มนุษยืกับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม...

27
ทรัพยากรดิน

Upload: -

Post on 08-Jun-2015

566 views

Category:

Education


5 download

TRANSCRIPT

Page 1: มนุษยืกับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม (ดิน)

ทรัพยากรดิน

Page 2: มนุษยืกับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม (ดิน)

ทรัพยากรดิน ดินเปน็ทรัพยากรที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติประเภทที่ใช้แล้วเกิดทดแทนได ้ และเปน็ทรัพยากรพื้นฐานที่มคีวามสมัพันธ์กับทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ อีก เช่น ทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากรแร่ธาตุ ทรัพยากรสัตว์ป่า เป็นต้น มนุษย์ใช้ประโยชน์จากดินในแง่เป็นแหล่งปัจจัยสี่ เพื่อการเกษตร การคมนาคม ฯลฯ ถึงแม้ว่าดินเป็นทรัพยากรที่สามารถเกิดขึ้นทดแทนได้ แต่ระยะเวลาในการเกิดดินต้องใช้เวลานานถึง 200 ปีหรืออาจถึง 1,000 ปี ในการท่ีจะสร้างดินชั้นบนขึ้นมาประมาณ 1 นิ้ว

เชื่อมโยง โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ดิน (soil) คือ ทรพัยากรธรรมชาติที่เกิดจากการรวมกันของส่วนผสมของแร่ธาตุต่างๆ ที่ถกูสลายตัวเป็นชิ้นเล็กๆ กับอินทรยีวัตถุที่เปื่อยผุพังจนกลายเป็น ชั้น (profile) บางๆ ห่อหุ้มผิวโลก และเมื่อมอีากาศและน้้าในปริมาณที่เหมาะสมก็จะกลายเป็นท่ีค้้าจุนในการเจริญเติบโตของพชื

ที่ดิน (land) หมายถงึ พื้นดินที่มอีงค์ประกอบของดิน สารอินทรีย ์สารอนินทรีย ์อากาศ น้้า ตลอดจนสิ่งมชีีวิตในดิน

Page 3: มนุษยืกับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม (ดิน)

เนื้อดิน (soil texture) เกิดจากการผสมกันของอนุภาคดินเหนียว (clay) มีอนุภาคเล็กมาก (<.0002 มิลลิเมตร) อนุภาคดินทรายแป้ง(silt) มีอนุภาคเล็กรองลงมาจากอนุภาคดินเหนียว (0.002-0.02 -0.02 มิลลิตเมตร) และอนุภาคดินทราย (sand) มีอนุภาคค่อนข้างใหญ่ (0.02-2 มิลลิเมตร) อนุภาคดินทัง้ 3 ชนิดนี้ ผสมกันในสัดส่วนต่างๆ ได้เปน็ 3 กลุ่ม เนื้อดินใหญ่ๆ คือ กลุ่มดินเนื้อระเอียดหรือกลุ่มดินเหนียว กลุ่มดินเนื้อปานกลางหรือดินเนื้อร่วน และกลุ่มดินเนื้อหลายหรือเนื้อดินทราย การแบ่งชั้นดินหลัก สามารถแบ่งออกได้ตามลักษณะต่างๆ ของดิน เช่น สีดิน การระบายน้้าของดิน และระดับความหนาของชั้นดนิ เป็นตน้ ซึ่งศึกษาได้จากภาคตัดขวางของดนิ

ดินทราย ดินร่วน ดินเหนียว

Page 4: มนุษยืกับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม (ดิน)

ดินในแต่ละแห่งจะมีสมบัติที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กบัสภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ วัตถุต้นก้าเนิด สิ่งมีชีวิตต่างๆ ในดินการใช้ประโยชน์ที่ดิน และเวลาของการพัฒนาชั้นดิน

Page 5: มนุษยืกับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม (ดิน)

องค์ประกอบของดิน ดินมีองค์ประกอบที่ส้าคัญ 4 ส่วนด้วยกันคือ อากาศ น้้า แร่ธาตุ และอินทรีย์ ดินที่อุดมสมบูรณ์ ให้ผลผลิตสูงเหมาะต่อการเพาะปลูก พบว่ามีองค์ประกอบดังกล่าวในสัดส่วน ดังนี ้

Page 6: มนุษยืกับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม (ดิน)

มลพิษทางดินและปัญหาการเสื่อมโทรมของดิน มนุษย์ด้าเนินกิจกรรมต่างๆ อยู่บนพื้นดนิ จึงท้าให้ดินเกิดการเปลี่ยนแปลงมาโดยตลอดตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบนั ยิ่งประชากรมนุษย์เพิ่มมากขึ้นเท่าใด ปัญหาที่เกิดจากการใช้ทรัพยากรดินก็มีมากขึ้นจนท้าให้เกิดมลพิษทางดิน(soil pollution) การเกิดปัญหามลพิษทางดินได้จากหลายสาเหตุ ดังเช่น 1. การทิ้งสิ่งของต่างๆ ลงในดิน การทิ้งสิ่งของต่างๆ ลงในดินเป็นสาเหตุหนึ่งที่ท้าให้เกิดการสะสมของสารเคมีและสารพิษในดิน ท้าให้ดินเกิดปัญหามลพิษและท้าให้สมบัติของดินเปลี่ยนไป ส่วนใหญ่เกิดจากทิ้งสิง่ของเหลือใช้จากบ้านเรือน เช่น ขยะมูลฝอย พลาสติก โฟม เศษแก้ว เศษโลหะ แบตเตอรี่ ถ่านไฟฉาย หลอดไฟ น้้ามัน เป็นต้น สิ่งของเหล่านี้พบว่าบางชนิดสามารถย่อยสลายได้ เมื่อสะสมอยู่ในดินเป็นเวลานานท้าให้สารพิษจ้าพวกปรอท ตะกั่ว และโลหะหนัก อื่นๆ ที่เจือปนอยู่ในขยะรั่วซึมลงดินได้ และเนื่องจากอนุภาคดินมีสมบัติเปน็ประจุจึงสามารถดูดซับสารพิษที่มีประจุเอาไว้ และถ่านทอดไปตามโซ่อาหารได้

Page 7: มนุษยืกับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม (ดิน)

2. การใช้สารเคมีทางการเกษตร สารเคมีที่เกษตรกรนิยมใช้ในทางการเกษตร เช่น ปุ๋ยเคมี ชนิดต่างๆ สารเคมีที่ใช้ในการปราบศัตรูพืชและสัตว์ สารเคมีเหล่านี้เกษตรกรใช้เพื่อต้องการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ซึ่งพบว่ามีปริมาณการใช้และปริมาณการน้าเข้าค่อนข้างสูง ดังภาพที่ 23-10 และ 32-11 ซึ่งพบว่าสารเหล่านี้เมื่อน้ามาใช้จะตกค้างอยู่ในดิน บางชนิดสามารถสลายตัวได้เองโดยธรรมชาติในระยะเวลาสั้นๆ แต่บางชนิดสลายตัวได้ช้าหรืออาจไม่สลายตัวจึงเกิดการสะสมในดินและถ่ายทอดไปตามโซ่อาหารได้

Page 8: มนุษยืกับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม (ดิน)

3. สารกัมมันตรังส ี นอกจากนี้ยังมีสารกัมมันตรังสีต่างๆ ที่ใช้ในการแพทย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม และการทดลองระเบิดปรมาณู สารกัมมันตรังสีเหล่านี้เมื่อการรั่วไหลอาจจะกระจายตัวจากแหล่งที่ใช้หรือแหล่งที่เก็บลงสู่ดินและมีอันตรายค่อนข้างสูงต่อสิง่มีชีวิต และสารพิษมีการถ่ายทอดไปตามโว่อาหารเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตได้

ผู้ป่วยที่ได้รับสารกัมมันตรังสีจากโคบอลต์ 60

Page 9: มนุษยืกับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม (ดิน)

ปัญหาที่เกี่ยวกับดินเกิดความเสื่อมโทรม และท าให้สมบัติของดินเปลี่ยนไปด้วย ได้แก่ 1. การพังทลายของดิน การพังทลายของดิน (soil erosion) เกิดได้ทั้งจากธรรมชาติ เช่น การตกกระทบของฝน การกัดเซาะของน้้าไหลบ่าหน้าดิน การกัดเซาะของคลื่น การพัดพาของลม เกิดจากภัยธรรมชาติต่างๆ เช่น แผนดินไหว ภูเขาไฟระเบิด เป็นต้น

การพังทลายของดินที่วนอุทยานแพะเมืองผี อ าเภอเมือง จังหวัดแพร่

Page 10: มนุษยืกับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม (ดิน)

2. ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ เป็นการเสื่อมโทรมของดินทีเ่กิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น การปลูกพืชชนิดเดียวกันเป็นเวลานานและขาดการบ้ารุงดิน การปลูกพืชที่โตเร็วและใช้ธาตุอาหารสูง เช่น ยูคาลิปตัส และมนัส้าปะหลัง การเผาวัชพืชหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตท้าให้ธาตุอาหารในดินสูญเสียไป นอกจากนี้ยังพบว่าการที่มนุษย์ขุดเอาหน้าดินไปขาย เพื่อใช้ถมที่ท้าให้ดินสูญเสียธาตุอาหารอีกด้วย

Page 11: มนุษยืกับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม (ดิน)

3. ดินท่ีมีสมบัติไม่เหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืช ในบางกรณีพบว่าสมบัติบางประการของดินเปลี่ยนไป เช่น ดินกรด หรือดินเปรี้ยวจัด ดินเค็มทีเ่กิดจากหินเกลือที่อยู่ใต้ดิน หรือดินที่มีน้้าทะเลท่วมขัง ดินพรุหรือดินอินทรีย์ที่เกิดจากการทับถมของซากพืชนับพันปีตามพื้นที่ที่มีน้้าทว่มขัง ดินที่มีลูกรังปนอยู่ในชั้นดินมาก รวมทั้งทั้งดินในพื้นทีท่ี่มีความลาดชันมาก พบว่าดินเหล่านี้ไม่เหมาะต่อการเพาะปลูกพืช เกษตรกรจ้าเป็นต้องปรับปรุง บ้ารุงดินให้มีความอุดมสมบูรณ์จนพร้องที่จะท้าการเพาะปลูกได้

Page 12: มนุษยืกับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม (ดิน)

การจักการและการแก้ปัญหามลพิษทางดินและแก้ปัญหาการเสื่อมโทรมของดิน

1.การอนุรักษ์ดิน (soil conservation) เป็นการใช้ประโยชน์จากดินอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ เป็นการจัดการและแก้ปัญหามลพิษทางดินและการเสื่อมโทรมดิน

Page 13: มนุษยืกับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม (ดิน)

2. การป้องกันการพังทลายของหน้าดิน ท้าได้โดยการปลูกต้นไม้และสงวนรักษาป่าเพื่อให้มีสิ่งปกคลุมดินชะลอความรุนแรงของกระแสน้้าและกระแสลมที่มาปะทะผิวดิน ซึ่งมีแนวโน้มในการจัดการดังนี้ 2.1 การปลูกพืชแบบขัน้บันไดตามบริเวณไหลเขา เพื่อช่วยลดอัตราความเร็ว และลดปริมาณการไหลบ่าของน้้า ซึ่งจะป้องกันและลดปริมาณการชะหน้าดินให้เกิดการพังทลายของดินลดลงไป 2.2 การปลูกพืชคลุมดิน เช่น หญ้าแฝก และพืชที่ช่วยปรับปรุงดิน เชน่ พืชวงศ์ถั่วช่วยเพิม่ธาตุอาหาร และปริมาณความชื้นในดิน เป็นตน้

การปลูกพืชแบบขั้นบันได

Page 14: มนุษยืกับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม (ดิน)

3. การเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน ท้าได้โดยการปลูกพืชหมุนเวียน เพราะการปลูกพืชชนิดเดียวกันซ้้าซากบนที่ดินเดิมจะทา้ให้ดินจืด และปริมาณธาตุอาหารพืชในดินลดลง เปน็การท้าลายความอุดมสมบูรณ์ของดิน และยังเอื้อต่อการระบาดของโรคและศัตรูพืชอีกด้วย

การปลูกพืชผสม หรือ ปลูกพืชหมุนเวียน

Page 15: มนุษยืกับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม (ดิน)
Page 16: มนุษยืกับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม (ดิน)

4. การปรับปรุงสมบัติของดิน สามารถด้าเนินการปรับปรุงสมบัติของดนิได้ 2 ลักษณะคือ การปรับปรุงสมบัติทางกายภาพ และการปรับปรุงสมบัติทางเคม ี

4.1 การปรับปรุงสมบัติทางกายภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ดินร่วนซุยขึ้น ดูดซับน้้าและอากาศได้มากขึ้น เป็นการปรับปรุงโครงสร้างดินให้ยึดกันดีขึ้น เกิดช่องว่างในดิน ลดความหนาแน่นทึบของดิน โดยการใช้อินทรียวัตถุ หรือการไถพรวนดิน เป็นต้น 4.2 การปรับปรุงสมบัติทางเคมี วัตถุประสงค์เพื่อให้ดินมีสภาพเป็นกลาง มีธาตุอาหารที่มีประโยชน์มากขึ้นด้าเนินการโดยใส่สารประกอบที่เปน็เบสหรือปูนในดินกรด เช่น ปูนขาว หินปูนบด เปลอกหอยป่น หรือปูนมาร์ล เป็นต้น และอาจใส่ควบคู่ไปกับอินทรียวัตถุ จะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการดูดยึดธาตุอาหารพืชไว้ในดิน เพื่อให้พืชสามารถน้าไปใช้ประโยชน์ได้

Page 17: มนุษยืกับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม (ดิน)

ดินที่เป็นกรด เกษตรกรแก้ไขได้โดยการใช้ปูนขาวหว่าน และไถพรวนให้เข้ากับดิน

Page 18: มนุษยืกับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม (ดิน)

5. การปรับปรุงบ ารุงดินที่มีปัญหาเพื่อน ามาใช้ประโยชน์ ดินแต่ละบริเวณมีสมบัติแตกต่างกัน เช่น ดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมักเป็นดินเค็ม เพราะมีเกลือสินเธาว์ ดังนั้นจงึต้องมีการควบคุมการท้าเกลือสินเธาว์ไม่ให้น้้าเกลือไหลลงสู่ไร่นา หรือปลูกพืชทนเค็ม เช่น หน่อไม้ฝรั่ง กระถินณรงค์ ขีเ้หล็ก มะขาม เป็นต้น การมีพืชคลุมดินจะช่วยลดระดับน้้าใต้ดินซึ่งมีความเค็มไม่ให้ซึมขึ้นมาถึงผิวดิน และยังเกบ็ความชุ่มชื่นของน้้าจืด ไว้ทีห่น้าดิน ส่วนดินในภาคกลางและภาคตะวันออกมักจะเป็นดินเปรี้ยว จึงแก้ปัญหาโดยการเติมปูนขาวมาร์ล ซึ่งเป็นดินทีไ่ด้จากการสลายตัวของหินปนูเพื่อลดความเป็นกรดของดิน

Page 19: มนุษยืกับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม (ดิน)

6. การเลือกใช้ประโยชน์จากที่ดินให้เหมาะสมกับลักษณะของดิน การใช้ประโยชน์จากท่ีดินให้เหมาะสมกับลักษณะของดินท้าให้สามารถน้าดินมาใช้ได้ตรงตามศักยภาพของดินและสามารถวางแผนการจัดการทรัพยากรดินได้อย่างเหมาะสมและยั่งยืน รวมถึงสามารถวางแผนการใช้ดินตามสภาพเศรษฐกิจและสังคมของแต่ละพื้นที่ได้ เช่น การจัดแบ่งพื้นที่ในการเพาะปลูก การเลี้ยงสัตว์ การสร้างที่อยู่อาศัย และเขตโรงงานอุตสาหกรรมให้ได้สัดส่วนที่สมดุลกัน การก้าหนดผังเมืองให้ถูกต้องเหมาะสมเพื่อเป็นการรักษาระบบนเิวศ และควบคุมคุณภาพสิ่งแวดล้อม

Page 20: มนุษยืกับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม (ดิน)

สาเหตุและผลกระทบของทรัพยากรดิน ดินส่วนใหญ่ถูกท้าลายให้สูญเสยีความอุดมสมบูรณ์หรือตัวเนื้อดินไป เนื่องจากการกระท้าของมนุษย์และการสูญเสียตามธรรมชาติ ท้าให้เราไม่สามารถใช้ประโยชน์จากดินได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ การสูญเสียความอุดมสมบูรณ์ของดินเกิดจาก 1. การกัดเซาะดิน อาจแบ่งได้เปน็ 2 ประเภทด้วยกนั คือ 1.1 การกัดเซาะโดยธรรมชาติ หมายถึง การกัดเซาะซึ่งเกิดขึน้ตามธรรมชาติ โดยการกระท้าของน้้า ลม แรงดึงดูดของโลก และน้้าแข็ง เช่นการชะล้าง แผ่นดินเลื่อน การไหลของธาร น้้า คลื่น เป็นต้น 1.2 การกัดเซาะที่มีตัวเร่ง หมายถึง การกัดเซาะที่มนุษย์หรือสัตว์เลี้ยงเข้ามาช่วยเร่งให้มีการพังทลายเพิ่มขึ้นจากธรรมชาติที่เกิดขึ้นเป็นประจ้าอยู่แล้ว เช่น การตัดต้นไม้ท้าลายป่า การท้าการเพาะปลูกอย่างขาดหลักวิชา ท้าให้ดินไม่มีสิ่งปกคลุม จึงท้าให้น้้า ลม ซึ่งเปน็ตัวการ กัดเซาะที่ส้าคัญพัดพาอนุภาคดินสูญหายไป 2. การเพาะปลูกและเตรียมดินอย่างไม่ถูกวิธี จะก่อให้เกิดความเสียหายกับดินได้มาก เช่น การปลูกพืชบางชนิดจะท้าให้ดินเสื่อมเร็ว การเผาป่าไม้หรือตอข้าวในนา จะท้าให้ฮิวมัสในดินเสื่อม สลายเกิดผลเสียกับดนิมาก

Page 21: มนุษยืกับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม (ดิน)

ค าถามทดสอบผลการเรียนรู้ นะค่ะ >.< 1 ดินมีประโยชน์ต่อด้านใดบ้าง ? ก. การเกษตรกรรม ข. เป็นแหล่งเล้ียงสัตว์ ค. เป็นแหล่งอาศัย ง. เป็นแหล่งเก็บกักน้้า

เฉลย ก.การเกษตรกรรม

Page 22: มนุษยืกับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม (ดิน)

2 ชนิดของดิน มีอนุภาคใดบา้งที่มารวมตัวกันท้าให้เกิดเป็นเนื้อดิน ? ก. อนุภาคดินเหนียว ข. อนุภาคดินทรายแป้ง ค. อนุภาคทรายเนื้อดิน ง. ทั้งข้อ ก ข ค

เฉลย ง. ทั้งข้อ ก ข ค

Page 23: มนุษยืกับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม (ดิน)

3. ดินกรด คือ ? ก. ดินที่มีค่า pH ต่้ากว่า 7.0 ข. ดินที่มีค่า pH ต่้ากว่า 8.5 ค. ดินที่มี่ค่า pH ต่้ากว่า 9.0 ง. ไม่มีข้อถูก

เฉลย ก. ดินที่มีค่า pH ต่ ากว่า 7.0

Page 24: มนุษยืกับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม (ดิน)

4. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ 1 ลุง คม ขุดหน้าดินไปถมที่เพื่อการก่อสร้าง 2 ลุง สม ปลูกอ้อยในไร่ของตน หลังจากเก็บผลผลิตแล้ว ก็ท้าการเผาวัชพืชหลังจาก ท้าการเก็บเกี่ยว 3 ลุง ดม ชอบใช้ปุ๋ยเคมีในการท้าการเกษตร การกระท าของบุคคลใด ที่ท าให้ดินสูญเสียธาตุอาหาร ? ก. 1 และ 3 ข. 2 และ 3 ค. 1 และ 2 ง. 1 2 และ 3

เฉลย ค. 1 และ 2

Page 25: มนุษยืกับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม (ดิน)

5. ให้นักเรียนจัดเรียงชั้นดินใหม่ให้ถกูต้อง 1 ชั้นผิวดิน 2 ชั้นหินพื้น 3 ดินชั้นบน 4 วัตถุต้นก้าเนดิดิน 5 ดินชั้นล่าง การแบ่งชั้นดิน ข้อใดถกูต้อง ? ก. 1-2-3-4-5 ข. 1-3-5-4-2 ค. 1-2-4-3-5 ง. 1-5-2-4-3

เฉลย ข. 1-3-5-4-2

1 ชั้นผิวกิน 2 ดินช้ันบน 3 ดินช้ันล่าง 4วัตถุก้าเนิดดิน 5 ชั้นหินพื้น

Page 26: มนุษยืกับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม (ดิน)

ขอบคุณค่ะ

Page 27: มนุษยืกับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม (ดิน)

จัดท้าโดย บุศรา เทพนรินทร์ เลขที่ 15 จุฑามาศ ค้าดี เลขที่ 22 ฐิติมา นามคาน เลขที่ 24 กฤติกานต์ ปัทมวิชัย เลขที่ 27 นริสรา ศรีเตชะ เลขที่ 28 กรรณิการ์ อินต๊ะวงษา เลขที่ 29 สุรีพร ไอยะรา เลขที่ 32 ณัฏฐา ทะเรรัมย์ เลขที่ 37 วิภารัตน์ เกิดบ้านจอก เลขที่ 38 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 6/1 ภาคเรียนที่ 2/2556 โรงเรียนหนองหว้าพิทยาสรรค์