จดหมายเปิดผนึกต่อท่าที ทปอ

5
จดหมายเปดผนึกจากคณาจารยกลุมหนึ่งตอทาทีของที่ประชุมอธิการบดีในสถานการณวิกฤติการเมือง เรียนที่ประชุมอธิการบดี ขาพเจาผูมีรายนามดังตอไปนีมีความเห็นวาทาทีของที่ประชุมอธิการบดี (ทปอ.) ในสถานการณวิกฤติการเมืองในหวงเวลานี้ไม ไดสะทอนความเปนตัวแทนของประชาคมทางวิชาการของประเทศและไมไดคำนึงถึงประโยชนตอสังคมในระยะยาวดวย เหตุผลสี่ประการ . ในการประชุมและการแถลงทาทีของทปอ. ตอสถานการณทางการเมือง ทปอ.ไดจัดการประชุมกันเอง โดยไมไดจัดรับฟง ความเห็นและขอถกเถียงจากประชาคมมหาวิทยาลัยของตนเองเลย การบริหารของมหาวิทยาลัยแตละแหงนั้นมีโครงสรางการ บริหารจัดการที่ซับซอนและคำนึงถึงหลักธรรมาภิบาล โดยเฉพาะหลักการมีสวนรวมและพรอมรับผิดชอบ (accountability) มิไดปลอยใหอธิการบดีเอาความเปนสถาบัน และภาพลักษณของมหาวิทยาลัยออกไปใชในทางการเมืองโดยไมฟงเสียง ประชาคมของมหาวิทยาลัย ไมวาจะเปนคณาจารย เจาหนาทีและ นิสิตนักศึกษา . การนำเสนอความเห็นตอสถานการณการเมืองของทปอ.ในระยะที่ผานมา โดยเฉพาะการนำเสนอทางออกตอวิกฤติทางการ เมืองโดยการนำเสนอเรื่องของรัฐบาลรักษาการที่เปนกลาง มีแนวโนมที่จะขัดตอหลักการและเจตจำนงของรัฐธรรมนูญ เนื่องจากขาดการยึดโยงกับหลักการประชาธิปไตย ที่ระบุไวในรัฐธรรมนูญอยางชัดแจง ไมวาจะเปนหลักของความเปนตัวแทน จากการเลือกตั้งและเสียงขางมาก อีกทั้งยังขัดตอหลักนิติธรรมเองในแงของความถูกตองทางกฎหมายและตามขั้นตอนของ กฎหมาย การนำเสนอความเห็นจากที่ประชุมอธิการบดีไมไดสะทอนใหเห็นถึงความพยายามอยางถึงที่สุดที่จะผดุงไวซึ่งหลัก การประชาธิปไตยที่ระบุไวในรัฐธรรมนูญอยางชัดแจง กลับเปดทางใหเกิดการตีความที่คลุมเครือและสุมเสี่ยงทีจะเกี่ยวพันกับ เงื่อนไขนอกวิถีทางของรัฐธรรมนูญและประชาธิปไตย . ขอเสนอของ ทปอ.ที่ผานมา สงผลตอประโยชนและความไดเปรียบทางการเมืองของกลุมการเมืองบางกลุมอยางชัดเจน ปญหาสำคัญในเรื่องนี้คือ นอกจากนำเอามหาวิทยาลัยซึ่งเปนสถาบันสาธารณะเขาไปเกี่ยวของกับความขัดแยงทางการเมืองแลว ทปอ. ซึ่งเปนการรวมตัวกันอยางไมมีกฎหมายรองรับ ยังไมไดปกปองการทำหนาที่หลักของมหาวิทยาลัย นั่นคือการใหบริการ การเรียนการสอนตอนิสิตนักศึกษาของตน เมื่อเกิดความขัดแยงทางการเมืองจนถึงขั้นที่มีแนวโนมหรือมีการใชความรุนแรงบน ทองถนน ผูบริหารสถาบันการศึกษาและที่ประชุม ทปอ.ควรแถลงเรียกรองใหกลุมตางๆ จำกัดพื้นที่ความขัดแยงทางการเมือง ไมใหกระทบตอความปลอดภัยของประชาคมมหาวิทยาลัย เพื่อใหทำการเรียนการสอนดำเนินไดอยางปกติ ผูบริหาร มหาวิทยาลัยควรยืนหยัดตอเจตนารมณดังกลาว และเตือนสติขั้วขัดแยงทางการเมืองใหตระหนักถึงความปลอดภัยและความ สงบเรียบรอยของสังคมเปนสำคัญ การประกาศงดการเรียนการสอนเพื่อความปลอดภัยตอประชาคมมหาวิทยาลัยนั้นเปนสิ่งทีควรกระทำ แตก็ตองตระหนักถึงผลกระทบที่ตามมาวาการประกาศงดการเรียนการสอนในบางกรณีนั้นอาจกลายเปนเครื่องมือ สนับสนุนการเคลื่อนไหวของกลุมการเมืองบางกลุมไดเชนกัน . ทปอ. ตองเขาใจวามหาวิทยาลัยตองมีความเปนกลางทางการเมืองและชวยนำพาสังคมขามพนจากวิกฤติทางการเมืองใน ระยะยาว ซึ่งหมายความวามหาวิทยาลัยจะตองคำนึงถึงความหลากหลายของความคิดเห็นและเสรีภาพทางวิชาการของ ประชาคมของตน และของสังคมโดยรวม การที่ทปอ.นำมหาวิทยาลัยไปผูกอยูกับจุดยืนทางการเมืองของผูบริหารมหาวิทยาลัย บางคน จึงเปนเรื่องนาเปนหวงอยางยิ่ง เพราะจะเปนอุปสรรคตอการสรางบรรยากาศที่เชิดชูเสรีภาพและความหลากหลายทาง ความคิด และความอดทนอดกลั้นของประชาคมมหาวิทยาลัยและผูคนในสังคม อันเปนเงื่อนไขสำคัญที่จะนำพาสังคมขามพน จากความขัดแยงทางการเมืองเฉพาะหนา และจะทำใหมหาวิทยาลัยเปนสถาบันสาธารณะที่รับผิดชอบตอสังคมในระยะยาว 1

Upload: thai-e-news

Post on 04-Mar-2016

220 views

Category:

Documents


3 download

DESCRIPTION

จดหมายเปิดผนึกจากคณาจารย์กลุ่มหนึ่งต่อท่าทีของที่ประชุมอธิการบดีในสถานการณ์วิกฤติการเมือง

TRANSCRIPT

Page 1: จดหมายเปิดผนึกต่อท่าที ทปอ

! ! จดหมายเปดผนึกจากคณาจารยกลุมหนึ่งตอทาทีของที่ประชุมอธิการบดีในสถานการณวิกฤติการเมือง

! !

! ! เรียนที่ประชุมอธิการบดี

! !

! ! ขาพเจาผูมีรายนามดังตอไปนี้ มีความเห็นวาทาทีของที่ประชุมอธิการบดี (ทปอ.) ในสถานการณวิกฤติการเมืองในหวงเวลานี้ไม

ไดสะทอนความเปนตัวแทนของประชาคมทางวิชาการของประเทศและไมไดคำนึงถึงประโยชนตอสังคมในระยะยาวดวย

เหตุผลส่ีประการ

! !

! ! ๑. ในการประชุมและการแถลงทาทีของทปอ. ตอสถานการณทางการเมือง ทปอ.ไดจัดการประชุมกันเอง โดยไมไดจัดรับฟง

ความเห็นและขอถกเถียงจากประชาคมมหาวิทยาลัยของตนเองเลย การบริหารของมหาวิทยาลัยแตละแหงนั้นมีโครงสรางการ

บริหารจัดการที่ซับซอนและคำนึงถึงหลักธรรมาภิบาล โดยเฉพาะหลักการมีสวนรวมและพรอมรับผิดชอบ (accountability)

มิไดปลอยใหอธิการบดีเอาความเปนสถาบัน และภาพลักษณของมหาวิทยาลัยออกไปใชในทางการเมืองโดยไมฟงเสียง

ประชาคมของมหาวิทยาลัย ไมวาจะเปนคณาจารย เจาหนาที่ และ นิสิตนักศึกษา

! !

! ! ๒. การนำเสนอความเห็นตอสถานการณการเมืองของทปอ.ในระยะที่ผานมา โดยเฉพาะการนำเสนอทางออกตอวิกฤติทางการ

เมืองโดยการนำเสนอเรื่องของรัฐบาลรักษาการที่เปนกลาง มีแนวโนมที่จะขัดตอหลักการและเจตจำนงของรัฐธรรมนูญ

เนื่องจากขาดการยึดโยงกับหลักการประชาธิปไตย ที่ระบุไวในรัฐธรรมนูญอยางชัดแจง ไมวาจะเปนหลักของความเปนตัวแทน

จากการเลือกต้ังและเสียงขางมาก อีกทั้งยังขัดตอหลักนิติธรรมเองในแงของความถูกตองทางกฎหมายและตามข้ันตอนของ

กฎหมาย การนำเสนอความเห็นจากที่ประชุมอธิการบดีไมไดสะทอนใหเห็นถึงความพยายามอยางถึงที่สุดที่จะผดุงไวซ่ึงหลัก

การประชาธิปไตยที่ระบุไวในรัฐธรรมนูญอยางชัดแจง กลับเปดทางใหเกิดการตีความที่คลุมเครือและสุมเส่ียงทีจะเกี่ยวพันกับ

เง่ือนไขนอกวิถีทางของรัฐธรรมนูญและประชาธิปไตย

! !

! ! ๓. ขอเสนอของ ทปอ.ที่ผานมา สงผลตอประโยชนและความไดเปรียบทางการเมืองของกลุมการเมืองบางกลุมอยางชัดเจน

ปญหาสำคัญในเรื่องนี้คือ นอกจากนำเอามหาวิทยาลัยซ่ึงเปนสถาบันสาธารณะเขาไปเกี่ยวของกับความขัดแยงทางการเมืองแลว

ทปอ. ซ่ึงเปนการรวมตัวกันอยางไมมีกฎหมายรองรับ ยังไมไดปกปองการทำหนาที่หลักของมหาวิทยาลัย นั่นคือการใหบริการ

การเรียนการสอนตอนิสิตนักศึกษาของตน เม่ือเกิดความขัดแยงทางการเมืองจนถึงข้ันที่มีแนวโนมหรือมีการใชความรุนแรงบน

ทองถนน ผูบริหารสถาบันการศึกษาและที่ประชุม ทปอ.ควรแถลงเรียกรองใหกลุมตางๆ จำกัดพื้นที่ความขัดแยงทางการเมือง

ไมใหกระทบตอความปลอดภัยของประชาคมมหาวิทยาลัย เพื่อใหทำการเรียนการสอนดำเนินไดอยางปกติ ผูบริหาร

มหาวิทยาลัยควรยืนหยัดตอเจตนารมณดังกลาว และเตือนสติขั้วขัดแยงทางการเมืองใหตระหนักถึงความปลอดภัยและความ

สงบเรียบรอยของสังคมเปนสำคัญ การประกาศงดการเรียนการสอนเพื่อความปลอดภัยตอประชาคมมหาวิทยาลัยนั้นเปนส่ิงที่

ควรกระทำ แตก็ตองตระหนักถึงผลกระทบที่ตามมาวาการประกาศงดการเรียนการสอนในบางกรณีนั้นอาจกลายเปนเครื่องมือ

สนับสนุนการเคลื่อนไหวของกลุมการเมืองบางกลุมไดเชนกัน

! !

! ! ๔. ทปอ. ตองเขาใจวามหาวิทยาลัยตองมีความเปนกลางทางการเมืองและชวยนำพาสังคมขามพนจากวิกฤติทางการเมืองใน

ระยะยาว ซ่ึงหมายความวามหาวิทยาลัยจะตองคำนึงถึงความหลากหลายของความคิดเห็นและเสรีภาพทางวิชาการของ

ประชาคมของตน และของสังคมโดยรวม การที่ทปอ.นำมหาวิทยาลัยไปผูกอยูกับจุดยืนทางการเมืองของผูบริหารมหาวิทยาลัย

บางคน จึงเปนเรื่องนาเปนหวงอยางยิ่ง เพราะจะเปนอุปสรรคตอการสรางบรรยากาศที่เชิดชูเสรีภาพและความหลากหลายทาง

ความคิด และความอดทนอดกลั้นของประชาคมมหาวิทยาลัยและผูคนในสังคม อันเปนเง่ือนไขสำคัญที่จะนำพาสังคมขามพน

จากความขัดแยงทางการเมืองเฉพาะหนา และจะทำใหมหาวิทยาลัยเปนสถาบันสาธารณะที่รับผิดชอบตอสังคมในระยะยาว

! !

1

Page 2: จดหมายเปิดผนึกต่อท่าที ทปอ

! ! รายชื่อคณาจารย

1. ธเนศ อาภรณสุวรรณ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2. เกษียร เตชะพีระ คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

3. ไชยันต รัชชกูล คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

4. สุรชาติ บำรุงสุข คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

5. กฤตยา อาชวนิจกุล สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล

6. พิชญ พงษสวัสด์ิ คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

7. พวงทอง ภวัครพันธุ คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

8. นิติ ภวัครพันธุ คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

9. เวียงรัฐ เนติโพธ์ิ คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

10. จักรกริช สังขมณี คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

11. กนกรัตน เลิศชูสกุล คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

12. สิริพรรณ นกสวน สวัสดี คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

13. นฤมล ทับจุมพล คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

14. โสรัจจ หงศลดารมภ คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

15. ธนาพล ลิ่มอภิชาต คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

16. เกษม เพ็ญภินันท คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

17. ประภาส ปนตบแตง คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

18. จิราพร เหลาเจริญวงศ คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

19. ชลธิศ ธีระฐิติ คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

20. วิโรจน อาลี คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

21. ประจักษ กองกีรติ คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

22. วรรณภา ตีระสังขะ คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 

23. จันจิรา สมบัติพูนสิริ คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

24. วสันต เหลืองประภัสสร คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

25. วรเจตน ภาคีรัตน คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

26. จันทจิรา เอี่ยมมยุรา คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

27. ธีระ สุธีวรางกูร คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

28. สาวตรี สุขศรี คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

29. ปยบุตร แสงกนกกุล คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

30. ปูนเทพ ศิรินุพงศ คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

31. กริช ภูญีญามา คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

32. ฐาปนันท นิพิฏฐกุล คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

33. ยุกติ มุกดาวิจิตร คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

34. อนุสรณ อุณโณ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

35. สลิสา ยุกตะนันทน คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

36. พรรณราย โอสถาภิรัตน คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

37. สุธิดา วิมุตติโกศล คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2

Page 3: จดหมายเปิดผนึกต่อท่าที ทปอ

38. ปกปอง จันวิทย คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

39. อภิชาต สถิตนิรามัย คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

40. ธร ปติดล คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

41. วรรณวิภางค มานะโชติพงษ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

42. ปทมาวดี โพชนุกูล  คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

43. พิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ เศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

44. ศุภวิทย  ถาวรบุตร  คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

45. กรพนัช ต้ังเข่ือนขันธ คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

46. ธาริตา  อินทนาม  คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

47. สรอยมาศ รุงมณี คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

48. อรอนงค ทิพยพิมล คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

49. วันรัก สุวรรรณวัฒนา คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

50. ชูศักด์ิ ภัทรกุลวณิชย คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

51. ประไพพิศ มุทิตาเจริญ คณะวารสารศาสตรและส่ือสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

52. พรทิพย สัมปตตะวนิช คณะวารสารศาสตรและส่ือสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

53. ปนแกว เหลืองอรามศรี คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

54. วสันต ปญญาแกว คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

55. วัฒนา สุกัณศีล คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

56. อรัญญา ศิริผล คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

57. พศุตม ลาศุขะ คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

58. พงษศักด์ิ รัตนวงศ คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

59. อิสราภรณ พิศสะอาด คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

60. อนุสรณ ติปยานนท คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม

61. ศุภชัย ศุภผล คณะรัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

62. มาลินี คุมสุภา63. วัชรพล พุทธรักษา คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

64. จุฑามณี สามัคคีนิชย คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

65. วัชรพล ศุภจักรวัฒนา คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

66. ทวีศักด์ิ เผือกสม คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

67. เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท ภาควิชาสังคมศาสตร คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

68. สิรักข แกวจำนงค คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

69. พิพัฒน สุยะ ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

70. บุญสง ชัยสิงหกานานนท ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

71. ภาคิไนย ชมสินทรัพยม่ัน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี

72. สุรัช คมพจน หลักสูตรรัฐศาสตร สำนักวิชาศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

73. ตฤณ ไอยะรา หลักสูตรรัฐศาสตร สำนักวิชาศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

74. อุเชนทร เชียงเสน หลักสูตรรัฐศาสตร สำนักวิชาศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

75. อรรถสิทธ์ิ สิทธิดำรง หลักสูตรรัฐศาสตร สำนักวิชาศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

76. ธนภาษ เดชพาวุฒิกุล หลักสูตรภูมิภาคศึกษา สำนักวิชาศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

3

Page 4: จดหมายเปิดผนึกต่อท่าที ทปอ

77. นฤมล กลาทุกวัน หลักสูตรภูมิภาคศึกษา สำนักวิชาศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

78. รจเรศ ณรงคราช สำนักวิชาสารสนเทศศาสตร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

79. อันธิฌา แสงชัย คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ว.ปตตานี

80. อลิสา หะสาเมาะ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ว.ปตตานี

81. ดวงยิหวา อุตรสินธุ คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี

82. อสมา มังกรชัย คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี

83. หนึ่งกมล พิพิธภัณฑ คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี

84. ดุษณดาว เลิศพิพัฒน คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี

85. กุสุมา กูใหญ คณะวิทยาการส่ือสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี

86. สมัชชา นิลปทม คณะวิทยาการส่ือสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี

87. สุรัยยา สุไลมาน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ว.ปตตานี

88. อามีนี สะอีดี คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี

89. ปง วิชัยดิษฐ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี

90. ฮาฟส สาและ คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี

91. บัณฑิต ไกรวิจิตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

92. พิเชฐ แสงทอง คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

93. ณภัค เสรีรักษ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

94. อันธิฌา แสงชัย คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

95. ซากีย พิทักษคุมพล สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

96. ศรีสมภพ จิตรภิรมยศรี  คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

97. พุทธพล มงคลวรวรรณ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

98. อภิชญา โออินทร สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

99. อสมา มังกรชัย รัฐศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

100. เอกรินทร ตวนศิริ รัฐศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร101. สุทธิชัย งามชื่นสุวรรณ คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ

102. ธีรวัฒน ขวัญใจ คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ

103. ศุภวัชร มาลานนท คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ

104. พฤกษ เถาถวิล คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

105. เนตรดาว เถาถวิล คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

106. ธีรพล อันมัย คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

107. เสาวนีย ตรีรัตน อเลกซานเดอร คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

108. บุญทิวา  พวงกลัด คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

109. ณรุจน วศินปยมงคล คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

110. กิ่งกาญจน สำนวนเย็น คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

111. พิสมัย ศรีเนตร คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

112. ประเทือง มวงออน คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

113. จิตรทัศน ฝกเจริญผล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

114. เฉลิมศักด์ิ ฉัตรดอกไมไพร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

115. ปุรินทร นาคสิงห คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

4

Page 5: จดหมายเปิดผนึกต่อท่าที ทปอ

116. มานิตา หนูสวัสด์ิ คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ว.กำแพงแสน

117. สุรินทร อนพรม คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

118. บัณฑิต จันทรโรจนกิจ คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคำแหง

119. มูฮัมหมัดอิลยาส หญาปรัง คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคำแหง

120. ยุทธพร อิสรชัย สาขารัฐศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

121. ธโสธร ตูทองคำ สาขาวิชารัฐศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

122. พิศาล มุกดารัศมี สาขาวิชารัฐศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

123. ลาวัณย หอนพรัตน นิติศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

124. ชลัท ศานติวรางคณา สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล

125. งามศุกร รัตนเสถียร สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล

126. ชาญชัย ชัยสุขโกศล สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล

127. กรรณิการ ฉัตรดอกไมไพร พยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยคริสเตียน

128. ธีระ ศิริธีรากุล คณะวิทยาศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง

129. ปฤณ เทพนรินทร วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

130. วินัย ผลเจริญ วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

131. อลงกรณ อรรคแสง วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

132. สุรดา จุนทะสุตธนกุล คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

133. ณฐิญาณ งามขำ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

134. กตัญู แกวหานาม คณะรัฐศาสตรและนิติศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ

135. จิรภา พฤกษพาดี คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

5