บรรยากาศ (atmosphere) |atm_parti

57
บทที5 บรรยากาศ (Atmosphere) ผูชวยศาสตราจารย ดร. สมพร จันทระ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม โลกแหงวิทยาศาสตร

Upload: lamnhi

Post on 29-Jan-2017

215 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

บทที่ 5

บรรยากาศ (Atmosphere)

ผูชวยศาสตราจารย ดร. สมพร จันทระภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตรมหาวิทยาลัยเชียงใหม

โลกแหงวิทยาศาสตร

สถานการณปจจุบัน

• การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (climate change)

• ภาวะโลกรอน (global warming)

• มลภาวะอากาศ (air pollution)

• ภาวะเศรษฐกิจถดถอยและผลกระทบตอสภาวะแวดลอม

Pollution Dangers Cast Shadow over 2008 Olympics

http://www.spiegel.de/international/world/0,1518,491184,00.html

In Beijing, Blue Skies Prove Hard to Achieve

http://www.nytimes.com/2008/07/29/sports/olympics/29china.html

A policeman stood guard on Monday at Tiananmen Square in Beijing as a heavy smog surrounded the site.

5.3 กาซสารประกอบและอนุภาคตางๆ ใน

บรรยากาศ

• คุณภาพอากาศมีความสําคัญและเกี่ยวของกับมนุษยเราอยางไร?

• อากาศมีความสําคัญมากในการดํารงชีวิต • คุณภาพอากาศที่อยูรอบตัวเราก็มีความสําคัญมากเชนกัน เนื่องจาก

อากาศเสียนั้นสงผลกระทบตอภาวะสุขภาพ เชน โรคที่เกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ ไมวาจะเปนโรคภูมิแพ โรคหอบหืด

• สิ่งปนเปอนในอากาศอันเนื่องจากมลภาวะที่เกิดจากแหลงกําเนิด

ตาง ๆ ทั้งจากกิจกรรมของมนุษยและจากธรรมชาติ ตางมีผลทําใหคุณภาพอากาศแยลง

องคประกอบของกาซในอากาศ (ppm)

• ไนโตรเจน (N2) 756,500

• ออกซิเจน (O2) 202,900

• น้ํา (H2O) 31,200

• อารกอน (Ar) 9,000

• คารบอนไดออกไซด

(CO2) 305

• นีออน (Ne) 17.4

• ฮีเลียม (He) 5.0

• มีเธน (CH4) 0.97-

1.16

• คริปตอน (Kr) 0.97

• ไนตรัสออกไซด (N2O) 0.49

• ไฮโดรเจน (H2) 0.49

• ซีนอน (Xe) 0.08

• ไอของสารอินทรีย 0.02

ชั้นบรรยากาศ

• ในบรรยากาศชั้นโทรโพสเฟยร อุณหภูมิจะลดลงเมื่อความสูงจากระดับน้ําทะเลเพิ่มขึ้น อันเนื่องมาจากผลของความรอนที่ผิวโลกอันเกิดจากการดูดกลืนรังสีจากดวงอาทิตย และเนื่องจากอากาศรอนจะลอยตัวขึ้นสูง จึงเกิดการผสมกันของอากาศในแนวดิ่ง

• ดังนั้นสารประกอบตาง ๆ ที่ผิวโลกจะสามารถขึ้นไปไดถึงโทรโพพอส (tropopause) ซึ่งเปนชวงแบงระหวางบรรยากาศโทรโพสเฟยรและสตราโตสเฟยร โดยการเดินทางดังกลาวอาจใชระยะเวลา 2 – 3 วัน หรือนอยกวานั้น ขึ้นกับสภาวะทางอุตุนิยมวิทยา

• ในบรรยากาศโทรโพสเฟยรนั้นมีไอน้ํา เมฆ และน้ําฟา (precipitation) ซึ่งเปนกลไกที่สําคัญในการกําจัดสารมลพิษออกจากอากาศ

• ในชวงของโทรโพพอสจะเกิดการเปลี่ยนแปลงโพรไฟล (profile)

ของอุณหภูมิ โดยอุณหภูมิจะแปรผันตรงกับความสูง อันเนื่องจาก

ปฏิกิริยาทางแสง (photochemical reaction) ของโอโซนและ

ออกซิเจน ดังสมการตอไปนี้

O2+ hν → 2O (1)

O + O2 → O3 (2)

O + O3 → 2O2 (3)

O3 + hν → O + O2 (4)

• สมการ (1) – (4) เรียกวา วัฏจักรแชปแมน (Chapman’s cycle) ซึ่ง

แสดงใหเห็นถึงการกระตุนการเกิดและสลายตัวของโอโซนในชั้น

สตราโตสเฟยร

• โอโซนดูดกลืนแสงไดมากในชวงความยาวคลื่น 200-310 nm

• ในบรรยากาศสตราโตสเฟยร มีการคายความรอนจากปฏิกิริยาตางๆ เชนดังในสมการ O + O2→O3 (2) ทําใหเกิดการเพิ่มของอุณหภูมิในชั้นนี้

• นอกจากนี้ในบรรยากาศสตราโตสเฟยรยังเกิดการผสมของอากาศในแนวดิ่งนอยมาก ไมมีน้ําฟา ทําใหเกิดการสะสมตัวของอนุภาคและสารมลพิษปริมาณมาก

• เชน การระเบิดที่รุนแรงของภูเขาไฟ ซึ่งปลอยอนุภาคและกาซตาง ๆ ออกมาในปริมาณมหาศาล ทําใหเกิดชั้นของอนุภาคปกคลมุในบรรยากาศ สตราโตสเฟยรเปนเวลานาน

• ในบรรยากาศเมโซสเฟยร (~ 50 – 85 กม.)

อุณหภูมิจะแปรผกผันกับความสูง และเกดิการ

ผสมของอากาศในแนวดิ่ง อุณหภูมิมีแนวโนม

ลดลงอีกครั้งเมื่อความสูงเพิ่มขึ้น เนื่องจากการ

ลดลงของความเขมขนของโอโซนเมื่อความสูง

เพิ่มขึ้น

• แตเมื่อถึงระยะความสูงประมาณ 85 กม. (เทอร

โมสเฟยร) อุณหภูมิจะเพิ่มขึ้นอีกครั้งเนื่องจาก

O2, N2 และ สปชีสของอะตอมตางๆ สามารถ

ดูดกลนืแสงอาทิตยในชวงความยาวคลื่น < 200

นาโนเมตร ได

5.4 มลภาวะทางอากาศ

• มลภาวะทางอากาศ (air pollution) เปนปญหาหลักของโลกเมื่อหลายรอยปมาแลว เริ่มตั้งแตในยุคกลางชวงปลายศตวรรษที่ 18 ซึ่งเปนยุคปฎิวัติอุตสาหกรรม มาจนถึงชวงตนของศตวรรษที่ 20 ซึ่งเปนยุคที่มีการใชถานหินเปนเชื้อเพลิงในการใหพลังงาน โดยเฉพาะในเมืองใหญหลาย ๆ เมือง รวมไปถึงการใชถานหินในอุตสาหกรรม ทําใหเกิดการปลอยควันและกาซพิษ เชน SO2 สูบรรยากาศ ซึ่งทําใหเกิดปรากฏการณสมอก (smog) ในเมืองอุตสาหกรรมหลายๆ แหงในยุโรปเชน ในกรุงลอนดอน และในประเทศสหรัฐอเมริกา เชน ลอสแองเจลลิส

• ในยุคปจจุบันมลภาวะทางอากาศสวนใหญเกิดจากจราจร การเผาไหมของเชื้อเพลิงในยวดยานพาหนะ การเผาในที่โลง เชน ในพื้นที่เกษตร หรือไฟปา ซึ่งมีแนวโนมเพิ่มจํานวนขึ้นทุก ๆ ป จึงเปนโจทยที่ทาทายวาเราจะพัฒนาเทคโนโลยีอยางไร เพื่อแกไขปญหาดังกลาวโดยไมสงผลกระทบตอการพัฒนาในดานอื่น ๆ

• คุณภาพอากาศที่เลวรายสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

• ตัวอยางเชน มลภาวะอันเนื่องจากการขนสง (transportation) ซึ่งประกอบไปดวยมลพิษปฐมภูมิ (primary pollutant) ซึ่งหมายถึงมลพิษที่เกดิจากแหลงกําเนิดโดยตรง เชน CO อนุภาค (particles) nitrogen oxide (NOx) และไฮโดรคารบอน (HC)

• สวนโอโซน (O3) เปนตัวอยางของสารมลพิษทุติยภูมิ (secondary pollutant) ซึ่งเกิดจากสารเคมีปฐมภูมิซึ่งเกิดจากแหลงกําเนิดมลภาวะโดยตรงทําปฏิกิริยากับแสงอาทิตย

• ทั้งมลพิษปฐมภูมิและทุติยภูมิสามารถสงผลกระทบตอพืช สัตว และสุขภาพมนุษย

เคมบีรรยากาศ (atmospheric chemistry)

• สารมลพิษที่เกิดจากกจิกรรมของมนุษย และถูกปลอยออกสู

บรรยากาศ ทําใหเกิดผลกระทบโดยตรงตอสุขภาพมนุษย

และสิ่งแวดลอม สารมลพิษเหลานี้จัดเปน มลพิษปฐมภูม ิ

ไดแก

• CO

• อนุภาคฝุน (particulate matter)

• ออกไซดของไนโตรเจน

• ตะกั่ว

• การเปลี่ยนรูปของสารมลพิษปฐมภูมิไปเปนมลพิษทุติยภูมินั้น มักเกิดจาก

• การทําปฏิกิริยาของแสงอาทิตยกับสารอินทรียระเหยได (Volatile Organic Compounds; VOCs) เชน เบนซีน (C6H6)

• การทําปฎิกิริยากับ NOx เชน NO และ NO2

• มลสารปฐมภูมิอื่น ๆ เชน SO2 และ NOx จะเปนตัวกอใหเกิดมลภาวะอื่นๆ ตามมาไดเชนกัน เชนการเปลี่ยนรูปไปเปน H2SO4 และ HNO3 ตามลําดับ ซึ่งเปนสาเหตุสําคัญของการเกิดฝนกรด

ฝนกรด

Acid Rain

- ออกไซดของ S เชน sulfuric acid (H2SO4)

- ออกไซดของ N เชน nitric acid (HNO3)

- HCI (g) เปลี่ยนรูปเปน HCI acid

- acidic precipitation ที่มีความเปนกรดแรงกวา CO2 (aq) จะถูก

เรยีกวา “acid rain” ซึ่งอาจอยูในรปู fog, dew (น้าํคาง) , snow

และ sleet (หมิะที่ละลาย)

Effect on forestEffect on forest

Effect on buildingsEffect on buildings

สารมลพิษทางอากาศ (air pollutants)

• ความหมายของคําวาสารมลพิษ (pollutant) นั้นนิยามไดงาย ๆ คือ

สารใด ๆ ซึ่งไมเปนที่พึงประสงค ปรากฏอยูผิดที่ ผิดเวลา

• หรือถาจะนิยามใหชัดเจนลงไป คงกลาวไดวา มลภาวะอากาศเปน

การเกิดขึ้นและคงอยูของสารในบรรยากาศ อันเกิดจากกิจกรรมของ

มนุษย หรือกระบวนการทางธรรมชาติ ซึ่งเปนสาเหตุใหเกิดผลเสีย

ตอมนุษยและสิ่งแวดลอมโดยที่มลพิษที่ปนเปอนในอากาศนั้นทําให

คุณภาพอากาศแยลง

• มลภาวะอากาศเกิดขึน้ไดทั้งภายนอก (outdoors) และภายในอาคาร

(indoors)

• มลภาวะอากาศภายนอกนั้นเรียกไดวาเปนมลภาวะอากาศโดยรอบ

(ambient air pollution) สามารถเกิดไดทั้งในพื้นที่เขตเมือง (urban) และ

ชนบท (rural) โดยอาจมีองคประกอบของสารมลพิษที่ปนเปอนในอากาศ

ตาง ๆ กันไปขึน้กับแหลงกําเนิดของมลพิษในบริเวณนั้น ๆ

• มลภาวะอากาศในเขตเมืองมักเกิดจากกจิกรรมของมนุษย

มลพิษที่ปนเปอนไดแก

• NO, CO, SO2, HC และอนุภาคฝุน (PM) จากโรงงาน

อุตสาหกรรม โรงไฟฟา และการขนสง

• สวน O3 นั้นมักจะเกิดขึ้นในวันที่อากาศรอน และสามารถ

เกิดไดดีในชนบท

• กระบวนการทางธรรมชาติที่เปนสาเหตุของการเกิดมลภาวะอากาศ ไดแก

• การเกิดออกไซดของซัลเฟอรและออกไซดของไนโตรเจน จากภูเขาไฟระเบิด จาก

คลื่นในมหาสมุทร จากการยอยสลายทางชีวภาพ จากฟาผา ฟาแลบ จากไฟปา

• การเกิด VOCs และละอองเกสร (pollen) จากพืช หญา และตนไมตางๆ รวมไปถึง

การเกิดอนุภาคฝุน

• บางครั้งอาจกอใหเกิดผลกระทบที่รุนแรง เชน การระเบิดของภูเขาไฟ ซึ่ง

ปลอยกาซพิษและเถาถานจํานวนมหาศาลจากปลองสูบรรยากาศ และเกิด

การแพรกระจายไปเปนระยะทางหลายพันกิโลเมตร ทั้งในแนวดิ่งและ

แนวนอน

• สิ่งที่ควรตระหนักอยูเสมอก็คือ การเกิดมลภาวะอากาศชุมชน

เนื่องจากกิจกรรมของมนุษย เพราะมีแนวโนมที่เพิ่มขึ้นอยู

ตลอดเวลา และกอใหเกิดผลกระทบทีป่ระเมินคาไมได

• ตัวอยางเชน การเผาไหมเชื้อเพลิงฟอสซิล (fossil fuels) เชน

ถานหิน น้ํามัน และกาซ ทั้งในภาคอุตสาหกรรม ภาค

ครัวเรือน

• การใชยานพาหนะตาง ๆ ซึ่งเปนตัวการปลอยมลพิษสู

บรรยากาศ ไมวาจะเปน NOx, SO2, CO, PM, Pb และ VOCs

• แหลงกําเนิดอื่นๆ ประกอบดวย • โรงงานผลิตสารเคมี ผลิตปุย ผลิตกระดาษ • การเกิดไฟปา และการเผาขยะ

• มลภาวะตางๆ ทีป่นเปอนอยูในอากาศจะสงผลกระทบมากหรือนอย ขึ้นอยูกับความเขมขน หรือปริมาณของมลภาวะในอากาศ และความไวตอมลภาวะของบุคคล

• อยางไรก็ตามไดมีการกําหนดคามาตรฐานซึ่งใชเปนเกณฑในการ

ควบคุมปริมาณของสารตางๆ เหลานี้ ทั้งในระดับชาติและนานาชาติ เพื่อปรับปรุงคุณภาพของอากาศใหดีขึ้น

มลภาวะอากาศภายในอาคาร (indoor pollution)

• มลภาวะอากาศภายในอาคารก็มีความสําคัญมากเชนเดียวกัน เนื่องจากเราใชเวลามากกวา 2 ใน 3 ตอวัน อยูภายในอาคารทั้งที่บานและที่ทํางาน ที่เรียน

• มลภาวะภายในอาคารมีแนวโนมเพิ่มขึ้น ทั้งจาก VOC จากสีทาบาน การหุงตมภายในครัวเรือน ทั้งที่ใชกาซหุงตม ถานไม หรือฟน เปนเชื้อเพลิง หรือแมแตการสูบบุหรี่ ซึ่งจะปลอย CO ออกมา

• ดังนั้นถาภายในอาคารไมมีระบบระบายอากาศที่ดีพอ จะทําใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพของผูอยูอาศัยได

การปลอยสารมลพิษ (Pollutants Emission)

(ก) ไนโตรเจนออกไซด • เกดิจากสาเหตุทางธรรมชาติ เชน จากกระบวนการยอยของ

แบคทีเรีย จากภเูขาไฟ และจากการเกิดฟาแลบ

• มลภาวะที่เกิดจากสาเหตุทางธรรมชาตนิัน้นอยกวาที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษยมาก

• กิจกรรมหลักของมนุษยที่เปนสาเหตุของการปลอย ไดแก การเผาไหมของเชื้อเพลิงฟอสซิล

• ทั้งจากแหลงที่อยูกับที่ (stationary source) เชน การผลิตกระแสไฟฟา (power generation) มีปริมาณรอยละ 24

• และจากแหลงเคลื่อนที่ (mobile source) เชน การขนสง คิดเปนรอยละ 49

(ข) ซัลเฟอรไดออกไซด• มีแหลงกําเนิดจาก

• การเผาไหมเชื้อเพลิงฟอสซิล

• การหลอมหรือการถลุง

• การผลิตกรดซัลฟวริก

• การผลิตกระดาษจากไม

• การเผาขยะ

• และการผลิตธาตุซัลเฟอร

• การเผาไหมของถานหินเปนแหลงกําเนิด SO2 ที่ใหญที่สุด คิดเปนคาเฉลี่ยประมาณรอยละ 50 ของการปลอยของโลกตอป

• สวนการเผาไหม ของน้ํามันคิดประมาณไดรอยละ 25-30

(ค) คารบอนออกไซด

• การเผาไหมสมบูรณจะไดผลิตภัณฑเปน CO2 และ น้ํา แตในสภาวะที่ O2 มีจํากัด จะเกิดการเผาไหมแบบไมสมบูรณซึ่งจะทําใหเกิดการปลอย CO ออกมาแทน

• ตัวอยางเชน การปลอย CO จากยานพาหนะบนทองถนน โดยเฉพาะในบริเวณที่มีการจราจรหนาแนน

• ประมาณ 2/3 ของ CO ที่ปลอยออกมาทั้งหมดเกดิจากการขนสงและการคมนาคมบนทองถนน

• สวนกระบวนการอื่นๆ ไดแก การเผาไหมของสารอินทรีย ไมวาจะเปนจากการผลิตพลังงาน และการเผาขยะ นั้นมีสวนในการเพิ่มปริมาณ CO ในบรรยากาศดวยเชนกัน แตในปริมาณที่นอยกวาที่เกิดจากการคมนาคมขนสง

(ง) อนุภาคฝุน

• มีแหลงกําเนดิจากหลายแหลง ไดแก

• การคมนาคมขนสง 25%

• กระบวนการที่ไมไดเกดิจากการเผาไหม 24%

• กระบวนการเผาไหมในโรงงานอุตสาหกรรม 17%

• การเผาไหมจากครัวเรือน 16% และ

• การผลิตพลังงาน 15%

• แหลงกําเนิดทางธรรมชาติมีความสําคัญคอนขางนอย ไมวาจะเปน

การระเบิดของภูเขาไฟ และการเกิดพายุ เนื่องจากเหตุการณดังกลาว

ไมไดเกิดบอยครั้ง

• อนุภาคฝุนนั้นยังมีที่มาจากการเปลี่ยนรูป (transformation) ของกาซ

ตางๆ ในบรรยากาศ เชน ออกไซดของซัลเฟอร และออกไซดของ

ไนโตรเจน รวมไปถึง VOCs

(จ) ไฮโดรคารบอน

• มีแหลงกําเนิดจากการระเหยของน้ํามันและการเผาไหมที่ไมสมบูรณ

• การรั่วไหลของกาซธรรมชาติในระบบการขนถาย

• และการระเหยของตัวทําละลาย (solvent) ที่ใชผสมในสีหรือใชใน

กระบวนการทางอุตสาหกรรม

โรงงานอุตสาหกรรม

ย านพาหนะ

ไฟปา

การเกิดไฟปารายเดือนของจังหวัดเชียงใหม

0

2000

4000

6000

8000

10000

12000

มกราคม กุมภาพันธ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม

จํานวน (ครั้ง) ปงบประมาณ 2547 จํานวน (ครั้ง) ปงบประมาณ 2548พื้นที่ (ไร) ปงบประมาณ 2547 พื้นที่ (ไร) ปงบประมาณ 2548

สถิติสาเหตุการเกิดไฟปา

0

100

200

300

400

500

600

700

800

900

1. เผา

ไร

2. หาข

องปา

3. ลาส

ัตว

4. เลี้ย

งสัตว

5. น

ักทอง

เที่ยว

6. ควา

มขัดแ

ยง7. ก

ารลัก

ลอบท

ําไม

8. อบุัต

ิเหตุ, ป

ระมา

ท, เลิน

เลอ9. ไ

มทรา

บสาเห

ตุ10.

อืน่ๆ

จํานวน

0

1,000

2,000

3,000

4,000

5,000

6,000

7,000

พื้นที่

สถิติการเกิดไฟปา จํานวน (ครั้ง)

สถิติการเกิดไฟปา พื้นที่ (ไร)

สมบัติของสารมลพิษ (ก) ไนโตรเจนออกไซด

ไนตริกออกไซด (NO)

• เปนกาซที่ไมมีสี ไมมีกลิ่น ซึ่งเกิดจากการเผาไหม

เชื้อเพลิงที่อุณหภูมิสูง เชน ในยานพาหนะ การ

ประกอบอาหาร

• เมื่อไนตริกออกไซดถูกปลอยสูบรรยากาศจะเกดิการทํา

ปฏิกิริยากับ O2 เกดิเปนไนโตรเจนไดออกไซด (NO2)

ไนโตรเจนไดออกไซด (NO2 )

• NO2 สวนใหญในบรรยากาศ เกดิจากปฏิกิริยาออกซิเดชันของ NO มีเพียงบางสวนเทานั้นที่ถูกปลอยโดยตรงจากแหลงกําเนิด เชน จากบุหรี่

• มีสีน้ําตาลแดง มีกลิ่น แตไมไวไฟ

• เปนกาซที่มีพิษสูง โดยเฉพาะเมื่อความเขมขนสูง สามารถทําใหเกิดการหายใจติดขัด และแนนหนาอก เมื่อรางกายไดรับเขาไประยะยาวสามารถทําลายปอดได

• ไนโตรเจนไดออกไซดเปนตัวออกซิไดซที่แรง และสามารถเปลี่ยนรูปไปเปนกรดไนตริก และไนเตรทในบรรยากาศ

• มีบทบาทในการกอใหเกิด O3 หรือ smog

• เนื่องจาก NO2 เปนสารมลพิษที่เกิดจากการจราจร ดังนั้นปริมาณ

NO2 ในเขตเมืองจึงคอนขางสูงกวาในเขตชนบทมาก

• ความเขมขนเฉลี่ยรายปของ NO2 ในเขตเมืองจะอยูในชวงประมาณ

10-45 ppb

• ระดับของ NO2 จะแปรผันตามเวลาในชวงวัน โดยปกติจะมีปริมาณ

สูงในชวงชั่วโมงเรงดวน 2 ครั้งใน 1 วันซึ่งความเขมขนอาจจะสูงถึง

200 ppb

• เมื่อพิจารณาปริมาณการระบายออกไซดของไนโตรเจน (NOx) ใน

พื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑลพบวาแหลงกําเนิดสวนใหญมา

จากยานพาหนะ

• มาตรฐานการบังคับใชยานพาหนะใหมีการระบาย NOx ตาม

มาตรฐานยูโร 3 (EURO 3) โดยที่น้ํามันเชื้อเพลิงมีคาซัลเฟอรต่ําลง

(ปริมาณซัลเฟอรในน้ํามันเบนซินไมเกิน 150 ppm และน้ํามันดีเซล

ไมเกิน 350 ppm)

(ข) คารบอนมอนนอกไซด

• เปนกาซพิษที่ไมมีสี ไมมีกลิ่น เกิดจากการเผาไหมเชื้อเพลิงแบบไม

สมบูรณ (มี O2 ไมเพียงพอ) หรือเกิดจากการเผาไหมเชื้อเพลิงดวย

อุณหภูมิสูงเกินไป

• CO เผาไหมไดในอากาศหรือใน O2 ใหเปลวไฟสีน้ําเงิน และมี

น้ําหนักเบากวาอากาศเล็กนอย

• แหลงกําเนิดของ CO สวนใหญมาจากยานพาหนะบนทองถนน สวน

อื่นๆ อกีเล็กนอยนั้นเกิดจากการเผาไหมของสารอินทรีย เชน จากการ

ผลิตพลงังานและการเผาขยะ

• ปริมาณของ CO ในสภาวะปกติ จะอยูในชวง 10-200 ppb โดยที่

ปริมาณในเขตเมืองจะสูงกวาเขตอื่นๆ ขึ้นอยูกับสภาพอากาศและ

ความหนาแนนของการจราจร ซึ่งความเขมขนจะอยูประมาณ นอย

กวา 10 ppb จนถึง 500 ppb

• เมื่อรางกายรับ CO เขาไปจะเกิดการรวมตัวกับฮีโมโกลบิน ซึ่งทํา

หนาที่เปนตัวจับ O2 ในเซลลเม็ดเลือดแดง ดังนั้นเมื่อฮีโมโกลบินจับ

กับ CO และไมสามารถทํางานได ทําใหเซลลภายในรางกายขาด O2

สงผลใหเนื้อเยื่อตายได

(ค) ซัลเฟอรไดออกไซด • เปนกาซที่ไมมีสี แตมีกลิ่น ไมไวไฟ

• เมื่อรางกายสัมผัสกับกาซดังกลาวจะทําใหเกิดการระคายเคืองตา

• ซัลเฟอรไดออกไซดทําปฎิกิริยาไดบนพื้นผิวอนุภาคของแข็งชนิดตาง ๆ ในอากาศ ละลายไดในน้ํา และถูกออกซิไดซไดในหยดน้ําในอากาศ

• แหลงกําเนิดของ SO2 ไดแกการเผาไหมของเชื้อเพลิงฟอสซิล กระบวนการหลอม การผลิตกรดซัลฟวริก การผลิตกระดาษจากไมเนื้อออน การเผาขยะ และการผลิตธาตุซัลเฟอร (elemental sulpher)

• โดยสวนที่สําคัญมากคือการเผาไหมถานหิน ซึ่งเปนแหลงกําเนิด

SO2 ทีใ่หญที่สุดจากกิจกรรมของมนุษย คิดเปน 50% ของการปลอย

SO2 ของโลกตอป

• สวนการเผาเชื้อเพลิงน้ํามัน คิดเปน 25-30% สวนแหลงกําเนิดทาง

ธรรมชาติไดแกภูเขาไฟ

ผลกระทบตอสุขภาพอันเกิดจาก SO2

• เห็นไดชัดจากการเกิดปรากฏการณ smog ในกรุงลอนดอนในป ค.ศ.1952 ซึ่งทําใหผูคนลมตายไปถึงกวา 4,000 คน อันเกิดจากโรคหัวใจ และภูมิแพในระบบทางเดินหายใจ

• ตั้งแตนั้นเปนตนมาไดมีการควบคุมการปลอยกาซ SO2 ออกสูบรรยากาศ โดยไมใหเกินระดับทีก่ําหนดไว โดยวิธีการนําเทคโนโลย ีและเชื้อเพลิงสะอาดมาใชเปนพลังงานทางเลือก

• โรคที่เปนผลกระทบโดยตรงจากการรับ SO2 เขาสูรางกาย ไดแกภูมิแพทางเดินหายใจ และหอบหืด (asthma)

• เมื่อพิจารณาปริมาณการระบายออกไซดของซัลเฟอร (SOx) ใน

พื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑลของประเทศไทย ในป 2543

เปรียบเทียบกบัการคาดการณปริมาณการระบายออกไซดของ

ซัลเฟอร ในป 2554 แสดงในตารางที่ 5.5

• มีแนวโนมวาภายในระยะเวลา 10 ป ปริมาณการระบายออกไซดของ

ซลัเฟอร ของประเทศไทยนั้นจะเพิ่มขึ้นรอยละ 65 (เพิ่มจาก 344,000

ตันตอป เปน 566,000 ตันตอป) ซึ่งรัอยละ 50 มีแหลงกําเนิดจากภาค

การผลิต

(ง) สารประกอบอินทรียระเหยได (Volatile

Organic Compounds ; VOCs)

• VOCs เปนสารอินทรียที่ระเหยไดงายที่อุณหภูมิหอง

• โครงสรางของสารประกอบดวย ธาตุคารบอน

• เปนสารที่ไมมีสี แตมีกลิ่นและรส

• ประกอบดวยสารตาง ๆ หลากหลายชนิด เชน ไฮโดรคารบอน

(ตัวอยางเชน เบนซีน และโทลูอีน) และ ฮารโลคารบอน

• สาร VOCs ประเภทไฮโดรคารบอน แบงไดเปน

• มีเธน (methane) และ

• ไมใชมีเธน (non-methane)

• มีเธนเปนองคประกอบทีส่ําคัญของ VOCs มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมคือ การเกิดปรากฏการณโลกรอน (global warming) และการผลิตโอโซนผิวพื้น

• แหลงกําเนิดของมีเธนสวนใหญเกิดจากการรั่วไหลจากการขนสงกาซธรรมชาติ

• ตัวอยางของสาร VOCs ประเภท non-methane ไดแก เบนซีน ซึ่ง

เปนของเหลวใสไมมีสี เสถียรบางเล็กนอย และระเหยไดงาย ที่

อุณหภูมิหองจะระเหยกลายเปนไอ

• แหลงกําเนิดของเบนซีนในบรรยากาศกวา 80% มาจากยวดยาน

พาหนะที่ใชเชื้อเพลิงประเภทดังกลาว

• ระดับของเบนซินในพื้นที่เขตเมืองจะสูงกวาในเขตชนบท

โดยเฉพาะในบริเวณริมถนน

VOCs ทีเ่ปนสารอันตรายตอรางกาย

• เบนซีน เปนสาเหตุของการเพิ่มการเปนมะเร็งเม็ดเลือดขาว

(leukemia) ในกรณีที่มีการรับเขาสูรางกายตอเนื่องเปนเวลานานๆ

• 1,3 butadiene เกดิจากกระบวนการผลิตยางสังเคราะห ทํายาง

รถยนต ผสมในน้ํามันรถ และควันบุหรี่ ซึ่งสารดังกลาวทําใหระคาย

เคืองของระบบทางเดินหายใจ และทําใหเกิดความเสี่ยงในการเกิด

มะเร็ง

ยังมีเรื่องราวที่นาสนใจอกีมากมาย

โปรดติดตามในชั่วโมงหนา