สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

47
สื่อดิจิทัลเบื้องตน

Upload: gasanong

Post on 29-May-2015

245 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

ส่ือดิจิทัลเบื้องตน

Page 2: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

ขอบเขตการเรียนรู

- สื่อดิจิทัลเบ้ืองตน

- การทํางานของสื่อดิจิทัล

- ขบวนการผลิตสื่อดิจิทัล

- ระบบฐานขอมูลสื่อดิจิทัล

Page 3: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

ความหมายส่ือ

ส่ือ หมายถึง ตัวกลาง (Media) ท่ีนําพา และ

สาร หมายถึง ขอความ ขาวสาร (Information) ท่ี

เกาะติดมากับ ส่ือ ถามองไปรอบตัวเรา “ ตัวส่ือ ” จะ

เปนอุปกรณ และ “ ตัวสาร ” มักจะเปนเน้ือหา หรือ “

Contents ” ท่ีอยูในส่ือน้ัน เชน เทปเพลง มีเทปเปน

“ ส่ือ ” และเพลงเปน “ สาร ”

Page 4: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

สื่ออนาลอก

สัญญาณขอมูลแบบตอเน่ือง (Continuouse Data)

มีขนาดของสัญญาณไมคงท่ี การเปล่ียนแปลงขนาด

ของสัญญาณแบบคอยเปนคอยไป เชน แรงดันนํ้า

Page 5: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

ความหมาย สื่อดิจิทัล

ดิจิทัล (Digital) มาจากภาษาลาตินท่ีวา"ดิจิต" แปลวา น้ิว

อันสืบเน่ืองมาจากยุคโรมันผูคิดคํานวณเลขดวยวิธีการนับ

น้ิว และเน่ืองจากน้ิวมี 10 น้ิว การนับจึงเรียกวาเลขฐาน 10

คือนับต้ังแต 1 2 3 4 5 6 7 8 9 0 เมื่อถึง 0 แลวจะนับตอก็

ตองเอาเลขมาเรียงกัน ซึ่งจะได 10 11 12

Page 6: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

เปนสัญญาณขอมูลแบบไมตอเนื่อง (Discrete Data) มีขนาด

ของสัญญาณคงที่ การเปลี่ยนแปลงขนาดของสัญญาณเปน

แบบทันที ทันใด กลาวคือ ไมแปรผันตามเวลา โดยทั่วไปคือ

สัญญาณที่มนุษยไมสามารถสัมผัสได เชน สัญญาณไฟฟา

สื่อดิจิทัล

Page 7: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

รูปแสดงภาพการแปลงสัญญาณดิจิตอลไปเปนอนาล็อก แลว

แปลงสัญญาณจากอนาล็อกไปเปนดิจิตอล

Page 8: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

กลองถายรูปดิจิตอล

เปนอุปกรณรับภาพที่เปล่ียน

จากฟลมมาเปน อุปกรณอิเล็กทรอนิกส

ที่เรียกกันวา Charge Coupled Device (CCD)

ความคมชัดขึ้นอยูกับ แสง โฟกัส และ BIT Resolution

ของ CCD

Page 9: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

กลองถายวิดีทัศนดิจิตอล

กลองถายวิ ดีทัศนแบบอนาลอกที่ ใช กันอยู ใน

ปจจุบัน ระบบโดยทั่วไป ก็คลายกับกลองถายภาพน่ิง

ดิจิตอล โดยมีอุปกรณรับภาพ CCD ทําหนาที่รับภาพแลว

เปล่ียนเปนสัญญาณภาพ แลวจึงบันทึกลงในตลับ ที่เรียก

กันติดปากวา “ มวนวิดีโอเทป ”

Page 10: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

ระบบเสียงดิจิทัล

อุปกรณในการบันทึกเสียงแต เ ดิมน้ันใช เทป

แผนเสียง แตอุปกรณเหลาน้ีกําลังถูกเปล่ียนไป การ

จัดเก็บ โดยแปลงใหอยูในรูปของขอมูลดิจิตอล เปน

แฟมขอมูลแบบ WAV แลวจึงเก็บลงใน Hard Disk หรือ

CD-ROM

Page 11: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

เครื่องรับวิทยุโทรทัศนดิจิตอล

ความตองการภาพที่คมชัดกวาเดิม สัดสวนจอภาพ

ที่เปนธรรมชาติมากกวาเดิมเปนแรงผลักดันไปสูการแพร

สัญญาณภาพ และการแสดงภาพที่หนาจอวิทยุโทรทัศน

ในแบบดิจิตอล

Page 12: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

การทํางานของสื่อดิจิทัล

หลักการพ้ืนฐานของสื่อดิจิตอล (Digital Media) ก็

คือ รูปแบบของขอมูลตองเปนตัวเลข จากรูปแบบขาวสาร

อยางเชน รูปภาพ วิดีทัศน เสียง เปนตน รูปแบบเหลาน้ี

เมื่อรับเขามาตองถูกเปลี่ยนเปนขอมูลแบบตัวเลขฐานสอง

(Binary Number)ที่สามารถเก็บลงใน ตัวกลางแบบ

ดิจิตอล

Page 13: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

A/D Converter and ENCODER

เปนอุปกรณ Hardware ทําหนาท่ีในการรับสัญญาณภาพ

และเสียง แลวแปลงระดับของสัญญาณสูงตํ่าใหไปเปน

ตัวเลข ตอจากน้ัน จึงนําเอาสัญญาณท่ีไดมาน้ี สงตอมาท่ี

ขบวนการแปลงใหเปนดิจิตอล (Digitized) โดยใช

อุปกรณเปล่ียนสัญญาณท่ีเรียกวา A/D (Analog to

Digital Converter) เพื่อใหไดมีรูปแบบขอมูลเปน

เลขฐานสอง

Page 14: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

สัมผัสท่ีเราเปล่ียนมาเปนขอมูล (Data) ท่ี

คอมพิวเตอรรูจัก เราอาจจะจัดเก็บเปนแฟมขอมูล หรือ

สงตอไปในระบบสื่อสารขอมูล (Computer Networking)

เปนระบบการสื่อสารท่ีเรียกกันวา

“Broadband Communication System”

ตัวกลาง (Media)

Page 15: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

ท่ีมีการสื่อสารท่ีเปน แฟมขอมูล (DATA FILE)

และแบบสารธารขอมูล (STREAMING DATA)

และจุดเดนของ สื่อดิจิตอล (Digital Media) ก็คือ คา

ความสูญเสียของขอมูลในระหวางท่ีทําการสื่อสารมี

นอยมาก เพราะระบบมีการชดเชยความสูญเสีย

เหลาน้ี

Page 16: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

เปนขบวนการถอดรหัส (Decoder) และการแปลง

สัญญาณกลับสูสัญญาณทางธรรมชาติ (Digital to Analog,

D/A) เกิดข้ึนเม่ือเราตองการนําขอมูลท่ีเปนดิจิตอลกลับมาใช

งาน เชนตองการดูวิดีทัศนท่ีเก็บไวในแผน CD ซ่ึงเคร่ืองเลน

CD จะทําหนาท่ีอานขอมูลท่ีอยูในแผน CD มาทําการ

ถอดรหัส (Decode) และการสรางรูปแบบสัมผัสใหกลับมา

เหมือนเดิม (Digitized) ดวยอุปกรณ “ D/A Converter ”

ขบวนการเหลานี้เปนความพยายามท่ีจะใหไดสัมผัส หรือ

ภาพ ท่ีเหมือนเดิมใหมากท่ีสุด

DECODER and D/A

Page 17: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

ขบวนการผลิตสื่อดิจิทัล

ในขบวนการผลิตสื่อดิจิทัล โดยพื้นฐานมี 4 ขั้นตอน คือ

Pre-Production, Production, Post-Production และ

Distribution แตละขั้นตอนสามารถนําเอาคอมพิวเตอรมา

เปนเครื่องมือเพื่ออํานวยความสะดวกไดเปนอยางดีท้ัง

ทางตรงและทางออม

Page 18: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

การเตรียมกอนการผลิต Pre - Production

การเตรียมบทและวางแผน (Story Board)

สาม าร ถใช เ ค รื่ องค อม พิว เตอรธ ร รม ดา ท่ีมี

โปรแกรมชวยพิมพ(Word Processor) และ

โปรแกรมชวยอธิบาย (Presentation) เพื่อใชในการ

จัดเตรียมใหเปนความล่ืนไหลของขบวนการผลิต

ท้ังหมด

Page 19: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

การผลิตสื่อ หรือ Production

การผลิตโดยท่ัวไปจะหมายถึงงานสนาม เชน การ

ถายทําวีดิทัศน การจัดแสง การบันทึกเสียง การสัมภาษณ

สิ่งเหลาน้ีจะตองใชเครื่องมือเฉพาะอยางและถาตองการ

ใหสอดคลองกับงาน “สื่อดิจิตอล” อุปกรณท่ีใช ควรเปน

อุปกรณท่ีสามารถถายขอมูลออกมาในรูปของดิจิตอลได

โดยตรง เชน กลองถายภาพดิจิตอล กลองวิดีทัศนดิจิตอล

Page 20: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

ขั้นตอนหลังการผลติ Post-Production

เปนการนําเอาสิ่งท่ีทําไวแลวมาทําการตัดตอ

เพิ่มเติม ปรับแสง ให เหมาะสมกอนท่ีจะนําไป

เผยแพร ในขั้นตอนตอไปซึ่ งในขั้นตอนน้ีเปน

ขบวนการท่ีนําเอาขอมูลท่ีมีอยูในขั้นการผลิตมาทํา

ใหอยู ในกรอบของขั้นการเตรียมการขึ้นอยู กับ

ขั้นตอนถัดไป เชน

Page 21: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

ตองการผลออกมาเปน เทปวีดิทัศน เมื่อตัดตอ

เสร็จก็ทําการ Render/Play แลวบันทึกลงในเครื่อง

บันทึกเทปวีดิทัศน

ตองการผลเปน VCD/DVD ก็ตองมีการเขารหัส

ใหม MPEG -1 หรือ MPEG -2 เพื่อใหเหมาะสมท่ีจะ

นําไปทําเปน VCD/DVD หรือจะเผยแพรออกไปทาง

อินเทอรเนต

Page 22: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

ขั้นตอนการเผยแพร (Digital Distribution)

เปนขบวนการสําหรับการเผยแพร อาจจะเอาไว

ดูเองหรือแบงปนกันดู การเผยแพรออกสูสาธารณะ

โดยสามารถจําแนกออกเปน 2 ประเภทคือ

- แบบไมมีการโตตอบ (Offline)

- แบบมีการโตตอบ (Online)

Page 23: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

ในกรณีของกิจกรรมท่ีไมมีการโตตอบ เชน การ

ทําเปนแผน VCD/DVD การบันทึกลงเทป เครื่อง

คอมพิวเตอรท่ีใชสวนมากจะเปนเครื่องเดียวกันกับการ

ทําในขั้น Post-Production โดยเพิ่มขบวนการเขารหัส

(Encode) เพื่อใหไดรูปแบบของแฟมขอมูลท่ีเหมาะสม

และเพิ่มอุปกรณในการเขียนขอมูล ลง VCD/DVD หรือ

สื่ออ่ืนๆ

Page 24: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

สําหรับงานประเภทโตตอบ(Onlineor Interactive)

เปนการเผยแพรท่ีผูใชบริการสามารถเรียกใชบริการและ

เขาควบคุมการใชบริการไดตามท่ีตองการ เชน Video

Server, Video on Demand, Interactive Video, เปนตน

Page 25: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

การจัดเก็บตองคํานึงถึงรูปแบบของแฟมขอมูลท่ี

สามารถใหบริการในระบบเหลาน้ีได เชน MPEG-1,

MPEG-2, MPEG-4, MP3 ซึ่งการใหบริการขอมูลเหลาน้ี

ไมเหมือนกับการใหบริการฐานขอมูลแบบตัวอักษร

เครื่องท่ีทําหนาท่ีใหบริการจะตองสามารถ จัดเก็บ

แฟมขอมูลท่ีมีขนาดใหญ การใหบริการขอมูลจึงตอง

คํานึงถึงคุณภาพของการใหบริการ

Page 26: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

MPEG

ในป 1960 องคกรยอย 2 องคกร ไดแก ISO และ IEC ได

รวมกันจัดเปนกลุมผูเช่ียวชาญดานภาพเคล่ือนไหว เพื่อ

ทํางานเก่ียวกับ ดานกําหนดมาตรฐานของเทคนิคการบีบ

อัดขอมูลดิจิตอล เรียกวา MOVING PICTURE

EXPERTS GROUP เรียกยอกันวา “ เอ็มเพ็ค " MPEG

Page 27: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

MPEG 1

MPEG-1 เปนจุดเริ่มตนในความชัดเจนของ

มาตรฐานท่ีใหคําตอบวา “ Digital Video ” สามารถเขามา

ทดแทนระบบ Analog แบบเดิมได ผลิตผลท่ีออกมาจะอยู

ในรูปของ Video-CD

Page 28: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

MPEG 2

จากความสําเร็จของ MPEG-1 จึงไดสรางมาตรฐานใหม

โดยเนนไปท่ีคุณภาพของภาพโดยใหช่ือวา MPEG-2

MPEG-2 จึงถูกใชกับ ดีวีดี ความแตกตางกับ MPEG-1 ก็

มีไมมากนัก ยกเวนเรื่องการเขารหัส/ถอดรหัสท่ีใชวิธี

ทันสมัยมากขึ้นในปจจุบันนับไดวามาตรฐานน้ีน่ิงแลว

ไมมีการปรับเปล่ียนอีกแลว

Page 29: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

MPEG 3

เปนการเนนไปท่ี HDTV (Hi-Definition TV) แต

ปรากฏวา สุดทายไมไดใช เพราะพบวาเทคโนโลยี

MPEG 2 ท่ีมีอยูเดิมเพียงพอสําหรับ HDTV แลว

Page 30: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

MPEG 4

ไฟลวีดีโอประเภทหน่ึงท่ีมีการบีบอัดขอมูลวีดีโอหรือ

รูปภาพใหมีขนาดเหมาะสมตอการสงผานไปยังการ

สื่อสารตางๆทุกประเภท MPEG 4 จะมีขนาดเล็กกวา

JPEG หรือไฟล รวมเอาไฟลวีดีโอกับขอความกราฟกเขา

ไวดวยกัน นอกจากน้ียังรวมเอาแอนิเมชัน2-D และ 3-D

ไวดวย

Page 31: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

MPEG 7

เปนการจัดเก็บและคนหาสวนประกอบของขอมูล

ซึ่งในสวนของ MPEG 7 น้ีจะไดพูดถึงในระบบ

ฐานขอมูลดิจิทัล ตอไป

Page 32: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

ระบบฐานขอมูลสื่อดิจิทัล

การจัดทําฐานขอมูลท่ีรูปแบบของขอมูลเปนตัวอักษร

(ASCII) น้ันเปนเรื่องท่ีพบเห็นกันอยางกวางขวางใน

ปจจุบันสาระสําคัญของการทําฐานขอมูลประเภทน้ีก็

คือ จะตองสามารถในการจัดเก็บขอมูลและการคนหา

การนํามาใชไดสะดวก จึงมีเทคโนโลยีมากมาย เชน

SQL Server, MS-Access, DB2

Page 33: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

หลักการของ MPEG 7

MPEG 7 จะกําหนดรูปแบบมาตรฐานขั้น

พื้นฐานท่ีใชอธิบายขอมูลสื่อ (Descriptors) เชน รูป

เหล่ียมขนาด Texture สี การเคล่ือนท่ี (Trajectory)

สําหรับเสียงจะแยกรายละเอียดออกเปน Key,

mood, tempo,

Page 34: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

ซึ่งขอมูลพื้นฐานเหลาน้ีเหมาะสําหรับการจัดทํา

ฐานขอมูลและการคนหา จากน้ันจึงนําเอาขอมูลพ้ืนฐาน

เหลาน้ีมาประกอบเปนโครงสรางใหมท่ีสามารถอธิบาย

รูปแบบ ของขอมูลสื่อน้ันๆ (Description Schemes) และ

ข บ ว น ก า ร ท้ั ง ห ม ด น้ี จ ะ ถู ก พั ฒ น า ม า จ า ก

ภาษาคอมพิวเตอรใหมท่ีเรียกวา Description Definition

Language (DDL)

Page 35: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

การใชงาน MPEG 7 น้ันจะทํางานเปน Filter ทํา

หนาท่ีแยกองคประกอบของแฟมขอมูลสื่อใหอยูใน

รูปแบบของขอมูลพื้นฐานและความสัมพันธสวนการ

เขาถึงขอมูลก็จะอาศัยขอมูลพื้นฐานเปน Key ไปสูตัว

ขอมูลจริง

Page 36: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

ซึ่งในปจจุ บันขอมูลสื่อดิจิตอล ได เขามามี

บทบาทในชีวิตปร ะจําวันข อง ผู ค นมากขึ้น ท้ั ง

หนว ย ง าน ท้ัง ภ าค รัฐและเ อกชน ล ว นตอง การ

ประโยชนจากระบบฐานขอมูลสื่อดิจิตอลเพ่ือใชใน

การบริหารงาน การใชงานและการนําเสนอตอ

สาธารณะชนท่ัวไปซึ่งพอจะแบงประเภทการใชงาน

ไดดังน้ี

Page 37: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

1. Digital Libraries

2. Multimedia

directory services

3. Broadcast media selection, radio

channel, TV channel

4. Multimedia editing

Page 38: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

ผูท่ีไดรับประโยชนจากฐานขอมลูสื่อไดแก

1. การศึกษา สื่อการเรียนการสอน การคนหาในหองสมุด

2. Journalism การคนหาคําพูด เสียง หนาตา

3. ขอมูลสําหรับการทองเท่ียว

4. แหลงขอมูลสําหรับการทองเท่ียว

5. เพื่อความบันเทิง เกมส karaoke

6. ฐานขอมูลภูมิศาสตร ภูมิประเทศ ภาพถายพื้นท่ีจริง

Page 39: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

7. Bio – medical application

8. Shopping (e.g.searching for clothes that you like).

9. สถาปตยกรรม การตกแตงพื้นท่ี การออกแบบ ภายใน

10. อ่ืนๆอีกมากมาย

Page 40: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

MPEG 7 ในปจจุบันก็นับวามีประโยชนตอการ

วางแผนในการจัดทํา ระบบฐานขอมูลสื่อ (Media

Archiving System) และแสดงใหเห็นถึงทิศทางของ

MPEG และเมื่อเลือกมาใชงานตามแนวทางน้ี จะทํา

ให เราไดรับขบวนการจัดทําขอมูลสื่อดิจิตอล

คุณภาพสูง

Page 41: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

ขอดีของส่ือดิจิทัล

1. ความคงทน

คุณภาพของสิ่งท่ีอยูใน Digital Media การ

เสื่อมสภาพจะใชเวลานานกวา เพราะรูปแบบของ

ขอมูลท่ีจัดเก็บแบบ “ สองระดับ ” ( 0 กับ 1 ) โอกาส

ท่ีจะผิดเพี้ยนจะเกิดขึ้นไดยากกวา ขอมูลแบบตอเน่ือง

เชน

Page 42: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

การบันทึกภาพลงในวิดีทัศนแบบอนาลอก กับการ

บันทึกลงวีดิทัศน ในระบบดิจิตอล เมื่อเสนเทปยืด

การอานขอมูลกลับมาในแบบดิจิตอลน้ัน จะทําได

งายกวา และสามารถทําใหไดขอมูลกลับมาได

เหมือนเดิมไดงายขึ้น แตสําหรับอนาลอก จะให

คุณภาพของภาพท่ีลดลงโดยทันที

Page 43: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

2. รูปแบบของการนําไปใชงานทําไดหลากหลายวิธี

ขอมูลท่ีจัดเก็บในแบบดิจิตอล ถือไดวาเปนขอมูล

กลางท่ีสามารถแปลงไปสูรูปแบบอ่ืนไดงาย เชน ถายรูป

ดวยกลองดิจิตอลเมื่อไดเปนขอมูลภาพแลว จากน้ัน

สามารถพิมพภาพลงบนกระดาษ หรือการแสดงภาพบน

จอคอมพิวเตอร หรือแสดงภาพบนจอทีวี ก็ไดเชนกัน

Page 44: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

3. การนําไปผสมผสานกับสื่อรูปแบบอ่ืน

เชน ภาพถาย นํามารวมกับเสียง มีการแสดง

แบบ Multi – media

4. การปรับแตง (Edit) เปนการปรับแตงสื่อท่ีเปน

ภาพถาย วิดีโอ เสียงนกรอง นํามาปรับแตงใหดี

ขึ้นกวาเดิม การสอดแทรก สิ่งเหลาน้ีทําใหนาดู

นาฟง มากกวาปกติ มีความวิจิตรพิศดาร

Page 45: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

ขอเสียของสื่อดิจิทัล

เปนสิ่งท่ีงายตอการกระทําผิดศีลธรรม การละเมิดใน

สิทธิของผูอ่ืน เชน การนําเอาภาพของบุคคลหน่ึง มาตัด

ตอกับภาพเปลือยกายของอีกคนหน่ึง หรือการทําซ้ํา กับ

งานสื่อ ท่ีมีลิขสิทธิ์ถูกตอง เปนตน

Page 46: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช

แบบทดสอบ

Page 47: สื่อดิจิตอล อ.เหมราช