บรรยากาศ (atmosphere) |atm_partii

50
โลกแหงวิทยาศาสตร โลกแหงวิทยาศาสตร ผูชวยศาสตราจารย ผูชวยศาสตราจารย ดร ดร . . สมพร สมพร จันทระ จันทระ ภาควิชาเคมี ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยเชียงใหม บททีบทที5 5 บรรยากาศ บรรยากาศ (Atmosphere) (Atmosphere) Part II Part II

Upload: duongthuy

Post on 29-Jan-2017

216 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

โลกแหงวิทยาศาสตรโลกแหงวิทยาศาสตร

ผูชวยศาสตราจารยผูชวยศาสตราจารย ดรดร.. สมพรสมพร จันทระจันทระ

ภาควิชาเคมีภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตรคณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยเชียงใหมมหาวิทยาลัยเชียงใหม

บทที่บทที่ 55

บรรยากาศบรรยากาศ (Atmosphere)(Atmosphere)

Part IIPart II

Page 2: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

Air Pollution and Health effectEvery day, we are facing with

Air pollution

Traffic noise and vibration

Traffic accidents

Traffic congestion

It is the time to do the action

Page 3: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

เชียงใหมวิกฤติเชี ยงใหมวิกฤติ!! มลพิษมลพิษ เต็มเมืองเต็มเมือง พื้นที่พื้นที่ เสี่ยงภัยเสี่ยงภัย เรงแกไขดวนเรงแกไขดวน!!หนังสือพิมพเดลินิวส

Page 4: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

ชมชม..ยังวิกฤติควันพิษเพียบยังวิกฤติควันพิษเพียบหวงเด็กหวงเด็ก--คนชราไดรับผลกระทบเตือนเลิกเผาขยะคนชราไดรับผลกระทบเตือนเลิกเผาขยะ

เชียงใหมนิวส

Page 5: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

ผลกระทบตอสุขภาพอนามยัของผลกระทบตอสุขภาพอนามยัของประชาชนประชาชน

Page 6: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

Environmental Relevant Driving Forces of Vehicle Development

Page 7: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

((จจ)) อนุภาคฝุนอนุภาคฝุน ( (ParticulatesParticulates))

• อนุภาคฝุนเปนสารประกอบของทั้งสารอินทรีย และสาร

อนนิทรียที่อยูในอากาศ ทั้งในสถานะทีเ่ปนของเหลวและ

ของแข็ง

• ฝุนละเอียด (fine particulate matter) แบงออกไดเปน PM10

และ PM2.5

– PM10 หมายถึงฝุนที่มีขนาดเลก็กวา 10 ไมโครเมตร (μm)

– PM2.5 คือฝุนที่มีขนาดเลก็กวา 2.5μm

Page 8: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

• PM10 ประกอบไปดวยฝุนจากยานพาหนะและโรงงาน

อุตสาหกรรม อนุภาคจากทะเล (see spray) อนุภาคจากพืช

• PM2.5 ประกอบไปดวยแอโรโซล (aerosol) อนุภาคจากการเผา

ไหม และไอของพวกสารอินทรีย และไอของโลหะที่ควบแนน

อนุภาคของสารกรดมักจะเกดิในอนภุาคฝุนขนาดเล็กมาก

Page 9: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

แหลงกําเนิดของฝุนขนาดเล็กแหลงกําเนิดของฝุนขนาดเล็ก

Page 10: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

Fresh wood soot in outdoor chambers

(0.5 μm scale)

Page 11: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

What are some of the terms What are some of the terms used to describe aerosols?used to describe aerosols?

• Diameters are usually used to describe aerosol sizes, but aerosols have different shapes.

Page 12: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

Naso-oro-pharyngo-

Tracheo-bronchial

Alveolar

Effect to human health

Page 13: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

• ในพื้นที่เขตเมืองจะมี PM เฉลี่ยอยูที่ 10 – 40 μg/m3

• สวนคาแบคกราวดในเขตชนบทอยูที่ 0-10 μg/m3

• ในเขตอตุสาหกรรมหรือในชวงที่มีมลภาวะสูงนัน้อาจจะมรีะดับของฝุนขึ้นไปสูงถึงระดับหลายรอย μg/m3

• ฝุนละเอียดถูกจัดวาเปนมลพิษที่รายแรงที่สุด มีรายงานวาผูคนลมตายไปมากมายอันเนือ่งจากการรับฝุนละเอียดสูรางกาย เนือ่งจากอนภุาคที่เล็กกวา 10 μm สามารถเขาสูปอดและทําลายปอด

Page 14: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

((ฉฉ)) โอโซนโอโซน

• โอโซนประกอบดวยออกซิเจน 3 อะตอม

• โอโซนเปนกาซพิษสีน้ําเงิน ไมเสถียร มีกลิ่นฉนุ

• ในบรรยากาศชั้นสตราโตสเฟยรนั้นจะมีชั้นของโอโซนอยู ซึ่งทํา

หนาที่กรองรังสียูวี

• สวนในบรรยากาศโทรโพสเฟยรมีโอโซนอยูในบรรยากาศบาง

แตไมหนาแนน เรียกวาโอโซนผิวพื้น (tropospheric ozone)

Page 15: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

• เมื่อรางกายไดรับโอโซนผิวพื้น เขาไป จะทําใหเกิดการระคาย

เคืองของระบบทางเดนิหายใจ และทําใหการทํางานของปอด

บกพรอง และกระตุนใหเกดิโรคหอบหืดไดงายขึ้น

• และเมื่อปริมาณโอโซนในบรรยากาศมีมากจะทาํใหเนือ้เยื่อของ

ปอด และระบบทางเดินหายใจถูกทําลายได

Page 16: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

• โอโซนผิวพื้นเกิดจาก VOCs หรือ NO2 ทําปฎิกิริยากับแสงอาทิตย จึง

จัดเปนสารมลพิษทุติยภูมิ การเกิดโอโซนจาก NO2 แสดงดังปฎิกิริยา

ดังตอไปนี้

NO2 + hν (λ ≤ 420 nm) → NO + O

O + O2 → O3

• โอโซนผิวพื้นประมาณ 10-15% จะสามารถเคลื่อนยายขึ้นไปบนชั้น

บรรยากาศสตราโตสเฟยร

M

Page 17: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

• ความเขมขนของโอโซนขึ้นกับแสงแดด ในชวงที่อากาศอุนและสงบ โอโซนผิวพื้นในเขตเมืองจะถูกทําลายโดยไนตริกออกไซด (NO) ซึ่งมีแหลงกําเนิดจากยานพาหนะ ดังปฎิกิริยา

NO + O3 → NO2 + O2

• ความเขมขนของโอโซนมักจะมีคาสูงในชวงฤดูรอนมากกวาในฤดูหนาว และในเขตชนบทมากกวาในเมือง

• คาแบคกราวดของโอโซนผิวพื้นในทวีปยุโรปนั้นนอยกวา 15 ppb แตในบางครั้งอาจสูงถึง 60 ppb และในชวงของการเกิด smog ระดับของโอโซนอาจจะมากกวา 100ppb

Page 18: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

Smog

Page 19: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

((จจ)) สมสมอกอก ( (SmogSmog))

• ในระหวางศตวรรษที่ 19 และตนศตวรรษที่ 20 การปฏิวัติ

อุตสาหกรรมทําใหมลภาวะอากาศเลวราย โดยมีสาเหตุ

จากการปลอยมลพิษจากการเผาไหมของถานหิน ซึ่งทําให

เกดิปรากฎการณที่เรียกวา smog ที่เกิดในเขตเมอืง

• สภาพของ smog คือหมอกและควันที่มีสีเทาดําอนั

เนือ่งจากฝุนของถานหิน

Page 20: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

• Smog มักเกิดขึ้นในชวงอากาศสงบ

• เดือนพฤศจิกายนในประเทศอังกฤษเปนเดือนที่เลวรายที่สุด เนื่องจากเปนเดอืนที่มีหมอกหนาทึบ

• ในชวงฤดูหนาวการปลอยควันและ SO2 ในเขตเมืองจะสูงกวาในชวงฤดูรอน เนื่องจากการใชถานหินในเครื่องทําความรอน

• อนุภาคในควันจะจับตัวกันเปนหมอกสีดําออกเหลือง ซึ่งปกคลุมบริเวณตัวเมืองไปหลายวัน

• ในชวงดังกลาวมักจะเปนชวงที่ลมสงบ ทําใหหมอกและควันดังกลาวคงตัวอยูได ดังนั้นระดับมลภาวะจึงเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะที่บริเวณผิวพื้น

Page 21: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

• ในชวงการเกิด smog จะสงผลกระทบตอสุขภาพมาก เนื่องจาก สภาวะ

smog จะเกิดขึ้นและคงตัวเปนเวลาหลายวัน ทําใหหลาย ๆ คนมีปญหา

เรื่องโรคระบบทางเดินหายใจ

• มีอัตราการตายเกี่ยวกับโรคทางเดินหายใจเพิ่มขึ้นในชวงเวลาดังกลาว

• สมอกในกรุงลอนดอนที่รุนแรงเกิดขึ้นในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1892 โดย

กนิเวลาประมาณ 3 วัน ผลคือมีผูเสียชีวิตไปกวา 1,000 คน

• สมอกที่รุนแรงที่สุดในกรุงลอนดอน (The Great London Smog) เกิดขึ้น

ในวันที ่4 ธันวาคม ค.ศ. 1952 เปนเวลา 5 วัน ทําใหมีผูคนลมตายเปน

จํานวนมาก

Page 22: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

• จากนั้นรัฐบาลไดประกาศปฏิบัติการอากาศบริสุทธิ์

(Clean Air Act) เปนครั้งแรกในป ค.ศ. 1956

• โดยมีวัตถุประสงคเพื่อควบคุมแหลงกําเนิดของควัน

อนัเกิดจากบานเรือนและชุมชน โดยการกําหนดเขต

ปลอดควันขึ้น

• นอกจากนี้ยังมีมาตรการการใชถานหินที่สะอาดเพื่อ

ลดระดับการปลอย SO2 สูบรรยากาศดวย

Page 23: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

อัตราการตายกับปริมาณอัตราการตายกับปริมาณ

SOSO22 ในอากาศในอากาศ จากการจากการ

เกิดสมเกิดสมอกในกรุงอกในกรุง

ลอนดอนลอนดอน

Page 24: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

• ในปจจุบันนี้ปริมาณของควันและ SO2 ในเมืองลดต่ําลงไปมากเมื่อเทียบ

กับในอดีต อันเนื่องมาจากการใชมาตรการตางๆ เพื่อที่จะควบคุมการ

ปลอยมลพิษ รวมไปถึงการใชเทคโนโลยีที่สะอาด

• อยางไรก็ตามการเติบโตของการคมนาคมขนสงในชวง 20 ปที่ผานมา ทํา

ใหเกิดมลภาวะหลายชนิดในเขตเมือง ไมวาจะเปน CO, NOx และ HC

ซึ่งกอใหเกิด O3 ตามมา และสารเหลานี้ทําใหคุณภาพอากาศแยลง

Page 25: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

Ambient Air Quality Monitoring NetworkAmbient Air Quality Monitoring Network

(PCD, Thailand)(PCD, Thailand)

51 stations

Page 26: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

MT1

PP1

MT2

PP4PP3

PP2

MT1

Page 27: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

อุปกรณเก็บตวัอยางอากาศอุปกรณเก็บตวัอยางอากาศ

Page 28: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

• ในประเทศไทยไดมีการติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศจาก

หนวยงานของรัฐอยูอยางสม่ําเสมอ โดยเฉพาะในบริเวณเมอืง

ใหญ และบริเวณที่มีแหลงกําเนดิมลภาวะ ซึ่งมีแนวโนมที่ทําให

คุณภาพอากาศแยลง เชน การจราจรที่หนาแนน มีโรงงาน

อุตสาหกรรม มีการเผาชีวมวล หรือการเกิดไฟปา เปนตน

Page 29: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

• ในตารางที่ 5.6 เปนตารางแสดงคุณภาพอากาศบริเวณพื้นที่

ทั่วไปในกรุงเทพมหานคร ในป พ.ศ. 2546 ทั้งคาของฝุน และ

กาซตาง ๆ เชน CO, O3, SO2, NO2

• โดยแสดงคามาตรฐานและจํานวนครั้งที่เกินคามาตรฐาน เพื่อ

เปนบรรทัดฐานในการจัดการในเชงินโยบายตอไ ป

Page 30: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

ดัชนีคุณภาพอากาศดัชนีคุณภาพอากาศ

• สํานักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไดมีการรายงาน

ขอมูลคุณภาพอากาศรายวันในรูปแบบของ ดัชนีคุณภาพอากาศ

(Air Quality Index : AQI) ตั้งแตปพ.ศ. 2545 เปนตนมา เพื่อให

งายตอความเขาใจของประชาชนทั่วไป

Page 31: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

• ดัชนีคุณภาพอากาศ เปนการรายงานขอมูลคุณภาพอากาศในรูปแบบทีง่ายตอความเขาใจของประชาชนทั่วไป เพื่อเผยแพรประชาสัมพันธใหสาธารณชนไดรับทราบถึงสถานการณ

มลพิษทางอากาศในแตละพื้นทีว่าอยูในระดับใด มีผลกระทบตอสขุภาพอนามัยหรือไม ซึง่ดัชนีคุณภาพอากาศเปนรูปแบบสากลที่ใชกันอยางแพรหลายในหลายประเทศ เชน สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย สงิคโปร มาเลเซีย และประเทศไทย เปนตน

Page 32: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

• ดัชนีคุณภาพอากาศนี้จะคํานวณไดจากความเขมขนของสารมลพิษทาง

อากาศ 5 ประเภท ไดแก

– ฝุนขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน (PM10)

– กาซคารบอนมอนอกไซด

– กาซซัลเฟอรไดออกไซด

– กาซไนโตรเจนไดออกไซด และ

– กาซโอโซน

• คาดัชนีที่คํานวณไดของสารมลพิษประเภทใดที่มีคาสูงสุดจะใชเปนดัชนี

คณุภาพอากาศของวันนั้น ซึ่งแบงออกเปน 5 ระดับ

• แตละระดับจะใชสีเปรียบเทียบ ฟา เขียว เหลือง สม และแดง ตามลําดับ

Page 33: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

เกณฑการแบงคุณภาพอากาศ (กรมควบคุมมลพิษ)

ดัชนีคุณภาพอากาศ คุณภาพอากาศ สีที่ใชเปรียบเทียบ

0 – 50 ดี ฟา

51 – 100 ปานกลาง เขียว

101 – 200 มกีระทบตอสุขภาพ เหลือง

201 – 300 มผีลกระทบตอสุขภาพ

มากสม

มากกวา 300 อันตราย แดง

Page 34: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

เกณฑของดชันคีุณภาพอากาศสําหรับประเทศไทย

AQI ความหมาย สทีีใ่ช แนวทางการปองกันผลกระทบ

0-50 คุณภาพดี ฟา ไมมีผลกระทบตอสุขภาพ

0-100 คุณภาพปานกลาง เขียว ไมมีผลกระทบตอสุขภาพ

101-200 มีผลกระทบตอสุขภาพ เหลือง

ผูปวยโรคระบบทางเดินหายใจ ควรหลีกเลี่ยงการออกกําลงัภายนอกอาคารบุคคลทัว่ไป โดยเฉพาะเด็กและผูสูงอายุ ไมควรทํากิจกรรมภายนอกอาคารเปนเวลานาน

201-300 มีผลกระทบตอสุขภาพมาก สม

ผูปวยโรคระบบทางเดินหายใจ ควรหลีกเลี่ยงกจิกรรมภายนอกอาคารบุคคลทัว่ไป โดยเฉพาะเด็กและผูสูงอายุ ควรจํากัดการออกกําลังภายนอกอาคาร

มากกวา 300

อันตราย แดง

บุคคลทัว่ไป ควรหลีกเลี่ยงการออกกําลังภายนอกอาคาร สําหรับผูปวยโรคระบบทางเดินหายใจ ควรอยูภายในอาคาร

Page 35: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

เกณฑของดัชนคีุณภาพอากาศ (US EPA)

Page 36: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

Good

Moderate

Unhealthy for sensitive group

Page 37: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

Good

Moderate

Unhealthy for sensitive group

Page 38: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

เกณฑการแบงคุณภาพอากาศเกณฑการแบงคุณภาพอากาศ

• ดัชนีคุณภาพอากาศรายวันในกรุงเทพมหานครสวนใหญจะอยูในระดับ

ปานกลางรอยละ 57.4 ระดับทีด่รีอยละ 38.3 และระดับมีผลกระทบตอสุขภาพรอยละ 4.3

• ในพื้นที่ตางจังหวัดและปริมณฑลพบวาดัชนีคุณภาพอากาศรายวันสวน

ใหญจะอยูในระดับปานกลางรอยละ 51.3 ระดับดีรอยละ 42.1 และระดับมีผลกระทบตอสุขภาพรอยละ 6.6

• เมื่อเปรียบเทยีบกับปที่ผานมาพบวาคุณภาพอากาศอยูในเกณฑที่ดีขึ้น ทั้งนี้สารมลพิษทางอากาศที่มีดัชนีคุณภาพอากาศในระดับตอสุขภาพ

สวนใหญ คือ ฝุนขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน และรองลงมาคือ กาซโอโซน

Page 39: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

Goal is “Zero” Emissions

00.05

0.10.15

0.20.25

0.30.35

0.4

1994 2004 2010

HC

NOx

(g/mile)

LEV I LEV IICB

G

Phas

e 3

Page 40: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

Sustainable DevelopmentSustainable Development--The Three PillarsThe Three Pillars

Page 41: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

For Clean Air For Clean Air ーー Viewpoint of Technical Approach Viewpoint of Technical Approach ーー

AppropriateMaintenance

CleanFuels

Vehicle EmissionStandard

Clean VehicleTechnology

Page 42: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

5.55.5 เคมีทางแสงเคมีทางแสงของสของสปปชีสชีสที่สําคัญในบรรยากาศที่สําคัญในบรรยากาศ

• การดูดกลืน (absorbtion) แสงอาทิตยของสาร ทําใหเกดิ

กระบวนการเคมีทางแสง (photochemistry) และเปนการกระตุน

ใหเกดิแรดิคอลอิสระ (free radical) ซึ่งเปนตัวขับเคลื่อนของ

กระบวนการทางเคมีของบรรยากาศโทรโพสเฟยร และสตรา

โตสเฟยร

Page 43: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

ออกซิเจนโมเลกุลออกซิเจนโมเลกุล (O(O22))

• การดูดกลืนแสงของทั้งออกซิเจนโมเลกลุ (O2) และโอโซน (O3)

ที่ความเขมแสงและความยาวคลื่นตาง ๆ ในบรรยากาศโทรโพส

เฟยรและสตราโตสเฟยร เปนเหตใุหเกิดปฏิกิริยาเคมีทางแสง

• โดย O2 ดูดกลืนแสงในชวงอัลตราไวโอเลต (UV) ที่ความยาว

คลื่น (λ) <~ 200 นาโนเมตร (nm) จึงเรียกพื้นที่แถบนี้วา

สูญญากาศของยูวี (vacuum ultraviolet)

Page 44: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

• การแตกตัวของออกซิเจนในชวง λ 175-242 นาโนเมตร

เพื่อผลิตอะตอมของออกซิเจนนั้น มคีวามสําคัญอยางมาก

ในบรรยากาศสตราโตสเฟยร เนือ่งจาก O2 เปน

แหลงกําเนิดทีส่ําคัญของ O3 ดังแสดงในสมการ

O2 + hν → 2O

O + O2 → O3

Page 45: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

โอโซนโอโซน ( (OO33))

• โอโซนมีบทบาทสําคัญหรือถือเปนศูนยกลางของเคมี

บรรยากาศโทรโพสเฟยร

• โอโซนมีความไวสูง และจัดเปนสปชีสที่มีพิษ

• สามารถดูดกลืนรังสี IR และ UV จึงจัดโอโซนเปนตวัการ

หนึ่งของการเกิดปรากฏการณเรอืนกระจก (greenhouse

effect)

Page 46: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

• ในทางตรงกันขามโอโซนจัดเปนประโยชนในแงของการ

ดูดกลนืรังสียูวี ซึ่งเปนอนัตรายกับสิ่งมีชีวิตบนโลก

• ในกระบวนการดูดกลืนรังสียูวีดังกลาว จะเกิดออกซิเจนอะตอม

ในสภาวะกระตุน (excited oxygen) ซึ่งจะสามารถทําปฏิกิริยา

เกดิเปน OH⋅ ซึ่งเปนตัวออกซิแดนทที่สําคัญในบรรยากาศ

Page 47: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

• การแตกตัวดวยแสง (photolysis) ของโอโซนจะผลิตทั้ง

ออกซิเจนโมเลกุล และออกซิเจนอะตอมออกมา ซึ่งบางที

อาจอยูในสถานะที่ถูกกระตุนทางไฟฟา

• ตัวอยางของกระบวนการการแตกตัวทางแสง แสดงใน

สมการ ซึ่งตองการแสงที่ความยาวคลื่น 310 นาโนเมตร

O3 + hν → O2 + O

Page 48: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

• ปฏิกิริยาเคมีทางแสงที่สําคัญที่สุดของโอโซนในบรรยากาศโทร

โพสเฟยรคือ ผลลัพธที่ได และความยาวคลื่นในการผลิต

ออกซิเจนอะตอม

O3 + hν → O2 + O

• เนือ่งจากมนัเปนตนกาํเนิดของ ไฮดรอกซิลฟรีแรดิคอล

(hydroxyl free radical; OH⋅)โดยการทําปฏิกิริยากับไอน้ํา O + H2O (g) → 2 OH⋅

Page 49: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

ไนโตรเจนไดออกไซดไนโตรเจนไดออกไซด ( (NONO22))

• การแตกตัวทางแสงของ NO2 ที่ λ < 420 นาโนเมตร ให

ผลิตภณัฑเปนไนตริกออกไซด และออกซิเจนอะตอม ดังสมการ

NO2 + hν → NO + O

• ปริมาณของ O ที่ไดจากสมการนั้นมนีัยสําคัญในการผลิต O3 ใน

โทรโพสเฟยร และจัดเปนแหลงกําเนดิที่เกิดจากมนุษย

(anthropogenic source) โดยปฏิกิริยาดังกลาวแสดงไดดังสมการ

O + O2 → O3

Page 50: บรรยากาศ (Atmosphere) |Atm_PartII

Blue Sky, Blue Sky, Clean Air and Clean Air and

Green Area for Green Area for Better Quality Better Quality

of Lifeof Life