วิชาสังคมและการเมือง social and politics

21
วววววววววววววววววววว Social and Politics ว.วววววว ววว ววววววว

Upload: leanne

Post on 23-Feb-2016

138 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

วิชาสังคมและการเมือง Social and Politics. อ . มานิตา หนูสวัสดิ์. สัปดาห์ที่ 3 การจัดระเบียบทางสังคม และวัฒนธรรม. การจัดระเบียบทาง สังคม. การจัดระเบียบทางสังคมและโครงสร้างทางสังคม ( Social organization and Social structure ) - PowerPoint PPT Presentation

TRANSCRIPT

Page 1: วิชาสังคมและการเมือง  Social and Politics

วชิาสงัคมและการเมอืงSocial and Politics

อ. มานิตา หนูสวสัด์ิ

Page 2: วิชาสังคมและการเมือง  Social and Politics

สปัดาห์ท่ี 3 การจดัระเบยีบทางสงัคม และ

วฒันธรรม

Page 3: วิชาสังคมและการเมือง  Social and Politics

การจดัระเบยีบทางสงัคม• การจดัระเบยีบทางสงัคมและโครงสรา้งทางสงัคม

(Social organization and Social structure) - การจดัระเบยีบทางสงัคม หมายถึง การทำาใหส้งัคมมนุษยม์คีวามเป็นระเบยีบ

- การจดัระเบยีบทางสงัคม มคีำาเรยีกได้อีกหลายคำา เชน่ โครงสรา้งทางสงัคม, ระบบสงัคม

- การจดัระเบยีบทางสงัคม จงึเก่ียวขอ้งกับ บรรทัดฐานทางสงัคม สถานภาพ และบทบาท

Page 4: วิชาสังคมและการเมือง  Social and Politics

การจดัระเบยีบทางสงัคม• ทำาไมต้องมกีารจดัระเบยีบทางสงัคม?1. มนุษยโ์ดยทัว่ไปมคีวามแตกต่างกัน ฉะนัน้จงึจำาเป็น

ต้องมรีะเบยีบแบบแผนในการอยูร่ว่มกัน2. มนุษยอ์ยูร่ว่มกันในสงัคม ต้องมกีารพึ่งพาอาศัยกัน

เพื่อตอบสนองความต้องการพื้นฐานของตน ฉะนัน้จงึจำาเป็นต้องมรีะบบการแบง่หน้าท่ีการงานในสงัคม

3. มนุษยม์ลัีกษณะตามธรรมชาติท่ีสำาคัญ คือ การต่อสู้การใชอ้ำานาจและคามขดัแยง้ต่อกันตามปรชัญาของ Hobbes ดัน้นัน้สงัคมจงึจำาเป็นต้องมรีะบบระเบยีบเป็นแบบแผนในการอยูร่ว่มกันของมนุษย์

Page 5: วิชาสังคมและการเมือง  Social and Politics

การจดัระเบยีบทางสงัคม• บรรทัดฐานทางสงัคม (social norms)- บรรทัดฐานทางสงัคม คือ แบบแผนพฤติกรรมที่

เป็นที่คาดหวงัของสงัคม เป็นมาตรฐานท่ีสมาชกิของสงัคมถกูคาดหวงัใหป้ฏิบติัตาม

- เป็นสิง่ที่ควบคมุพฤติกรรมของคนในสงัคมและทำาให้สมาชกิในสงัคมทราบวา่จะปฏิบติัตนอยา่งไรใหเ้หมาะ

สมเป็นท่ียอมรบั หรอือะไรเป็นสิง่ที่ไมค่วรปฏิบติั- หน้าท่ีของบรรทัดฐานทางสงัคม คือ การจดัระเบยีบและชว่ยลดความจำาเป็นของการเผชญิหน้าในการตัดสนิใจในสถานการณ์ต่างๆทางสงัคมที่สมาชกิของ

สงัคมมสีว่นรว่ม

Page 6: วิชาสังคมและการเมือง  Social and Politics

การจดัระเบยีบทางสงัคม• แบง่บรรทัดฐานทางสงัคมได้ 3 ประเภท1. วถีิประชาหรอืวถิีชาวบา้น (folkways)2. จารตีหรอืศีลธรรม (mores)3. กฎหมาย (laws)

Page 7: วิชาสังคมและการเมือง  Social and Politics

การจดัระเบยีบทางสงัคม• วถีิประชาหรอืวถีิชาวบา้น (folkways)- วถีิประชาหรอืวถิีชาวบา้น หมายถึง แบบแผนหรอื

พฤติกรรมที่คนจำานวนมากเหน็วา่เหมาะสม ถกูต้องในสถานการณ์นัน้ๆ

- วถีิประชาจะครอบคลมุพฤติกรรมด้านต่างๆของสงัคมไวซ้ึ่งเป็นพฤติกรรมหรอืการกระทำาที่ปฏิบตัิ

จนเป็นความเคยชนิ เป็นนิสยั เป็นประเพณี ไมม่กีารบงัคับใหต้้องปฏิบติัอยา่งเครง่ครดั

- วถีิประชาเป็นบรรทัดฐานที่มรีะดับความสำาคัญน้อย ในสงัคม กล่าวคือ การกระทำาผิดวถิีประชานัน้มผีลก

ระทบต่อสว่นรวมน้อยและไมรุ่นแรง จงึทำาใหบ้ทลงโทษของการกระทำาผิดตามวถิีประชาไมร่า้ยแรง

Page 8: วิชาสังคมและการเมือง  Social and Politics

การจดัระเบยีบทางสงัคม• จารตีหรอืศีลธรรม (mores)- จารตีหรอืศีลธรรม คือ กฎของสงัคมท่ีกำาหนดวา่การ

กระทำาใดถกู การกระทำาใดผิด ต้องประพฤติหรอืปฏิบติัอยา่งไรจงึเรยีกวา่ทำาดีหรอืกระทำาอยา่งไรเรยีกวา่ทำาชัว่

- จารตี เป็นบรรทัดฐานท่ีมรีะดับความสำาคัญต่อสงัคม มาก เนื่องจากการกระทำาผิดจารตีจะมผีลกระทบสมาชกิ

ในสงัคมจำานวนมากหรอืสงัคมโดยสว่นรวม- ลักษณะสำาคัญของจารตี คือ เป็นทัง้ขอ้ปฏิบตัิและขอ้

หา้มปฏิบตัิ แต่ละสงัคมยอ่มมจีารตีแตกต่างกันเพราะ เป็นคณุค่าท่ีแต่ละสงัคมจะยดึถือ และจารตีมกั

เปล่ียนแปลงได้ยากกวา่วถีิประชา

Page 9: วิชาสังคมและการเมือง  Social and Politics

การจดัระเบยีบทางสงัคม• กฎหมาย (laws)- กฎหมาย คือ กฎเกณฑ์ท่ีถกูบนัทึกไวเ้ป็นทางการถึง

ขอ้หา้มไมใ่หก้ระทำาหรอืขอ้บงัคับใหท้ำาตาม และมบีทลงโทษตามการกระทำาผิดกฎหมายแต่ละอยา่งวา่จะได้รบัโทษสถานใดบา้ง

- กฎหมายเป็นสิง่ที่จำาเป็นต้องมใีนสงัคมที่ซบัซอ้น มากขึ้น เป็นบรรทัดฐานที่มลัีกษณะเป็นทางการมาก

ท่ีสดุ เป็นอำานาจรฐั- กฎหมายยงัมบีทลงโทษท่ีเป็นทางการและสามารถควบคมุพฤติกรรมของคนในสงัคมได้อยา่งมีประสทิธภิาพ

Page 10: วิชาสังคมและการเมือง  Social and Politics

การจดัระเบยีบทางสงัคม• ปัจจยัท่ีทำาให้เราต้องปฏิบติัตามบรรทัดฐานทาง

สงัคม1. เราทำาตามเพราะได้รบัการปลกูฝ่ัง สัง่สอน และผ่านการขดัเกลาทางสงัคมตัง้แต่เด็กใหป้ฏิบติัตามบรรทัดฐานทางสงัคมทีละเล็กทีละน้อย

2. เราทำาตามเพราะเป็นความเคยชนิหรอืเป็นนิสยั3. เราทำาตามเพราะเหน็วา่เป็นประโยชน์ต่อตัวเรา เชน่

มารยาทการขบัรถ การไมท่จุรติในหอ้งสอบ4. เราทำาตามเพราะต้องการแสดงความเป็นพวกเดียวกัน

หรอืกลุ่มเดียวกัน

Page 11: วิชาสังคมและการเมือง  Social and Politics

การจดัระเบยีบทางสงัคม• สถานภาพ (status)- สถานภาพ หมายถึง ตำาแหน่งท่ีได้จากการเป็นสมาชกิของ

สงัคม ตำาแหน่งต่างๆจะเป็นตัวกำาหนดสทิธิ หน้าท่ี และความรบัผิดชอบของสมาชกิ

- สถานภาพเก่ียวขอ้งกับความสมัพนัธข์องสมาชกิในสงัคมสถานภาพจะเป็นตัวกำาหนดวา่บุคคลจะปฏิบติัต่อกันอยา่งไรจงึเหมาะสม

- สิง่ท่ีตามมาจากการมสีถานภาพ คือ การแบง่ชว่งชัน้ หรอื ลำาดับชัน้ทางสงัคม ซึ่งเก่ียวขอ้งกับความมัง่คัง่ อำานาจ และ

เกียรติยศ เป็นสภาพท่ีบอกวา่ใครเหนือกวา่ใคร ใครอยูส่งู หรอืตำ่ากวา่ใคร เป็นเรื่องท่ีแสดงถึงความเป็นชนชัน้ในสงัคม

Page 12: วิชาสังคมและการเมือง  Social and Politics

การจดัระเบยีบทางสงัคม• บทบาท (role)- บทบาท หมายถึง การกระทำาหรอืการปฏิบติัตามสทิธิ

และหน้าที่ของสถานภาพ เป็นพฤติกรรมที่คาดหวงัสำาหรบัผู้ที่อยูใ่นสถานภาพต่างๆจะปฏิบติัอยา่งไร

- ปัญหาที่พบในลักษณะของสถานภาพและบทบาท คือความขดัแยง้ที่เกิดขึ้นเมื่อบุคคลมสีถานภาพซอ้นกัน

หลายอยา่ง หรอืการมบีทบาทหลายอยา่งท่ีต้อง กระทำาพรอ้มกัน สถานภาพหรอืบทบาทบางอยา่งก็

ทำาใหเ้กิดความขดัแยง้กันเอง เกิดความตึงเครยีด

Page 13: วิชาสังคมและการเมือง  Social and Politics

วฒันธรรมCulture

Page 14: วิชาสังคมและการเมือง  Social and Politics

วฒันธรรม (Culture)• ความหมาย• “ วฒันธรรมเป็นสิง่ทัง้หมดท่ีมลัีกษณะซบัซอ้น ซึ่งรวมทัง้ความ

รู ้ ความเชื่อ ศิลปะ จรยิธรรม ศีลธรรม กฎหมาย ประเพณี และ ความสามารถอ่ืนๆ รวมถึงอุปนิสยัต่างๆ ท่ีมนุษยไ์ด้มาโดยการ

” เรยีนรูจ้ากการเป็นสมาชกิของสงัคม (Edward B. Tylor) (ศิริ รตัน์ แอดสกลุ 2555: 71)

• “ วฒันธรรม คือ แบบแผนพฤติกรรมท่ีเกิดจากการเรยีนรูท่ี้ ค่อยๆเปล่ียนแปลงไปเรื่อยๆ และยงัรวมถึงผลท่ีเกิดจากการ

เรยีนรู ้ เชน่ ทัศนคติ ค่านิยม สิง่ของต่างๆ ท่ีคนทำาขึ้นและความรูท่ี้มอียูร่ว่มกันในกลุ่มชนหนึ่งและมกีารถ่ายทอดไปยงั

” สมาชกิคนอ่ืนๆของสงัคม (Cuber) ( ศิรริตัน์ แอดสกลุ 2555: 73)

Page 15: วิชาสังคมและการเมือง  Social and Politics

วฒันธรรม (Culture)• “ วฒันธรรม คือ ระบบความสมัพนัธข์องคนกับคน

และคนกับธรรมชาติ โดยปกติแล้วระบบความ สมัพนัธน์ี้มนุษยไ์มไ่ด้สรา้งขึ้นใหมท่กุชัว่อายุคน แต่

มกัจะรบัระบบความสมัพนัธท์ี่ตกทอดกันมาจากอดีต… ต้องอาศัยการถ่ายทอดปลกูฝังกันเป็นเวลานานกวา่จะสามารถดำาเนินชวีติในระบบความสมัพนัธ์

… “หนึ่งๆได้ ( นิธิ เอียวศรวีงศ์ 2537: 32)• ระบบความสมัพนัธห์รอืวฒันธรรมจงึมพีลังกำาหนดชวีติของคนยิง่กวา่สิง่ใด

Page 16: วิชาสังคมและการเมือง  Social and Politics

วฒันธรรม (Culture)• ลักษณะของวฒันธรรม1. วฒันธรรมเป็นสิง่ที่เกิดขึ้นในทกุสงัคมและเป็นสิง่ท่ีมนุษยส์รา้งขึ้น

2. วฒันธรรมเป็นสิง่ที่เกิดจากการเรยีนรู ้3. วฒันธรรมเป็นมรดกทางสงัคม กล่าวคือ เป็นสิง่ท่ี

ต้องมกีารถ่ายทอดจากรุน่สูรุ่น่ ภาษาเป็นเครื่องมอืสำาคัญในการถ่ายทอดวฒันธรรม

4. วฒันธรรมเป็นผลรวมของหลายอยา่ง ทัง้ความรู ้ ความเชื่อ ความคิด อุดมการณ์ ค่านิยม รูปแบบการ

ใชช้วีติ เครื่องมอืเครื่องใชต่้างๆ

Page 17: วิชาสังคมและการเมือง  Social and Politics

วฒันธรรม (Culture)• ลักษณะของวฒันธรรม5. วฒันธรรมเป็นสิง่ท่ีสงัคมใชร้ว่มกันไมเ่ป็นสมบติัของคนใดคนหนึ่ง

6. วฒันธรรมเป็นสิง่ท่ีปรบัปรุงและสามารถ เปล่ียนแปลงได้ ตามกาลเวลาและสภาพแวดล้อม

ทางสงัคม ( มกีารถ่ายทอดวฒันธรรม การรบั วฒันธรรมอ่ืน การแพรก่ระจายของวฒันธรรม การ

ผสมผสานและการกลืนวฒันธรรม)7. วฒันธรรมเป็นสว่นสำาคัญในการหล่อหลอมความ

คิดและบุคลิกภาพของคนในสงัคม อีกทัง้ยงัเป็นตัว กำาหนดรูปแบบความคิด ความรูส้กึ และการ

แสดงออกการกระทำาทางสงัคม

Page 18: วิชาสังคมและการเมือง  Social and Politics

วฒันธรรม (Culture)• หน้าท่ีของวฒันธรรม1. วฒันธรรมทำาหน้าท่ีในการควบคมุสงัคม ในรูปแบบ

ธรรมเนียมประเพณี ศีลธรรม2. วฒันธรรมทำาหน้าท่ีเป็นเครื่องหมายหรอืสญัลักษณ์ของกลุ่มหรอืของสงัคม

3. วฒันธรรมทำาใหเ้กิดความกลมเกลียว เป็นอันหน่ึงอัน เดียวกันเกิดความเป็นปึกแผ่นทำาใหส้งัคมคงอยูต่่อไปได้ คน

ท่ีมวีฒันธรรมเดียวกันยอ่มเกิดความรูส้กึเป็นพวกเดียวกัน เกิดความรูส้กึรกัและหวงแหน มจีติสำานึกความเป็นเจา้ของ

4. วฒันธรรมเป็นเครื่องมอืสรา้งระเบยีบแก่สงัคมและทำาหน้าท่ีเป็นเครื่องมอืในการปรบัตัวของมนุษยต่์อสิง่แวดล้อม

Page 19: วิชาสังคมและการเมือง  Social and Politics

วฒันธรรม (Culture)• วฒันธรรมของแต่ละสงัคมมคีวามแตกต่างกัน การ

ตีความหรอืการให้คณุค่าวฒันธรรมเป็นการนำาวฒันธรรมของแต่ละสงัคมมาเปรยีบเทียบกันเป็น

สิง่ท่ีพงึระวงั เพราะ ไมม่เีกณฑ์สากลใดๆมาเป็นเครื่องวดัหรอืบอกวา่เป็นมาตรฐานของวฒันธรรม

ได้ ยิง่กวา่นัน้การตีค่าวฒันธรรมของสงัคมต่างๆจะก่อใหเ้กิดอคติทางวฒันธรรม

• สิง่ท่ีตามมาจากการคิดวา่วฒันธรรมของตัวเองดี กวา่ของคนอ่ืน คือ การหลงใหลวฒันธรรมของตัว

เอง การดถูกู การมอีคติ การเลือกปฏิบติั

Page 20: วิชาสังคมและการเมือง  Social and Politics
Page 21: วิชาสังคมและการเมือง  Social and Politics

อ้างอิงและเรยีบเรยีง• เอกสารประกอบการสมัมนาทางวชิาการ เรื่อง “วฒันธรรมกับ

”สงัคมไทยในกระแสการเปล่ียนแปลง ชุด โลกาภิวฒัน์(Globalization) อภิชาติ สถิตนิรามยั บรรณาธกิาร โดย

มหาวทิยาลัยธรรมศาสตร์ และ The Toyota Foundation และ มูลนิธโิครงการตำาราสงัคมศาสตรแ์ละมนุษยศาสตร์ ระหวา่งวนั

ท่ี 15-16 พฤศจกิายน พ. ศ 2537• ศิรริตัน์ แอดสกลุ. (2555) ความรูเ้บื้องต้นสงัคมวทิยา. กรุงเทพฯ: สำานักพมิพแ์หง่จุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลัย.

• ภาควชิาสงัคมวทิยาและมานุษยวทิยา คณะรฐัศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลัย. (2553) สงัคมและวฒันธรรม. พมิพ์

ครัง้ท่ี 12. กรุงเทพฯ: สำานักพมิพแ์หง่จุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลัย.