัความชืน้

7.2 การบรรจสุายไฟฟา

7.2.1 ใหบรรจสุายไฟฟาบนลอเหลก็หรอืลอไมทีม่คีวามแขง็แรงเพยีงพอ

7.2.2 แกนลอบรรจุสายไฟฟาตองกลม และตองปดหรือหอหุมดวยวัสดุที่แข็งแรงเพื่อปองกันไมใหสายไฟฟา

เกดิความเสยีหาย และมแีผนเหลก็ทีม่รีปูรางกลม สีเ่หลีย่ม หรอืหกเหลีย่มทีม่คีวามหนาเหมาะสมตดิไวที่

รเูพลาหมนุของปกลอ แผนเหลก็นีเ้จาะรสูำหรบัใชสอดแกนเหลก็ถาวร

7.3 ความยาวของสายไฟฟาทีบ่รรจใุนแตละลอ

ใหเปนไปตามขอตกลงระหวางผซูือ้และผขูาย

8. การทำเครือ่งหมายและฉลาก8.1 ทีส่ายไฟฟาทกุระยะชวงหางไมเกนิ 500 มลิลเิมตร อยางนอยตองมเีลข อกัษร หรอืเครือ่งหมายบนสายไฟฟา

แจง รายละเอยีดดงัตอไปนี ้ใหเหน็ไดงาย ชดัเจน และไมลบเลอืน

(1) แรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด

(2) ชนดิของตวันำ

(3) ชนดิของฉนวนและเปลอืก

(4) พืน้ทีห่นาตดัระบุ

(5) ปทีท่ำ

(6) ชือ่ผทูำหรอืโรงงานทีท่ำ หรอืเครือ่งหมายการคาทีจ่ดทะเบยีน

8.2 ทีห่นวยบรรจเุปนลอ อยางนอยตองมเีลข อกัษร หรอืเครือ่งหมายแจงรายละเอยีดดงัตอไปนี ้ใหเหน็ไดงาย

ชดัเจน และไมลบเลอืน

(1) แรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด

(2) ชนดิของตวันำ

(3) ชนดิของฉนวนและเปลอืก

(4) พืน้ทีห่นาตดัระบุ

(5) น้ำหนกัสทุธ ิและน้ำหนกัรวม เปนกโิลกรมั

(6) ปทีท่ำ

(7) ความยาวของสายไฟฟา

(8) มลีกูศรแสดงทศิทางการหมนุลอ และตำแหนงปลาย

(9) ชือ่ผทูำหรอืโรงงานทีท่ำ หรอืเครือ่งหมายการคาทีจ่ดทะเบยีน

Page 18: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

-12-

มอก. 2340-2550

8.3 ในกรณทีีใ่ชภาษาตางประเทศ ตองมคีวามหมายตรงกบัภาษาไทยทีก่ำหนดไวขางตน

9. การชกัตวัอยางและเกณฑการตดัสนิ9.1 รนุ ในทีน่ี ้หมายถงึ สายไฟฟาประเภท ชนดิของตวันำ ชนดิของฉนวนและเปลอืก พืน้ทีห่นาตดัระบขุนาดเดยีวกนั

ทีท่ำในคราวเดยีวโดยตอเนือ่ง หรอืสงมอบ หรอืซือ้ขายในระยะเวลาเดยีวกนั

9.2 การชกัตวัอยางและเกณฑการตดัสนิ

ใหเปนไปตามแผนการชกัตวัอยางทีก่ำหนดตอไปนี ้หรอือาจใชแผนการชกัตวัอยางทีเ่ทยีบเทากนัทางวชิาการ

กบัแผนทีก่ำหนดไว

9.2.1 การชกัตวัอยาง

ใหชกัตวัอยางโดยวธิสีมุจากรนุเดยีวกนัจากลอบรรจใุนแตละรนุ ใหไดตวัอยางเพยีงพอสำหรบัการทดสอบ

9.2.2 เกณฑการตดัสนิ

ตวัอยางตองเปนไปตามเกณฑทีก่ำหนดในขอ 4. ขอ 5. ขอ 6. ขอ 7. และขอ 8. ทกุรายการ จงึจะถอืวา

สายไฟฟารนุนัน้เปนไปตามมาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรมนี้

10. การทดสอบ10.1 ภาวะและเงือ่นไขการทดสอบ

10.1.1 อณุหภมูโิดยรอบ

หากมไิดระบไุวเปนอยางอืน่ในรายละเอยีดสำหรบัการทดสอบเฉพาะ ใหทดสอบทีอ่ณุหภมูโิดยรอบ 20

องศาเซลเซยีส ± 15 องศาเซลเซยีส

10.1.2 ความถีแ่ละรปูคลืน่แรงดนัไฟฟาทดสอบความถีก่ำลงั (power frequency)

ความถีข่องแรงดนัไฟฟาทดสอบกระแสสลบัตองอยใูนชวง 49 เฮริตซ ถงึ 61 เฮริตซ รปูคลืน่ตองเปน

รปูคลืน่ไซน คาทีใ่ชคอืคารากกำลงัสองเฉล่ีย

10.1.3 รปูคลืน่แรงดนัไฟฟาทดสอบอมิพลัส

ใหเปนไปตาม IEC 60230 คลืน่อมิพลัสตองมเีวลาหนาคลืน่ระหวาง 1 ไมโครวนิาท ีถงึ 5 ไมโครวนิาที

และเวลาหลงัคลืน่ระหวาง 40 ไมโครวนิาท ีถงึ 60 ไมโครวนิาท ีในกรณอีืน่ทีเ่กีย่วของกบัคลืน่อมิพลัส

ตองเปนไปตาม IEC 60060-1

10.1.4 การทดสอบเฉพาะแบบทางไฟฟา

ใหปฏบิตักิารทดสอบเรยีงตามลำดบัตัง้แตขอ 10.11 ถงึขอ 10.14

Page 19: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

มอก. 2340-2550

-13-

10.2 การทดสอบความตานทานกระแสตรงของตวันำ

10.2.1 เครื่องมือ

เครือ่งทดสอบความตานทานกระแสตรงของตวันำทีส่ามารถวดัความตานทานตวันำในตารางที ่1 ถงึตาราง

ที ่4 ได

10.2.2 การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ตดัตวัอยางสายไฟฟาหรอืตวัอยางทีม่คีวามยาวอยางนอย 1 เมตร กอนวดัความตานทานตองเกบ็ตวัอยาง

ไวที่อุณหภูมิหองทดสอบอยางนอย 12 ชั่วโมง ในกรณีที่สงสัยวาอุณหภูมิตัวนำจะไมเทากับอุณหภูมิ

หองทดสอบ ใหทดสอบหลงัจากสายไฟฟาอยใูนหองทดสอบเปนเวลา 24 ชัว่โมง

10.2.3 วธิทีดสอบ

วดัความตานทานกระแสตรงของตวันำทีอ่ณุหภมูหิองทดสอบ และคำนวณความตานทานตอ 1 กโิลเมตร

ทีอ่ณุหภมู ิ20 องศาเซลเซยีส จากสตูร

(1) ตวันำทองแดง

R20,Cu = Rt ×

(2) ตวันำอะลมูเินยีม

R20,Al = Rt ×

เมื่อ

R20,Cu คือ ความตานทานของตวันำทองแดงทีอ่ณุหภมู ิ20 องศาเซลเซยีส เปนโอหมตอกโิลเมตร

R20,Al คือ ความตานทานของตัวนำอะลูมิเนียมที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส เปนโอหมตอ

กโิลเมตร

Rt คือ ความตานทานของสายไฟฟายาว L เมตร ทีอ่ณุหภมู ิt องศาเซลเซยีส เปนโอหม

t คือ อณุหภมูขิองตวัอยางสายไฟฟาขณะทีว่ดั เปนองศาเซลเซยีส

L คือ ความยาวของตวัอยางสายไฟฟา เปนเมตร

10.2.4 การรายงานผล

ใหรายงานคาความตานทานกระแสตรง เปนโอหมตอกโิลเมตร ทีอ่ณุหภมู ิ20 องศาเซลเซยีส

10.3 การทดสอบความทนทานไฟฟาของสายไฟฟา

10.3.1 เครื่องมือ

เครือ่งกำเนดิไฟฟาหรอืหมอแปลงไฟฟาทีจ่ายแรงดนัไฟฟาความถีก่ำลงัครอบคลมุแรงดนัไฟฟาทดสอบ

10.3.2 วธิทีดสอบ

254.5 1000

(234.5 + t) L

248 1000

(228 + t) L

Page 20: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

-14-

มอก. 2340-2550

10.3.2.1 จายแรงดนัไฟฟาทดสอบระหวางตวันำกบัตวักัน้โลหะ โดยการเพิม่แรงดนัไฟฟาอยางชาๆ จนกระทัง่

แรงดนัไฟฟาเทากบั 3.5 U0

10.3.2.2 คงแรงดนัไฟฟาทดสอบตามขอ 10.3.2.1 เปนเวลา 5 นาท ีสายไฟฟาตองไมเสยีสภาพฉบัพลนั

10.3.3 การรายงานผล

ใหรายงานวา ผานหรอืไมผาน

10.4 การตรวจสอบตวันำ

10.4.1 เครื่องมือ

ไมโครมเิตอรหรอืเวอรเนยีรแคลลเิปอรทีว่ดัไดละเอยีด 0.01 มลิลเิมตร

10.4.2 วธิทีดสอบ

10.4.2.1 วดัเสนผานศนูยกลางของตวันำทีห่นาตดัเดยีวกนัในแนวตัง้ฉากซึง่กนัและกนั

10.4.2.2 นบัจำนวนเสนลวด

10.4.3 การรายงานผล

ใหรายงานคาเสนผานศนูยกลางของตวันำเปนคาเฉลีย่ และจำนวนเสนลวด

10.5 การตรวจสอบความหนาของฉนวน

10.5.1 เครื่องมือ

กลองจลุทรรศน หรอืเครือ่งฉายหนาขาง (profile projector) ทีม่กีำลงัขยายอยางนอย 10 เทา และวดั

ไดละเอยีด 0.01 มลิลเิมตร ในกรณทีีม่ขีอสงสยัใหใชการวดัดวยกลองจลุทรรศนเปนวธิอีางองิ

10.5.2 การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ตัดตัวอยางจากปลายดานหนึ่งของสายไฟฟา ปอกสิ่งหอหุมภายนอกออกดวยอุปกรณที่เหมาะสม โดย

ไมทำใหฉนวนเสยีหาย ถาตวักัน้ตวันำและฉนวนเปนแบบยดึตดิกนักไ็มตองเอาออก ตดัฉนวนเปนแผนบาง

ตามระนาบทีต่ัง้ฉากกบัแนวแกนของตวันำ ถาการทำเครือ่งหมายบนฉนวนเปนเหตใุหความหนาสวนนัน้

ลดลง ใหใชฉนวนตรงทีม่เีครือ่งหมายนัน้เปนชิน้ทดสอบ

10.5.3 วธิทีดสอบ

10.5.3.1 ถาผวิภายในและภายนอกของชิน้ทดสอบเปนวงกลมเรยีบสม่ำเสมอ ใหวดัความหนา 6 ครัง้ ทีร่ะยะ

ตามแนวเสนรอบวงเทาๆ กนั ดงัแสดงในรปูที ่2 จดุแรกทีว่ดัตองเปนจดุทีค่วามหนาฉนวนต่ำสดุ

10.5.3.2 ถาผวิภายในของชิน้ทดสอบไมเรยีบแตผวิภายนอกเรยีบ ใหวดัความหนา 6 ครัง้ ทีร่ะยะตามแนวเสน

รอบวงเทาๆ กนั ดงัแสดงในรปูที ่3 จดุแรกทีว่ดัตองเปนจดุทีค่วามหนาฉนวนต่ำสดุ

10.5.3.3 ในกรณทีีต่วักัน้ตวันำและฉนวนเปนแบบยดึตดิกนั ไมสามารถแยกออกจากกนัได การวดัจะไมรวม

ความหนาของตวักัน้ตวันำ

10.5.3.4 ใหวดัความหนาสงูสดุของฉนวน

Page 21: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

มอก. 2340-2550

-15-

10.5.4 การรายงานผล

ใหรายงานคาเฉลี่ยจาก 6 คา โดยมีทศนิยม 2 ตำแหนง แลวปดเศษเหลือทศนิยม 1 ตำแหนง ตาม

มอก.929 และใหรายงานคาความหนาของฉนวนต่ำสุด ความหนาของฉนวนสูงสุด และความแตกตาง

ระหวางความหนาของฉนวนต่ำสดุกบัความหนาของฉนวนสงูสดุทีว่ดัไดจากชิน้ทดสอบ

10.6 การตรวจสอบความหนาของเปลอืก

10.6.1 เครื่องมือ

กลองจลุทรรศนหรอืเครือ่งฉายหนาขางทีม่กีำลงัขยายอยางนอย 10 เทา และวดัไดละเอยีด 0.01 มลิลเิมตร

ในกรณทีีม่ขีอสงสยัใหใชการวดัดวยกลองจลุทรรศนเปนวธิอีางองิ

10.6.2 การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ตดัตวัอยางจากปลายดานหนึง่ของสายไฟฟา ปอกเปลอืกสายไฟฟาดวยอปุกรณทีเ่หมาะสม โดยไมทำให

เปลอืกเสยีหาย ตดัเปลอืกเปนแผนบางตามระนาบทีต่ัง้ฉากกับแนวแกนของสายไฟฟา ถาการทำเครือ่งหมาย

บนเปลอืกเปนเหตใุหความหนาสวนนัน้ลดลง ใหใชเปลอืกตรงทีม่เีครือ่งหมายนัน้เปนชิน้ทดสอบ

10.6.3 วธิทีดสอบ

10.6.3.1 ถาผวิภายในและภายนอกของชิน้ทดสอบเปนวงกลมเรยีบสม่ำเสมอ ใหวดัความหนา 6 ครัง้ ทีร่ะยะตาม

แนวเสนรอบวงเทาๆ กนั ดงัแสดงในรปูที ่2 จดุแรกทีว่ดัตองเปนจดุทีค่วามหนาเปลอืกต่ำสดุ

10.6.3.2 ถาผวิภายในซึง่สวนใหญมลีกัษณะเปนวงกลมไมสม่ำเสมอหรอืไมเรยีบ ใหวดัความหนา 6 ครัง้ ทีร่ะยะ

ตามแนวเสนรอบวงเทาๆ กนั ตามรปูที ่3 จดุแรกทีว่ดัตองเปนจดุทีค่วามหนาเปลอืกต่ำสดุ

10.6.4 การรายงานผล

ใหรายงานคาเฉลีย่ของความหนาของเปลอืกจาก 6 คา ทีว่ดัไดจากชิน้ทดสอบ โดยมทีศนยิม 2 ตำแหนง

แลวปดเศษเหลอืทศนยิม 1 ตำแหนง ตาม มอก.929 และใหรายงานคาความหนาของเปลอืกต่ำสดุ

10.7 การตรวจสอบเสนผานศนูยกลางของสายไฟฟา

10.7.1 เครื่องมือ

เครือ่งฉายหนาตดัขางทีม่กีำลงัขยายอยางนอย 10 เทา หรอืเครือ่งมอืทีว่ดัได 2 ทศิทางในแนวตัง้ฉากกนั

และวดัไดละเอยีด 0.01 มลิลเิมตร

10.7.2 วธิทีดสอบ

วดัเสนผานศนูยกลางของสายไฟฟาทีห่นาตดัเดยีวกนั ในแนวตัง้ฉากซึง่กนัและกนั

10.7.3 การรายงานผล

ใหรายงานคาเสนผานศนูยกลางของสายไฟฟา เปนคาเฉลีย่

Page 22: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

-16-

มอก. 2340-2550

10.8 การทดสอบความทนทานไฟฟาของสายไฟฟาเปนเวลา 4 ชัว่โมง

10.8.1 เครื่องมือ

เครือ่งกำเนดิไฟฟาหรอืหมอแปลงไฟฟาทีจ่ายแรงดนัไฟฟาความถีก่ำลงัครอบคลมุแรงดนัไฟฟาทดสอบ

10.8.2 วธิทีดสอบ

10.8.2.1 นำตวัอยางสายไฟฟาทีจ่ะทดสอบความยาวไมนอยกวา 5 เมตร มาจายแรงดนัไฟฟาทดสอบ ระหวาง

ตวันำกบัตวักัน้โลหะ โดยการเพิม่แรงดนัไฟฟาอยางชาๆ จนกระทัง่แรงดนัไฟฟาเทากบั 4 U0

10.8.2.2 คงแรงดนัไฟฟาทดสอบตามขอ 10.8.2.1 เปนเวลา 4 ชัว่โมง สายไฟฟาตองไมเสยีสภาพฉบัพลนั

10.8.3 การรายงานผล

ใหรายงานวา ผานหรอืไมผาน

10.9 การทดสอบความยดืตวัของฉนวนเมือ่ไดรบัความรอน

10.9.1 เครื่องมือ

เครือ่งทดสอบใหเปนไปตาม IEC 60811-1-2 และ IEC 60811-2-1

10.9.2 การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ชิน้ทดสอบ 2 ชิน้ของฉนวนจากตวัอยาง โดยแยกตวักัน้ออกตามแนวแกน ตดัและขดัชิน้ทดสอบจนผวิ

ทัง้สองดานมคีวามหนาสม่ำเสมอตลอดความยาวพกิดั และในขณะทีข่ดัแตงตองระวงัไมใหอณุหภมูสิงูขึน้

เกินควร ภายหลงัการขดัหรอืตดั ความหนาของชิน้ทดสอบตองไมนอยกวา 0.8 มลิลเิมตร และไมมากกวา

2.0 มลิลเิมตร นำชิน้ทดสอบมาตดัเปนรปูดมับเบลลดงัแสดงในรปูที ่4 และทำเครือ่งหมายบนชิน้ทดสอบ

2 แหง หางกนั 20 มลิลเิมตร เปนความยาวพกิดั

10.9.3 วธิทีดสอบ

10.9.3.1 นำชิน้ทดสอบแขวนในตอูบ โดยมนี้ำหนกัถวงอยดูานลาง ใชเปนแรงถวงเทากบั 20 นวิตนัตอตาราง

เซนตเิมตรของพืน้ทีห่นาตดัชิน้ทดสอบสวนทีท่ำเครือ่งหมาย

10.9.3.2 อบชิน้ทดสอบเปนเวลา 15 นาท ีทีอ่ณุหภมู ิ200 องศาเซลเซยีส ± 3 องศาเซลเซยีส แลววดัระยะหาง

ระหวางเครือ่งหมายและคำนวณรอยละของความยดื ถาตอูบไมมชีองกระจก การเปดประตตูอูบเพือ่วดั

ตองทำใหเสรจ็ภายใน 30 วนิาที

ในกรณทีีม่ขีอโตแยง การทดสอบตองดำเนนิการโดยใชตอูบทีม่หีนาตาง และการวดัตองทำโดยไมเปด

ประตตูอูบ

10.9.3.3 นำน้ำหนกัถวงออก โดยตดัชิน้ทดสอบดานลางใตเครือ่งหมายทีท่ำไว ปลอยชิน้ทดสอบไวในตอูบอกี

5 นาท ีแลวนำชิน้ทดสอบออกจากตอูบ และปลอยใหเยน็ลงอยางชาๆ ทีอ่ณุหภมูหิองอยางนอย 1

ชัว่โมง หลงัจากนัน้วดัระยะหางระหวางเครือ่งหมายอกีครัง้

Page 23: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

มอก. 2340-2550

-17-

10.9.4 การรายงานผล

ใหรายงานคามธัยฐานของความยดืหลงัจากอบ 15 นาท ีและคามธัยฐานของความยดืหลงัจากปลอยใหเยน็

เปนรอยละ

10.10 การทดสอบการปลอยประจบุางสวน

10.10.1 เครื่องมือ

เครือ่งมอืทดสอบและการกำหนดลกัษณะเฉพาะของวงจรทดสอบ ใหเปนไปตาม IEC 60885-3 ยกเวน

ความไวทีก่ำหนดไวใน IEC 60885-3 ตองเทากบั 10 พโิกคลูอมบหรอืดกีวา

10.10.2การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ใหทดสอบกบัสายไฟฟาตลอดความยาวสายไฟฟาทีผ่ลติแตละเสน

10.10.3 วธิทีดสอบ

สายไฟฟาทีท่ดสอบตามประเภทของสายไฟฟาและวงจรทดสอบ ใหเปนไปตาม IEC 60885-3

10.10.3.1 จายแรงดันไฟฟาทดสอบระหวางตัวนำกับตัวกั้นโลหะ โดยการเพิ่มแรงดันไฟฟาอยางชาๆ

จนกระทั่งเทากับ 2 U0 และคงไวเปนเวลา 10 วินาที แลวจึงลดแรงดันไฟฟาลงอยางชาๆ

จนกระทัง่เทากบั 1.73 U0

10.10.3.2 วดัคาการปลอยประจบุางสวน

10.10.4การรายงานผล

ใหรายงานคาการปลอยประจบุางสวน เปนพโิกคลูอมบ

10.11 การทดสอบการปลอยประจบุางสวนหลงัจากการทดสอบความโคงงอ

10.11.1 เครื่องมือ

ทรงกระบอกและชดุทดสอบการปลอยประจบุางสวนตาม IEC 60885-3 ยกเวนความไวทีก่ำหนดไวใน

IEC 60885-3 ตองเทากบั 5 พโิกคลูอมบหรอืดกีวา

10.11.2การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ตดัตวัอยางสายไฟฟาอยางนอย 10 เมตร

10.11.3 วธิทีดสอบ

10.11.3.1 นำตวัอยางดดัโคงรอบทรงกระบอกทีอ่ณุหภมูหิองทดสอบอยางนอย 1 รอบทรงกระบอก หลงัจาก

นัน้คลายออกแลวใหดดัโคงงอในทศิทางตรงขาม นบัเปน 1 ครัง้ จำนวนการดดัโคงงอทัง้หมด

3 ครัง้ เสนผานศนูยกลางทรงกระบอกตองเทากบั 20(d + D) ± รอยละ 5

เมื่อ d คือ เสนผานศนูยกลางของตวันำทีว่ดัได เปนมลิลเิมตร

D คือ เสนผานศนูยกลางของสายไฟฟาทีว่ดัได เปนมลิลเิมตร

Page 24: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

-18-

มอก. 2340-2550

10.11.3.2 นำตวัอยางทีท่ดสอบความโคงงอแลว มาทดสอบการปลอยประจบุางสวน เชนเดยีวกบัทีก่ำหนด

ในขอ 10.10.3.1

10.11.3.3 วดัคาการปลอยประจบุางสวน

10.11.4การรายงานผล

ใหรายงานคาการปลอยประจบุางสวน เปนพโิกคลูอมบ

10.12 การทดสอบตวัประกอบพลงังานสญูเปลา

10.12.1 เครื่องมือ

เครือ่งวดัคาตวัประกอบพลงังานสญูเปลา

10.12.2การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ใชตวัอยางเดยีวกบัขอ 10.11 หรอืตดัตวัอยางใหม

10.12.3 วธิทีดสอบ

10.12.3.1 ทำตวัอยางใหรอนดวยวธิทีีเ่หมาะสม โดยมอีณุหภมูทิีต่วันำระหวาง 95 องศาเซลเซยีส ถงึ 100

องศาเซลเซียส และหาอุณหภูมิตัวนำจากการวัดความตานทานของตัวนำ หรือใชอุปกรณวัด

อุณหภูมิวัดบนผิวของตัวกั้นตัวนำ หรือวัดบนผิวของตัวนำอีกตัวอยางหนึ่ง ซึ่งทำใหรอนดวย

วธิเีดยีวกนั

10.12.3.2 หลงัจากนัน้จายแรงดนัไฟฟาทดสอบอยางนอย 2 กโิลโวลต แลววดัคาตวัประกอบพลงังานสญูเปลา

10.12.4การรายงานผล

ใหรายงานคาตวัประกอบพลงังานสญูเปลา

10.13 การทดสอบวฏัจกัรความรอน

10.13.1 เครื่องมือ

ชดุจายแรงดนัไฟฟาทดสอบ และชดุทดสอบการปลอยประจบุางสวนตามขอ 10.11.1

10.13.2การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ใชตวัอยางเดยีวกบัขอ 10.11

10.13.3 วธิทีดสอบ

10.13.3.1 ทำตวัอยางใหรอนโดยผานกระแสไฟฟาเขาไปในตวันำ จนกระทัง่มอุีณหภมูติวันำอยใูนชวง 95

องศาเซลเซยีส ถงึ 100 องศาเซลเซยีส

10.13.3.2 วฏัจกัรความรอนประกอบดวย การทำตวัอยางใหรอนและการปลอยใหตวัอยางเยน็ตวัลง โดยตอง

ทำใหอณุหภมูติวันำเปนไปตามขอ 10.13.3.1 อยางนอย 2 ชัว่โมง แลวปลอยใหเยน็ตวัลง ตาม

ธรรมชาตอิยางนอย 3 ชัว่โมง จนมอีณุหภมูติางกบัอณุหภมูหิองไมเกนิ 10 องศาเซลเซยีส นบัเปน

Page 25: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

มอก. 2340-2550

-19-

1 รอบ ซึง่ตองใชเวลาอยางนอย 8 ชัว่โมง ดงัตวัอยางตามรปูที ่1 ตองทดสอบวฏัจกัรความรอน

จำนวน 20 รอบ หลังจากครบรอบสุดทายใหนำตัวอยางไปทดสอบการปลอยประจุบางสวนที่

อณุหภมู ิหองทดสอบตามขอ 10.10.3

10.13.4การรายงานผล

ใหรายงานคาการปลอยประจบุางสวน เปนพโิกคลูอมบ

10.14 การทดสอบความทนทานไฟฟาหลงัการทดสอบแรงดนัไฟฟาอมิพลัส

10.14.1 เครื่องมือ

เครือ่งกำเนดิแรงดนัไฟฟาอมิพลัส

10.14.2การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ใชตวัอยางเดยีวกบัขอ 10.11

10.14.3 วธิทีดสอบ

10.14.3.1 ทำตวัอยางใหมอีณุหภมูติวันำอยใูนชวง 95 องศาเซลเซยีส ถงึ 100 องศาเซลเซยีส

10.14.3.2 ใหคงอุณหภูมิตัวนำไวตามขอ 10.14.3.1 ทดสอบแรงดันไฟฟาอิมพัลสตาม IEC 60230

สายไฟฟาที่ใชแรงดันไฟฟาที่กำหนด 12/20(24) กิโลโวลต ใชแรงดันไฟฟาอิมพัลส 125

กโิลโวลต และสายไฟฟาทีใ่ชแรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด 18/30(36) กโิลโวลต ใชแรงดนัไฟฟาอมิพลัส

170 กโิลโวลต โดยทดสอบแรงดนัไฟฟาอมิพลัสรปูคลืน่บวก 10 ครัง้ และรปูคลืน่ลบ 10 ครัง้

10.14.3.3 หลงัจากนัน้นำไปทดสอบทีแ่รงดนัไฟฟาทดสอบ 3.5 U0 เปนเวลา 15 นาท ีสายไฟฟาทีใ่ช แรงดนั

ไฟฟาทีก่ำหนด 12/20(24) กโิลโวลต ใชแรงดนัไฟฟาทดสอบ 42 กโิลโวลต และสายไฟฟาทีใ่ช

แรงดนัไฟฟาทีก่ำหนด 18/30(36) กโิลโวลต ใชแรงดนัไฟฟาทดสอบ 63 กโิลโวลต การทดสอบ

สามารถดำเนนิการไดขณะปลอยใหสายไฟฟาเยน็ตวัลงตามธรรมชาตหิรอืทีอ่ณุหภมูหิองทดสอบ

สายไฟฟาตองไมเสยีสภาพฉบัพลนัหรอืวาบไฟตามผวิ

10.14.3.4 แลวใหนำไปทดสอบความทนทานไฟฟาทีร่ะดบัแรงดนัไฟฟา 4 U0 เปนเวลา 4 ชัว่โมง ตามขอ

10.8 สายไฟฟาตองไมเสยีสภาพฉบัพลนัหรอืวาบไฟตามผวิ

10.14.4การรายงานผล

ใหรายงานผลความทนทานไฟฟาวา ผานหรอืไมผาน

10.15 การทดสอบสภาพตานทานของตวักัน้ทีเ่ปนสารกึง่ตวันำ

10.15.1 เครื่องมือ

เครือ่งวดัความตานทาน

10.15.2การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ตดัตวัอยางสายไฟฟายาว 150 มลิลเิมตร และเตรยีมตวัอยางกอนและหลงัเรงอายกุารใชงานตามรปูที่

5 และรปูที ่6

Page 26: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

-20-

มอก. 2340-2550

10.15.3 วธิทีดสอบ

10.15.3.1 ทำขัว้ไฟฟาทีต่ำแหนง A B C และ D ตามรปูที ่5 และรปูที ่6

10.15.3.2 การเชือ่มตอขัว้ไฟฟาตองใชตวัหนบีทีเ่หมาะสม ในการตอกบัขัว้ไฟฟาตวักัน้ตวันำตามรปูที ่5 ตอง

ทำใหแนใจวา ปองกนัตวัหนบีไมใหสมัผสัตวักัน้ฉนวนทีอ่ยผูวิดานนอกของตวัอยาง

10.15.3.3 นำตวัอยางทีเ่ตรยีมตามขอ 10.15.3.2 เขาตอูบทีม่อีณุหภมู ิ90 องศาเซลเซยีส ± 2 องศาเซลเซยีส

เปนเวลาอยางนอย 30 นาท ีสภาพตานทานระหวางขัว้ไฟฟาตองวดัดวยวงจรทีม่กีำลงัไมเกนิ 100

มลิลวิตัต

10.15.3.4 หลังจากวัดคาทางไฟฟา ใหวัดเสนผานศูนยกลางขอบนอกของตัวกั้นตัวนำและตัวกั้นฉนวน

ความหนาของตวักัน้ตวันำและตวักัน้ฉนวนทีอ่ณุหภมูหิองทดสอบ ใหใชคาเฉลีย่จากการวดั 6 ครัง้

วดัจากตวัอยางทีแ่สดงในรปูที ่6

การคำนวณสภาพตานทาน ρ หนวยเปนโอหม เมตร จากสตูร

(1) ตวักัน้ตวันำ

ρC =

เมื่อ

ρC คือ สภาพตานทานเชงิปรมิาตร เปนโอหม เมตร

RC คือ ความตานทานทีว่ดัได เปนโอหม

LC คือ ระยะระหวางขัว้ไฟฟา B กบั C เปนเมตร

DC คือ เสนผานศนูยกลางขอบนอกของตวักัน้ตวันำ เปนเมตร

TC คือ ความหนาเฉลีย่ของตวักัน้ตวันำ เปนเมตร

(2) ตวักัน้ฉนวน

ρi =

เมื่อ

ρi คือ สภาพตานทานเชงิปรมิาตร เปนโอหม เมตร

Ri คือ ความตานทานทีว่ดัได เปนโอหม

Li คือ ระยะระหวางขัว้ไฟฟา B กบั C เปนเมตร

Di คือ เสนผานศนูยกลางขอบนอกของตวักัน้ฉนวน เปนเมตร

Ti คือ ความหนาเฉลีย่ของตวักัน้ฉนวน เปนเมตร

10.15.4การรายงานผล

ใหรายงานคาสภาพตานทานของตวักัน้ เปนโอหม เมตร

.

RC × π × (DC - TC) × TC

2LC

.

Ri × π × (Di - Ti) × Ti

Li

.

.

Page 27: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

มอก. 2340-2550

-21-

10.16 การทดสอบฉนวน

10.16.1ความตานแรงดงึและความยดืกอนเรงอายกุารใชงาน

10.16.1.1 เครื่องมือ

(1) กลองจุลทรรศน หรือเครื่องวัดที่เทียบเทาที่มีแรงกดสัมผัสไมเกิน 7 นิวตันตอตาราง

เซนตเิมตร

(2) เครือ่งทดสอบแรงดงึทีม่อีตัราการดงึ 250 มลิลเิมตรตอนาท ี± 50 มลิลเิมตรตอนาที

10.16.1.2 การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ตดัชิน้ทดสอบรปูดมับเบลล 5 ชิน้ (อกี 5 ชิน้ สำหรบัการทดสอบภายหลงัเรงอายกุารใชงาน

โดยตดัจากบรเิวณทีอ่ยตูดิกนั การทดสอบความตานแรงดงึกอนเรงอายกุารใชงาน และภายหลงั

เรงอายกุารใชงาน ใหทำอยางตอเนือ่งทนัท)ี หากตวัอยางชำรดุซึง่เกดิจากความเสยีหายทางกล

ไมใหทำเปนชิน้ทดสอบ

ในการทำชิน้ทดสอบรปูดมับเบลล ใหผาฉนวนตามแนวแกนและเปดเอาตวันำออก ตดัตวัอยาง

แตละชิ้นใหมีขนาดเพียงพอสำหรับการทดสอบ และทำเครื่องหมายที่ชิ้นตัวอยางและตัวอยาง

ทดสอบใหสมัพนัธกนั เพือ่ใหทราบวาตดัชิน้ทดสอบมาจากตวัอยางใดทีต่ำแหนงใด และมคีวาม

สมัพนัธกนัอยางไร ขดัหรอืตดัชิน้ทดสอบจนผวิทดสอบทัง้ 2 ดานขนานกนัในชวงความยาวพกิดั

ในขณะขัดแตงตองระวังไมใหอุณหภูมิสูงขึ้นเกินควร ภายหลังการขัดหรือตัดชิ้นทดสอบ

ความหนาของชิน้ทดสอบตองไมนอยกวา 0.8 มลิลเิมตร และไมมากกวา 2.0 มลิลเิมตร

นำชิน้ทดสอบแตละชิน้ทีเ่ตรยีมไวมาตดัเปนชิน้ทดสอบรปูดมับเบลล ตามรปูที ่4 หรอืถาเปนไปได

ใหตดัชิน้ทดสอบใหดานยาวอยใูนตำแหนงเคยีงขางกนั

ทำขดีเครือ่งหมาย 2 แหง หางกนั 20 มลิลเิมตร เปนความยาวพกิดัตรงกลางของชิน้ทดสอบ

ตามรปูที ่4

10.16.1.3 การหาพืน้ทีห่นาตดัของชิน้ทดสอบ

พืน้ทีห่นาตดัของชิน้ทดสอบรปูดมับเบลล คำนวณจากความกวางและความหนาต่ำสดุซึง่ไดจาก

การวดัชิน้ทดสอบ 3 ครัง้ ระหวางขดีเครือ่งหมาย ในกรณทีีม่ขีอสงสยัในเรือ่งความสม่ำเสมอของ

ความกวาง ใหวดัความกวางทีผ่วิของชิน้ทดสอบทัง้ 2 ดาน 3 ตำแหนงทีเ่ดยีวกบัการวดัความหนา

แลวหาคาเฉลีย่ของการวดัทัง้ 2 ดานนัน้เปนความกวางของแตละตำแหนง

คานอยทีส่ดุของพืน้ทีห่นาตดั 3 คาทีห่าได ใหนำไปคำนวณหาความตานแรงดงึ

ในการวดัความหนาและความกวาง ใหคดิทศนยิม 2 ตำแหนง เปนมลิลเิมตร

10.16.1.4 การปรบัภาวะของชิน้ทดสอบ

กอนทดสอบความตานแรงดงึ ใหเกบ็ชิน้ทดสอบทัง้หมดไวทีอ่ณุหภมู ิ23 องศาเซลเซยีส ± 2

องศาเซลเซยีส เปนเวลาอยางนอย 3 ชัว่โมง

Page 28: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

-22-

มอก. 2340-2550

10.16.1.5 วธิทีดสอบ

(1) อณุหภมูทิดสอบ

ใหทดสอบทีอ่ณุหภมูหิองทดสอบ โดยทดสอบใหเสรจ็ภายใน 5 นาท ีนบัจากนำชิน้ทดสอบ

ออกจากการปรบัภาวะตามขอ 10.16.1.4 ในกรณทีีม่ขีอสงสยัใหทดสอบซ้ำทีอ่ณุหภมู ิ23

องศาเซลเซยีส ± 2 องศาเซลเซยีส

(2) ระยะระหวางปากจบั

ระยะระหวางปากจบัเทากบั 50 มลิลเิมตร สำหรบัชิน้ทดสอบรปูดมับเบลล ตามรปูที ่4

(3) การวดั

บนัทกึคาแรงดงึ และระยะระหวางขดีเครือ่งหมายทัง้ 2 ในขณะทีฉ่นวนขาด ผลทีไ่มเปนไป

ตามเกณฑเนื่องจากชิ้นทดสอบขาดนอกความยาวพิกัด ไมตองนำมาพิจารณา ในกรณีนี้

หากมผีลทีเ่ปนไปตามเกณฑอยางนอย 4 คา ใหนำมาคำนวณความตานแรงดงึและความยดื

แตถามผีลทีเ่ปนไปตามเกณฑนอยกวา 4 คา ตองทดสอบซ้ำ

10.16.1.6 การรายงานผล

ใหคำนวณความตานทานแรงดงึและความยดืดงันี้

TS =

เมื่อ

TS คือ ความตานแรงดงึ เปนนวิตนัตอตารางมลิลเิมตร

F คือ แรงทีว่ดัไดขณะขาด เปนนวิตนั

A คือ พืน้ทีห่นาตดัเดมิของชิน้ทดสอบ เปนตารางมลิลเิมตร

EL = × 100

เมื่อ

EL คือ ความยดื เปนรอยละ

L1 คือ ความยาวพกิดัขณะขาด เปนมลิลเิมตร

L0 คอื ความยาวพกิดัเดมิ เปนมลิลเิมตร

ใหรายงานผล เปนคามธัยฐาน

10.16.2ความตานแรงดงึและความยดืหลงัเรงอายกุารใชงาน

10.16.2.1 เครื่องมือ

ตอูบความรอนทีม่อีากาศหมนุเวยีนตามธรรมชาต ิหรอืโดยการขบั ทัง้นีอ้ากาศตองไหลผานทัว่

ผวิชิน้ทดสอบ และไหลออกใกลสวนบนของตอูบ อากาศในตอูบตองถายเทชัว่โมงละไมนอยกวา

8 เทา และไมเกนิ 20 เทาของปรมิาตรตอูบ ทีอ่ณุหภมูทิีก่ำหนดในตารางที ่5

F

A

L1 - L0

L0

Page 29: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

มอก. 2340-2550

-23-

10.16.2.2 การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ชิน้ทดสอบรปูดมับเบลลใหปฏบิตัติามขอ 10.16.1.2

10.16.2.3 การหาพืน้ทีห่นาตดัของชิน้ทดสอบ

ใหปฏบิตัเิชนเดยีวกบัทีก่ำหนดในขอ 10.16.1.3

10.16.2.4 การปรบัภาวะของชิน้ทดสอบ

ใหปฏบิตัเิชนเดยีวกบัทีก่ำหนดในขอ 10.16.1.4

10.16.2.5 วธิทีดสอบ

แขวนชิน้ทดสอบรปูดมับเบลลในแนวดิง่ ใหอยบูรเิวณกลางตอูบ แตละชิน้หางกนัอยางนอย 20

มิลลิเมตร เปนเวลาตามที่กำหนดไวในตารางที่ 5 เมื่อครบตามเวลาที่กำหนด นำชิ้นทดสอบ

ออกจากตอูบ ทิง้ไวทีอ่ณุหภมูหิองทดสอบไมใหถกูแสงอาทติยโดยตรงเปนเวลาอยางนอย 16

ชัว่โมง แลวนำไปทดสอบความตานแรงดงึ และความยดืตามวธิทีีก่ำหนดในขอ 10.16.1.5

10.16.2.6 การรายงานผล

ใหปฏบิตัเิชนเดยีวกบัทีก่ำหนดในขอ 10.16.1.6

10.17 การทดสอบเปลอืก

10.17.1ความตานแรงดงึและความยดืกอนเรงอายกุารใชงาน

10.17.1.1 เครื่องมือ

เชนเดยีวกบัทีก่ำหนดในขอ 10.16.1.1

10.17.1.2 การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ตดัตวัอยางเปนชิน้ทดสอบ 5 ชิน้ มรีปูรางเชนเดยีวกบัทีก่ำหนดในขอ 10.16.1.2 (อกี 5 ชิน้

สำหรบัการทดสอบภายหลงัเรงอายกุารใชงาน โดยตดัจากบรเิวณทีอ่ยตูดิกนั การทดสอบความ

ตานแรงดึงกอนเรงอายุการใชงานและภายหลังเรงอายุการใชงาน ใหทำอยางตอเนื่องทันที)

หากตวัอยางชำรดุซึง่เกดิจากความเสยีหายทางกล ไมใหทำเปนชิน้ทดสอบ

ถาเปลอืกมสีนัซึง่เกดิจากแกนภายใน ใหผาเปลอืกตามแนวสนั แลวตดัสนันัน้ใหเรยีบ

10.17.1.3 การหาพืน้ทีห่นาตดัของชิน้ทดสอบ

ใหปฏบิตัเิชนเดยีวกบัทีก่ำหนดในขอ 10.16.1.3

10.17.1.4 การปรบัภาวะของชิน้ทดสอบ

ใหปฏบิตัเิชนเดยีวกบัทีก่ำหนดในขอ 10.16.1.4

Page 30: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

-24-

มอก. 2340-2550

10.17.1.5 วธิทีดสอบ

ใหปฏบิตัเิชนเดยีวกบัทีก่ำหนดในขอ 10.16.1.5

10.17.1.6 การรายงานผล

ใหปฏบิตัเิชนเดยีวกบัทีก่ำหนดในขอ 10.16.1.6

10.17.2ความตานแรงดงึและความยดืหลงัเรงอายกุารใชงาน

ใหปฏบิตัเิชนเดยีวกบัทีก่ำหนดในขอ 10.16.2

10.18 การทดสอบความเขากนัไดของวสัดปุระกอบของสายไฟฟา

10.18.1 เครื่องมือ

เชนเดยีวกบัทีก่ำหนดในขอ 10.16 และขอ 10.17

10.18.2การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ตดัตวัอยางสายไฟฟายาวประมาณ 200 มลิลเิมตร จำนวน 3 ชิน้ โดยตดัตวัอยางสายไฟฟาในตำแหนง

ทีใ่กลเคยีงกบัตวัอยางทีต่ดัเพือ่ทดสอบความตานทานแรงดงึกอนอบเรงอายกุารใชงาน นำตวัอยางทัง้

3 ชิน้ แขวนในแนวตัง้กลางตอูบ แตละตวัอยางหางกันอยางนอย 20 มลิลเิมตร และตองมปีรมิาตรไมเกนิ

รอยละ 2 ของปรมิาตรตอูบ อบทีอ่ณุหภมู ิ100 องศาเซลเซยีส ± 2 องศาเซลเซยีส เปนเวลา 168

ชั่วโมง หลังจากนั้นนำออกจากตูอบและปลอยไวที่อุณหภูมิหองทดสอบไมใหถูกแสงอาทิตยโดยตรง

เปนเวลาอยางนอย 16 ชัว่โมง นำตวัอยางสายไฟฟาทีผ่านการอบและปลอยไวทีอ่ณุหภมูหิองตามทีก่ำหนด

แลว มาแยกฉนวนและเปลือกออกเพื่อเตรียมชิ้นทดสอบรูปดัมบเบลล ตามรูปที่ 4 โดยเตรียม 2

ชิน้ทดสอบของฉนวน และ 2 ชิน้ทดสอบของเปลอืกจากแตละตวัอยางสายไฟฟา ดงันัน้จะมชีิน้ทดสอบ

ของฉนวน 6 ชิน้ และชิน้ทดสอบของเปลอืก 6 ชิน้

10.18.3 วธิทีดสอบ

ใหปฏบิตัเิชนเดยีวกบัทีก่ำหนดในขอ 10.16 และขอ 10.17

10.18.4การรายงานผล

ใหปฏบิตัเิชนเดยีวกบัทีก่ำหนดในขอ 10.16 และขอ 10.17

10.19 การทดสอบการเปลีย่นรปูของเปลอืกขณะมแีรงกดทีอ่ณุหภมูสิงู

10.19.1 เครื่องมือ

เครือ่งทดสอบดงัแสดงในรปูที ่7

Page 31: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

มอก. 2340-2550

-25-

10.19.2การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ตดัตวัอยางสายไฟฟายาว 250 มลิลเิมตร ถงึ 500 มลิลเิมตร แลวใหปอกเปลอืกและเอาสวนทีอ่ยภูายใน

ทีอ่ยใูตเปลอืกออก แลวตดัชิน้ตวัอยาง 3 ชิน้ แตละชิน้ตองตดัใหตอเนือ่งกนัยาวชิน้ละ 50 มลิลเิมตร

ถงึ 100 มลิลเิมตร (ความยาวชิน้ตวัอยางขึน้อยกูบัขนาดของเสนผานศนูยกลาง)

ใหทำชิน้ทดสอบโดยตดัชิน้ตวัอยางตามแนวแกนของสายไฟฟา กวางประมาณ 1 ใน 3 ของเสนรอบวง

10.19.3 วธิทีดสอบ

10.19.3.1 วางชิน้ทดสอบในลกัษณะตามรปูที ่7 โดยรองชิน้ทดสอบดวยทอหรอืแทงโลหะกลมซึง่อาจผาครึง่

ในแนวแกนเพือ่ใหเปนทีร่องรบัทีม่ัน่คง รศัมขีองทอหรอืแทงโลหะกลมซึง่เปนทีร่องรบัประมาณ

ครึง่หนึง่ของเสนผานศนูยกลางภายในของชิน้ทดสอบ

10.19.3.2 การจัดเครื่องทดสอบ ชิ้นทดสอบ ที่รองรับชิ้นทดสอบ และใบมีดกดลงบนผิวภายนอกของ

ชิ้นทดสอบแรงที่กดและใบมีดตองตั้งฉากกับแกนของที่รองรับชิ้นทดสอบ แรงที่กดคำนวณ

ไดจากสตูร

F = k 2Dδ-δ 2

เมื่อ

F คือ แรงทีก่ดบนชิน้ทดสอบ เปนนวิตนั

k คือ สมัประสทิธิต์วัคณู มคีาเทากบั 0.7

δ คอื คาเฉลีย่ของความหนาชิน้ทดสอบของเปลอืก เปนมลิลเิมตร

D คือ คาเฉลีย่ของเสนผานศนูยกลางภายนอกของชิน้ทดสอบของเปลอืก เปนมลิลเิมตร

คา δ และ D ใหใชทศนยิม 1 ตำแหนง และทีค่ำนวณไดอาจปดเศษลงไดไมเกนิรอยละ 3

10.19.3.3 นำชิ้นทดสอบพรอมเครื่องทดสอบตามรูปที่ 7 ไปอบเปนเวลา 6 ชั่วโมง อุณหภูมิที่ใชอบ

เปนไปตามตารางที่ 5 เมื่อครบตามระยะเวลาที่กำหนด ทำใหชิ้นทดสอบเย็นลงอยางรวดเร็ว

ขณะทีม่แีรงกด โดยใชน้ำเยน็พนลงไปทีจ่ดุทีใ่บมดีกด หลงัจากนัน้นำชิน้ทดสอบออกจากตอูบและ

เครือ่งทดสอบแลวแชในน้ำเยน็

10.19.3.4 หลงัจากแชน้ำเยน็แลว ตดัชิน้ทดสอบเปนแถบบางตามแนวแกนของสายไฟฟา โดยตดัตัง้ฉากกบั

รอยกดตามรปูที ่8 วางแถบทีต่ดัใหอยใูนแนวราบบนเครือ่งวดั แลววดัความหนาตรงจดุทีล่กึทีส่ดุ

ของรอยกดและผวินอกของชิน้ทดสอบตามรปูที ่8 ดวยกลองจลุทรรศนหรอืเครือ่งฉายหนาขาง

10.19.4การรายงานผล

ใหรายงานคามธัยฐานของความลกึ ทีร่อยกดของชิน้ทดสอบทัง้ 3 ชิน้ เปนรอยละของความหนาเฉลีย่ของ

ชิน้ทดสอบทีว่ดัได

Page 32: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

-26-

มอก. 2340-2550

10.20 การทดสอบการดดูซมึน้ำของฉนวน

10.20.1 เครื่องมือ

10.20.1.1 ตอูบ

10.20.1.2 อางตมน้ำควบคมุอณุหภมูิ

10.20.1.3 เดซิเคเตอร

10.20.1.4 เครือ่งชัง่ทีม่คีวามละเอยีด 0.1 มลิลกิรมั

10.20.2การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ตดัชิน้ตวัอยางฉนวนเปนชิน้ทดสอบจำนวน 2 ชิน้ มคีวามหนา 0.6 มลิลเิมตร ถงึ 0.9 มลิลเิมตร ความกวาง

4 มลิลเิมตร ถงึ 5 มลิลเิมตร ความยาว 80 มลิลเิมตร ถงึ 100 มลิลเิมตร

10.20.3 วธิทีดสอบ

10.20.3.1 ชิน้ทดสอบตองมผีวิทีส่ะอาดหรอืเชด็ใหสะอาดดวยกระดาษกรองไมมเีสนใย แลวใสในตอูบทีม่ี

อณุหภมู ิ70 องศาเซลเซยีส ± 2 องศาเซลเซยีส เปนเวลา 72 ชัว่โมง

10.20.3.2 หลงัจากอบ นำชิน้ทดสอบไปวางในเดซเิคเตอรทีอ่ณุหภมูหิองทดสอบเปนเวลา 1 ชัว่โมง แลวนำ

ออกมาชัง่น้ำหนกัเปนมลิลิกรมั มทีศนยิมอยางนอย 1 ตำแหนง คอื m1

10.20.3.3 นำชิน้ทดสอบไปตมในน้ำสะอาดบรสิทุธิท์ีอ่ณุหภมู ิ85 องศาเซลเซยีส ± 2 องศาเซลเซยีส ควรปด

คลมุดวยแผนอะลมูเินยีมบาง เพือ่ปองกนัฝนุละอองเจอืปนในน้ำ

10.20.3.4 หลงัจากครบ 14 วนั นำชิน้ทดสอบออกมาใสในน้ำสะอาดบรสิทุธิท์ีอ่ณุหภมูหิอง จนกระทัง่เยน็ลง

จงึนำชิน้ทดสอบออกมาเชด็ใหแหงดวยกระดาษกรองไมมเีสนใย แลวชัง่ชิน้ทดสอบแตละชิน้เปน

มลิลกิรมั มทีศนยิมอยางนอย 1 ตำแหนง คอื m2

10.20.3.5 นำชิน้ทดสอบไปใสตอูบอกีครัง้ตามขอ 10.20.3.1

10.20.3.6 ปฏบิตัติามขอ 10.20.3.2 แตน้ำหนกัทีช่ัง่ไดคอื m3 คำนวณความแตกตางระหวางมวลทีช่ัง่ไดดงันี้

(1) ถา m3 นอยกวา m1

จะมคีาเทากบั

(2) ถา m3 มากกวา m1

จะมคีาเทากบั

เมือ่ A คอื พืน้ทีผ่วิทัง้หมดของชิน้ทดสอบแตละชิน้ เปนตารางเซนตเิมตร

10.20.4การรายงานผล

ใหรายงานคาเฉลีย่ของคาทีไ่ดจากการคำนวณหาความแตกตาง เปนมลิลกิรมัตอตารางเซนตเิมตร

m2 - m3

A

m2 - m1

A

Page 33: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

มอก. 2340-2550

-27-

10.21 การทดสอบปรมิาณคารบอนแบลก็ในเปลอืกพอลเิอทลินี

10.21.1 เครื่องมือ

เครือ่งทดสอบดงัแสดงในรปูที ่9

10.21.2การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ตดัชิน้ตวัอยางเปลอืกจากปลายขางหนึง่ของสายไฟฟา และตดัเปนชิน้ทดสอบ มคีวามกวางไมเกนิ 5

มลิลเิมตร ความยาวไมเกนิ 5 มลิลเิมตร และความหนาไมเกนิ 5 มลิลเิมตร

10.21.3การเตรยีมสารละลาย

เตรยีมสารละลายไพโรแกลลอล (pyrogallol) โดยละลายโพแทสเซยีมไฮดรอกไซด (KOH) 50 กรมั

ในน้ำกลัน่ทีต่มไลออกซเิจนแลว 100 มลิลลิติร เมือ่สารละลายเยน็ ใหใสไพโรแกลลอล 5 กรมั

10.21.4 วธิทีดสอบ

10.21.4.1 ปรบัอตัราการไหลของไนโตรเจนไปที ่ 1.7 ลติรตอนาท ี± 0.3 ลติรตอนาท ีไนโตรเจนตองมี

สวนผสมของออกซเิจนนอยกวารอยละ 0.5

10.21.4.2 ใสสารละลายไพโรแกลลอล 1 ใน 3 ของขวดที ่1 ทนัททีีเ่ปดขวดและรบีปดฝาขวด

10.21.4.3 ใสไทรคลอโรเอทลินี (trichloroethylene) 2 ใน 3 ของขวดที ่2 และขวดที ่3 สำหรบัขวดที ่2

ใสในบกีเกอรทีม่นี้ำแขง็แหง

10.21.4.4 นำถาดทนไฟไปเผาบนตะเกยีงบนุเซน (Bunsen burner) จนกระทัง่ถาดทนไฟแดง และใสไวใน

เดซเิคเตอร ทิง้ไวใหเยน็อยางนอย 30 นาที

10.21.4.5 นำถาดทนไฟทีเ่ยน็ ไปชัง่ดวยเครือ่งชัง่ทีม่คีวามละเอยีด 0.0001 กรมั บนัทกึคา m1 แลวใส

ชิน้ทดสอบหนกั 1.0 กรมั ± 0.1 กรมั ชัง่อีกครัง้บนัทกึคา m2

10.21.4.6 ใสถาดทนไฟทีม่ชีิน้ทดสอบไวกลางทอแกวทีม่เีสนผานศนูยกลางภายในประมาณ 30 มลิลเิมตร

ยาว 400 มลิลเิมตร ± 50 มลิลเิมตร หรอืความยาวทีเ่หมาะสมกบัเตาเผาไฟฟา สวมยางซลิโิคน

ซึ่งยึดไวกับทอไนโตรเจน และเทอรมอคัปเปลไวที่ปลายดานหนึ่งของทอแกว โดยใหปลาย

เทอรมอคปัเปลในทอแกวสมัผสักบัถาดทนไฟ จากนัน้ปลอยไนโตรเจนใหไหลผานถาดทนไฟดวย

อตัราการไหลทีก่ำหนด

10.21.4.7 ใสทอแกวเขาไปในเตาเผาไฟฟา โดยทีป่ลายทัง้ 2 ดานของทอโผลพนจากเตาเผาไฟฟาระยะเทาๆ

กนั ปลายอกีดานหนึง่ของทอแกวใหตอเขากบัอปุกรณตามขอ 10.21.4.3

10.21.4.8 เริม่ใหความรอนดวยเตาเผาไฟฟา จนไดอณุหภมูใินชวง 300 องศาเซลเซยีส ถงึ 350 องศา

เซลเซยีส ภายในเวลาประมาณ 10 นาท ีจากนัน้เพิม่อณุหภมูจินไดประมาณ 450 องศาเซลเซยีส

ภายในเวลา 10 นาที แลวเพิ่มอุณหภูมิอีกจนได 600 องศาเซลเซียส ± 5 องศาเซลเซียส

ภายในเวลา 10 นาท ีแลวทิง้ไวทีอ่ณุหภมูนิีเ้ปนเวลา 10 นาที

Page 34: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

-28-

มอก. 2340-2550

เมื่อครบเวลาใหถอดอุปกรณตามขอ 10.21.4.3 ออก แลวนำทอแกวออกจากเตาเผาไฟฟา

ปลอยทิ้งไวใหเย็นเปนเวลา 5 นาที โดยยังคงเปดไนโตรเจนไว หลังจากนั้นเปดจุกทางดาน

ไนโตรเจนเขาและนำเอาถาดทนไฟออกมา ทิง้ไวใหเยน็ในเดซเิคเตอร เปนเวลา 20 นาท ีถงึ

30 นาท ีจากนัน้นำไปชัง่ บนัทกึคา m3

10.21.4.9 ตอจากนัน้นำถาดทนไฟใสกลบัเขาไปในทอแกว แตใหปลอยอากาศหรอืออกซเิจนไหลเขาไปแทน

ไนโตรเจนดวยอตัราการไหลทีเ่หมาะสมทีอ่ณุหภมู ิ600 องศาเซลเซยีส ± 20 องศาเซลเซยีส

จนกระทัง่คารบอนแบลก็ทีเ่หลอืถกูเผาไหม (เผาประมาณ 10 นาท)ี ปลอยใหเยน็แลวจงึนำออกมา

ชัง่น้ำหนกับนัทกึคา m4

การคำนวณผลการทดสอบ ใหใชสตูรดงันี้

ปรมิาณคารบอนแบลก็ เปนรอยละ = × 100

10.21.5การรายงานผล

ใหรายงานปรมิาณคารบอนแบลก็ เปนรอยละ

10.22 การทดสอบการหดตวัของฉนวนครอสลงิกดพอลเิอทลินี

10.22.1 เครื่องมือ

เครือ่งทดสอบใหเปนไปตาม IEC 60811-1-3

10.22.2การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ตดัปลายของสายไฟฟาทิง้อยางนอย 500 มลิลเิมตร แลวตดัสายไฟฟาทีเ่หลอืเปนชิน้ตวัอยางยาวประมาณ

300 มลิลเิมตร ปอกสิง่หมุทัง้หมดออกจนเหลอืถงึตวักัน้ฉนวนตามรปูที ่10 ใหแลวเสรจ็ภายในเวลา

5 นาท ีหลงัจากนัน้ทำเครือ่งหมายระยะ 200 มลิลเิมตร ± 5 มลิลเิมตร กลางชิน้ทดสอบ วดัระยะระหวาง

เครือ่งหมายใหละเอยีด 0.5 มลิลเิมตร แลวปอกฉนวนทีป่ลายทัง้สองดานของชิน้ตวัอยางใหเหลอืเพยีง

ตวันำ หางจากจดุทีท่ำเครือ่งหมายระหวาง 2 มลิลเิมตร ถงึ 5 มลิลเิมตร

10.22.3 วธิทีดสอบ

10.22.3.1 วางชิน้ทดสอบลงบนทีร่องรบัตามแนวนอนในตอูบ โดยใหปลายของตวันำทีอ่ยบูนทีร่องรบั หรอื

บนผวิของขอบทีล่ืน่ เพือ่ใหตวัอยางสามารถเคลือ่นตวัไดอยางอสิระ

10.22.3.2 อบชิน้ทดสอบทีอ่ณุหภมู ิ130 องศาเซลเซยีส ± 3 องศาเซลเซยีส เปนเวลา 1 ชัว่โมง ปลอยใหเยน็ที่

อุณหภูมิหองทดสอบ และวัดระยะระหวางเครื่องหมายทั้งสองของแตละชิ้นทดสอบอีกครั้ง

ใหละเอยีด 0.5 มลิลเิมตร

10.22.4การรายงานผล

ใหรายงานคาความแตกตาง เปนรอยละของระยะเครือ่งหมายกอนอบ และหลงัอบทีป่ลอยใหเยน็

m3 - m4

m2 - m1

Page 35: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

มอก. 2340-2550

-29-

10.23 การทดสอบการหดตวัของเปลอืกพอลเิอทลินี

10.23.1 เครื่องมือ

เครือ่งทดสอบใหเปนไปตาม IEC 60811-1-3

10.23.2การเตรยีมชิน้ทดสอบ

10.23.2.1 สายไฟฟาทีจ่ะนำมาทดสอบ ตองเกบ็ไวทีอ่ณุหภมูหิองอยางนอย 24 ชัว่โมง

10.23.2.2 ตดัปลายของสายไฟฟาทิง้อยางนอย 2 เมตร แลวตดัสายไฟฟาทีเ่หลอืเปนชิน้ตวัอยางยาวประมาณ

500 มลิลเิมตร ± 5 มลิลเิมตร วดัความยาวเริม่ตนทนัทหีลงัจากตดัตวัอยางสายไฟฟา โดยวดั

2 ครัง้ หาคาเฉลีย่เปนความยาวเริม่ตน โดยทำเครือ่งหมายทีป่ลายสายทัง้สองของชิน้ทดสอบ ถา

ชิ้นทดสอบโคงงอ ใหวัดระยะความยาวดานในและดานนอกของสวนโคงงอ หาคาเฉลี่ยเปน

ความยาวเริม่ตน

10.23.3 วธิทีดสอบ

10.23.3.1 วางชิน้ทดสอบลงบนทีร่องรบัตามแนวนอนในตอูบ

10.23.3.2 อบชิน้ทดสอบทีอ่ณุหภมู ิ80 องศาเซลเซยีส ± 2 องศาเซลเซยีส เปนเวลา 5 ชัว่โมง นำชิน้ทดสอบ

ออกจากตอูบและปลอยใหเยน็ทีอ่ณุหภมูหิอง นบัเปน 1 วฏัจกัร

10.23.3.3 ทดสอบตามขอ 10.23.3.2 จนครบ 5 วฏัจกัร

10.23.3.4 วดัระยะหางระหวางเครือ่งหมายทัง้สองของชิน้ทดสอบ 2 ครัง้ แลวหาคาเฉลีย่ ถาชิน้ทดสอบ

โคงงอใหวดัระยะความยาวดานในและดานนอกของสวนโคงงอ แลวหาคาเฉลีย่เปนความยาวหลงั

อบครบ 5 วฏัจกัร

10.23.4การรายงานผล

ใหรายงานคาความแตกตางเปนรอยละของระยะเครือ่งหมายกอนอบและหลงัอบครบ 5 วฏัจกัร

10.24 การทดสอบความสามารถในการลอกออกไดของตวักัน้ฉนวน (strippability test)

10.24.1กอนเรงอายกุารใชงาน

10.24.1.1 เครื่องมือ

เครือ่งทดสอบแรงดงึทีม่อีตัราการดงึ 250 มลิลเิมตรตอนาท ี± 50 มลิลเิมตรตอนาที

10.24.1.2 การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ตดัตวัอยางสายไฟฟายาวอยางนอย 250 มลิลเิมตร จำนวน 3 ชิน้ (อกี 3 ชิน้ สำหรบัการทดสอบ

ภายหลังเรงอายุการใชงาน โดยตัดจากบริเวณที่อยูติดกัน การทดสอบแรงดึงกอนเรงอายุ

การใชงาน และภายหลงัเรงอายกุารใชงาน ใหทำอยางตอเนือ่งกนั) หรอืตดัตวัอยางสายไฟฟายาว

อยางนอย 250 มิลลิเมตร จำนวน 1 ชิ้น (อีก 1 ชิ้น สำหรับการทดสอบภายหลังเรงอายุ

การใชงาน) โดยแบงสวนทีจ่ะทดสอบแรงดงึเปน 3 ตำแหนง ระหวางมมุ 120 องศา

Page 36: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

-30-

มอก. 2340-2550

10.24.1.3 วธิทีดสอบ

(1) การตดิตัง้ชิน้ทดสอบ

กรีดตัวกั้นฉนวนใหลึกลงในฉนวนบนชิ้นทดสอบแตละชิ้นหรือแตละตำแหนงจาก

ปลายหนึง่ไปอกีปลายหนึง่ 2 แนวขนานกนักบัแกนชิน้ทดสอบ มคีวามกวาง 10 มลิลเิมตร

± 1 มิลลิเมตร ลอกและดึงตัวกั้นฉนวนออกขนานกับแกนชิ้นทดสอบยาวประมาณ 50

มลิลเิมตร จบัตวักัน้ฉนวนประมาณ 10 มลิลเิมตร ดวยปากจบัของเครือ่งทดสอบแรงดงึ

แกนของชิน้ทดสอบถกูยดึตดิกบัปากจบัอกีอนัหนึง่

(2) อณุหภมูทิดสอบ

ใหทดสอบทีอ่ณุหภมู ิ20 องศาเซลเซยีส ± 5 องศาเซลเซยีส

10.24.1.4 การรายงานผล

บนัทกึคาแรงดงึของตวักัน้ฉนวนทีแ่ยกออกจากฉนวนทีร่ะยะความยาวอยางนอย 100 มลิลเิมตร

และรายงานสภาพผวิของฉนวนวาเสยีหาย หรอืมตีวักัน้ฉนวนฝงตดิอยใูนฉนวนหรอืไม

10.24.2หลงัเรงอายกุารใชงาน

10.24.2.1 เครื่องมือ

เชนเดยีวกบัทีก่ำหนดในขอ 10.16.2.1 และขอ 10.24.1.1

10.24.2.2 การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ใหปฏิบตัติามขอ 10.24.1.2

10.24.2.3 วธิทีดสอบ

(1) นำชิน้ทดสอบไปเขาตอูบทีอ่ณุหภมู ิ100 องศาเซลเซยีส ± 2 องศาเซลเซยีส เปนเวลา 168

ชัว่โมง หลงัจากนัน้นำออกจากตอูบและปลอยไวทีอ่ณุหภมูหิองอยางนอย 16 ชัว่โมง

(2) นำชิน้ทดสอบไปทดสอบตามขอ 10.24.1.3

10.24.2.4 การรายงานผล

ใหปฏบิตัติามขอ 10.24.1.4

10.25 การทดสอบการซมึผานของน้ำ

10.25.1 เครื่องมือ

เครือ่งทดสอบใหเปนไปตาม IEC 60502-2 ดงัแสดงในรปูที ่11

10.25.2การเตรยีมชิน้ทดสอบ

นำตวัอยางสายไฟฟายาวอยางนอย 6 เมตร ทีผ่านการทดสอบความโคงงอตามขอ 10.11.3.1 แลว

มาตดัเปนชิน้ทดสอบยาว 3 เมตร วางในแนวนอนและปอกทีต่ำแหนงกึง่กลางของชิน้ทดสอบโดยรอบ

กวางประมาณ 50 มลิลเิมตร จนถงึชัน้ของตวักัน้ฉนวน

Page 37: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

มอก. 2340-2550

-31-

ผิวของสวนที่ถูกตัดตองไมมีสวนใดปดชองวางของโครงสรางเดิมที่มีการปองกันน้ำเพื่อใหสวนที่

ปองกนัน้ำสามารถปองกนัน้ำไดเตม็ที ่ผวิของสวนทีถ่กูตดัทีอ่ยใูกลสามารถปองกันน้ำดวยวตัถทุีเ่หมาะสม

หรือสิ่งหอหุมภายนอกอาจนำออกไปก็ได

จดัเครือ่งมอืตามรปูที ่11 โดยใหมเีสนผานศนูยกลางภายในของทอน้ำอยางนอย 10 มลิลเิมตร วางใน

แนวตั้งเหนือตำแหนงที่ปอกของชิ้นทดสอบ และอุดเปลือกสายไฟฟาสวนที่ตอกับปลายเครื่องมือ

ทัง้สองขางเพือ่ปองกนัการรัว่ซมึของน้ำ และตองไมทำใหเกดิความเคนทางกลบนสายไฟฟา

10.25.3 วธิทีดสอบ

10.25.3.1 เตมิน้ำทีม่อีณุหภมู ิ20 องศาเซลเซยีส ± 10 องศาเซลเซยีส ลงในถงัน้ำ ใหน้ำมรีะดบัความสงู

1 เมตร จากศนูยกลางของสายไฟฟาตามแนวแกนภายใน 5 นาท ีตามรปูที ่11 แลวปลอยทิง้ไว

24 ชัว่โมง

10.25.3.2 ทำตวัอยางใหรอนโดยผานกระแสไฟฟาเขาไปในตวันำ จนกระทัง่มอีณุหภมูติวันำอยใูนชวง 95

องศาเซลเซยีส ถงึ 100 องศาเซลเซยีส

10.25.3.3 วฏัจกัรความรอนประกอบดวย การทำตวัอยางใหรอนและการปลอยใหตวัอยางเยน็ตวัลง โดยตอง

ทำใหอณุหภมูติวันำเปนไปตามขอ 10.25.3.2 อยางนอย 2 ชัว่โมง แลวปลอยใหเยน็ตวัลงตาม

ธรรมชาตอิยางนอย 3 ชัว่โมง จนมอีณุหภมูติางกบัอณุหภมูหิองไมเกนิ 10 องศาเซลเซยีส นบัเปน

1 รอบ ซึง่ตองใชเวลาอยางนอย 8 ชัว่โมง ดงัตวัอยางตามรปูที ่1 ตองทดสอบวฏัจกัรความรอน

จำนวน 10 รอบ และระดบัน้ำในทอตองรกัษาใหมรีะดบั 1 เมตร ตลอด

10.25.4การรายงานผล

ใหรายงานวาระหวางทดสอบมนี้ำซมึผานออกจากปลายสายไฟฟาทัง้สองดานหรอืไม

10.26 การทดสอบการสญูเสยีมวลของเปลอืกพอลไิวนลิคลอไรด

10.26.1 เครื่องมือ

10.26.1.1 ตอูบตาม IEC 60811-3-2

10.26.1.2 เครือ่งชัง่ทีม่คีวามละเอยีด 0.1 มลิลกิรมั

10.26.1.3 เดซิเคเตอร

10.26.1.4 ทีต่ดัชิน้ทดสอบเปนรปูดมับเบลล

10.26.2การเตรยีมชิน้ทดสอบ

10.26.2.1 ปอกเปลือกชิ้นตัวอยางดวยความระมัดระวัง ไมทำใหเปลือกเสียหายหรือชำรุดตัดเปลือกเปน

ชิน้ทดสอบรปูดมับเบลลดงัแสดงในรปูที ่4 จำนวน 3 ชิน้

Page 38: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

-32-

มอก. 2340-2550

10.26.2.2 การคำนวณพืน้ทีส่วนทีร่ะเหย

ใหหาพืน้ทีผ่วิ A ของชิน้ทดสอบแตละชิน้ เปนตารางเซนตเิมตร กอนนำไปทดสอบ จากสตูร

A =

เมื่อ δ ความหนาเฉลีย่ของชิน้ทดสอบ เปนมลิลเิมตร ทศนยิม 2 ตำแหนง

10.26.3 วธิทีดสอบ

10.26.3.1 วางชิน้ทดสอบในเดซเิคเตอรทีอ่ณุหภมูหิองทดสอบ เปนเวลาอยางนอย 20 ชัว่โมง ชัง่ชิน้ทดสอบ

ทนัททีีน่ำออกจากเดซเิคเตอร เปนมลิลกิรมั ทศนยิม 1 ตำแหนง

10.26.3.2 แขวนชิน้ทดสอบในแนวตัง้ กึง่กลางตอูบ ใหแตละชิน้หางกนัอยางนอย 20 มลิลเิมตร เปนเวลา

168 ชัว่โมง ทีอ่ณุหภมู ิ100 องศาเซลเซยีส ± 2 องศาเซลเซยีส ปรมิาตรชิน้ทดสอบรวมตอง

ไมเกนิรอยละ 0.5 ของปรมิาตรตอูบ

10.26.3.3 หลังจากอบ นำชิ้นทดสอบไปวางในเดซิเคเตอรที่อุณหภูมิหองทดสอบ เปนเวลา 20 ชั่วโมง

แลวชัง่ชิน้ทดสอบแตละชิน้อกีครัง้ คำนวณความแตกตางระหวางมวลทีช่ัง่ไดเปนมลิลกิรมั

10.26.4การรายงานผล

ใหรายงานเปนคามธัยฐาน ของคาทีไ่ดจากการหาความแตกตาง เปนมลิลกิรมัตอตารางเซนตเิมตร

10.27 การทดสอบความทนตอการชอ็กดวยความรอนของเปลอืกพอลไิวนลิคลอไรด

10.27.1 เครื่องมือ

ตอูบและแมนเดรล

10.27.2การเตรยีมชิน้ทดสอบ

ตัดตัวอยางสายไฟฟาใหมีความยาวเหมาะสม 2 ชิ้นตัวอยาง ที่ตำแหนงหางกันอยางนอย 1 เมตร

ปอกเปลอืกออก แลวนำเปลอืกไปทำเปนชิน้ทดสอบดงันี้

10.27.2.1 ใหทำชิ้นทดสอบแตละชิ้นเปนแผนยาวตามแนวแกนใหมีความกวางไมนอยกวา 1.5 เทาของ

ความหนาเปลอืก แตไมนอยกวา 4 มลิลเิมตร

10.27.3 วธิทีดสอบ

พนัชิน้ทดสอบแตละชิน้รอบแมนเดรลใหแนนเปนวงชดิกนัตามตารางที ่6 และยดึใหอยกูบัที ่ทีอ่ณุหภมูิ

หองทดสอบ แลวนำไปใสในตอูบทีม่อีณุหภมู ิ 150 องศาเซลเซยีส ± 3 องศาเซลเซยีส เปนเวลา 1

ชัว่โมง จากนัน้ปลอยใหเยน็ทีอ่ณุหภมูหิองทดสอบ แลวตรวจพนิจิ

1256 + (180δ)

100

Page 39: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

มอก. 2340-2550

-33-

10.27.4การรายงานผล

ใหรายงานวา มกีารแตกรานหรอืไม

ตารางที ่6 เสนผานศนูยกลางของแมนเดรลและจำนวนรอบทีพ่นั(ขอ 10.27)

ความหนาของช้ินทดสอบ

mm

เสนผานศูนยกลางของแมนเดรล

mm

จํานวนรอบ

รอบ

ไมเกิน 1 2 6

เกิน 1 ถึง 2 4 6

เกิน 2 ถึง 3 6 6

เกิน 3 ถึง 4 8 4

เกิน 4 ถึง 5 10 2

Page 40: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

-34-

มอก. 2340-2550

รปูที ่1 วฏัจกัรความรอน(ขอ 10.13.3.2 และขอ 10.25.3.3)

รปูที ่2 การตรวจสอบความหนาของฉนวนหรอืเปลือก(ขอ 10.5.3.1 และขอ 10.6.3.1)

ความหนาตํ่าสุด

อุณหภูมติัวนํา

100 °C 95 °C

อุณหภมิูหอง

อุณหภมิูหอง +10°C

≥ 2 h ≥ 3 h

≥ 8 h

เวลา

Page 41: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

ความหนาตํ่าสุด

มอก. 2340-2550

-35-

รปูที ่3 การตรวจสอบความหนาของฉนวนหรอืเปลือก(ขอ 10.5.3.2 และขอ 10.6.3.2)

หนวยเปนมลิลิเมตร

รปูที ่4 ชิน้ทดสอบรปูดมับเบลล(ขอ 10.9.2 ขอ 10.16.1.2 และขอ 10.18.2)

ความยาวพิกัด

Page 42: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

ตัวก้ันฉนวน

ฉนวน

A

B

C

D

B, C ขั้วความตางศักย

A, D ขั้วกระแสไฟฟา

ตัวก้ันตัวนํา

-36-

มอก. 2340-2550

หนวยเปนมลิลิเมตร

รปูท่ี 5 การทดสอบความตานทานของตวัก้ันตวันำ(ขอ 10.15.3.1)

หนวยเปนมลิลิเมตร

รปูท่ี 6 การทดสอบความตานทานของตวักัน้ฉนวน(ขอ 10.15.3.1)

ตัวกัน้ฉนวน

ฉนวน

A B

C D

B, C ข้ัวความตางศักย

A, D ขั้วกระแสไฟฟา

ตัวกัน้ตัวนํา

Page 43: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

1

1 ใบมีด

2 ชิ้นทดสอบ

3 ท่ีรองรับ

4 ตุมนํ้าหนัก

2

3

4

0.70 ± 0.01

มอก. 2340-2550

-37-

หนวยเปนมลิลิเมตร

รปูที ่7 เครือ่งทดสอบการเปลีย่นรปูขณะมแีรงกดทีอ่ณุหภมูสิงู(ขอ 10.19.1)

รปูที ่8 การวดัรอยกด(ขอ 10.19.3.4)

รอยกด แผนบางที่ตัดออกมา

รอยกด

ภาคตัดขยาย

Page 44: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

-38-

มอก. 2340-2550

รปูที ่9 การทดสอบปรมิาณคารบอนแบลก็ในเปลอืกพอลเิอทลินี(ขอ 10.21.1)

ทอแกว

เทอรมอคัปเปล เตาเผาไฟฟา

ขวดที่ 2

นํ้าแข็งแหง ขวดท่ี 3

ไปยังตัวดูดควัน

ไทรคลอโรเอทิลีน

ใยแกว

สารดูดความชื้น

ขวดที่ 1 สารละลายไพโรแกลลอล

N2

เคร่ืองวัด

อัตราการไหล

Page 45: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

200 ± 5

2 ถึง 5

ปอกฉนวนออก ปอกฉนวนออก

ทําเคร่ืองหมาย ทําเคร่ืองหมาย

2 ถึง 5

300

มอก. 2340-2550

-39-

หนวยเปนมลิลิเมตร

รปูที ่10 การทดสอบการหดตวัของฉนวนครอสลงิกดพอลเิอทลินี(ขอ 10.22.2)

ทําเคร่ืองหมาย ทําเครื่องหมาย

ใชสําหรับหนุน

เพื่อใหสายลอย

ใชสําหรับหนุน

เพื่อใหสายลอย

Page 46: สายไฟฟ าห ุมด วยฉนวนครอสล ิงกด พอลิเอทิลีน สำหรับแรงด ันไฟ ...research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS2340-2550.pdfIEC

-40-

มอก. 2340-2550

หนวยเปนมลิลิเมตร

รปูที ่11 การทดสอบการซมึผานของน้ำ(ขอ 10.25.2)

ถังนํ้า

ทออากาศ

∅ ต่ําสุด 10 (ภายใน)

15 สูงสุด

50 โดยประมาณ 500 สูงสุด

3 000

1 0

00

สายไฟฟา