ข่าวหอศิลป์ fine arts vol 3 november 2008

12
PABLO PICASSO 1 Editor’s Introduction 2 พิพิธภัณฑศิลปะของมหาวิทยาลัยพรินสตัน 2 ภาพถายในบริบทของศิลปะ 3 นิทรรศการประจำเดือน ตุลาคม-พฤศจิกายน 2551 3 ความเปนมาเกี่ยวกับพิพิธภัณฑศิลปะ 4 RELATIONAL AESTHETICS 6 คณะผูจัดทำ บรรณาธิการบริหาร: สมเกียรติ ตั้งนโม. กองบรรณาธิการ: วรลัญจก บุญยสุรัตน, ทิพวรรณ ทั่งมั่งมี, ไชยณรงค วัฒนวรากุล, Sebastien Tayac, ชวลิต ดวงทวี, ฝายประสานงาน: วีระพันธ จันทรหอม, สุวิทย คิดการงาน. ฝายการจัดการความรู: วีระพันธ จันทรหอม. ฝายศิลป: วรรณชัย วงษตะลา ถายภาพ: ธรณิศ กีรติปาล พิสูจน์อักษร: นภดล สุคำวัง, พรพิศ เดชาวัฒน ฝายเผยแพร: จิตตอารีย กนกนิรันดร, ไชยณรงค วัฒนวรากุล และพนักงานสายสนับสนุนสำนักงานคณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม หนังสือพิมพขาวหอศิลป / ขาววิจิตรศิลป ฉบับที ่ 3 พฤศจิกายน 2551 หนังสือพิมพขาวหอศิลป จัดทำขึ้นเพื่อเปนสื่อกลางระหวางกิจกรรมดานการศึกษาศิลปะ การวิจัย การบริการ และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ของคณะวิจิตรศิลป กับบุคคลและสถาบันภายนอกที่สนใจเรื่องคุณคาทางศิลปะและสุนทรียภาพ. ขาวและเนื้อหาขอมูล บทความทุกชนิดที่ปรากฏบนหนังสือพิมพนี้ ยินยอมสละลิขสิทธิ์ใหกับ สังคมไทย เพื่อประโยชนทางวิชาการ PICASSO FINE ARTS Faculty of Fine Arts Chiang Mai University 3 ฉบับที่สาม หนังสือพิมพขาวหอศิลป / ขาววิจิตรศิลป ผลิตโดยคณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม 50200 Pablo Diego Jose Francisco de Paula Juan Nepomuceno María de los Remedios Cipriano de la Santísima Trinidad Martyr Patricio Clito Ruíz y Picasso (25 ตุลาคม 1881 – 8 เมษายน 1973) เปนจิตรกรเชื้อสายแอนดาลูเซียน- สแปนิช นอกจากนี้เขายังเปนประติมากร และนักวาดเสนดวย ปคาสโซนับ เปนหนึ่งในศิลปนที่มีชื่อเสียงในคริสต ศตวรรษที่ 20 และเปนที่รูจักกันดีใน ฐานะผูรวมกอตั้งขบวนการศิลปะ คิวบิสม (ผลงานศิลปะที่ประกอบสรางขึ้น จากรูปทรงเรขาคณิต)และลักษณะ หลากหลายสไตลที่รวมอยูในผลงาน ของเขา ใน ทาม กลาง ผลงาน อัน มีชื่อ เสียงของปคาสโซ นั้น ผลงานอันโดดเดน คือภาพ Les Demoiselles d’Avignon (1907) และภาพเขียนเกี่ยวกับ การ ที่ เยอรมันทิ้งระเบิดที่เมืองเกอนิกา ชวง ระหวางสงครามกลางเมืองสแปนิช ในชื่อ ภาพ Guernica (1937) วัยเยาวของปคาสโซ ปคาสโซนอยไดแสดงถึงทักษะและความสามารถมาตั้งแตวัยเด็กในเรื่องของการวาด เสน ตามที่แมของเขาเลาไว ชื่อที่เปนวลีแรกๆ ของเขาคือ “piz, piz”, เปนคำยอของคำใน ภาษาสเปนที่หมายถึงดินสอ (pencil). นับจากวัยเพียง 7 ขวบ ปคาสโซก็ไดรับการฝกฝน ทางดานศิลปะอยางเปนทางการแลวโดยพอของเขา ไมวาจะเปนการวาดภาพคน และ การวาดภาพสีน้ำมัน. พอของเขาเปนศิลปนที่เขียนภาพแบบจารีต และเปนครูสอน ศิลปะที่เชื่อวา การฝกฝนทางดานศิลปะอยางเหมาะสม จะตองคัดลอกผลงานศิลปะ ของบรรดาปรมาจารยทั้งหลายอยางมีวินัย และตองฝกหัดวาดเสนภาพรางกายคน ทั้งตัวจากหุนปูนปลาสเตอร และแบบคนที่มีชีวิต (อานตอหนา 3) PABLO PICASSO (1881-1973) วัดปงสนุก คนตัวเล็กกับการอนุรักษ์ 7 Arts Court 9 Artist : อาจารยพิศาล ทิพารัตน 11 จิตรกรรมวัดมอนปูยักษ 11 หัวแมหญิงลานนา 11 เรียนประวัติศาสตรศิลป์ จากกำแพง 12 ภาพจำลองวัดภูมินทร อุดมคติสามัญชน 12 Contents

Upload: cmu-art-center

Post on 22-Mar-2016

216 views

Category:

Documents


4 download

DESCRIPTION

หนังสือพิมพ์ข่าวหอศิลป์ /ข่าววิจิตรศิลป์ FINE ARTS ฉบับที่ 3 เดือนพฤศจิกายน 2551 หนังสือพิมพ์ข่าวหอศิลป์ จัดทำขึ้นเพื่อเป็นสื่อกลางระหว่างกิจกรรมด้านการศึกาาศิลปะ การวิจัย การบริการ และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ของคณะกับบุคลและสถาบันภายนอกที่สนใจเรื่องคุณค่าทางศิลปะและสุนทรียภาพ ข่าวและเนื้อหาข้อมูล บทความทุกชนิดที่ปรากฏบนหนังสือพิมพ์นี้ ยินยอมสละสิทธิ์ให้กับสังคมไทย เพื่อประโยชน์ทางวิชาการ

TRANSCRIPT

Page 1: ข่าวหอศิลป์ FINE ARTS Vol 3 November 2008

PABLO PICASSO 1Editor’s Introduction 2พิพิธภัณฑ ศิลปะ ของ มหาวิทยาลัยพ ริน สตัน 2ภาพถายในบริบทของศิลปะ 3นิทรรศการประจำเดือน ตุลาคม-พฤศจิกายน 2551 3ความ เปนมา เกี่ยวกับ พิพิธภัณฑ ศิลปะ 4RELATIONAL AESTHETICS 6

คณะผูจัดทำ บรรณาธิการบริหาร: สมเกียรติ ตั้งนโม. กองบรรณาธิการ: วรลัญจก บุญ ยสุรัตน, ทิพวรรณ ทั่ง มั่งมี , ไชย ณรงค วัฒนวรากุ ล, Sebastien Tayac, ชวลิต ดวง ทวี, ฝายประสานงาน: วีระพันธ จัน ทรหอม, สุวิทย คิดการงาน. ฝายการจัดการความรู: วีระพันธ จันทรหอม. ฝายศิลป: วรรณชัย วงษตะลา ถายภาพ: ธรณิศ กีรติ ปาล พิสูจน์อักษร: นภด ล สุคำ วัง , พร พิศ เดชาวัฒน ฝายเผยแพร: จิตต อารี ย กนก นิรันดร, ไชย ณรงค วัฒนวรากุ ล และพนักงานสายสนับสนุนสำนักงานคณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม

หนังสื

อ พิมพ

ขาว ห

อศิลป

/ ขา

ว วิจิต

รศิลป

ฉบับ

ที่ 3

พฤศจิ

กายน

255

1

หนังสือพิมพขาวหอศิลป จัดทำขึ้นเพื่อเปนสื่อกลางระหวางกิจกรรมดานการศึกษาศิลปะ การวิจัย การบริการ และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ของคณะวิจิตรศิลป กับบุคคลและสถาบันภายนอกที่สนใจเรื่องคุณคาทางศิลปะและสุนทรียภาพ. ขาวและเนื้อหาขอมูล บทความทุกชนิดที่ปรากฏบนหนังสือพิมพนี้ ยินยอมสละลิขสิทธิ์ใหกับสังคมไทย เพื่อประโยชนทางวิชาการ

PICA

SSO FINE ARTS

Facu

lty o

f Fin

e A

rts

Chi

ang

Mai

Uni

vers

ity

3ฉบับที่สาม

หนังสือพิมพขาวหอศิลป / ขาววิจิตรศิลป ผลิตโดยคณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม 50200

Pablo Diego Jose Francisco de Paula Juan Nepomuceno María de los Remedios Cipriano de la Santísima Trinidad Martyr Patricio Clito Ruíz y Picasso (25 ตุลาคม 1881 – 8 เมษายน 1973) เปนจิตรกรเชื้อสายแอนดาลูเซียน-สแปนิช นอกจากนี้เขายังเปนประติมากร และ นัก วาด เส น ดวย ปคาส โซนับเปนหนึ่งในศิลปนที่มีชื่อเสียงในคริสตศตวรรษที่ 20 และเปนที่รู จักกันดีในฐานะ ผู ร วม ก อตั้ ง ขบวนการ ศิลปะคิวบิสม (ผลงานศิลปะที่ประกอบสรางขึ้นจาก รูปทรง เรขาคณิต) และ ลักษณะหลากหลายสไตลที่รวมอยู ในผลงานของเขา ใน ทาม กลาง ผลงาน อัน มีชื่อ เสียงของปคาสโซนั้น ผลงานอันโดดเดนคือภาพ Les Demoiselles d’Avignon (1907) และภาพเขียนเกี่ยวกับ การ ที่ เยอรมันทิ้งระเบิดที่เมืองเกอนิกา ชวงระหวางสงครามกลางเมืองสแปนิช ในชื่อภาพ Guernica (1937)

วัยเยาวของปคาสโซปคาสโซนอยไดแสดงถึงทักษะและความสามารถมาตั้งแตวัยเด็กในเรื่องของการวาด

เสน ตามที่แมของเขาเลาไว ชื่อที่เปนวลีแรกๆ ของเขาคือ “piz, piz”, เปนคำยอของคำในภาษาสเปนที่หมายถึงดินสอ (pencil). นับจากวัยเพียง 7 ขวบ ปคาสโซก็ไดรับการฝกฝนทางดานศิลปะอยางเปนทางการแลวโดยพอของเขา ไมวาจะเปนการวาดภาพคน และ

การวาดภาพสีน้ำมัน. พอของเขาเปนศิลปนที่เขียนภาพแบบจารีต และเปนครูสอนศิลปะที่ เชื่อ วา การ ฝกฝน ทาง ดาน ศิลปะ อยางเหมาะสม จะตองคัดลอกผลงานศิลปะของบรรดาปรมาจารยทั้งหลายอยางมีวินัย และตองฝกหัดวาดเสนภาพรางกายคนทั้งตัวจากหุนปูนปลาสเตอร และแบบคนที่มีชีวิต (อานตอหนา 3)

PABLO PICASSO (1881-1973)

วัดปงสนุก คนตัวเล็กกับการอนุรักษ์ 7Arts Court 9Artist : อาจารย พิศาล ทิพา รัตน 11จิตรกรรม วัด มอน ปู ยักษ 11หัว แม หญิง ลาน นา 11เรียนประวัติศาสตรศิลป์ จากกำแพง 12ภาพจำลอง วัด ภูมินทร อุดมคติ สามัญชน 12C

onte

nts

Page 2: ข่าวหอศิลป์ FINE ARTS Vol 3 November 2008

Editor’sพิพิธภัณฑศิลปะของมหาวิทยาลัยพรินสตัน

ทำความรูจักกับมหาวิทยาลัยพรินสตัน โดยสังเขปมหาวิทยาลัยพรินสตัน (Princeton University) เปนมหาวิทยาลัยเอกชนที่มุงทางดานงานวิจัย ซึ่งมีนักศึกษาชายหญิงเรียนรวมกัน สถาบันอุดมศึกษาแหงนี้เปนหนึ่งในแปดมหาวิทยาลัยที่จัดอยูในกลุม Ivy League (*) แตเดิมไดรับการกอตั้งขึ้นที่ Elizabeth, New Jersey, ในป ค.ศ.1746 ในฐานะที่เปนวิทยาลัย The College of New Jersey, ตอมาไดมีการยายสถานที่ตั้งไปยัง Princeton ในป ค.ศ.1756 และเปลี่ยนชื่อใหมเปนมหาวิทยาลัยพรินสตัน ในป ค.ศ.1896.

(*)The Ivy League is an athletic conference comprising eight private institutions of higher education located in the Northeastern United States. The term is now most commonly used to refer to those eight schools considered as a group. The term has connotations of academic excellence, selectivity in admissions, and a reputation for social elitism.

มหาวิทยาลัยพรินสตันคือสถาบันอุดมศึกษาลำดับที่ 4 ในสหรัฐอเมริกาที่มีชั้นเรียน มหาวิทยาลัยแหงนี้ไมเคยมีความเกี่ยวพันทางดานศาสนาอยางเปนทางการ ซึ่งนับวาหายากมากทามกลางมหาวิทยาลัยตางๆ ของอเมริกันในยุคเดียวกัน แตอยางไรก็ตาม มีครั้งหนึ่งซึ่งมหาวิทยาลัยแหงนี้ไดผูกพันอยางใกลชิดกับศาสนาคริสตนิกายเพรสไบทีเรียน แตทุกวันนี้พรินสตันถือเปนมหาวิทยาลัยที่ไมสังกัดนิกายศาสนาใด และไมเรียกรองตองการเรื่องทางศาสนากับบรรดานักศึกษา

โดยจารีต มหาวิทยาลัยพรินสตันจะเพงความสนใจไปที่การศึกษาระดับปริญญาตรีและงานวิจัยทางวิชาการ แมวาไมกี่ทศวรรษที่เพิ่งผานมานี้ สถาบันแหงนี้ไดใหความเอาใจใสในการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และไดมีการเรียนการสอนระดับมหาบัณฑิตและโครงการดุษฎีบัณฑิตอยางหลากหลายสาขาวิชา. หองสมุดของมหาวิทยาลัยพรินสตันไดครอบครองหนังสือตำราราว 6 ลานเลม ทามกลางคณะวิชาและหนวยงานตางๆ ในมหาวิทยาลัย, สำนักวิจัยตางๆ อยางเชน มานุษยวิทยา, ภูมิฟสิกส(geophysics), กีฏวิทยา, และหุนยนตศาสตร ขณะที่แคมปส Forrestal Campus มีความเชี่ยวชาญและความสะดวกสบายตางๆ ในการศึกษาเกี่ยวกับพลาสมาฟสิกส และอุตินิยมวิทยา

องคกรตางๆ ในมหาวิทยาลัยพรินสตันมหาวิทยาลัยพรินสตันจัดอยูในทามกลางมหาวิทยาลัย

ตางๆ ที่มีความร่ำรวยที่สุด ดวยเงินบริจาคถึง 15.8 พันลานเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งเมื่อจัดลำดับแลวถือวาใหญที่สุดเปนอันดับ 4 ในสหรัฐอเมริกา เมื่อดูจากเงินบริจาคเทียบกับจำนวนนักศึกษา มหาวิทยาลัยพรินสตันถือวาเปนสถาบันอุดมศึกษาที่ไดรับเงินบริจาคมากที่สุดในโลก. อันนี้เปนไปอยางมั่นคงโดยผานการบริจาคตอเนื่องของบรรดาศิษยเกา และไดรับการธำรงรักษาโดยบรรดาที่ปรึกษาการลงทุนตางๆ. ความมั่งคั่งอื่นๆ ของพรินสตันก็คือการลงทุนในพิพิธภัณฑศิลปะของมหาวิทยาลัย ซึ่งไดมีการสะสมภาพผลงานศิลปะของ Claude Monet และ Andy Warhol, ทามกลางบรรดาศิลปนที่โดดเดนคนอื่นๆ

พิพิธภัณฑศิลปะของมหาวิทยาลัยพรินสตันประวัติความเปนมา

ส ำ ห รั บ ก า ร ก อ ตั ว ข อ ง พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ศิ ล ป ะ ข อ งมหาวิทยาลัย พรินสตัน เริ่มขึ้นจากป ค.ศ.1880 อธิการบดี James McCosh (อธิการบดีคนที่ ๑๑ ของมหาวิทยาลัยพรินสตัน สหรัฐอเมริกา) ไดมอบหมายให William C. Prime (รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเดียวกัน ซึ่งสนใจในประวัติศาสตรศิลปะ และทำการสอนมาตั้งแตป 1843) และนายพล George McClellan เพื่อทำรายงานตอคณะกรรมการจัดการทรัพยสิน ในการกอตั้งภาควิชาศิลปะ

William C. Prime มีความเชื่อมั่นอยางเต็มที่วา ผลงานศิลปะที่เปนของแทดั้งเดิม คือแกนสารสำคัญในการสอนวิชาประวัติศาสตรศิลป และดวยเหตุดังนั้น พิพิธภัณฑศิลปะควร ได รับ การ ก อตัว ขึ้น ใน การ เ เป น ตัวต อ หรือ เชื่อมสัมพันธกับภาควิชาศิลปะและโบราณคดี โดยการเพิ่มเติมการสรางพิพิธภัณฑศิลปะนี้ ดวยการทำใหมั่นใจวา การเก็บสะสมเกี่ยวกับเครื่องปนดินเผาและเครื่องลายครามของเขาจะตองไดรับการเก็บรักษาเอาไวในอาคารที่ทนไฟอยางสมบูรณ. (อานตอหนา 10)

รศ.สมเกียรติ ตั้งนโม

กระบวนการกลอมเกลาทางสังคม (socialization) หรือ “การทำใหเปนสังคม” ในแตละภูมิภาคของโลก ถือเปนสิ่งสำคัญในการกำหนดใหเยาวชนที่จะเติบโตขึ้นมาเปนพลังของสังคมในอนาคตวาจะเปนคนเชนไร ทั้งนี้ขึ้นอยูกับสติปญญาหรือวาทกรรมนำ (hegemonic discourse) ของสังคมนั้นๆ วา วางอยูบนฐานคิดและกระบวนทรรศนแบบใด และมีกลไกการปฏิบัติการทำใหเปนรูปธรรมขึ้นมาไดอยางไร?

ขอความในยอหนาแรกนี้ ไดผุดขึ้นมาในใจของผู เขียน เหตุเพราะไดมีโอกาสรวมเปดงานศิลปกรรมเด็กโลก ณ หอศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม กลาวคือ เมื่อตนเดือนตุลาคมที่ผานมา หอศิลปไดมีการจัดแสดงนิทรรศการศิลปกรรมเด็กโลก (โดยมูลนิธิยุวพัฒน) ซึ่งไดรวบรวมและนำเสนอผลงานศิลปะเด็กจากทุกมุมโลกไมนอยกวาหนึ่งพันชิ้น ภัณฑารักษศิลปะ (curator) เด็กปนี้ (ผศ.สมพร รอดบุญ วจศ.มช.) ไดจัดหมวดหมูผลงานเด็กจำนวนมาก โดยการจัดแบงเปนหมวดหมูแตละประเทศ ทำใหเห็นภาพชัดวา…

เมื่อตอนเปนเด็ก เราตางเริ่มตนที่คุณภาพทางศิลปะที่เทาๆ กัน แตกตางเพียงแคเนื้อหาและบริบทแวดลอมของสังคมเทานั้น เดก็เอเชยี ยโุรป และอเมรกิา ไมวาจะมาจากบงัคลาเทศ อนิโดนเีซยี จีน ไทย อังกฤษ อเมริกา ออสเตรเลีย ฯลฯ ตางนำเสนอผลงานและรูปแบบการเขียนภาพที่สะทอนสิ่งใกลตัวอยางอิสระคลายคลึงกัน ฝ ไมลายมือหรือสีสันก็ไมแตกตางกันมากนัก คำถามคือ หลังจากนั้น ทำไมบางประเทศจึงเดินทางไปถึงดวงดาว บางประเทศจึงมีความเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีและอิเล็กทรอนิกส สวนบางประเทศยังคงมีชีวิตเหมือนเดิม

กระบวนการกลอมเกลาทางสังคม เริ่มตนจากบาน วัด โรงเรียน สื่อ สถาบันทางการเมือง และองคประกอบธรรมชาติอื่นๆ ลวนเปนจักรกลใหญในการผลิตคนของสังคม กระบวนการทำใหเปนสังคมเหลานี้ไดคลอดผลผลิตของตนออกมาตามแนวคิดและปรัชญาหลักของสังคม และปนแตงประชากรขึ้นมาใหมีอุปนิสัยใจคอ ความเชื่อ และโลกทัศนที่ผิดแผกจากกัน ในดานหนึ่งสิ่งเหลานี้คือความงดงามในความหลากหลาย สวนในอีกดานหนึ่งสะทอนถึงความยากจน และเปนคนไรสิทธิ์โดยไมคิดทวงถาม, ทำไมถึงเปนเชนนั้น? งานศิลปะเด็กโลกครั้งนี้ฉุดใหเราฉุกคิดในเชิงปฏิกิริยา และกลับมาทบทวนวา “เราจะนำพาปจจุบันไปสูอนาคตอยางไร?”

มหาวิทยาลัยเชียงใหม(มหาวิทยาลัยในกำกับ) โดยการนำของอธิการบดี ศ.ดร.พงษศักดิ์ อังกสิทธิ์ มีนโยบายที่จะทำใหมหาวิทยาลัยใหญในภาคเหนือนี้ มุงสูการเปน World Class University มีการชี้ชวนและใหตระหนักถึงบริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไป(change) และองคาพยพของสถาบันนี้ทุกสวนตองมองเห็นความสำคัญของการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ตองทำกันอยางรวดเร็ว เขมขน และรักษาระดับความแรงและเร็วนี้อยางมั่นคง (Hit first, Hit fast, Hit hard and keep to Hit) เพื่อไปถึงมาตรฐานดังกลาวและยังคงอัตลักษณของตนได ดวยนโยบายเชนนี้ คณะวิจิตรศิลปในฐานะสวนหนึ่งขององคประกอบใหญของสถาบัน รวมถึงหอศิลปที่อยูในการดูแล จึงมุงเปลี่ยนแปลงและนำเสนอกิจกรรมที่ตนถนัดขึ้นมาตอบรับอยางสอดคลอง โดยการริเริ่มกิจกรรมใหมๆ ในการเสริมสรางบรรยากาศของความเปลี่ยนแปลง

เริ่มจากจิตรกรรมฝาผนังขนาดใหญขนาด 15 เมตร 2 ภาพ. ภาพแรกเปนการจำลองจิตรกรรมฝาผนังวัดภูมินทร จังหวัดนาน เพื่อตั้งหลักวาเรามีรากเหงาและอัตลักษณของตนเชนไร สวนภาพที่สองเปนการรวบรวมผลงานปรมาจารยทางดานศิลปะตะวันตก มาจัดองคประกอบไวในภาพเดียวกัน เพื่อสะทอนวาเราเดินทางผานเสนทางอะไรมาบาง (ดูภาพประกอบและคำบรรยายหนาหลัง)และมาจบดวยภาพลอ “I think therefore I am“ (an artist) ในฐานะปจเจกศิลปน. คำกลาวนี้ถือเปนหลักไมลแรกของการเปลี่ยนผานจากยุคศรัทธา(ในศาสนา)ไปสูยุคแหงเหตุผล (the age of Reason) (วิทยาศาสตร) ในโลกตะวันตก เพื่อตองการใหนักศึกษาศิลปะตระหนักวา เมื่อฉันเริ่มคิด ฉันจึงมีอยู(อยางมีความหมาย-ในฐานะศิลปนคนหนึ่ง) ในหวงของการเปลี่ยนผาน

ทั้งหมดที่กลาวมา คณะวิจิตรศิลป ในฐานะกลไกหนึ่งของการประกอบสรางทางสังคมที่ตระหนักถึงสิ่งเหลานี้ ดังนั้นเราจึงสงเสริมศิลปะใหกับเยาวชน โดยมีการเปดอบรมศิลปะเด็กขึ้นเปนประจำทุกปในชวงปดภาคเรียน (ทั้งภาคกลางและภาคปลาย) เพื่อสงเสริมใหเด็กไดแสดงออกอยางอิสระ ไดระบายถายทอดสิ่งที่ตนรู เขาใจ และอยากทำใหปรากฏ ออกมาเปนภาษาภาพ (non verbal) แทนภาษาพูด (verbal). นอกจากนี้ ยังไดมีการจัดประกวดศิลปกรรมเยาวชน 17 จังหวัดภาคเหนือ โดยไดรับการสนับสนุนจาก ปตท.ซึ่งปนี้ถือเปนครั้งที่ 9 แลว ในหัวขอ”หยุดโลกรอนเพื่ออนาคต” (จัดการประกวดวันที่ 8 พฤศจิกายน 2551)

ในสวนของขาวหอศิลปและขาววิจิตรศิลป ฉบับที่ 3 นี้ ทางกองบรรณาธิการไดคัดสรรบทความมานำเสนอโดยเรียงลำดับหัวขอใหสอดคลองกับนโยบายฯ ดังตอไปนี้ เริ่มตนดวย การทำความรูจักกับ “ศิลปะภาพถาย” ซึ่งเปนของโครงการจัดตั้ง” สาขาภาพถาย”สมัยใหม ที่เรงดำเนินการจะเปดใหมีการเรียนการ

สอนในตนปการศึกษา 2552 นี้. ถัดมาเปนการแนะนำใหรูจักกับพิพิธภัณฑศิลปะของมหาวิทยาลัยพรินสตัน สหรัฐอเมริกา อันถือวาเปนหอศิลปในสถาบันอุดมศึกษาที่ดีติดอันดับโลก, ตอมาเปนบทความเกี่ยวกับความรู ศิลปะหลังสมัยใหม ในหัวขอ Relational Art ซึ่งถือวาเปนแนวคิดและนิยามใหมของวงการศิลปะ. หนาหลังเปนเรื่องเกี่ยวกับคอลัมนประจำซึ่งเปนการแนะนำศิลปนอาวุโส ฉบับนี้เปนเรื่องของ อา จาร ยพิศาล ทิพารัตน เขียนโดย เทพศิริ สุขโสภา พรอมทั้งการนำเสนอผลงานวิจัยทางดานศิลปะและกิจกรรมลานวัฒนธรรมตางๆ รวมทั้งงานที่เกี่ยวของกับศิลปะจำนวนมากภายใตการดูแลของคณะวิจิตรศิลป

เรื่องราวทั้งหลายที่ปรากฏอยูในหนังสือพิมพขาวหอศิลป / ขาววิจิตรศิลป ตั้งแตฉบับที่ 3-5 นี้ ไดรับการตีพิมพและเผยแพรสูสาธารณชนได ก็ดวยการสนับสนุนแตเพียงผูเดียวโดย”การไฟฟาฝายผลิต แหงประเทศไทย” (โดยไมมีผลผูกพันหรือการแทรกแซงทางวิชาการใดๆ) ทางคณะวิจิตรศิลป จึงขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้

รศ.สมเกียรติ ตั้งนโม

กอง บรรณาธิการ

PrincetonIntroduction

2 Arts November 2008

Page 3: ข่าวหอศิลป์ FINE ARTS Vol 3 November 2008

PHOTO

นิทรรศการประจำเดือน ตุลาคม-พฤศจิกายน 2551 เดือน นิทรรศการ พื้นที่

OCTOBER 2008 12 1 – 31 ต.ค.51 รักษสิ่งแวดลอมความพอเพียง ชั้น 1 ดานหลัง

13 6 - 31 ต.ค. 51 ศิลปะเด็กโลก ชั้น 1 ดานหนา

14 11 – 18 ต.ค.51 งานวิปัสสนากรรมฐาน (กำหนดการนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลง) หองเล็ก ชั้น 1

15 23 ต.ค. – 23 พ.ย. 51 งานคณาจารย ภาควิชาภาพพิมพฯ คณะวิจิตรศิลป มช. หองเล็กและชั้น 2 ทั้งหมด

NOVEMBER 2008 16 1 - 25 พ.ย.51 ปูนปนแหงประเทศไทย ชั้น 1 ดานหลัง

17 6 -25 พ.ย. 51 งานศิลปกรรมแหงชาติ ครั้งที่ 54 ชั้น 1 ดานหนา

18 24 พ.ย. – 25 ธ.ค. 51 More to Love the art of traveling together โครงการ Art Aids Traveling ชั้น 2 ดานหนาและดานหลัง

19 1-26 ธ.ค. 51 นิทรรศการศิลปกรรม ปตท.ครั้งที่ 23 ชั้น 1 ดานหนาและดานหลัง

20 10 ม.ค. 52 งานศิลปะกับชุมชน เนื่องในวันเด็กแหงชาติ 2552 บริเวณดานนอกหอนิทรรศการฯ

Photography การถายภาพ

จาก Website http://en.wikipedia.org/wiki/Photography

การถายภาพ เปนขั้นตอนและศิลปะในการ บันทึกภาพ สำหรับ คำวา “ภาพถาย” มีความหมาย วาการ จัดการ กับ แสงสวางดวยสื่อที่มีความไวแสง เชน ฟลม หรือ อุปกรณรับแสงประเภทอิเล็กทรอนิกส โดยแสงสวางตามปกติจะเกิดจากการสะทอนจากวัตถุ หรือการกำเนิดแสง

จากวัตถุเอง ทำใหเกิดภาพขึ้นมาไดโดยการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของสารประกอบที่มีความไวแสง(ซิลเวอรฮาไลด)ในสื่อรับแสง หรืออุปกรณสื่ออิเล็กทรอนิคส ในระยะเวลาหนึ่งตามที่กำหนด จากการที่แสงผานจากเลนซกถายภาพ ในอุปกรณที่เรารูจักกันดีคือ “กลองถายภาพ” นั่นเอง ซึ่งจะสามารถเก็บขอมูลภาพเหลานี้ ทั้งในรูปแบบของสารเคมีที่มีการเปลี่ยนแปลงไปหรือในรูปแบบสัญญาณอิเล็กทรอนิก ส การถายภาพนั้นใชประโยชนไดหลายหลาก ไมวาจะเปนดานธุรกิจ, ดานวิทยาศาสตร, ดานศิลปะ และในดานความบันเทิงใจ

คำวา Photography เดิมมาจากภาษาฝรั่งเศสคือคำวา Photographie ซึ่งแทจริงแลวมาจากภาษากรีก ของคำวา phos หมายถึง แสง และ graphis แปลวา รูปรางลักษณะหรือการวาดภาพลายเสน เมื่อ รวมกัน แลวแปล วา “การ วาดภาพ ดวยแสง” ผลิตผล ที่ได จาก การ ถายภาพ มักไดรับการเรียกขานวา Photograph หรือ “ภาพถาย” นิยมเรียกสั้นๆ วา “ภาพ”, “รูป” หรือ “Photo”

ประวัติศาสตรของการถายภาพการถายภาพนั้นเกิดจากการผสมผสานกันระหวางเทคนิคตางๆ

เพื่อใชในการคนควา กอนที่ภาพถายภาพแรกจะถูกสรางขึ้น กลาวคือ Ibn al - Haytham หรือ Alhazen ค.ศ. 965 -1040 ไดคิดคน กลองถายภาพที่เกิดจากการสะทอนภาพผานกระจก เรียกวา camera obscura (ดูภาพประกอบ) โดยการเจาะรูเล็กๆ ที่ผนังหองใหแสงผานเขามาตกกระทบที่กระจก แลวฉายภาพไปยังฉากรับภาพซึ่งเปนกระดาษ และตอมาไดมีการคิดคนกลองรูเข็ม (Pinhole camera) ขึ้นมา

จากนั้น อัลเบอรตัส แมกนัส (Albertus Magnus) ค.ศ. 1193-1280 ไดคนพบสารซิลเวอรไนเตรต ภายหลังตอมาจอรจ ฟาบริเซียส(George Fabricius) ไดคนพบสารซิลเวอรคลอไรด และ แดเนียล บารบาโร(Daniel Barbaro) ไดอธิบายถึงเรื่องของไดอะแฟรม. ในป ค.ศ.1568 วิลเฮลม ฮอมเบิรก (Wilhelm Homberg) ไดอธิบายถึงการที่แสงสามารถทำใหสารประกอบบางชนิดเปลี่ยนเปนสีดำได ซึ่งเรียกวาปฏิกิริยาโฟโตเคมิคอล (Photochemical effect) ในป ค.ศ. 1694 ในหนังสือ Giphantie ของ Tiphagne de la Roche ไดกลาวถึงความหมายของสิ่งที่เรียกวา การถายภาพ

การถายภาพในดานของขั้นตอนที่สามารถใชงานไดจริง ตองยอนกลับไปในยุค 1820 ยุคของการพัฒนาการถายภาพดวยสารเคมี ภาพถายที่สามารถเก็บบันทึกไดแนนอนใบแรกนั้น ถูกสรางขึ้นในป ค.ศ.1826 โดยนักประดิษฐชาวฝรั่งเศสนามวา Nicephore Niepce อยางไรก็ตาม ภาพใบแรกนี้ตองใชเวลาในการเปดรับแสงถึง 8 ชั่วโมง จากนั้นเขาจึงพยายามหาวิธีการใหม โดยทำงานรวมกับ Louis Dagurre โดยไดใชสารประกอบซิลเวอร ที่ Johann Heinrich Schultz คนพบในป ค.ศ. 1724 ซึ่งพบวา สารประกอบซิลเวอรและชอลก สามารถเปลี่ยนเปนสีดำไดเมื่อทำปฏิกิริยากับแสงสวาง ตอมาจึงมีการพัฒนารูปแบบการถายภาพที่พวกเขาไดรวมกันสรางขึ้นมา ที่เรียกวา

Daguerreotype ในป 1837. ซึ่งการถายภาพวิธีนี้ ไดถูกนำมาใชทางการคาเปนครั้งแรก

ขณะเดียวกัน Hercules Florence ไดคิดคนวิธีการที่ใกลเคียงกันนี้ขึ้นมาในป ค.ศ.1832 เรียกวา Photographie และ William Fox Tablot ไดคนพบวิธีการแกไขปญหาการถายภาพดวยสารซิลเวอร แตก็ปดเงียบไว หลังจากที่อานผลงานการคิดคนของ Daguerre ซึ่ง Tablot สามารถลดระยะเวลาของขั้นตอนการถายภาพบุคคล ดวยสารประกอบซิลเวอรได จากนั้นในป ค.ศ. 1840 Tablot ไดคิดคนวิธีการถายภาพแบบ Calotype ขึ้น โดยใชสารประกอบ Silver iodide เคลือบบนแผนกระดาษ ทำใหเกิดการถายภาพแบบเนกาทีฟขึ้น

ในเวลาตอมา John Herschel ไดสรางสวนผสมตางๆ เพื่อใชในกรรมวิธีใหมของเขาที่เรียกวา วิธี cyanotype ทำใหภาพที่ไดดวยวิธีนี้ มีสีน้ำเงิน ซึ่งในปจจุบันเรียกวา Blueprint นับวาเขาเปนคนแรกที่ใชคำวา Photography, negative และ positive ซึ่งเขาไดคิดคนสารโซเดียมไทโอซัลเฟตในการทำละลายสารประกอบซิลเวอรฮาไลด ในป 1819 และไดบอก Tablot และ Daguerre เรื่องวิธีการแกไขภาพถายและทำใหภาพถายนั้นคงทน ซึ่งเขาไดสรางภาพถายเนกาทีฟบนกระจกในป 1839. เวลาตอมาในเดือนมีนาคม ป ค.ศ.1851, Frederick Scott Archer ไดเผยแพรการคนพบของเขา

“The Chemist” บนแผนกระจกเปยกที่ถายภาพขึ้นดวยวิธี Collodion โดยใชสารประกอบไนโตรเซลลูโลสที่ละลายในตัวทำละลายที่ระเหยไดเร็ว เชน อีเทอรหรืออะซีโตน โดยวิธีนี้สามารถใชระยะเวลาในการถายภาพที่สั้นกวาแบบเดิม ซึ่งในกาลตอมา เปน วิธีการ ที่ นิยมใช กัน มาก ในชวง ค .ศ . 1852 และ 1880

ในชวง ตอมา เมื่อแผนเพลทแหงมีการคิดคนขึ้น ไดมีการแบงชนิดของ Collodion เปนอีก 3 แบบคือ Ambrotype (ภาพ Positive บนกระจก) ,

Ferrotype (ภาพ Positive บนโลหะ) (อานตอหนา 4)

Faculty of Fine Arts Chiang Mai University

Arts November 2008 3

ภาพถายในบริบทของศิลปะกอง บรรณาธิการ

Princeton

Page 4: ข่าวหอศิลป์ FINE ARTS Vol 3 November 2008

ART MUSEUMความเปนมาเกี่ยวกับพิพิธภัณฑศิลปะ

และ ภาพเนกาทีฟที่ พิมพ ลงบน กระดาษ ที่ เคลือบ เกลือ หรือ ไขขาว ซึ่ง การ ถายภาพ นั้นไดมีการ พัฒนา มา เรื่อย ๆ จนกระทั่ง ไดมีการ คิดคน ฟลมถายภาพ ขึ้น เพื่อใชแทนเพลท สำหรับ ถายภาพ

ในป ค.ศ. 1884, จอรจ อีสทแมน (George Eastman) ไดมีการพัฒนาเทคโนโลยีที่ใชในกลองถายรูปแบบฟลมในปจจุบัน และในป ค.ศ. 1908 กาเบรียล ลิปแมน (Gabriel Lippman) ไดรับรางวัลโนเบล ในสาขาฟสิกส ดวยการผลิตภาพถายสี บนแผนกระจกที่เคลือบสารเคมีไว ที่เรียกวา Lippman plate

การถายภาพในรูปแบบของงานศิลปะในคริสตศตวรรษที่ 20 ทั้งภาพถายที่เปนศิลปะและภาพถาย

สารคดี ไดเปนที่ยอมรับใน ขอบขายงานศิลปะของคนที่ใช ภาษาองักฤษทัว่โลก และระบบหอศลิปในสหรฐัอเมรกิา ซึง่ชางภาพหลายคนอยาง Alfred Stieglitz, Edward Steichen, John Szarkowski, F.Holland Day และ Edward Weston ใชเวลาในชีวิตของพวกเขาในการถายภาพเพื่อใชเปนงานศิลปะ โดยเริ่มแรกนั้น ศิลปนที่สรางสรรคภาพถายใหเปนงานศิลปะ มักจะนิยมถายภาพใหมีลักษณะใกลเคียงกับภาพวาด การถายภาพในลักษณะนี้เรียกวา Pictorialism โดยการใชซอฟทโฟกัสเพื่อใหภาพออกมาในรูปลักษณะคลายกับความฝนและดูโรแมนติก

ตอมา เวสตัน และ แอนเซล อดัม (Ansel Adam)และชางภาพคนอื่นๆ ไดกอตั้งกลุมของตนขึ้นมาชื่อ f/64 เพื่อสนับสนุนการถายภาพแบบตรงๆ หรือ “Straight photography” ภาพถายที่ไดจะมีลักษณะเปนตัวของมันเอง ซึ่งจะไมเปนการเลียนแบบสิ่งอื่นใด ความ งาม ของ ภาพถาย นั้นเป น สิ่งที่สามารถ นำ ไปพูดคุยกันไดโดยทั่วไป โดยเฉพาะในวงการศิลปะ ศิลปนทั้งหลายที่ถกเถียงกันในเรื่องที่เกี่ยวกับภาพถายนั้น เปนเพราะวาภาพถายเปนการสรางสรรคภาพขึ้นมาใหม และเมื่อภาพถายเปนงานศิลปะขึ้นมาแลว จึงตองมีการนิยามความหมายของงานนั้น เพื่อใหทราบถึงสิ่งที่ศิลปนตองการสื่อสารออกมาจากภาพถาย

โดย Clive Bell (นักสุนทรียศา สตร) ไดเขียนไวในบทความของเขาเรื่อง “รูปที่มีความหมาย” นั้น โดยการแยกแยะสิ่งที่เปนศิลปะออกจากสิ่งที่ไมเปนศิลปะวา อยางนอยที่สุด ภาพถายที่เปนศลิปะ “จะตองมีคณุสมบตัิอยางนอย 1 อยาง ที่สิง่ซึง่ไมใชภาพถายศิลปะ จะไมสามารถมีคุณสมบัตินั้นอยู. คำถามตอมาเปนเรื่อง อะไรคือคุณภาพของศิลปะภาพถาย? และคุณภาพรวมกันอะไรที่ไดทำใหเรามีอารมณอันสวยสดงดงาม? คุณภาพอะไรที่จะทำใหเรารูสึกเหมือนกัน?

ยกตัวอยางเชน ผลงาน Sophia and the windows at Chartres, รูปปนของเม็กซิกัน, ถวยชามของชาวเปอรเซีย, งานชิ้นเอกของ Poussin, Piero della Francesca และ Cenzanne ซึ่งผลงานเหลานี้มีเพียงคำตอบเดียวที่เปนไปได นั่นคือ มันบรรจุรูปทรงที่มีความหมาย ในแตละเสนและสีที่ผสมผสานกันในหลายลกัษณะที่ตางกนั รปูแบบที่แนนอนและความสมัพนัธกนัของรปูทรง ที่จะกอใหเกิดความรูสึกทางดานสุนทรียภาพ”

ภาพประกอบ Camera Obscura

หอง แสดง งานศิลปะ หรือ พิพิธภัณฑ ศิลปะ ใน โลก ตะวันตก คือ พื้นที่ สำหรับ จัด นิทรรศการ ศิลปะ ปกติ แลว เปน ผลงาน ทาง ดาน ทัศนศิลป ยกตัวอยาง เชน งาน จิตรกรรม ประติมากรรม และ ภาพพิมพ แต อยางไร ก็ตาม งาน ภาพถาย ภาพประกอบ และ ผล งานศิลปะ แบบ ติดตั้ง ที่ เรียกวา installation art และ วัตถุ ตางๆ ทาง ดาน งาน ประยุกต ศิลป อาจ ไดรับ การนำ ออก แสดง เชน เดียวกัน แมวา โดย ทางการ แลว พิพิธภัณฑ ศิลปะ จะ ให ความ เอาใจใส ตอ การ จัด เตรียม พื้นที่ เพื่อ นำเสนอ ผลงาน ทาง ทัศนศิลป แต บางครั้ง ก็ ถูก ใช เปน สถาน ที่รองรับ กิจกรรม ทาง ดาน ศิลปะ อื่นๆ ดวย อยาง เชน การ แสดงดนตรี หรือ การ อาน บทกวี เปนตน

ประเภท ของ หอง แสดง งานศิลปะ (Types of galleries)ศัพท คำ นี้ ถูก ใช ทั้ง ใน สวน ของ หอง แสดง งานศิลปะ ที่ เปน สาธารณะ (public galleries) เชน พิพิธภัณฑ ตางๆ เพื่อ แสดงผล งานศิลปะ

สะสม ที่ ไดรับ การ เลือกสรร และ หอง แสดง งานศิลปะ สวนตัว (private galleries) ซึ่ง หมายถึง ธุรกิจ การ ขาย งานศิลปะ แต อยางไร ก็ตาม หอง แสดง งาน ทั้งสอง ประเภท อาจ ใช เปนพื้น ที่รองรับ นิทรรศการ ชั่วคราว และ รวมถึง ผล งานศิลปะ ที่ หยิบยืม มาก จาก ที่อื่นๆ ได

หอง แสดง งานศิลปะ ใน พิพิธภัณฑ (Galleries in Museums)หอง ตางๆ ใน พิพิธภัณฑ ซึ่ง ถูก จัดให แสดงผล งานศิลปะ แก สาธารณชน บอยครั้ง มัก หมาย รวมถึง หอง แสดง งาน ตางๆ ที่ ถูก อุทิศ ให

กับ ผล งานศิลปะ ใน ยุค อียิปต โบราณ ซึ่ง เรียกวา หอง อียิปต (Egypt Gallery) เปน ตัวอยาง

หอง แสดง งาน ศิลปกรรม รวมสมัย (Contemporary Art Gallery)ศัพท คำ วา contemporary art gallery (หอง แสดง งาน ศิลปกรรม รวมสมัย) ปกติ แลว ใน โลก ตะวันตก หมายถึง หอง แสดงผล งานศิลปะ

สวนตัว ที่ เนน ใน เรื่อง การ พาณิชย หอง แสดง ภาพ เหลานี้ ไดรับ การ สรางขึ้น รวมอยู ใน กลุม ณ ศูนยกลาง ของ เมือง ขนาดใหญ ยกตัวอยาง เชน The Chelsea district ของ มหานคร นิว ยอรค ไดรับ การ พิจารณา ใน ฐานะ ที่ เปน ศูนยกลาง ของ ศิลปกรรม รวมสมัย โลก. สวนใน ชุมชน ขนาดเล็ก อาจ มี หอง แสดง งานศิลปะ ทำนอง นี้ เชนกัน อันเปน สถานที่ พบปะ ชุมนุมกัน ของ บรรดา ศิลปน ทั้งหลาย

โดย ปกติ แลว หอง แสดง งาน ศิลปกรรม รวมสมัย จะ เปด ให ผูคน เขา ชม โดย ไม เก็บ คาบริการ ใดๆ แต อยางไร ก็ตาม บาง สถานที ่ก็ เปน หอง แสดง งานศิลปะ กึ่ง สวนตัว. หอง แสดงผล งานศิลปะ เหลานี้ มี วิธีการ ทำกำไร ดวย การ ลดราคา ผล งานศิลปะ บางครั้ง 25-50 เปอรเซ็นต. นอกจากนี้ ยังมี หอง แสดงผล งานศิลปะ จำนวน มาก ที่ มิได ทำ เพื่อ หวัง ผลกำไร เพียง เปน หอง รวบรวม และ แสดง งานศิลปะ บาง หอง แสดง ภาพ ผล งานศิลปะ ใน เมืองใหญๆ อยาง โตเกียว จะ เก็บ คา เขา ชม จาก ศิลปน ทั้งหลาย ดวย อัตรา ตายตัว ตลอด ทั้งวัน แม วาการ ทำ เชนนี้ จะ ไม เปน ที่พึงพอใจ ใน ตลาด ศิลปะ ตางๆ ระดับ นานาชาติ ก็ตาม. หอง แสดง งานศิลปะ บอยครั้ง จะ แขวน งานศิลปะ ของ ศิลปน แสดง เดี่ยว สวน ภัณฑารักษ มักจะ นำเสนอ ผลงาน แสดง ของ ศิลปน เปนกลุมๆ ซึ่ง บรรดา ศิลปน เหลานั้น ได พูดถึง บางสิ่ง บางอยาง ใน แนวทาง เดียวกัน

งาน ทัศนศิลป ที่ ไม นิยม นำเสนอ ใน หอง แสดง งานศิลปะ (Visual art not shown in a gallery)ผลงาน บน กระดาษ อยาง เชน งาน วาดเสน และ งาน ภาพพิมพ ของ บรรดา ศิลปน ระดับ ปรมาจารย ปกติ แลวจะ ไม ถูก เลือก โดย

ภัณฑารักษ ทั้งหลาย ให จัดแสดง ดวย เหตุผล เกี่ยวกับ การ อนุรักษ และ ผลงาน ที่ กลาว ถึง เหลานี้ จะ มี การ สะสม และ จัดแสดง ใน หอง ภาพพิมพ ใน พิพิธภัณฑ ตางๆ อยู แลว. และ โดย ทั่วไป งาน จิตรกรรม ฝาผนัง ยังคง ไดรับ การ เขียน อยู แมวา จำนวน มาก ของ ผลงาน ประเภท นี้ จะ ไดรับ การ เคลื่อน ยาย ไปยัง หอง แสดง ภาพ ตางๆ รูปแบบ อัน หลากหลาย ของ ผลงาน ใน คริสตศตวรรษ ที่ 20 ตัวอยาง เชน land art (ศิลปะ ที่ สรางสรรค ขึ้น บน พื้นดิน) และ performance art (ศิลปะ การ แสดง ที่ แสดง โดย ศิลปน – ไมใช โดย นัก แสดง) ปกติ แลว จะ ถูก นำเสนอ อยู นอก หอง แสดงผล งานศิลปะ

นอก จากที่ กลาว มาแลว นี้ ยังมี สถานที่ แสดงผล งานศิลปะ เรียกวา “สวน ประติมากรรม” (sculpture garden or sculpture park), ซึ่ง นำ เสนองาน ประติมากรรม ที่ นอก ตัวอาคาร ผลงาน ประติมากรรม แบบ ติดตั้ง (Sculpture installation) ปจจุบัน ดูเหมือนจะ ไดรับ ความ นิยม สูง และ มี การ นำเสนอ เพียง ชั่วคราว ระหวาง การ แสดง นิทรรศการ คลาย กับ งาน เฉลิมฉลอง ตางๆ

ทา เตน แปลกๆ แตง ตัวประหลาดๆ เสียงรอง เหนอๆ เหลานี้ คือ เอกลักษณ ของ”ลูกทุง วิจิตรศิลป” ที่ บรรดา นักศึกษา ทุก ชั้นป รวมทั้ง บรรดา ศิษยเกา และ คณาจารย คณะ วิจิตรศิลป ได มา ชวยกัน สราง ความ บันเทิง ให กับ สังคม ตามที่ ตน”ไมถนัด แต สรางสรรค” กิจกรรม นี้ เนื่องจาก ไมใช เรื่อง ที่ ตน ร่ำเรียน มา จึง มี การ ซักซอม กัน อยาง หนัก ทั้ง การ เลียนแบบ เงา เสียง ของ อดีต ลูกทุง คน ดัง การ ตระเตรียม ใน เรื่อง ฉาก และ เสื้อผา รวมถึง ชุด การ แสดง ตางๆ หลาย เดือนกอน วัน งาน แมวา จะ ไม ลงทุน เปน ลาน แต ความ ทุมเท แบบ สุดๆ ที่ มี รวมกัน ระหวาง ครู อาจารย นักศึกษา ศิษยเกา กลาว ได วา มี คา เกิน คำ บรรยาย กิจกรรม นี้ เปนการ ฝกปรือ ให รูจัก ทำงาน รวมกัน รูจัก แกปญหา เฉพาะหนา อัน ไหน ที่ แก ได ดวย ตรรกะ ก็ แก กัน ไป สวน อะไร ที่ แกไข ไมได ดวย หลัก เหตุผล (ฟา ฝน ไม เปนใจ) ก็ ตอง จุด ธูป กัน. นับ ได วา ลูกทุง วิจิตรศิลป ป 51 นี้ (1 พฤศจิกายน) ทำให หลาย ฝาย สะบักสะบอม กัน ไป แต อยางไร ก็ตาม บัตร ลูกทุง ขาย หมด กอน งาน ไปแลว กวา สอง สัปดาห ทำให พอ มี กำไร และ เงิน เหลือ จาก กิจกรรม หลัง คา ใชจาย นี้ ทีม ลูกทุง วิจิตรศิลป มี โครงการ ที่จะ สราง หอง ดนตรี และ ซื้อ เครื่องดนตรี เพื่อ การ เตรียม งาน ที่ ยิ่งใหญ ตอไป ใน อีก 2 ป ขางหนา หวัง วา คงจะ ได พบกัน อีก

ลูกทุงวิจิตรศิลป Designed by : Faculty of Fine Arts Chiang Mai University

กอง บรรณาธิการ

ภาพถายในบริบทของศิลปะ ตอจากหนา 3

4 Arts November 2008

Page 5: ข่าวหอศิลป์ FINE ARTS Vol 3 November 2008

ART MUSEUM

ครอบครัวของปคาสโซไดยายไปอยูที่ La coruna ในป ค.ศ.1891 ซึ่งที่นั่น พอของเขาไดรับตำแหนงศาสตราจารยและทำการสอนอยูที่สถาบันศิลปะ พวกเขาใชชีวิตอยูที่นั่นราว 4 ป. ในชวงที่พำนักอยูที่นั่น พอของเขาคนพบวา งานจิตรกรรมภาพสเก็ตซรูปนกพิราบของบุตรชายเหนือกวาฝมือของเขา โดยสังเกตอยางถี่ถวนในดานเทคนิคของลูกชาย เขารูสึกวาปคาสโซในวัย 13 ขวบไดล้ำหนาไปกวาเขามาก และดวยเหตุดังนั้น เขาจึงปฏิญาณตนเลิกเขียนรูปอีกตอไป

เขาศึกษาในโรงเรียนศิลปะในป ค.ศ.1895 นองสาววัย 7 ขวบของปคาสโซ, Conchita

ถึงแกกรรมดวยโรคคอตีบ ซึ่งเปนเหตุการณที่ไดสรางความเจ็บปวดรวดราวตอจิตใจแกปคาสโซเปนอันมาก จากนั้นครอบครัวก็ไดยายไปอยูที่บารgg เ เ เเเซ โลนา (Barcelona), พอของเขาไดงานที่สถาบันสอนศิลปะ ในขณะที่ปคาสโซเจริญเติบโตในเมืองใหญนี้ ซึ่งเปนหวงที่เขาตกอยูในภาวะเศราโศกและการหวนหาอดีตอันมีความสุขเกี่ยวกับบานเดิมของตน พอของเขาไดโนมนาวใหบรรดาเจาหนาที่ยินยอมใหบุตรชายเขาสอบในชั้นเรียน ซึ่งปกติแลวกระบวนการนี้ นักศึกษาตองใชเวลาประมาณหนึ่งเดือน แตปคาสโซใช เวลา เพียงแค สัปดาห เดียว เท านั้น คณะกรรมการ รู สึกประทับใจมากและยินยอมรับปคาสโซใหเขาเรียน ซึ่งขณะนั้นเขาอายุเพียง 13 ปเทานั้น

ปคาสโซในฐานะนักศึกษา แตขาดเสียซึ่งวินัย อยางไรก็ตาม เขาไดสรางมิตรภาพเอาไวมากซึ่งมีผลกับชีวิตของเขาตอมาในภายหลัง พอของเขาไดเชาหองเล็กๆ ใหแกเขาหองหนึ่งซึ่งไมไกลจากบาน ดังนั้นปคาสโซจึงสามารถทำงานไดลำพังตนโดยไมมีใครรบกวน พอของเขายังคงจับตาเขาตลอดเวลา คอยวิพากษวิจารณงานวาดเสนของเขา ทั้งคูตางถกเถียงกันอยูเสมอ

ลุงและพอของปคาสโซตัดสินใจที่จะสงเขา ในฐานะศิลปนรุนเยาวไปยังแมดริด ที่ Royal Academy of San Fernando, ซึ่งถือวาเปนโรงเรียนสอนศิลปะที่กาวหนาของประเทศ. ในป 1897 ปคาสโซอายุได 16 ป และเริ่มออกเดินทางดวยตัวเอง กระนั้นก็ตาม การยอมรับไดยากของเขาตอระบบการเรียนการสอนอยางเปนทางการ

ทำใหเขายุติการเขาชั้นเรียนหลังจากลงทะเบียน แตอยางไรก็ตาม แมดริดไดสรางความสนใจใหในหลายๆ ดาน อาทิเชน ผลงานจิตรกรรม The Prado housed paintings โดยศิลปนที่นานับถือ อยาง Diego Velazquez, Francisco Goya, และ Francisco Zurbaran. โดยเฉพาะอยางยิ่ง ปคาสโซชื่นชมในผลงานของ El Greco; ไมวาจะเปนปจจัยองคประกอบตางๆ อยางแขน ขา ลำตัวที่ยืดออก, สีสันที่ดึงดูดความสนใจ, ลักษณะใบหนาที่ดูลึกลับ ที่ตอมาไดสะทอนอยูในภาพผลงานของปคาสโซ

ชีวิตสวนตัวของปคาสโซ (Personal life)หลังจากเรียนศิลปะที่แมดริด ปคาสโซไดเดินทางไปยังกรุง

ปารีส ครั้งแรกในป ค.ศ.1900 ซึ่งชวงเวลาดังกลาว ปารีสถือเปนเมืองหลวงทางดานศิลปะของยุโรป. ณ ที่นั้น เขาไดพบกับเพื่อนที่เปนชาวปารีส นักหนังสือพิมพและกวี นาม Max Jacob, ซึ่งชวยปคาสโซเรียนรูดานภาษาและวรรณกรรม ในไมชาพวกเขาก็แบงปนหองเชาในอพารทเมนทแหงหนึ่ง. แม็กซนอนในตอนกลางคืน ขณะที่ปคาสโซนอนตอนกลางวัน และทำงานในตอนกลางคืน. หวงเวลาดังกลาวเปนชวงที่ยากจนขนแคนอยางสุดๆ สภาพอากาศหนาวเย็นและสิ้นหวัง. ผลงานของปคาสโซจำนวนมากไดถูกเผาเพื่อแลกกับความอบอุนในหองเล็กๆ

แมดริดในป 1901 นั้น เปนปที่ปคาสโซและเพื่อนซึ่งฝกใฝแนวคิดอนาธิปไตย นามวา Francisco de Asís Soler ไดกอตั้งนิตยสาร Arte Joven (Young Art), ซึ่งไดมีการตีพิมพออกมา 5 ฉบับ. Soler ทำหนาที่ เปนคนหาบทความมาลง สวนปคาสโซทำหนาที่เขียนภาพประกอบนิตยสาร สวนใหญเปนรูปการตูนที่ดูขึงขัง ซึ่งบงถึงและแสดงความเห็นอกเห็นใจภาวะของผูยากไร นับจากวันเวลานั้น เขาเริ่มเซ็นชื่อผลงานของตนเองวา Picasso เฉยๆ, ขณะที่กอนหนานี้ เขาจะลงชื่อในภาพเขียนวา Pablo Ruiz y Picasso.

ชีวิตรัก และการตกเปนจำเลยขโมยภาพโมนาลิซาในชวงตนคริสตศตวรรษที่ 20 ปคาสโซไดแบงเวลาของเขา

ระหวางบารเซโลนาและปารีส. ในป 1904 ในชวงระหวางกลางของความโกลาหล เขาไดพบกับ Fernande Olivier, ศิลปนโบฮีเมียนซึ่ง

ตอมากลายเปนภรรยาลับ ภาพของ Olivier ปรากฏอยูในผลงานจิตรกรรมยุคกุหลาบ (Rose period paintings) ของเขา. หลังจากประสบกับความมีชื่อเสียงและโชคลาภ ปคาสโซไดละจากโอลิเวียร ไปสู Marcelle Humbert, ซึ่งเขามักจะเรียกเธอวา Eva. ปคาสโซ ไดประกาศถึงความรักของเขาที่มีตออีวา ในงานคิวบิสมหลายๆ ภาพของตน

ในปารีส, ปคาสโซรับรองแขกซึ่งเปนเพื่อนกลุมเล็กๆ ที่โดดเดนและสนใจเรื่องเดียวกันในที่พัก Montmartre และ Montparnasse เพื่อนของเขาประกอบดวย Andre Breton, นักกวี Guillaume Apollinaire, นักเขียน Alfred Jarry, และ Gertrude Stein. สำหรับ Apollinaire ตอมาถูกจับกุมในฐานะตกเปนผูตองสงสัยในการ ขโมยภาพ Mona Lisa จากพิพิธภัณฑ Louvre ในป ค.ศ. 1911. Apollinaire ไดชี้ไปยังเพื่อนของเขาปคาสโซ, ซึ่งไดถูกนำตัวมาสอบสวนดวยเชนกัน แตภายหลังทั้งคูหลุดพนจากขอกลาวหา และไดรับการปลอยตัว

เขายงัคงมีความสมัพนัธกบัภรรยาลบัหลายคนไว ทัง้ที่ยงัคงอยูกับภรรยาของเขาคนเดิม ปคาสโซไดแตงงานเปนครั้งที่สองและมีลูกดวยกัน 4 คนโดยสามคนเปนหญิง ในชวงฤดูรอนของป 1918 ปคาสโซไดแตงงานกับ Olga Khokhlova ซึ่งเปนนักเตนบัลเลตหญิงรวมกับคณะของ Sergei Diaghilev สำหรับเธอแลว ปคาสโซกำลงัออกแบบภาพเกีย่วกบับลัเลต, ในชือ่ภาพ Parade, Khokhlova ไดแนะนำปคาสโซกับสังคมชนชั้นสูง นำเขาออกงานดินเนอรอยางเปนทางการ และงานสังคมของพวกคนรวยในชวงทศวรรษที่ 1920 ของปารีส. ทั้งคูมีบุตรดวยกันคนหนึ่ง ชื่อ Paulo ซึ่งเจริญเติบโตขึ้นเปนนักแขงมอเตอรไซคที่คอนขางทำตัวเหลวแหลก และทำหนาที่เปนคนขับรถใหพอของเขา. นอกจากความสัมพันธที่มีตอ Olga Khokhlova แลว ปคาสโซยังมีความสัมพันธกับผูหญิงอื่นๆ อีกหลายคนในประวัติชีวิตของเขา แมกระทั่งกอนที่เขาจะถึงแกกรรม

ปคาสโซกับสงครามโลกครั้งที่ 2 ในชวงระหวางสงครามโลกครั้งที่ 2 ปคาสโซยังคงพำนักอยูใน

ปารีส ขณะที่ฝายเยอรมันเขายึดครองเมืองนี้ สไตลการทำงาน (อานตอหนา 10)

Arts November 2008 5

ปา โบล ปคาส โซ ตอจากหนา 1

Page 6: ข่าวหอศิลป์ FINE ARTS Vol 3 November 2008

Lanna AESTHETICSNicolas Bourriaud: “จากสุนทรียศาสตรเก่ียวเน่ือง ถึง ยุคสมัยใหมท่ีเปล่ียนไป”(From Relational Aesthetics” to “Altermodern”)

“บทบาทของผลงานศิลปะ ไมไดทำหนาที่สรางจินตนาการความจริงหรือเรื่องราวในแบบยูโธเปยอีกตอไป อันที่จริง มันคือวิถีทางของการดำรงอยูและแบบจำลองเชิงปฏิบัติในความจริงที่มีอยู ในสเกลตางๆ ที่ถูกเลือกสรรโดยตัวศิลปน”

“ศิลปะสัมพันธ” (Relational Art) ไดถูกนิยามโดย Nicolas Bourriaud ในฐานะ “ชุดหนึ่งของปฏิบัติการทางศิลปะ ซึ่งเขาใจวาประเด็นทางทฤษฎีและปฏิบัติของพวกเขามาจากสัมพันธภาพระหวางมนุษยดวยกันและบริบททางสังคมของพวกเขา คอนขางมากกวาจะเปนพื้นที่อิสระและเปนสวนตัว”.

Nicolas Bourriaud เกิดในป ค.ศ. 1965 ที่ประเทศฝรั่งเศส เขาเปนภัณฑารักษ นักปรัชญา และนักวิจารณศิลปะ นับจากป 1999 ถึง 2006 เขาเปนผูอำนวยการรวมของ the Palais de Tokyo ในปารีส กับ Jerome Sans นอกจากนี้เขายังเปนผูกอตั้งและผูอำนวยการนิตยสาร Documents sur l’art (1992-2000), ผูรวมกอตั้ง La revue perpendiculaire (1995-1998) และนักขาวของนิตยสาร Flash Art (1987-95 ในปารีสดวย

ในป ค.ศ. 2008, Bourriaud เขาเปนผูรวมกอตั้งนิตยสาร Stream รวมกับนักวิจารณศิลปะ Christophe Le Gac (Archistorm, Monographik). ในฐานะนักวิจารณศิลปะ Bourriaud ไดเขียนบทวิจารณเกี่ยวกับนิทรรศการและศิลปะการแสดงตางๆ ระดับนานาชาติอันมีชื่อเสียงจำนวนมาก เชน Aperto (Venice Biennale, 1993), Traffic (Capc Bordeaux, 1995), Joint Ventures, (Basilico Gallery, New York, 1996), Touch (San Francisco Art Institute, 2002), GNS and Playlist (Palais de Tokyo, 2002 and 2003), และยังเปนภัณฑารักษรวมของ Lyon Biennale (2005) และ Moscow Biennales (2005 and 2007) ดวย

ในชวงปดังกลาวเขายังไดเปนภัณฑารักษนิทรรศการ Strates ใน Murcia (ประเทศสเปน) ซึ่งปฏิเสธที่จะไดรับการเรียกขานวา biennale (การแสดงศิลปะที่เกิดขึ้นเปนประจำทุกๆ สองป) ซึ่งหมายความวา ปจจุบันมันเปนวลีสำเร็จรูปที่ออนระโหยโรยแรงเต็มที. สำหรับนักวิจารณนิทรรศการครั้งนี้เปนเชนเดียวกันกับ the Playlist exhibition, ที่จัดเปนหนึ่งในผลงานที่ดีที่สุดของเขา

เมื่อตอนที่ Bourriaud ระบุถึง “ศิลปะสัมพันธ” (Relational Art) ในฐานะที่เปนขบวนการศิลปะที่ปรากฏตัวขึ้นมา เขายังแสดงใหเห็นดวยวา อาชีพของเขาไดสะทอนถึงการเจริญเติบโตของภัณฑารักษ ในฐานะที่มีอิทธิพลโดดเดนตอวาทกรรมศิลปะรวมสมัยในชวงทศวรรษที่ 1990s. แนวคิดเกี่ยวกับ”ศิลปะสัมพันธ”(Relational Art) โดยกวางๆ ไดรับแรงบันดาลใจจากผลงานของศิลปนรวมสมัยจำนวนมาก ยกตัวอยางเชน Jacques Lennep, Fred Forest หรือ Herve Fischer. Jacques Lennep ไดสรางสรรค «the CAP group», ในป 1972 ที่ Bruxelles. Fred Forest และ Herve Fischer กอตั้ง «the collective of sociological art» รวมกับ Jean-Paul Thenot, ในเดือนตุลาคม 1974.

ในป ค.ศ. 1995, Nicolas Bourriaud ไดประดิษฐศัพทคำวา”สุนทรียศาสตรสัมพันธ”(Relational Aesthetics) ซึ่งเขาไดสรุปสาระสำคัญเอาไวในตัวบทของสูจิบัตรงานนิทรรศการ Traffic ที่ไดถูกนำออกแสดงที่ CAPC พิพิธภัณฑรวมสมัยใน Bordeaux. Traffic, ประกอบดวยบรรดาศิลปนที่ Bourriaud ไดกลาวถึงอยางตอเนื่องตลอดชวงทศวรรษที่ 90s, ยกตัวอยางเชน Liam Gillick, Rikrit Tiravanija, Philippe Parreno, Pierre Huyghe, Carsten Holler, Christine Hill, Vanessa Beecroft, Maurizio Cattelan และ Jorge Pardo. หลังจากรวมเขากับบทความจำนวนมากของเขาในหัวขอนี้ โดยใชผลงานของบรรดาศิลปนและกิจกรรมตางๆ ที่ไดรับการคัดเลือก เขาไดพัฒนาความคิดเกี่ยวกับ “ศิลปะสัมพันธ” (Relational Art หรือ relationalism) ขึ้นมาในป 1998 ในหนังสือของเขาชื่อ Esthetique Relationnelle ที่ไดรับการแปลเปนภาษาอังกฤษในป 2002 (Relational Aesthetics - สุนทรียศาสตรสัมพันธ

Bourriaud ไดอางถึง “บทบาทของผลงานศิลปะวา มันไมไดทำหนาที่สรางจินตนาการความจริงหรือเรื่องราวในแบบยูโธเปยอีกตอไป อันที่จริง มันคือวิถีทางของการดำรงอยูและแบบจำลองเชิงปฏิบัติในความจริงที่เปนอยู ในสเกลตางๆ ที่ถูกเลือกสรรโดยตัวศิลปน

“ในศิลปะสัมพันธ ศิลปนมิไดเปนศูนยกลางอีกตอไปแลว, ไมไดเปนจิตวิญญานของผูสรางสรรค, ไมไดเปนปรมาจารยหรือแมกระทั่งคนที่มีชื่อเสียง. อันที่จริง บรรดาศิลปนทั้งหลายคือตัวเรงปฏิกิริยาใหเกิดการเปลี่ยนแปลงมากกวา (the catalysts)”. ความคิดของ Bourriaud โดยสรุปอยางสั้นๆ ก็คือ ศิลปนจำนวนมากในชวงทศวรรษที่ 1990 อาจไดรับการอธิบายในฐานะ ผูที่ทำงานภายใตขอบเขตของความสัมพันธสวนตัวระหวางกัน โดยไมคำนึงถึงการแสดงออกและเนื้อหา. เขาอรรถาธิบายถึงแนวคิดศิลปะโดยศิลปนเหลานี้ ในฐานะสิ่งมีชีวิตซึ่งมีการแลกเปลี่ยนกันทางสังคมมากกวาการเปนตัวแทนการแสดงออก

Relational Art

RELATIONAL AESTHETICSBy Sebastien Tayac

6 Arts November 2008

Page 7: ข่าวหอศิลป์ FINE ARTS Vol 3 November 2008

ผูชวยศาสตราจารยวรลัญจก บุณยสุรัตน อาจารยประจำภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม กับ รางวัลอันทรงคุณคา (Award of Merit) จากองคการศึกษาวิทยาศาสตรและวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (ยูเนสโก) สำนักงานภาคพื้นเอเชียแปซิฟก ในการประกาศผูชนะรางวัลอนุรักษมรดกเอเชีย-แปซิฟก ประจำป 2551 (2008 UNESCO Asia-Pacific Heritage Awards Annoucement of Winners)

“วัดปงสนุก” เปนวัดโบราณสำคัญคูกับจังหวัดลำปาง ตั้งอยู ณ หมูบานปงสนุก ตำบลเวียงเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง สันนิษฐานวาสรางขึ้นในสมัยของเจาอนันตยส ราชบุตรของพระนางจามเทวี แหงหริภุญไชย ที่เสด็จมาสรางเขลางคนครเมื่อป พ.ศ. 1223 แตยังไมพบหลักฐานทางประวัติศาสตรใดยืนยันไดวาวัดปงสนุก มีอายุยอนไปถึงสมัยหริภุญไชย

เดิมวัดปงสนุกเปนวัดที่มีอาณาบริเวณกวางขวาง และมีภิกษุสามเณรบวชเรียนเปนจำนวนมาก จนมีการแบงเขตการปกครองเปน 2 สวน คือ วัดปงสนุกเหนือและวัดปงสนุกใต มีการสรางภูเขาจำลองระหวางวัดทั้งสองเรียกวา “มอนดอย” หรือ “วัดบน” อันเปรียบไดกับการจำลองเขาพระสุเมรุซึ่งเปนศูนยกลางจักรวาล

หลักฐานที่เกาแกที่สุดที่กลาวถึงวัดปงสนุก กลาววา ในป พ.ศ. 1929 หมื่นโลกนครผูรักษาเมืองเขลางคไดตั้งรับทัพอยุธยาที่ยกขึ้นมาตีลานนาที่ชัยภูมิแหงนี้ ในขณะนั้นยังเรียกวา “วัดเชียงภูมิ” และในป พ.ศ. 2352 พบหลักฐานในคัมภีรใบลานของวัดภูมินทร จังหวัดนาน กลาวถึงการฉลอง “วัดปงสนุกใต” และในป พ.ศ. 2402 มีบันทึกของครูบาอาโนชัย ธรรมจินดามุนี อดีตพระราชาคณะหัวเมืองไดกลาวถึงการบูรณะภูเขาจำลองวัดปงสนุกเหนือ หลังจากนั้นอีก 27 ป คือในป พ.ศ. 2429 ไดมีการบูรณะปฏิสังขรณวัดปงสนุกครั้งใหญขึ้นโดยการกอซุมประตูโขงวิหารหลังมียอด (วิหารพระเจาพันองค) ซอมพระเจดีย สรางฉัตร และจัดงานฉลองโดยนิมนตพระสงฆมารับไทยทานกวา 300 รูป

จาก หลักฐาน ทาง ประวัติ ศาสตร ได กลาว ถึง ชื่อ เดิม ของ วัดปงสนุก 4 ชื่อ ไดแก วัดศรีจอมไคล วัดเชียงภูมิ วัดดอนแกว วัดพะยาว (พะเยา) สำหรับชื่อปงสนุกเปนชื่อที่พบหลักฐานอยางนอยตั้งแตป พ.ศ. 2352 หรือเกือบ 200 ปที่ผานมา

ชื่อวัดพะยาวหรือพะเยา และวัดปงสนุกเปนชื่อที่เกี่ยวของกับเหตุการณประวัติศาสตรของการอพยพผูคนในชวงป พ.ศ. 2364 ที่พญากาวิละไดยกทัพเขาโจมตีเมืองเชียงแสนซึ่งเปนที่ตั้งมั่นของพมา และไดทำการกวาดตอนชาวเชียงแสนซึ่งมีชาวบานปงสนุกลงมาตั้งถิ่นฐานใหมที่เมืองลำปาง รวมไปถึงมีการอพยพคนของเมืองพะยาวหรือพะเยาหนีศึกพมาลงมายังเมืองลำปาง ชาวปงสนุกเชียงแสนและชาวพะเยาไดตั้งบานเรือนอยูริมฝงแมน้ำวังแถบบริเวณวัดเชียงภูมิ เมื่อมาตั้งถิ่นฐานใหมก็คงระลึกถึงบานเกิดเมืองนอนเดิม จึงนำชื่อวัดและชื่อหมูบานเดิมมาเรียกขานชุมชนแหงใหม โดยชาวพะเยาไดตั้งชื่อวัดวา วัดพะยาว สวนชาวเชียงแสนชึ่งอพยพมาจากบานปงสนุกก็ไดตั้งชื่อวัดและหมู บานวาวัดปงสนุก และบานปงสนุกตามเดิม

ตอมาในราวป พ.ศ. 2386 เจาหลวงมหาวงศไดกลับไปฟนฟูเมืองพะเยาขึ้นมาใหม ครูบาอินทจักรพระอุปชฌายของครูบาอาโนชัย ธรรมจินดามุนี ไดนำชาวพะเยาอพยพกลับคืนสูบานเกิดเมืองนอน คงเหลือเพียงบางสวนที่ไมไดกลับไปดวย จึงมารวมอยูกับชาวปงสนุก ดวยเหตุนี้ชื่อวัดและชื่อหมูบานจึงเหลือเพียงชื่อปงสนุกตราบเทาทุกวันนี้

ผูอาวุโสในชุมชนเลาวา วัดปงสนุกตั้งอยูติดกำแพงเมืองเขลางคดานใน มีแนวคันดินและมีคูน้ำลอมรอบอีกชั้นหนึ่งคูเมืองดานหลังของวัดมีความลึกมาก และเต็มไปดวยกอบัวและนอกจากนี้ยังมีธรรมเนียมในการขุดดินเพื่อไปถมที่วัดบนที่ตั้งของวิหารพระเจาพันองค ดวยเชื่อวาหากไมขุดดินไปใหวัดบนน้ำจะทวมบาน ดานหนาของวัดมีบึงขนาดใหญอยูไมไกลจากแมน้ำวังมากนัก เปนที่ตั้งของคุมเจาแมสุข ณ ลำปางและเจาราชวงศดวย

ในปจจุบันที่ดานหนาวัดปงสนุกใตมีตนฉำฉาขนาดใหญที่มีเรื่องเลาวาในป พ.ศ. 2411 ครูบาอาโนชัย ธรรมจินดามุนี ไดธุดงคไปปกกลดใตตนฉำฉาที่เชียงตุงและไดเก็บฝกมาเพาะเปนตนแลวปลูกไวขางหนองน้ำใหญหนาวัด ตนฉำฉานี้เติบโตใหรมเงาแกชาวบานมากวา 100 ปแลว สวนสระน้ำดังกลาวนั้นไดถูกถมไปจนหมดสิ้น

ความรุงเรืองของวัดปงสนุก ยังปรากฏใหเห็นไดในงาน(อานตอหนา 8 )

วัดปงสนุก คนตัวเล็กกับการอนุรักษ์

Lanna AESTHETICS“ศิลปะสัมพันธ” (Relational Art) ไดถูกนิยามโดย Nicolas Bourriaud ในฐานะ “ชุดหนึ่งของปฏิบัติการทางศิลปะ ซึ่งเขาใจวาประเด็น

ทางทฤษฎีและปฏิบัติของพวกเขามาจากสัมพันธภาพระหวางมนุษยดวยกันและบริบททางสังคมของพวกเขา คอนขางมากกวาจะเปนพื้นที่อิสระและเปนสวนตัว”. ผลงานศิลปะไดสรรคสรางสภาพแวดลอมทางสังคมอันหนึ่งขึ้นมาที่ผูคนไดมาอาศัยรวมกัน มามีสวนรวมใน

กิจกรรมที่แบงปนกัน. “ผลงานศิลปะถูกตัดสินอยูบนแทนฐานความสัมพันธระหวางมนุษย ที่พวกเขาแสดง ผลิต หรือใหการสนับสนุน ในป 2002, Bourriaud ไดทำหนาที่ภัณฑารักษนิทรรศการหนึ่ง ณ สถาบันศิลปะซาน ฟรานซิสโก ชื่อวา Touch: Relational

Art from the 1990s to Now “an exploration of the interactive works of a new generation of artists”. (สัมผัส: ศิลปะสัมพันธ จากทศวรรษ 1990s จนถึงปจจุบัน “การสำรวจเกี่ยวกับผลงานรวมกันของศิลปนรุนใหม) ศิลปนที่รวมแสดงอยูใน

นิทรรศการครั้งนี้ ประกอบดวย Angela Bulloch, Liam Gillick, Felix Gonzalez-Torres, Jens Haaning, Philippe Parreno, Gillian Wearing และ Andrea Zittel.

ในปเดียวกัน เขาไดตีพิมพหนังสือชื่อ Postproduction. Culture as Screenplay: How Art Reprograms the World. (หลังการผลิต. วัฒนธรรมในฐานะบทภาพยนตร: ศิลปะไดโปรแกรมโลกขึ้นมาใหมอีกครั้งไดอยางไร)

บรรดาศิลปนรวมสมัยจำนวนมาก สามารถไดรับการนำไปเปรียบเทียบไดกับโปรแกรมเมอรคอมพิวเตอร หรือ DJs: พวกเขาไดนอมนำเราไปสูผลผลิตทางวัฒนธรรมที่มีอยูกอนแลว และผสมผสานมันขึ้นมาใหมเพื่อผลิต

ความหมายทางวัฒนธรรมใหมอีกครั้ง. ผูเขียนสนทนาวา นับจากชวงตนของยุคเกาสิบ ผลงานศิลปะไดรับการสรางสรรคขึ้นมาเปนจำนวนมากยิ่งกวาที่เคยเปนมาบนพื้นฐานของผลงานตางๆ ที่มีอยูกอน:

ศิลปนทั้งหลายตีความมันเพิ่มขึ้น ผลิตซ้ำ นำออกแสดงครั้งแลวครั้งเลา และใชผลงานตางๆ ที่ถูกสรางขึ้นโดยคนอื่น หรือผลผลิตทางวัฒนธรรมที่สามารถหาได

ศิลปะนี้เกี่ยวกับ”หลังการผลิต”(postproduction) ดูเหมือนวาจะตอบสนองตอความสับสนอลหมานที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วของวัฒนธรรมโลกในยุคขาวสารขอมูล ที่ไดถูกทำให

เปนคุณลักษณพิเศษขึ้นมาโดยการเพิ่มขึ้นในดานอุปทานของผลงาน(supply of works) และสิ่งที่ผนวกเขามาในโลกศิลปะของรูปทรงตางๆ ที่ไดรับการเมินเฉยหรือไดรับการ

ปฏิบัติดวยการดูถูกเหยียดหยามกระทั่งปจจุบันนักวิจารณ Chris Cobb เสนอวา งานศิลปะภายใตชื่อ “snapshot” ที่

จัดการขึ้นมาโดย Bourriaud ในชวงทศวรรษที่ 1990s เปนการยืนยันถึงคำวา “ศิลปะสัมพันธ”(Relational Art), ขณะที่ไดแสดงออกถึง”รูปแบบที่แตกตาง

ของการปฏิสัมพันธทางสังคม ในฐานะศิลปะที่เกี่ยวของโดยพื้นฐานกับประเด็นปญหาตางๆ ซึ่งสัมพันธกับพื้นที่สาธารณะและพื้นที่สวนตัว

นักเขียนและผูอำนวยการ Ben Lewis กลาววา”ศิลปะสัมพันธ”คือ”ลัทธิใหม”(the new “ism”)ทางดานศิลปะ, ใน

ลักษณะอะนาล็อกหรือความตอเนื่องเปนลำดับจาก “ลัทธิ”ศิลปะตางๆ กอนหนา อยางเชน ลัทธิอิมเพรสชั่นนิสม,

เอ็กเพรสชั่นนิสม และคิวบิสม. Lewis ไดคนพบความคลายคลึงตางๆ เปนจำนวนมากระหวาง”ศิลปะสัมพันธ” และ”ลัทธิตางๆ” ณ จุดเริ่มตนของลัทธิเหลานี้ กลาวคือ “ศิลปะสัมพันธ” มักจะไมไดรับการพิจารณาในฐานะศิลปะแตอยางใด เพราะวามันไดนิยามหรือใหคำจำกัดความใหมเกี่ยวกับแนวคิดศิลปะนั่นเอง(it redefines the concept of art.)

Claire Bishop ระบุถึงหนังสือของ Bourriaud วา เปนกาวแรกที่สำคัญเลมหนึ่งซึ่งบงชี้ถึงแนวโนมตางๆ ในศิลปกรรมรวมสมัย. และดังคำกลาวของ Bourriaud เองงายๆ ที่วา บรรดาศิลปนทั้งหลายทุกวันนี้ “ดูเหมือนวากำลังกดดันเพื่อสรางความสัมพันธตางๆ ที่เปนไปไดกับเพื่อนบานทั้งหลายของเราในปจจุบัน มากกวาที่จะพนันขันตอถึงวันพรุงนี้ที่มีความสุขกวา”. แตอยางไรก็ตาม Bishop ยังไดตั้งคำถามวา “ถา”ศิลปะสัมพันธ”ไดสรางความสัมพันธของมนุษย หากเปนเชนนั้น คำถามในเชิงตรรกตอมาก็คือ แบบฉบับชนิดไหนของความสัมพันธที่กำลังจะไดรับการสรางขึ้นมา และทำเพื่อใคร และทำไปทำไม ?” Bishop ยังกลาวตอไปวา “ความสัมพันธตางๆ ไดรับการเริ่มตนขึ้นจาก”สุนทรียศาสตรสัมพันธ” ซึ่งโดยเนื้อแทแลว ไมไดเปนประชาธิปไตย ดังที่ Bourriaud เสนอ

Bishop ยืนยันวา ความคิดของ Bourriaud ในสุนทรียศาสตรสัมพันธ”(Relational Aesthetics) เกี่ยวกับ the Microtopia, ซึ่งไมยอมรับความเปนไปไดเกี่ยวกับความเปนปรปกษ. Bishop ไดใชความคิดของ Chantel Mouffe ในเรื่องประชาธิปไตยแบบถกเถียงเอาชนะ เพื่อใหเหตุผลถึงผลงานตางๆ เกี่ยวกับบรรดาศิลปนแนววิพากษ ที่ถูกเพิกเฉยหรือไมไดรับความเอาใจใสอยางชัดเจนจาก Bourriaud ในเรื่อง”สุนทรียศาสตรสัมพันธ” (Relational Aesthetics) และ “หลังการผลิต”(Postproduction) : Santiago Sierra และ Thomas Hirschorn

ในเชิงผกผัน ตัวอยางศิลปนและกิจกรรมจำนวนมากของ Bourriaud นับจากชวงกลางจนถึงปลายทศวรรษ 1990s ยังคงอยูในอาณาเขตหรือปริมณฑลของสถาบันตางๆ ตามจารีตศิลปะ (เชน พิพิธภัณฑ, ศูนยการแสดงตางๆ เปนอาทิ) ทั้งๆ ที่เจตจำนงของพวกเขา ก็เพื่อวิจารณและแสดงขอคิดเห็น และ/หรือ ฝาทะลุพรมแดนตางๆ ที่ไดรับการนิยามทางสังคมเหลานี้เกี่ยวกับเรื่องพื้นที่. ยิ่งไปกวานั้น “ศิลปะสัมพันธ”ในทุกวันนี้ ยังปรากฏตัวขึ้นจากผลกระทบอันลึกซึ้งและเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาของเทคโนโลยีการสื่อสาร. เทคโนโลยีสามารถนำพาเราไปสูพื้นที่ซึ่งอาศัยอยูโดยบุคคลนิรนาม, คนอื่นที่ไรวิญญาน – ความดี ความชั่ว ความนาเกลียด – แตอยางไรก็ตาม พวกเขาเปนบุคคลที่เราสามารถเกี่ยวของดวยไดโดยผานเทคโนโลยีเหลานี้

ปจจุบัน ในฐานะศัพทคำหนึ่ง “ศิลปะสัมพันธ”(Relational Art) กลายเปนที่ยอมรับมากกวาคำวา “สุนทรียศาสตรสัมพันธ”(Relational Aesthetics) โดยโลกศิลปะ. ดังตัวอยาง วิทยาลัยศิลปะของมหาวิทยาลัยนิวเม็กซิโก ไดเชื่อมโยงโครงการวิจิตรศิลปกับความคิดเกี่ยวกับ”ศิลปะสัมพันธ”

ในเดือนพฤษภาคม 2007, Bourriaud ไดรับการเสนอชื่อ ณ the Tate Britain ในฐานะภัณฑารักษของ the fourth Tate Triennial ในลอนดอน (3 กุมภาพันธ 2009 – 26 พฤษภาคม 2009). The fourth Tate Triennial จะสำรวจถึงคำวา “สมัยใหม”(modern) วามันมีความหมายอยางไรในปจจุบันซึ่งกำลังอยูในยุควัฒนธรรมโลก(globalised culture)ของตนคริสตศตวรรษที่ 21. เขาไดนำเสนอแนวความคิดใหม Altermodern (ยุคสมัยใหมที่เปลี่ยนไป) ซึ่งเขาใชเพื่ออธิบายถึงงานศิลปะที่ถูกสรางขึ้นในบริบทสังคมโลกทุกวันนี้ อันเปนปฏิกริยาหนึ่งซึ่งมีตอความเปนมาตรฐานและลัทธิพาณิชยนิยม. ชุดหนึ่งของบทนำหรืออารัมภบท (เหตุการณตางๆ วันเดียว) ที่กำลังเกิดขึ้นหรือถูกหยิบยกในรายการโชว ทั้งนี้เพื่อนำเสนอและปลุกเราใหเกิดการถกเถียงในแนวเรื่องของ Triennial นี้. แตละบทนำประกอบดวย ภาพยนตร, การแสดง และการพูดคุย และพยายามที่จะนิยามใหแจมชัดขึ้น ถึงแตละดานของมุมมองทั้งสี่เกี่ยวกับ”สมัยใหมที่เปลี่ยนไป”(Altermodern) นั่นคือ (1)วาระสุดทายของลัทธิหลังสมัยใหม (the end of postmodernism) (2) การทำใหผสมผสานกันทางวัฒนธรรม (cultural hybridization) (3) การเดินทางในฐานะชองทางใหมในการผลิตรูปแบบตางๆ (travelling as a new way to produce forms) และ (4) แบบแผนที่ขยายตัวออกไปของศิลปะ (the expanding formats of art)

ในการเขียนอัตชีวประวัติขนาดสั้นเกี่ยวกับ Nicolas Bourriaud, Claire Bishop ไดตบทายคำอธิบายเกี่ยวกับตัวเขาดวยคำพูดที่วา “บางทีเปนการเหมาะสมแลวที่วา งานเขียนของเขาไดกลาวอยางชัดถอยชัดคำถึง “การมาบรรจบกันของปฏิบัติการทางศิลปะ กับ บทบาทความเปนสื่อกลางของภัณฑารักษ – สวนผสมใหมในเชิงสัมพันธ ซึ่งเทากับความดีเลิศ”

Sebastien Tayac: อาจารยพิเศษคณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม เปนชาวฝรั่งเศส ที่จบมาทางดานประวัติศาสตรศิลปจากมหาวิทยาลัยปารีส ปจจุบันกำลังศึกษาในระดับปริญญาเอกในสาขาประวัติศาสตรศิลป ที่มหาวิทยาลัยเดียวกัน ซึ่งใหความสนใจเกี่ยวกับจิตรกรรมฝาผนังลานนา

Relational Art

Arts November 2008 7

สุวิทย คิดการงาน

Page 8: ข่าวหอศิลป์ FINE ARTS Vol 3 November 2008

สถาปตยกรรมและงานศิลปกรรมตางๆ ที่พบอยูภายในวัดเปนจำนวนมาก อาทิเชน เจดีย วิหารพระนอน วิหารพระเจาพันองค โดยเฉพาะวิหารพระเจาพันองคซึ่งเปนวิหารโถงทรงจัตุรมุขที่มีอายุมากวา 120 ป มีรูปแบบงดงามอันเปนเอกลักษณและพบเพียงแหงเดียวในประเทศไทย นอกจากนี้ยังเปนแหลงรวมศิลปวัตถุตางๆ อีกนานับประการ

มูลเหตุการอนุรักษเริ่มมาจากความตองการของชาวบานปงสนุก กลาวคือ เมื่อประมาณปลายป พ.ศ. 2548 คุณอนุกูล ศิริพันธ (ประธานชุมชนปงสนุกคนปจจุบัน) ไดขอความชวยเหลือในการที่จะบูรณะวิหารพระเจาพันองค ซึ่งเปนวิหารที่มีคุณคาทางประวัติศาสตร ศิลปกรรม และสถาปตยกรรมในเวลานั้นพบวา สภาพทางกายของวิหารชำรุดไปมากแลว หากปลอยทิ้งไปคงจะตองสูญเสียสถาปตยกรรมชิ้นเอกชิ้นหนึ่งของประเทศไปในที่สุด

อาคารหลังนี้มีการออกแบบผสมผสานกันระหวางคติทางศาสนาและการทำนายทางโหราศาสตรลานนาไดอยางลงตัว วิหารที่มีอายุกวา 120 ป ไดรับการซอมแซมครั้งใหญเมื่อป พ.ศ. 2500 และนับแตนั้นมาถึงปจจุบันก็เปนระยะเวลาถึง 50 ปแลว ที่ไมมีการบูรณะวิหารหลังนี้อีกเลย ทำใหเกิดความชำรุดทรุดโทรมลงอยางมาก แตก็ยังคงรูปรอยแหงความงดงามแทรกอยูในรูปทรงสถาปตยกรรมและศิลปกรรม แตทวาอยูในภาวะการณที่เศราหมองยิ่งนัก

สาเหตุหลักของการเสื่อมสภาพมี 3 ประการหลักคือ1. การเสื่อสภาพตามกาลเวลา ดังจะเห็นไดจากสภาพเสาไมโครงสราง

และกลีบบัวประดับเสาที่สึกกรอน เพราะถูกแดดฝนมาเปนเวลานานจนตองมีการตัดโคนเสาทิ้ง แลวเสริมดวยคอนกรีตมาแลวครั้งหนึ่ง

2. การรั่วซึมของน้ำฝนเขามาในตัวอาคาร สาเหตุหลักเกิดจากการเจาะชองหนาตางระหวางชั้นหลังคาทั้ง 4 ดาน เอื้อตอฝนที่สามารถสาดเขาสูภายในตัวอาคาร ทำใหโครงสรางหลัง คาและเพดานผุ

3. ความชื้นจากใตอาคาร ที่ไมสามารถระบายผานพื้นซีเมนตที่ฉาบในยุคหลังได

นอกจากนั้น เครื่องตกแตงอาคารหลายสวนชำรุดสูญหาย เชน นาคทัณฑ ฉัตรโลหะ ไมเชิงชาย ดาวเพดาน ภาพเขียนสีในกรอบกระจก งานปูนปนที่ฐานชุกชี ลวนตองการการอนุรักษอยางเรงดวนทั้งสิ้น

การสรางอาคารใหมนั้นเปนสิ่งที่งาย แตกตางอยางสิ้นเชิงกับการอนุรักษ กอปรกับวิหารพระเจาพันองคแหงนี้เปนอาคารที่มีรูปแบบเปนเอกลักษณ มีคุณคาสูงทางสังคมที่ไมสามารถทดแทนดวยอาคารหลังใหม การที่ทางวัด คณะสงฆ และศรัทธา ชาวบาน ภาครัฐและเอกชนรวมใจที่จะอนุรักษครั้งนี้ถือเปนจุดเริ่มตนแนวคิดการอนุรักษโดยเริ่มจากภาคประชาชน

กระบวนการทำงานดานอนุรักษ มิใชเพียงการซอมแซมตัวอาคารเทานั้น หากตองมีกระบวนการศึกษาและการทำความเขาใจรวมกันในทุกภาคสวน ซึ่งเปนแนวทางสำคัญที่ใชกับการอนุรักษในครั้งนี้ จุดเริ่มตนของการทำงานเริ่มจากการศึกษาประวัติศาสตรและคุณคาของอาคาร ขณะเดียวกันก็จะตองสรางความเขาใจใหตรงกัน ถึงแนวทางในการอนุรักษใหแกชุมชนโดยการประชุมรวมกันกับชาวบาน เพื่อชี้ใหทราบวาวิหารหลังนี้มีความสำคัญอยางไร หนทางใดที่สมควรจะกระทำกับวิหารหลังนี้โดยใหชุมชนเปนผูตัดสินใจ ซึ่งแนวทางหนึ่งที่เลือกคือ การบูรณะเสริมความมั่นคง และรักษารูปแบบเดิมใหมากที่สุด ในเวลานั้นไดขอความชวยเหลือในการบันทึกภาพเพื่อหาทุนในการบูรณะจากคุณแอนเจลา ศรีสมวงศวัฒนา ชางภาพมืออาชีพซึ่งสงผลใหเกิดกิจกรรมตางๆ ตอมา เชน การจัดแสดงภาพถายเพื่อหาทุนในการบูรณะวิหาร โดยมีคณาจารยและนักศึกษาจากภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม รวมถึงพนักงานของหอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม ใหความชวยเหลือเปนอยางดีมาโดยตลอด สงผลใหเกิดกิจกรรมอื่นๆ ตอมาอีกมาก เชน การจัดพิมพหนังสือการประชาสัมพันธโครงการ การใหชุมชนมีสวนรวมเปนตน ทั้งนี้ไดรับความชวยเหลือจากบุคคลและองคกรเอกชนเชน คุณมานพ ศิลป ไรแมฟาหลวง หนวยศิลปากรที่ 4 จังหวัดนานโครงการลานคำลำปาง ภิกษุ สามเณร ชาวบาน นักเรียน นักศึกษา และพนักงานในหนวยงานตางๆ อีกมากมาย ซึ่งลวนแตเปน “คนตัวเล็ก” ที่มาจากตางที่ ตางทาง ที่ไดเสียสละ มีใจรัก รวมศึกษา รวมทำกิจกรรมโดยไมยอทอ เพื่อที่จะปกปกษรักษามรดกอันล้ำคาชิ้นนี้ใหอนุชนรุนหลังไดชื่นชมและภาคภูมิใจกันตอๆ ไป

ความสำคัญของจิตรกรรมแหงนี้คือ เปนผลงานจิตรกรรมแบบศิลปะพมาที่เกาแกที่สุด เพียงแหงเดียวที่ยังหลงเหลือหลักฐานอยูในประเทศไทย ซึ่งจิตรกรรมพมาตามรูปแบบดังกลาวนี้ยังไดเปนแรงบันดาลใจอันสำคัญยิ่งตอการสรางสรรคจิตรกรรมฝาผนังของชางลานนาในยุครวมสมัยกัน อีกทั้งยังสงอิทธิพลตอการสรางสรรคงานจิตรกรรมฝาผนังในยุคตอมาอยางแพรหลายอีกดวย เชน จิตรกรรมฝาผนังภายในวิหารลายคำ วัดพระสิงห เมืองเชียงใหม ซึ่งเปนศิลปกรรมลานนาที่มีชื่อเสียงมากที่สุด ที่เขียนขึ้นเมื่อราวปลายสมัยรัชกาลที่ 4 จนถึงตนสมัยรัชกาลที่ 5 แหงกรุงรัตนโกสินทร

ตลอดระยะเวลาที่ผ านมาผลงานศิลปะอันทรงคุณคาดังกลาว แทบจะไมเคยไดรับการเปดเผยออกสูโลกภายนอกใหไดรับรูเลย ในปจจุบันงานจิตรกรรมบนผืนผา ตกอยูในสภาพชำรุดทรุดโทรม เสียหายอยางมาก จนทำใหเกิดความหวั่นวิตกวา ประเทศไทยอาจจะตองสูญเสียผลงานจิตรกรรมอันมีคาอยางยิ่งไปในเร็ววันนี้ โครงการนี้ตองการนุรักษงานจิตรกรรมบนผืนผาที่คงเหลือหลักฐานอยูไวใหปลอดภัย

เพราะคุณคาในความงดงามของงานจิตรกรรมบนผืนผาในวัดมอนปูยักษ เปนหลักฐานที่สำคัญที่สามารถบอกเลาเรื่องราวอันรุงโรจนในอดีตของดินแดนลานนาเมื่อราวรอยกวาปกอน การบูรณะปฏิสังขรณทุกครั้ง ควรมีการบันทึกขอมูลและทำเปนรายงานเก็บไวเสมอ เพราะขอมูลที่ไดจะเปนประโยชนสำหรับการอนุรักษครั้งตอไป และยังสามารถนำมาแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน เพื่อเปนแนวทางในการดำเนินความรวมมือกับประเทศตางๆ จากปญหาดังกลาวในประเทศไทย การอนุรักษเปนเรื่องที่ตองทำอยางตอเนื่องและตองรูวาสิ่งที่จะทำการอนุรักษไปใชประโยชนอยางไร พรอมทั้งตระหนักถึงคุณคาของสิ่งที่อนุรักษ เนื่องจากสิ่งที่กำลังอนุรักษนั้น เปนมรดกทางวัฒนธรรมที่มีคุณคาควรแกความภาคภูมิใจ และมีความจำเปนเรงดวนที่จะตองสงวนรักษาไวใหคงสภาพเดิมมากที่สุด

วัตถุประสงคของโครงการอนุรักษจิตรกรรมบนผืนผาวัดมอนปูยักษ1. เพื่ออนุรักษงานจิตรกรรมบนผืนผาวัดมอนปูยักษ ใหคงสภาพ

ที่ปลอดภัย ดวยวิธีการศึกษาความรูและเทคนิคการอนุรักษงานจิตรกรรมบนผืนผา

2. เพื่อศึกษาถึงประวัติความเปนมาของการเขียนภาพจิตรกรรมบนผืนผาในชวงพุทธศตวรรษที่ 25

3. เพื่อศึกษาถึงเรื่องราวที่ใชเขียนและไดปรากฏอยูในงานจิตรกรรมบนผืนผา รวมทั้งรูปแบบทางดานศิลปกรรม การใชองคประกอบศิลป ในงานจิตรกรรมบนผืนผา วัดมอนปูยักษ

4. เพื่อบันทึกและรวบรวมหลักฐานของงานจิตรกรรมบนผืนผา วัดมอนปูยักษ กอนและหลังทำการอนุรักษ

5. เพื่อบันทึก รูปแบบ เนื้อหา ทางศิลปกรรมของงานจิตรกรรมบนผืนผา วัดมอนปูยักษ

6. เพื่อจัดทำฐานขอมูลความรูทางการศึกษาดานการอนุรักษงานจิตรกรรมบนผืนผา

7. เพื่อเปนการแสดงใหเห็นถึง คุณคา ความสำคัญของงานจิตรกรรมบนผืนผา วัดมอนปูยักษ เพื่อใหประชาชนไดตระหนักถึงการรักษามรดกทางวัฒนธรรม

ขั้นตอนการดำเนินงานวิจัย แบงออกเปน 3 สวน ดังตอไปนี้

สวนที่ 1 ศึกษาดานประวัติศาสตร เรื่องราว รูปแบบศลิปกรรม อทิธพิลที่ไดรบัและกระบวนการเทคนคิวธิกีาร สรางสรรคงานจิตรกรรมบนผืนผา

สวนที่ 2 การปฏิบัติการอนุรักษจิตรกรรมบนผืนผา ขนาดกวาง 100 เซนติเมตรและยาว 250 เซนติเมตร จำนวน 2 ชิ้น (หมายเหตุ การอนุรักษงานจิตรกรรมบนผืนผา ตองอาศัยผู เชี่ยวชาญเฉพาะดาน ดังนั้นทางโครงการไดประสานงานกับกรมศิลปากร เพื่อจัดสงผูเชี่ยวชาญดานการอนุรักษงานจิตรกรรม มารวมกับโครงการ ขั้นตอนการอนุรักษดังกลาวบันทึกเปนสารคดีรูปแบบสื่อวีดีทัศน และเรียบเรียงเปนเอกสารตำราทางวิชาการ เพื่อนำองคความรูที่ไดรับออกเผยแพรออกสูสาธารณะชน)

สวนที่ 3 การปฏิบัติงานคัดลอกงานจิตรกรรมบนผืนผา (หมายเหตุ การปฏิบัติงานคัดลอกงานจิตรกรรมบนผืนผาดวยเทคนิควิธีการอันประณีต แบบโบราณซึ่งเปนวิธีการอนุรักษงานจิตรกรรมวิธีหนึ่ง ที่สามารถรักษาขอมูลหลักฐานทางวิชาการ ดานโบราณคดี ดานประวัติศาสตรศิลปะและดานทัศนศิลป ใหอยูในสภาพที่ใกลเคียงกับผลงานตนฉบับมากที่สุด)

คำชี้แจงอื่นๆ

ประเทศไทยไดศึกษาวิธีการอนุรักษจากผลงานที่ประสบความสำเร็จแลวในตางประเทศ และนำเทคนิคการปฏิบัติการ และเคมีภัณฑตางๆ มาประยุกตใชในการอนุรักษสมบัติวัฒนธรรมในประเทศไทย เราเริ่มปฏิบัติการในระยะเวลาเชนนี้ จึงนับวาเปนการเริ่มตนที่มีขอมูลและแนวทางที่ดีเปนตัวอยาง การปฏิบัติงานจึงมีเกณฑความถูกตองรวดเร็วและประหยัดสูงกวาการเริ่มงานที่ไมมีตัวอยาง

องคการยูเนสโกไดใหความชวยเหลือในการสงศิลปนและนักวิทยาศาสตรซึ่งเปนขาราชการกรมศิลปากรไปศึกษาวิชาการสงวนรักษาสมบัติวัฒนธรรมระหวางป พ.ศ.2503 – 2505 และไดเริ่มสงวนรักษาศิลปโบราณวัตถุตางๆ ในระยะแรก พรอมกับไดสรางอาคารดำรงราชานุภาพเปนอาคารปฏิบัติการสงวนรักษาศิลปโบราณวัตถุ จากพิพิธภัณฑตางๆ และจากการขุดคนทางโบราณคดี

ตอมาไดกอตั้งหนวยงานอนุรักษจิตรกรรมฝาผนังขึ้นในกรมศิลปากรในปพ.ศ. 2519 แผนงานขั้นแรกคือการสำรวจจิตรกรรมฝาผนัง ซึ่งไดดำเนินการโดยเรงดวน เพื่อหาแหลงที่ตั้ง สภาพ และความสำคัญของจิตรกรรมฝาผนัง สำหรับการจัดลำดับความจำเปนเรงดวนในการอนุรักษ

จากการสำรวจประมาณ 20% ของพื้นที่ทั่วประเทศ พบจิตรกรรมฝาผนัง 218 แหง หมายความวาปริมาณงานทั่วประเทศนั้นมากมายมหาศาล และลวนอยูในสภาพชำรุดทรุดโทรมอยางหนักถึงขนาดเรียกวาไมปลอดภัย และจะตองยับยั้งความชำรุดอยางรุนแรงนั้นใหหยุดไวกอนโดยทันที ซึ่งสภาพความชำรุดขนาดนั้น ผูที่จะปฏิบัติงานจะตองมีความสามารถและความชำนาญงานเปนอยางสูงอีกดวย งานอนุรักษจิตรกรรมฝาผนังจึงรับภาระหนัก และตองทำงานทางวิชาการและทางเทคนิคใหรวดเร็วทันการ

โบราณวัตถุสถาน เปนอาภรณที่มนุษยสรางสรรคไวประดับโลก เปนมรดกสวนรวมของมนุษยชาติและเปนเครื่องเตือนใจวา มนุษยทุกเชื้อชาติตางก็มีสวนชวยใหเกิดอารยธรรมขึ้นในโลก โบราณวัตถุสถานเตือนใหเราระลึกวา ความรูทางเทคนิควิชาการ ไดเจริญควบคูกันกับความชื่นชมบูชาในสิ่งสวยงาม และถึงแมมนุษยเราจะนิยมสิ่งใหมๆ แตขณะเดียวกันก็พยายามเสาะแสวงหาสิ่งที่เปนอมตะอยูเสมอ โบราณวัตถุสถานสอนใหมนุษยทุกคนเคารพเทิดทูนอัจฉริยะทางการสรรคสรางอันเปนสิ่งที่เชื่อมโยงและผูกพันมนุษยตางเชื้อชาติและตางรุนกันไวได

สมัยปจจุบันนับวามนุษยเรารู จักและมองเห็นคุณคาของโบราณวัตถุสถานตางๆไมวาจะอยูแหงหนใดในโลกมากกวาสมัยอื่นๆ

เพราะในปจจุบันนี้การศึกษาทั่วโลกเจริญกาวหนาไปมาก จึงทำใหสามารถชื่นชมใกลชิดกับศิลปะและโบราณวัตถุสถานไดงายมากยิ่งขึ้น ขณะนี้รัฐบาลของประเทศที่มีโบราณวัตถุสถาน ตางก็มองเห็นแลววาโบราณวัตถุสถานมิใชเพียงหลักฐานที่แสดงถึงความรุงเรืองของอดีตกาลเทานั้น แตเปนสมบัติมีคาอันสำคัญอยางหนึ่ง และมีศักยภาพเปนเครื่องประกันความพัฒนากาวหนาในดานอุตสาหกรรมการทองเที่ยวของประเทศอีกดวย ความเจริญดานเทคนิคการอนุรักษซึ่งลวนสอดคลองกับภูมิปญญาทองถิ่นลวนเปนประโยชนในการสงวนรักษาและอนุรักษงานโบราณวัตถุสถาน การพยายามพิทักษรักษามรดกที่บรรพบุรุษไดสรางสมไวให ทั้งนี้มิใชเพื่อประโยชนของคนรุนนี้แตเพื่ออนุชนในอนาคตดวย

เนื่องจากโครงการวิจัยนี้มิไดเปนการศึกษาเฉพาะดานเทานั้น แตเปนการศึกษาแบบสหวิทยา พรอมทั้งการปฏิบัติ อนุรักษผลงานจิตรกรรมที่มีสภาพชำรุด ดวยความรู ทางดาน ประวัติศาสตร โบราณคดี ศิลปะ วิทยาศาสตรการอนุรักษผสมผสานกับความรูภูมิปญญาทองถิ่น สามารถสรางองคความรูใหมใหเกิดขึ้นเพื่อใชกับการอนุรักษงานศิลปกรรมทองถิ่นที่มีลักษณะใกลเคียงกันในอนาคตตอไป

Art Aidsนิทรรศการศิลปะสัญจร เพื่อสรางความเขาใจในการอยูรวมกับผูมีเชื้อเอชไอวีสถานที่จัดแสดงผลงาน ชั้น 2 หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม วันศุกรที่ 28 พฤศจิกายน 2551 เวลา 18.00 น. เปนตนไป

เวิรคช็อปศิลปะสำหรับเด็กมารวมแบงบันความรัก ดวยการสรางสรรคงานศิลปะ วันอาทิตยที่ 7 ธันวาคม 2551 เวลา 15.00 – 18.00 น. ณ ราน ดินดี (ในรั้วหอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มช) สำรองที่นั่งไดที่ รานดินดี หรือ 089-000-3738

Japan Festival

The 4th Lanna – Japan Festival 2008งาน แลกเปลี่ยน วัฒนธรรม ลาน นา-ญี่ปุน ครั้ง ที่ 4 โดย ความ รวมมือ ของ สถาน กงสุลใหญ ญี่ปุน ณ นคร เชียงใหม รวมกับ คณะ วิจิตรศิลป มหาวิทยาลัย เชียงใหม กรม สงเสริม อุตสาหกรรม สภา อุตสาหกรรม จังหวัด เชียงใหม

กิจกรรม ที่ นาสนใจ- การ ประกวด แขงขัน เครื่อง แขวน เทศกาล แหง ดวงดาว (tanabata) ชิงรางวัล มากมาย ใน เทศกาล อาหาร และ ศิลปะ ญี่ปุน (Japanese Food & Arts Fair) วันที่ 20-30 พฤศจิกายน 2551 ณ ริมปง ซุป เปอร สโตร (Nimcity Daily) สาขา สี่แยก สนามบิน - การ อบรม การ ทำ ผา มัด ยอม ใน สไตล ญี่ปุน แบบ Shibori และ แบบ Yuzen โดย ศิลปน ชื่อดัง Mrs. Hisako Tokimoto วันที่ 27, 28 พฤศจิกายน 2551 ณ ศูนย สงเสริม อุตสาหกรรม ภาค ที่ 1 ติดตอ สอบถาม และ รับ ใบสมัคร ไดที่ ศูนย สงเสริม อุตสาหกรรม ภาค ที่ 1 โทร 053-245-361-2 (คุณ จี ระภรณ)

จิตรกรรม วัด มอน ปูยักษ ตอจากหนา 11

วัดปงสนุก ตอจากหนา 7

8 Arts November 2008

Page 9: ข่าวหอศิลป์ FINE ARTS Vol 3 November 2008

www.finearts.cmu.ac.thwww.finearts.cmu.ac.th/cmuartcenter

Arts November 2008 9

นั่นคือการเรียนพื้นฐานจากการวาดปนใหเหมือนจริง เชน การวาดปนคน ก็ตองเรียนกายวิภาคกอน ตองศึกษาโครงกระดูกและกลามเนื้อในรางกายคนหรือสัตวทุกชิ้น

จำเปนไหม ที่ตองเรียนแบบอะคาเดมิคเชนยุคกอน เพื่อกาวสูศิลปะสมัยใหม อยางนอยก็เรียนจากรูปไปหาไมมีรูป หรือจากเหมือนจริงไปสูนามธรรม และทุกวันนี้ศิลปะก็เลยแนวนามธรรมออกไปอีกหลากหลายแนว โดยเนนความงามในความคิดมากกวาเนนฝมือ

กลาวสำหรับ อาจารยพิศาล เปนทานหนึ่งที่สามารถเชื่อมตอกับแนวคิดใหมได ยอมรับแนวใหมไดในระดับหนึ่ง เห็นไดจากความชื่นชมงานของ CHRISTO, RICHARD LONG, ISAMU NOGUCHI, BRANCUSI เหลานี้ แต อาจารยพิศาลก็ไมถึงขั้นสนุกที่จะลงมือทำ

นี่เปนความจำกัดของการเรียนศิลปะแนวเกาหรือไมคำถามตอไปคือวา สถาบันศิลปะทุกวันนี้ จำเปนตองเรียน

พื้นฐานอยางที่เรียนกันอยูหรือไมเพราะผูเรียนใชวาจะเปนคนทำงานศิลปะ หรือเปนศิลปนได

ทุกคน บางคนจำตองเปนอาจารยสอนศิลปะ ซึ่งอาจตองสอนแบบเกา ตองฝกทักษะใหมีฝมือทางวาด ปน ขั้นพื้นฐานเพื่อสอน

จำเปนหรือไมจำเปนนั้น ผมเองซึ่งเรียนพรอมกันมากับ

อาจารยพิศาล ก็ลังเลในประเด็นนี้เทาที่เห็นการเรียนการสอนศิลปะในบานเรานั้น ดูก็ยังเรียนวาด

ปนอยางพื้นฐานเดิมๆ กันอยู บางสวนคิดวานาจะเลิกได และศิลปะสมัยใหมทุกวันนี้ก็เลยจากคริสโตหรือโนกุจิอยางที่ผมเอยถึงไปมากแลว

มีความจำเปนหรือไมที่จะเรียนศิลปะอยางเดิมๆ เพื่อวาจะใหเขาใจรสเสน รสสี เขาใจความงามของสิ่งที่อยูรอบตัวในธรรมชาติอยางที่เห็นไดดวยตา ซึ่งจะชวยใหหัวใจคนเรามีสีสัน และบานเมืองมีรสนิยมในภาพเขียนหรือรูปปน

หมายถงึเพือ่คนสวนใหญไดเสพศลิปะบาง อยางนอยก็ภาพเขยีน ภาพพิมพ อยางที่วงการศิลปะจัดแสดงเปนประจำ ยังมีความจำเปนหรือไมที่จะตองชวยกันหาทางใหประชาชนสนใจและเขาถึงศิลปะใหมากขึ้น

บางทานอาจคิดวาไมใชหนาที่ แตมีความจำเปนที่จะตองมีสถาบันศิลปะ

ปญหาเหลานี้ อาจารยพิศาล มีคำถาม บางครั้งอภิปรายกันเปนสวนตัว

พอเพียงหรือไมที่จะเขาถึงการวาดปนในระดับ อาจารยพิศาล กับสังคมทุกวันนี้ สุดแลวแตใครจะตอบ

จนเมื่อ อาจารยพิศาล พนการสอนแลว บางอยางไดพลิกผันเหลือเชื่อ อาจพูดไดวาตลอดชีวิตการเปนอาจารยนั้นแทบไมมีเวลาสรางเมา ครั้นเกษียณจากการสอนก็เลิกดื่ม กลับแชมชื่น แจมใส กลายเปนคนละคน และสนใจกลับมาวาดปนตามสบายและทำไดดี โดยไมสนใจดวยวาเปนศิลปนหรือไม นี่เปนอีกสิ่งหนึ่งที่นาสนใจ อาจารย พิศาลไมแสวงหาชื่อเสียง เปนคนเรียบงายและมีความสุข วาดและปนมากขึ้น มีคุณภาพดวย

ใครเรียนศิลปะแลวอยากรูอยากเห็น หากขอ อาจารยพิศาล ชวยวิจารณแนะนำ จะไดประโยชนยิ่ง

สิ่งที่วงการศิลปะนาจะทำอยางยิ่ง คือ การสัมภาษณเก็บความจากประสบการณของ อาจารยพิศาลเปนเลม หรือคูมือสำหรับผูเรียน

เชนมุมมองเกี่ยวกับงานปน อาจารยพิศาล สามารถปนใหเห็นการอานแบบ การเนน การปลอยทิ้ง สิ่งที่เรียกวาไมเหมือนแตใช ความตางในงานปนใหเปนงานศิลปะ ตางจากการถอดพิมพจากใบหนาจริงอยางไร การถายสะทอนอารมณลงในงานปน การเติมความโงเขลาลงไปในแววตา สีที่ใชหรือไมใชในการวาด จังหวะของเสน และอีกมากมุมมอง ที่ไมอยากเรียกวาเคล็ดลับในการวาดหรือปน

อยางนอย อาจารยพิศาล เปนอาจารยทานหนึ่งที่จะถายทอดสิ่ง

เหลานี้ไดดีมากวันหนึ่งเมื่อไมนานมานี้ ผมกับ อาจารยพิศาล ไปตระเวนชมมิว

เซียมศิลปะที่อิตาลีและออสเตรียดวยกัน แลวลมเหลว ทุกแหงมีผูคนรอเขาชมเนืองแนนเสียจนหมดหวัง ขณะเดินไปตามถนนเล็กๆ ในเมืองที่เปนตนเรื่องโรมิโอกับจูเลียต เห็นรูปปนหลอสำริดตั้งอยูกลางตลาด ทามกลางคนเดินขวักไขว

เปนงานประติมากรรมเทาคนจริง ตั้งอยูกลางถนนลานคนเดิน ในทาชะเงอมองหาใครสักคน มือหนึ่งไขวหลัง อีกมือเปดอกเสื้อนอกใหเห็นเสื้อชั้นใน ดูๆ ไปก็จะคลายเสื้อกลามแนบเนื้อ เมื่อพินิจกลายเปนเสื้อเชิ้ตผูกเน็คไทดแตคนปนขูดออกจนเรียบ เหลือรอยบางๆ คางอยู เหมือนปนไมเสร็จนาสงสัย ผมถาม อาจารยพิศาล วานี่มันอะไรกัน พลางชี้ใหดูตรงรอยขูดนั้น

อาจารยพิศาล อธิบายวา เคยวาดรูปคนใสแวนตาเขี่ยๆ ไมตองครบเสนใชมั้ย แสงแวบกระทบแวนวาวทำใหเราไมเห็นบางเสน ไมตองวาดใหครบอยางพวกนักวาดโงๆ นั้น อยางเดียวกับงานปนนี้ บางมุมที่แสงสะทอนวับ ตรงนั้นจะวาบ ไมเห็นวาเปนรูปอะไร แตก็ดูรูวาตรงอกนี้มีเสื้อในกับผาผูกคอ เมื่อขูดออกไปซะ มันจะเหมือนอยางที่เราเห็นจริงๆ อยางนี้คือใชแตอายพวกปนครบไปหมดทุกซอกมุมนั้นไมเขาใจตรงนี้

ผมถึงบางออ บรรลุธรรมบางขอในศิลปะเดี๋ยวนั้น ในวันที่หมดเวลาของตัวเองแลว

มุมมองอยางนี้แหละที่ อาจารยพิศาลมีมากลน ซึ่งหากรวบรวมมาแลวจะชวยใหคนเรียนศิลปะเขาถึงทางลัด เปนการมองเห็นอยางคนชั้นครู

คนสวนใหญไมเห็นความพิเศษของ อาจารยพิศาลตรงนี้ ที่เห็นและชื่นชมแตก็ไมนึกที่จะรวบรวมใหเปนเหมือนลายแทงแผนที่หรือคูมือชี้ทาง เพียงแตสัมภาษณแงมุมตางๆขณะทานทำงาน ตลอดจนเอาผลงานตางๆ ให อาจารยพิศาลแนะนำ เหตุใดคณะวิจิตรศิลปจึงไมทำสิ่งเหลานี้

มีอาจารยบางทานในคณะวิจิตรศิลปที่มีความสามารถเฉพาะทาง ที่สามารถถายสะทอนมุมมองใหผูเรียนเห็นทางลัด ทานเหลานั้นอาจเขียนหรือเลาดวยตัวเองไมได มีความจำเปนที่ตองใชคนอื่นเขียนแทน โดยการสัมภาษณ พูดคุย หยิบคำและความในตัวทานออกมาเรียบเรียง

จากประสบการณสวนตัว ผมไดเห็นหลายทานที่มีความสามารถในระดับเปนแหลงแหงการเรียนรูพิเศษ เชน อาจารยพิศาล ทิพารัตน ซึ่งผมเองก็ไดแงมุมจากเพื่อนผูนี้มาก บางครั้งการเรียนทางหนึ่งก็ไดมาจากคนใกลเคียงนั่นเอง และหลายครั้งการฟงเด็กรุนหลัง ชวยใหเห็นความคิดใหมๆ ที่เราคนรุนกอนนึกไมถึง

หลายคราวผมคิดวา ผมนี่แหละนาจะเปนคนหนึ่งที่ควรรวบรวมแงคิดของครูอาจารยเหลานี้ เพราะสิ่งที่ผมไดฟงและชางจดจำนั้นมากมายนกั แตจะมคีวามหมายแกใครเลา กี่คนทีจ่ะสนใจหรอืใหความสำคัญ เสียงเรงเราใหกาวสูยุคสมัยใหมในทางศิลปะเราความสนใจ ยิ่งเสียกวาการมองความงามแบบเดิมที่คนรุนผมออกจะช่ำชอง แตจะเสยีดายไปทำไมเลา โลกเคยควบมาสงขาว ยามศกึสงคราม ทีเ่กดิคำวามาราธอน ตอมาเรามีโทรเลขสงความถึงกันผานแผนกระดาษ วันนี้เรามีโทรศัพทบาน แลวก็มือถือ แถมภาพใหเห็นเหตุการณที่กำลังเกิดขึ้นอีกซีกโลก สิ่งใหมๆ นาอัศจรรยเคลื่อนผานหนาผมไป เราแตละคนตางมีทางเลือกของตน ใหเลือกเดินบนถนนศิลปะ มีหลายอยางใหเลือกทำและทาทาย

ขอใหอาจารยพิศาลจากไปดวยดี

ศุกร ที่ 24 ตุลาคม 2551 เวลา 18.00 น. เปนตนไป

ณ ลานกิจกรรมหนาสโมสรนักศึกษา คณะวิจิตรศิลป

ออเดิรฟลูกทุงวิจิตรศิลป เปดตัวชานชลาลูกทุงวิจิตรศิลป 51 กอนที่จะไดพบกับการแสดงเต็มรูปแบบกับกิจกรรมของนักศึกษาคณะวิจิตรศิลป ขอเชิญรวมกิจกรรมการแสดงและชม VDO ลูกทุงครั้งที่ผานมา

เสาร ที่ 1 พฤศจิกายน 2551 ลูกทุงวิจิตรศิลป 51 ชานชลาลูกทุง

พบกับคอนเสิรตลูกทุงวิจิตรศิลป 5 โมงเย็นเปนตนไป ณ ลานขางคณะวิจิตรศิลป บัตรราคา 89 บาท VIP 250 บาท

พฤหัสบดี ที่ 6 พฤศจิกายน 2551

ผลงานชิ้นเอกที่ไมใชถาวรวัตถุใหปรากฏบนแผนฟลม เวลา 18.00 น. ณ ลานกิจกรรมหนาสโมสรนักศึกษา คณะวิจิตรศิลป

Rivers and Tides เปนการจับภาพที่งามสงาของ Andy Goldsworthy ในระหวางการสรางสรรค ซึ่งถือเปนประสบการณทางภาพยนตรที่ชวนใหหลงไหล ชวยใหคุณไดเห็นคุณคาและชื่นชมความงามของธรรมชาติในแนวทางใหมเปนอยางดี คุณที่ชื่นชอบสารคดีแนวธรรมชาตินิยมและหลง ไหลมนตเสนหของงานศิลปะ สมควรอยางยิ่งที่ตองไมพลาดสารคดีเรื่องนี้

พฤหัสบดี ที่ 13 พฤศจิกายน 2551 The last king of Scotland

เรื่องราวของกษัตริยองคสุดทายแหงสกอตแลนดที่ตองเผชิญกับอุปสรรคตางๆ

นาๆ ความสุข เศรา ผูที่ไดชื่อวา “กษัตริย” ตองเผชิญ ณ ลานกิจกรรมหนาสโมสรนักศึกษา คณะวิจิตรศิลป

ศุกร ที่ 14 พฤศจิกายน 2551 เวลา 17.30 – 19.00 น.

ณ ลานประลองจิตรกรรมรวมสมัยหนาคณะวิจิตรศิลป

เปดตัวลานประลองผนังจิตรกรรม โดย รศ.สมเกียรติ ตั้งนโม คณบดีคณะวิจิตรศิลป พรอมกับชมดนตรีโฟลคซอง JUIS-JUIS ศิษยเกาคณะวิจิตรศิลป

รุนที่ 16

- ไดรวมแสดงในคอนเสิรต Glaston Bury Festival, England ป 2007

- มีอัลบั้ม Single 6 เพลง ติดชารต ณ ตอนนี้ 4 เพลง

ศิลปวัฒนธรรมและกิจกรรมพิเศษคณะวิจิตรศิลปรวมกับ ArtAids จัดกิจกรรมพิเศษระหวางวันที่ 20 พฤศจิกายน 2551 – 11 ธันวาคม 2551 ณ ลานกิจกรรมหนาสโมสรนักศึกษาคณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม

พฤหัสบดีที่ 20 พฤศจิกายน 2551 เวลา 18.00 - 20.30 น.

หัวขอ “ศิลปนรุนใหมกับสื่อศิลปะ” โดย ศิลปนจากกรุงเทพ : ประทีป สุธาทองไทย (Photo+VDO) พรประเสริฐ ยามาซากิ (Installation) โนรี ธรรมรักษ

(Photography)

พฤหัสบดีที่ 27 พฤศจิกายน 2551 เวลา 18.00 -20.30 น.

หัวขอ “Conceptual Art” โดย ศิลปนจาก Belgium: Leo Copers (Concept

Installation) Erich Weiss (Conceptual)

USA/The Netherlands: Otto Berchem (Social Intervention)

พฤหัสบดีที่ 4 ธันวาคม 2551 เวลา 18.00 – 20.30 น.

หัวขอ “Lecture: เวลาในงานศิลปะ”

โดย ศิลปนจากกรุงเทพ: เตยงาม คุปตะบุตร (sound community)

Arts Court

ศิลปวัฒนธรรมและกิจกรรมพิเศษ คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหมโดย ผูชวยศาสตราจารยศุภชัย ศาสตรสาระ

อาจารย พิศาล ทิพา รัตนตอจากหนา 11

Page 10: ข่าวหอศิลป์ FINE ARTS Vol 3 November 2008

ในป ค.ศ.1890 สิ่งสะสม the Trumbull-Prime collection ไดถูกสงไปยังอาคารรูปทรงแบบโรมาเนสค ที่ออกแบบโดย A. Page Brown.

Allan Marquand (ศาสตราจารยทางดานประวัติศาสตรศิลป และภัณฑารักษพิพิธภัณฑศิลปะของมหาวิทยาลัยพรินสตัน) ซึ่งทำการสอนในชวง 1874 และหลังจากป 1905 ไดเปนหัวหนาภาควิชาศิลปะและโบราณคดี ไดรับการแตงตั้งเปนผูอำนวยการคนแรกของพิพิธภัณฑศิลปะแหงนี้ ตำแหนงดังกลาวเขาครองอยูจนกระทัง่เกษยีณอายุในป 1922. นอกจากสมบตัิสะสมของ William C. Prime แลว จำพวกเครื่องปนดินเผาและเครื่องลายคราม ที่ถูกเก็บสะสมเอาไวในอาคารซึ่งถูกรู จักในฐานะพิพิธภัณฑประวัติศาสตรศิลป ดังที่มันเปนที่รับรูจนกระทั่งป 1947 พิพิธภัณฑนี้ยังเปนที่รวบรวมสิ่งตางๆ ประเภทงานปนและงานหลอของตัวอาคารอันมีชื่อเสียง อยางเชนรายละเอียดทางดานสถาปตยกรรม และลวดลายประดับตางๆ

ผลงานจิตรกรรม คอยๆ กอเกิดที่ทางของมันเองเขามาอยูในการสะสมของอาคารแหงนี้ โดยเฉพาะอยางยิ่ง หลังจาก Frank Jewett Mather Jr. (ผูสอนวิชาศิลปะและโบราณคดีที่มหาวิทยาลัย พรนิสตนั เขายงัเปนนกัวจิารณศลิปะดวย) ไดเขามารวมกบัภาควชิาในป 1910 โดยสอนวชิาศลิปะสมยัเรอเนสซองค ไดขึน้ดำรงตำแหนงผูอำนวยการพิพิธภัณฑในป 1922 อันเปนปเดียวกับ McCormick Hall, สวนตอเติมในสไตล เซเนส กอธิค(Sienese Gothic style) หลังจากแบบแปลนของ Ralph Adams Cram, ไดรับการเพิ่มเขามาทางดานทิศใตของอาคาร A. Page Brown.

อาคาร A. Page Brown ในตัวมันเองไดรับการรื้อถอนในป ค.ศ.1963 เมื่อ Steinman และ Cain ไดทำการปฏิสังขรณและขยับขยาย McCormick Hall ขึ้น และเสร็จสมบูรณในป 1966. ในลำดับตอมา การตกแตงภายในของพิพิธภัณฑไดรับการบูรณะซอมแซมและขยายเนื้อที่เพิ่มอีก 27,000 ตารางฟุต, The Mitchell Wolfson Jr., ที่เปนปกของอาคาร ไดรับการออกแบบขึ้นมาโดย Mitchell / Giurgola, และสงมอบใหในป 1989 หนึ่งในสามของพื้นที่เพิ่มเติมจัดเปนพื้นที่ใหมของการจัดแสดงนิทรรศการ สวนในการปรับปรุงอื่นๆ รวมไปถึงสตูดิโอเกี่ยวกับการอนุรักษขนาดใหญ และหองสำหรับการจัดสัมนาและหองเก็บอุปกรณการศึกษาทางดานศิลปะที่ไดสะสมไวในทุกๆ ดาน เพื่ออำนวยความสะดวกในดานการเรียนทางดานศิลปะของมหาวิทยาลัย

ปจจุบันพิพิธภัณฑศิลปะแหงนี้ นับเปนหนึ่งในพิพิธภัณฑมหาวิทยาลัยซึ่งมีความโดดเดนของประเทศ. สมบัติสะสมตางๆ ในหลายดานไดสถาปนาขึ้นภายใตการอำนวยการของ Marquand และ Mather และบุคคลเหลานั้นที่ริเริ่มขึ้นหลังจากการเกษียณอายุของ Mather ในป ค.ศ.1946 ซึ่งมีอะไรมากไปกวาการเปนเพียงของสะสมเพื่อการศึกษาเทานั้น

แนวคิดการกอตั้งพิพิธภัณฑศิลปะ และสมบัติสะสมหลักการในการกอตั้งพิพิธภัณฑศิลปะพรินสตันก็คือ เพื่อทำให

นักศึกษาเขาถึงผลงานศิลปะที่เปนของแทไดโดยตรง สรางสมความคุนเคย และเขาหาไดตลอดเวลา นอกจากนี้ยังทำหนาที่เปนสวนเสริมหรือองคประกอบอันรุมรวยในดานการเรียนการสอนและการวิจัยของมหาวิทยาลัย และปจจุบันแนวความคิดที่มีมาแตเดิมนี้ยังคงดำรงสืบตอมา. พิพิธภัณฑศิลปะยังใหบริการแกผูชมจำนวนมาก แตอยางไรก็ตาม ในฐานะทุนทางวัฒนธรรมอันร่ำรวยที่สุดของรัฐนิวเจอรซี และในฐานะการมีสวนรวมอยางแข็งขันในชุมชนนานาชาติของพิพิธภัณฑศิลปะ

ผลงานศิลปะที่สะสมจำนวนมากกวา 68,000 ชิ้น ไดรับการจัดเรียงลำดับในเชิงประวัติศาสตรนับจากอดีตจนกระทั่งถึงศิลปกรรมรวมสมัย และใหความเอาใจใสตอภูมิภาคเมดิเตอรเรเนียน, ยุโรปตะวันตก, จีน, สหรัฐอเมริกา และลาตินอเมริกา. นอกจากนี้ยังมีความโดดเดนในเรื่องของสะสมของโบราณในยุคกรีกและโรมัน ตลอดรวมถึงผลงานประเภทเซรามิค, หินออน, บรอนซ, และผลงานโมเสคโรมันจากการขุดคนทางดานโบราณคดีของมหาวิทยาลัย พรินสตันใน Antioch ประเทศตุรกี

เรื่องราวของยุโรปในยุคกลาง ไดรับการจัดแสดงโดยตัวแทนผลงานประเภทประติมากรรม, ผลงานประเภทโลหะ, และภาพเขียนสีบนกระจก(stained glass). ผลงานจิตรกรรมของยุโรปตะวันตก ประกอบดวยตัวอยางผลงานชิน้สำคญัในสมยัเรอเนสซองคตอนตน จนกระทั่งถึงศิลปะในคริสตศตวรรษที่ 19 และงานสะสมงอกงามตอมาถึงคริสตศตวรรษที่ 20 และผลงานศิลปกรรมรวมสมัย. ผลงานที่ยืมมาสำคัญๆ ไดเพิ่มเติมสมบัติสะสมของพิพิธภัณฑขยายไปในหลากหลายพื้นที่มาก

ทามกลางความเขมแข็งที่สุดในพิพิธภัณฑศิลปะ คือของสะสมตางๆ เกี่ยวกับศิลปกรรมจีน โดยการถือครองงานประเภทบรอนซ รูปแกะสลักที่บรรจุอยูในสุสาน ผลงานจิตรกรรม และภาพเขียนพูกันจีน นอกจากนี้ยังมีงานศิลปะกอนโคลัมเบียน (หมายถึงกอนที่โคลัมบัสจะคนพบทวีปอเมริกา) รวมถึงตัวอยางที่โดดเดนของศิลปกรรมยุคมายา เปนตน

พิพิธภัณฑศิลปะยังไดมีการสะสมผลงานภาพพิมพสำคัญๆ ของปรมาจารยในงานศิลปะภาพพิมพดวย ตลอดรวมถึงผลงานวาดเสน และงานสะสมประเภทภาพถายของจริงอยางกวางขวาง. ศิลปะแอฟริกาก็มีการนำออกแสดงเชนเดียวกับผลงานศิลปะของอินเดีย. แมจะไมมีหองหับในพิพิธภัณฑ แตสวนหนึ่งของงานสะสมของมหาวิทยาลัยก็คือ ผลงานสะสมทางดานประติมากรรมของ The John B. Putnam Jr. Memorial Collection ซึ่งไดมีการรวบรวม

ทางดานศิลปะของปคาสโซ ไมเปนที่ถูกใจในทัศนะทางศิลปะของพวกนาซี ดวยเหตุดังนั้น เขาจึงไมสามารถที่จะแสดงผลงานของตนในชวงเวลาดังกลาวได. แมจะถอยหางจากสตูดิโอการทำงานของเขา แตปคาสโซยังคงเขียนภาพอยูตลอดเวลา ถึงแมเยอรมันจะทำใหการหลอบรอนซเปนสิ่งที่ผิดกฎหมายในปารีส แตปคาสโซกลับไมใหความเอาใจใส มีการใชบรอนซ อยางเปนปกติโดยมีการลักลอบสงมาถึงเขาโดยพวกตอตานชาวฝรั่งเศส

หลังจากการปลดปลอยปารีสในป 1944 ปคาสโซเริ่มสมาคมกับนักศึกษาศิลปะรุนเยาวคนหนึ่ง นามวา Francoise Gilot. ในทายที่สุด ทั้งสองกลายเปนคูรักกัน และไดมีลูกดวยกันสองคน, Claude และ Paloma. โดยเฉพาะทามกลางผูหญิงของปคาสโซ Gilot ได ละทิ้ง จากปคาส โซ ไป ในชวง ป 1953 เนื่องจากมีการกลาวหาวา เขา กระทำการ รุน แรง และ มีการ นอกใจ ซึ่ง เปน เรื่อง ที่ ทำราย ปคาสโซอยางมาก เขาตองผานหวงเวลาที่คอนขางยุงยากนี้เกี่ยวกับการตีจากของ Gilot ไปสูวัยที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และการรับรูของเขาวา มาถึงตอนนี้ในชวงทศวรรษที่ 70s เขาไมไดเปนที่ดึงดูดใจอีกตอไปแลว และคอนขางเปนพวกวิตถารสำหรับสำหรับหญิงสาวทั้งหลาย

ผลงานวาดเส นดวยน้ำหมึกจำนวนมากในชวงเวลานี้ได เปดเผยใหเห็นเรื่องราวเกี่ยวกับคนแกนาเกลียด รูปรางแคระแกร็นคลายๆ พวกตัวตลกที่ตองเผชิญหนากับหญิงสาวสวย รวมไปถึง การมีความสัมพันธเพียง 6 สัปดาหกับ Genevieve Laporte, ผูซึ่งในเดือนมิถุนายน 2005 ไดมีการเปดประมูลภาพผลงานวาดเสนตางๆของปคาสโซที่เขียนรูปเกี่ยวกับตัวเธอ

วัยชรา และบานหลังใหญปคาสโซไดกอสรางอาคารขนาดมหึมาในสไตลกอธิค และ

จัดใหมีวิลลาหรือบานพักตากอากาศหลังใหญหลายหลังในทางตอนใตของฝรั่งเศส ณ Notre-dame-de-vie ซึ่งอยูในเขตชานเมือง

ของ Mougins, ใน Provence-Alpes-Cote d’Azur. โดยในชวงเวลานีเ้ขาเปนคนที่มชีือ่เสยีงคนหนึง่ บอยครัง้ ไดใหความสนใจมากในเรื่องชีวิตสวนตัว เชนเดียวกับการใหความใสใจในเรื่องของศิลปะ

นอกจากการประสบความสำเรจ็ในทางศลิปะนานาชนดิ ปคาสโซยังมีอาชีพเกี่ยวกับภาพยนตรดวย รวมถึงการปรากฏตัวใน Jean Cocteau’s Testament of Orpheus. ปคาสโซมักจะแสดงตัวของเขาเองในภาพยนตรของตน. ในป ค.ศ.1955 เขาไดชวยสรางภาพยนตรเรื่องThe Mystery of Picasso ซึ่งไดรับการกำกับโดย Henri-Georges Clouzot.

ปาโบล ปคาสโซ ถึงแกกรรมเมื่อวันที่ 8 เมษายน 1973 ใน

PrincetonPICASSO

งานปนชิ้นสำคัญในคริสตศตวรรษที่ 20 ประกอบดวยผลงานประติมากรรมของปรมาจารยยุคใหม อยางผลงานของ Alexander Calder, Jacques Lipchitz, Henry Moore, และ Pablo Picasso. ยิ่งไปกวานั้น พิพิธภัณฑศิลปะยังไดสะสมภาพเหมือนผูบริหารของมหาวิทยาลัยพรินสตันดวย

นิทรรศการศิลปะพิเศษไดมีการจัดแสดงตลอดทั้งป จำนวนมากถูกดึงมาจากงานสะสมศิลปะถาวร และแสดงรวมกันไปกับหลักสูตรของภาควิชาศิลปะและโบราณคดี รวมถึงโปรแกรมการเรียนการสอนในภาควิชาตางๆ ของมหาวิทยาลัย

Mougins, ฝรั่งเศส ขณะนั้นเขาและภรรยาแจ็คเกอรีน(Jacqueline) กำลังใหการตอนรับเพื่อนๆ สำหรับมื้อเย็น คำพูดสุดทายของเขาคือ “ดื่มใหกับผม ดื่มใหสุขภาพของผม คุณตางรูวา ผมไมสามารถดื่มไดอีกตอไปแลว” (“Drink to me, drink to my health, you know I can’t drink any more.”) รางของเขาไดถูกฝงที่ Castle Vauvenargues’ park, ใน Vauvenargues, Bouches-du-Rhone. ในฐานะภรรยาคนสุดทาย แจ็คเกอรีน ปกปองมิให Claude และ Paloma (ลูกของปคาสโซ) เขามารวมในงานพิธีฝงศพครั้งนี้

บทสงทาย: แนวคิดทางการเมืองของปคาสโซ (Political views)

ปคาสโซวางตัวเปนกลางในชวงระหวางสงครามโลกครั้งที่ 1, สงครามกลางเมืองของสเปน, และสงครามโลกครั้งที่สอง เขา ปฏิเสธที่จะตอสู ใหกับฝายใดฝายหนึ่ง บางคนในยุครวมสมัยเดียวกันกับเขารูสึกวา ความรักสงบและสันติภาพของเขาเกี่ยวพันกบัความขีข้ลาดยิง่กวาหลกัการใดๆ. ในบทความชิน้หนึง่ที่ตพีมิพในนิตยสาร The New Yorker เรียกเขาวา “คนขี้ขลาด ซึ่งนั่งนอนอยูภายนอกสงครามโลกทั้งสองครั้ง ในขณะที่บรรดาเพื่อนๆ ของเขากำลังตกทุกขไดยากและกำลังตายลงทีละคน”

ในฐานะพลเมืองสเปนคนหนึ่งที่อาศัยอยูในฝรั่งเศส ปคาสโซ มิไดอยูภายใตการบังคับใหตองตอสูกับการรุกรานของเยอรมันในสงครามโลกแตอยางใด. ในสงครามกลางเมืองสเปน ในฐานะพลเมืองสเปนที่พำนักอยูในตางประเทศ เขามีทางเลือกและมีความผูกพันในฐานะอาสาสมัครที่จะหวนกลับไปยังประเทศของตนเพื่อรวมรบในสงคราม ปคาสโซไดแสดงอาการโกรธเกรีย้ว และประณามความเปนเผด็จการของ Francisco Franco โดยผานผลงานศิลปกรรม ของเขา โดยไมได มีการ จับอาวุธ หรือ เครื่องมือประหัตประหารเพื่อทำรายใคร เขายังคงหางเหินและโดดเดี่ยวจากขบวนการปลดปลอยเพื่อความเปนอิสระ Catalan (เมืองทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศสเปน) ดวย ในชวงที่เขายังเยาววัย ทั้งที่มีการแสดงออกในเชิงสนับสนุนทั่วไป และมีมิตรภาพอันดีตอกลุมกิจกรรมตางๆ พวกนั้น

ในป ค.ศ.1944 ปคาสโซไดรวมกับพรรคการเมือง the French Communist Party, ซึ่งไดจัดใหมีการประชุมสันติภาพระหวางประเทศในโปแลนด และในป 1950 เขาไดรับรางวัล Stalin Peace Prize จากรัฐบาลสหภาพโซเวียด. แตการวิจารณพรรคเกี่ยวกับภาพเหมือนของสตาลิน ในฐานะที่ไมเหมือนจริงเพียงพอ ไดสรางความเย็นชาและคลายความสนใจของปคาสโซ ตอการเมืองคอมมิวนิสต แมวาเขายังคงความเปนสมาชิกที่ซื่อสัตยของพรรคคอมมิวนิสต จนกระทั่งวาระสุดทายก็ตาม

ในการสัมภาษณครั้งหนึ่ง ป 1945 โดย Jerome Seckler, ปคาสโซกลาววา: ผมเปนคอมมิวนิสต และภาพเขียนของผมก็เปนจิตรกรรมคอมมิวนิสต... แตถาผมเปนชางทำรองเทา ความเปนพวกนิยมราชวงศหรือเปนคอมมิวนิสต หรือจะอะไรก็ตาม ก็จะไมมีความจำ เป นที่ จ ะทำใหผมตอกรองเท าด วยวิธีการที่พิ เศษ ใดๆ เพื่อแสดงถึงความฝกใฝทางการเมืองของผม” เขาขัดแยงกับการ แทรกแซงขององคการสหประชาชาติ และสหรัฐอเมริกา ในสงคราม กลางเมืองเกาหลี และไดเขียนภาพเรื่องราวนี้ใน Massacre in Korea.

ในปค.ศ.1962 เขาไดรับรางวัลสันติภาพเลนิน (the International Lenin Peace Prize)

www.finearts.cmu.ac.thwww.finearts.cmu.ac.th/cmuartcenter

ปา โบล ปคาส โซ ตอจากหนา 5

พิพิธภัณฑ ศิลปะ ของ มหาวิทยาลัยพ ริน สตัน ตอจากหนา 2

10 Arts November 2008

Page 11: ข่าวหอศิลป์ FINE ARTS Vol 3 November 2008

Conservation&

Contem

porary Sculptureในบรรดาเพื่อนที่เรียนศิลปะมาดวยกันนั้น อาจารยพิศาล ทิพารัตน เปนเพื่อนที่รูซึ้ง

ถึงใจกับผมมากที่สุดคนหนึ่ง ซึ่งผมจะเลาความพิเศษในทางศิลปะของเขาไดเปนเลมความสามารถของ อาจารยพิศาล ไมเพียงในดานการเขียนภาพ แตในดานการปน

ดวย ยิ่งเปนการวาดหรือปนภาพเหมือนดวยแลว อาจารยพิศาลทำไดไมแคเหมือน แตมีรสมืออยางชนิดหาตัวจับยาก และฝมือระดับนี้ในเมืองเรามีเพียงไมกี่คน

ความนาสนใจที่นักศึกษาจะเรียนรูจาก อาจารยพิศาลไดมาก คือ การอานแบบ การจำลักษณะพิเศษ ความเหมือนที่ไมใชเพียงเหมือนจริง แตเปนการสำแดงออกในลักษณะยิ่งกวาใช หรือไมเหมือนแตใช

ไมเพียง อาจารยพิศาลวาดและปนได แตสามารถบรรยายในรายละเอียดใหเขาใจงายและมีรสภาษาดวย

คนทำงานศิลปะที่มีฝมือสวนหนึ่ง บรรยายความรูสึกที่มีตอผลงานตัวเองไมได ไมถนัดในทางใชภาษา ไมมีความสามารถในการใชถอยคำใหคนฟงรูสึกตาม เพราะไมใชความถนัดของเขา อาจารยพิศาล เปนอาจารยที่วิจารณแนะนำงานศิลปะไดอยางละเอียด ลึกซึ้ง ผานความรูสึกอยางแทจริงจากประสบการณตรง

หลายคนบอกไมไดวา งานศิลปะของตนดีงามตรงไหน หรือมีขอออนดอยอยางไรอาจารยบางคนไมสามารถบอกศิษยไดวา งานเรียนของศิษยดีดอยตรงไหน แต

สามารถใหคะแนนไดคะแนนหรือเกรดเปนเครื่องวัดผลงานเรียนของนักศึกษา ซึ่งในแงหนึ่ง นักศึกษาตอง

ประเมินเองวาเหตุใด ตรงไหนที่อาจารยใหเกรดสูงต่ำ โดยเมื่อเทียบกับงานของเพื่อนๆ ก็อาจเห็นผลงานตัวเองวาควรปรับปรุงแกไขอยางไรดวย

นั่นเปนการเรียนศิลปะผานการใหเกรด โดยไมตองมีคำอธิบายประกอบ แตหากอาจารยทานใดวิจารณใหผูเรียนเห็นดวยก็ยิ่งดี

อาจารยพิศาล เปนทานหนึ่งที่จะทำงานศิลปะไดอยางดีเลิศ แตความนาเสียดายอยูตรงที่ ตลอดชีวิตการสอนหรือชีวิตราชการทานเสียหายไปกับการดื่มมาก ซึ่งเปนบทเรียนที่นักศึกษาพึงสังวรใหมาก

การดื่มมากโดยไมใสใจสุขภาพ ไดทำลายโอกาสทองของคนที่มีนิสัยในทางศิลปะ นี้ใชวาตำหนิ อาจารย พิศาล แมทานอาจมีผลงานนอย แตทานมีความสามารถในการสอน อยางนอยทานชี้แนะวิจารณงานของนักศึกษาไดอยางผูรูจริง

มีปญหาความรูจริงในทางศิลปะ เนื่องจากศิลปะมียุคสมัยที่ยอมตองเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ การเรียนการสอนตามแนว อาจารยพิศาล หรือแนวศิลปากรนั้น มีคำถามวาลาหลังหรือไม (อานตอหนา 9 )

Artist

การอนุรักษจิตรกรรมบนผืนผาวัดมอนปูยักษ เมืองลำปาง ประเทศไทยCONSERVATION OF TRADITIONAL PAINTINGS ON CLOTH AT WAT MONBHUYAK IN LAMPANG PROVINCE THAILAND

ในอดีตที่ผานมาอันยาวนาน จิตรกรรมฝาผนังในประเทศไทยเปนงานศิลปที่มีคุณคาทั้งในรูปแบบและการสื่อความหมายทางประวัติศาสตร วัฒนธรรมและประเพณี อันสามารถนำมาเปนขอมูลเพื่อการศึกษาหาความรูไดในหลายสาขาวิชา แตปจจุบันนี้ปรากฏวาจิตรกรรมฝาผนังหลายแหงตามแหลงโบราณสถานไดถูกปลอยปละละเลยในการดูแลรักษา ทำใหงานศิลปอันมีคานี้คอยๆทรุดโทรมเสื่อมสภาพลง ถึงแมวาจะไดมีการบำรุงรักษาเพื่อคงไวซึ่งสภาพเดิมอยูบาง แตก็ยังมีสภาพที่ไมคงทนถาวรเทาที่ควร และสวนใหญก็กระทำกันไมถูกวิธี

สืบเนื่องจากปญหาความไมรูและไมเขาใจถึงคุณคาของงานจิตรกรรมบนผืนผาที่ยังคงเหลืออยูในสภาพที่ชำรุดอยางหนัก ภิกษุสงฆและชาวบานอาจไมสบายใจที่เห็นภาพเขียนที่เคยสมบูรณมีสีสวยงาม ซึ่งถูกประดับตกแตงไวโดยรอบอยูถัดลงมาจากเพดานของวิหารผานกาลเวลาสภาพของงานจิตรกรรมยอมเสื่อมสภาพ ถูกแมลงกัดกิน ฉีกขาด ชำรุดเกินกวาจะรักษาจึงมีความเห็นใหถอดงานจิตรกรรมที่ประดับอยูลงและไดสูญหายไป เพื่อไมใหเกิดความสลดใจที่สภาพความชำรุดดังกลาวทำ ใหทางวัดเหลืองานจิตรกรรมบนผืนผาที่ชำรุดเพียง 2 ผืนเทานั้น จากจำนวน 12 ผืน ซึ่งปจจุบันสภาพงานจิตรกรรมเกิดความเสียหาย 3 ระดับ คือ ชั้นรองพื้น ชั้นสี และผิวภาพเนื่องจาก ความชื้น ความรอน ฝุนละอองสัตวตางๆ เชนแมลงกินผา เปนตน ทุกสิ่งลวนแลวทำอันตรายตองานจิตรกรรมบนผาซึ่งมีอายุและมีความบอบบางกวางานจิตรกรรมฝาผนัง

เมืองลำปาง มีชื่อเสียงในฐานะเปน เมือง ที่ มี งานศิลปกรรมของประเทศพมา ปรากฏอยูเปนจำนวนมากที่สุด ในอาณาจักรลานนาหรือ ในเขตภาคเหนือตอนบน โดยมีวัดมอนปูยักษเปนวัดที่มีลักษณะอันโดดเดนพิเศษกวาวัดพมาแหงอื่น ๆ เพราะเปนวัดแหงเดียวที่หลงเหลือหลักฐานงาน จิตรกรรมแบบศิลปะพมาอันเกาแกและงดงามอยางยิ่ง ที่ผานกาลเวลามาไมนอยกวา 150 ปลวงมาแลว (อานตอหนา 8 )

ชื่อ ศิลปน: สุทธิ ศักดิ์ ภูธรา รักษ (สาขา ประติมากรรม คณะ วิจิตรศิลป มช.)ผลงาน ชิ้น นี้ ไดรับ แรงบันดาลใจ จาก ศิลปน ชาว อินเดีย ชื่อ Ravinder G. Reddy ซึ่ง

ใหความสนใจ ปญหา หญิงสาว ชาว พื้นเมือง ที่ รับ เอา วิถี ชีวิต และ วัฒนธรรม ตะวันตก เขา ใน ชีวิต ประจำวัน ทำให วัฒนธรรม ดั้งเดิม ใน ชนบท อินเดีย เปลี่ยนแปลง ศิลปน ทาน นี้ ได สะทอน ถึงอัต ลักษณ ของ พื้น ถิ่น อินเดีย อยาง แจมชัด สามารถ แสดงออก ตอ สังคม และ สังคม โลก รวมสมัย ได อยาง งดงาม และ ได นำ ผลงาน ประติมากรรม ของ ตน รวม แสดง ใน นิทรรศการ ศิลปะ ชื่อ Contemporary Art in Asia Traditions / Tentions ณ เมือง บริสเบน ประเทศ ออสเตรเลีย

สวน ผลงาน ของ อ.สุทธิ ศักดิ์ ภูธรา รักษ นอกจาก ไดรับ แรงบันดาลใจ จาก ศิลปน ขางตน แลว อาจารย ยัง สนใจ วัฒนธรรม ลาน นา เดิม ที่ เปลี่ยนไป ซึ่ง นับวัน อิทธิพล ของโลก ตะวันตก และ สังคม บริโภค นิยม ได คืบคลาน เขามา เปน สวนหนึ่ง ของ ภูมิ วัฒนธรรม (Geoculture) ทำให วิถี ชีวิต ทองถิ่น ของ ชาว ลาน นา เปลี่ยนแปลง ไป แปลก แยกจาก วิถี ธรรม ในอดีต

ผล งานศิลปะ ชิ้น นี้ จึง ถือกำเนิด ขึ้น บน ความ ผสมผสาน อยาง ลงตัว ระหวาง ภาพ ศีรษะ ของ แม หญิง ลาน นา จาก จิตรกรรม ฝาผนัง วัด ภูมินทร จังหวัด นาน กับ ประติมากรรม โดย ได นำ เอา ผลงาน ที่ ปรากฏ ใน งาน จิตรกรรม ประเพณี ลาน นา มา แปลงเปน ผลงาน ประติมากรรม สามมิติ และ ขยาย สัดสวน ให ใหญ กวา ปกติ จาก คนจริง หก เทา ดวย ความคิด ที่วา การ ทำให เรื่อง ธรรมดา สามัญ เปนเรื่อง ที่ สำคัญ ขึ้น มา วิธีการ หนึ่ง ก็ คือ ขยาย ให เรื่อง นั้นๆ ใหญ โตขึ้น ทำให สิ่ง เล็กๆ ที่ เคย ถูก มองขาม เปนที่ สะดุดตา ดวย การ ลง สีทอง เพื่อ เปน เปาสายตา ของ ผูชม พรอมกับ การ ตั้งคำถาม วา อะไร และ ทำไม ?

หัวแมหญิงลานนา

จิตรกรรมวัดมอนปูยักษ

เรื่องเลา... โดย เทพศิริ สุขโสภา

อาจารยพิศาล ทิพารัตน

Arts November 2008 11

Page 12: ข่าวหอศิลป์ FINE ARTS Vol 3 November 2008

หนังสือพิมพขาวหอศิลป/ขาววิจิตรศิลป ผลิตโดย สำนักงานคณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม : ถนนหวยแกว อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50200 โทรศัพท 053-211724 และ 053-944805 Email Address: [email protected] (ขอมูล เนื้อหาบทความทุกชนิด ที่ตีพิมพบนหนังสือพิมพฉบับนี้ เปนความรับผิดชอบของ

ผูเขียน รวมกับกองบรรณาธิการ) ผูสนใจโฆษณาและบริจาคเพื่อสนับสนุนการจัดพิมพหนังสือพิมพฉบับนี้ สามารถติดตอไดตามที่อยู เบอรโทรศัพท และจดหมายอิเล็กทรอนิกสขางตน

สำหรับผูเห็นคุณประโยชนของ หนังสือพิมพ ขาวหอศิลป/ขาววิจิตรศิลป และประสงคจะสนับสนุน สามารถบริจาคไดผาน ชื่อบัญชี หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม เลขที่บัญชี 05-3405-20-075259-8 ธนาคารออมสิน สาขายอย มหาวิทยาลัยเชียงใหม

ADVERTISING SPACE - หนังสือพิมพขาวหอศิลป / ขาววิจิตรศิลป ฉบับที่ ๓ นี้ ไดรับการสนับสนุนการตีพิมพแตผูเดียวโดย การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย. คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม ขอขอบคุณในการสงเสริมการศึกษาทางดานศิลปะ

Arts November 2008 12

PICA

SSO

ลาน วัฒนธรรม บริเวณ หนา สโมสร นักศึกษา คณะ วิจิตรศิลป มหาวิทยาลัย เชียง ใหม เปน อีก จุด หนึ่ง ที่ ได มี การ นำเสนอ ผลงาน จิตรกรรม ฝาผนัง ซึ่ง จำลอง แบบ มาจาก วัด ภูมินทร จังหวัด นาน โดย การ ควบคุม ของ อ. ฉลอง เดช คูภานุ มาตร และ อาจารย ทิพ วรรณ ทั่ง มั่งมี รวมกับ นักศึกษา ใน กระบวน วิชา จิตรกรรม ไทยฯ สาขา จิตรกรรม ทั้งนี้ เปนไปตาม นโยบาย การ สงเสริม และ ทำนุบำรุง ศิลป วัฒนธรรม ของ ผูบริหาร คณะ วิจิตรศิลป

ขนาด ของ ตัว ภาพ ไทย ใน สไตล ลาน นา ที่ ได จำลอง แบบ ขึ้น มาจาก วัด ใน เขต จังหวัด ภาคเหนือ นี้ มี การ ตัดตอ และ เลือกสรร เฉพาะ สวน ที่ มี ความ โดดเดน และ ทรงคุณคา เชิง สุนทรีย โดย การ ขยาย ภาพ ให มี ขนาด ใหญ กวา คนจริง และ บางสวน ของ ผนัง ปูน ขนาด 13 X 4 เมตร ( 5 2 ตารางเมตร) มี การ บรรจุ รองรอย เลียน แบบ ความ เกา แก ของ ภาพ ตนฉบับ เอา ไว เพื่อ บงบอก ถึง อายุ และ หวงเวลา ของ การ ผัน ผาน อันเปน สุนทรียภาพ อยาง หนึ่ง ของ ตะวันออก กลาว คือ การ เก็บรักษา รองรอย แหง อดีต เอา ไว เพื่อ สะทอน ถึง พื้น ที่ และ เวลา ที่ รวม เดินทาง ไปกับ ธรรมชาติ สังคม และ วัฒนธรรม ตน กำเนิด ตลอด รวม ถึง บริบท ที่ เปลี่ยน แปลง ไป

ผลงาน ภาพ จิตรกรรม ฝาผนัง ขนาด ใหญ ที่ ถูก นำมา ประกอบ สราง นี้ โดย สาระสำคัญ แลว เปนการ สะทอน ถึง เรื่องราว วิถี ชีวิต ลาน นา ในอดีต โดยเฉพาะ ฉาก การ เกี้ยว พา ราสี การละเลน และ วิถี ชีวิต ประจำวัน ของ ชุมชน ทองถิ่น ใน เขต มณฑล พายัพ ชาย ราง สูง ใหญ มี การ แตงตัว ดวย การ โพกศีรษะ รางกาย ทอน บน เปลือย สวน ตามตัว มี รอยสัก ลวดลาย ตาม คติ สะทอน ถึง ความ อาจหาญ เขม แข็ง และ ศรัทธา ไป พรอม กัน สวน แม หญิง ใน ภาพ มี การ แตงกาย อยาง งดงาม ดวย ลาย ผา และ แพรพรรณ อัน บง ถึง ความ มี ราคา แนนอน วา ภาพ นี้ คือ ภาพเขียน ตาม อุดมคติ ซึ่ง ใน ชีวิตจริง อาจ มิได เปน เชน นั้น แต ชาง แตม ชาว ลาน นา ตองการ บงบอก ถึง ความ ฝน ใฝ ของ พวกเขา อัน เปนยอด มงกุฎ แหง สามัญชน ที่ ทุกคน ปรารถนา ที่ จะ ไป ถึง

ความ งดงาม ตาม อุดมคติ เชนนี้ สะทอน ถึง ปรัชญา การ สรางสรรค ที่ ถอด แบบ ออกจาก เสี้ยว สมอง และ สอง มือ รวม ทั้ง หัว ใจ ที่ เป ยม สุข ของ ชาง ลาน นา อันเปน ของสูง ใน คติ สามัญชน ที่ ผูคน สามารถ พบเห็น ได ใน อาณาบริเวณ เขต พุทธ ภูมิ ดวย เหตุนี้ ภาพเขียน ดังกลาว จึง ทำ หนา ชี้ชวน และ ชักนำ ผูคน ให เขาสู ดิน แดน พุทธจักร และ ตัว ภาพ เหลานี้ ได ทำ หนา ที่ ไม ตาง ไปจาก มหรสพ ใน ปจจุบัน ที่ ชักนำ ผูคน มา รวมตัว กัน เพื่อ ติดตาม เรื่องราว ที่ เลาขาน ถงึ ความ รกั ความ สขุ ความ สนกุสนาน และ ความ ม ีสนัต ิ สวน ทีเ่หลอื ทัง้หมด เปนเรือ่ง ของ ภิกษุสงฆ ที่ จะ จรรโลง จิต ใจ ของ ชาวพุทธ ให เห็น ธรรม อันเปน ธรรมชาติ และสัจ จะ ของ ชีวิต ที่ เวีย วาย ในวัฎสังสาร

ภาพจำลองวัดภูมินทร อุดมคติสามัญชน

ติดตอกองบรรณาธิการหนังสือพิมพขาวหอศิลป / ขาววิจิตรศิลป email address: [email protected] หรือ โทรศัพทสายดวน 053-211724

ตามปกติ การออกแบบอาคารโรงประลองศิลปะ(art studio) ไมวาจะเปนจิตรกรรมหรือประติมากรรม จะหันตัวแกนอาคาร (ดานสกัด) ไปยังทิศตะวันออกและทิศตะวันตก สวนดานขวางจะเจารเปนชองประตูและชองหนาตาง ทั้งนี้เพื่อรองรับคุณภาพแสงสม่ำเสมอจากทิศเหนือและทิศใตที่แผเขามาในตัวอาคารไดตลอดทั้งวัน ดวยเหตุนี้ ดานสกัดทิศตะวันออกและทิศตะวันตกจึงเปนดานที่ปดทึบ ไมทำเปนทางเขาหรือหนาตาง

โครงการจิตรกรรมฝาผนังดังรูปประกอบนี้ คือการใชประโยชนพื้นที่ดานสกัด(ดานที่ปดทึบ)ของตัวอาคารโรงประลองจิตรกรรม ซึ่งมีขนาดความยาวประมาณ 15 เมตรและความสูง 6 เมตร เพื่อเปนสวนหนึ่งของการนำความรูในหองเรียนมาเสนอตอสาธารณะ และเพื่อเปนการฝกปรือทักษะของอาจารยและนักศึกษาคณะวิจิตรศิลป ใหมีความชำนิชำนาญและรูจักการแกปญหาเมื่อตองนำเสนอผลงานจิตรกรรมบนพื้นที่ผนังขนาดใหญ นอกจากนี ้ยังเปนการชวยเสริมสรางบรรยากาศการเรียนการสอนทางดานศิลปะตอนักศึกษา และผูสัญจรไปมาภายในมหาวิทยาลัยเชียงใหมดวย

จากการสอบถาม อ.ชัชวาล นิลสกุล เจาของผลงานจิตรกรรมฝาผนังขนาดใหญในรูปแบบตะวันตกชิ้นนี้ อาจารยไดใหขอมูลวา แนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบผลงานจิตรกรรมขนาดใหญดังกลาว คือปรารถนาที่จะรวบรวมภาพผลงานจิตรกรรมของปรมาจารยทางดานศิลปะตะวันตกเอาไว และประสงคใหนักศึกษาไมวาจะเรียนทางดานศิลปะหรือในสาขาวิชาอื่นที่มีโอกาสผานไปมาหรือเขาใชตัวอาคารไดเรียน”ประวัติศาสตรศิลปผานกำแพง”

จากพื้นที่วางและตัวภาพ ขนาด 6 X 15 เมตร (90 ตารางเมตร) อาจารยชัชวาลและกลุมนักศึกษาทั้งปริญญาตรีและปริญญาโทประมาณ 5 คน ไดชวยกันเขียนขึ้น โดยใชเวลามากกวา 4 สัปดาห ผลงานที่เต็มไปดวยการทุมเทนี้นับวาสัมฤทธิผลในหลายดาน กลาวคือ เปนการสรางสำนึกในการรับใชสังคมตามที่ทุกคนถนัด และเปนการสรางเสริมบรรยากาศใหมีการตื่นตัวทางดานศิลปะ

เรียนประวัติศาสตรศิลป์จากกำแพง

อ.ชัชวาล นิลสกุล

Painting Department : Faculty of Fine Arts

Painting Department : Faculty of Fine Arts

จิตรกรรมฝาผนังจำลอง รวมผลงาน ปรมาจารย ศิลปะ ตะวันตก ขนาด ภาพ 15 x 6 เมตร (90 ตาราง เมตร)