09 chapter 8infofile.pcd.go.th/mgt/fta09.pdf · 2011. 10. 3. · title: ��microsoft word...

31
บทที่ 8 ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม จากการมีความตกลงการคาเสรี 8.1 การศึกษาผลกระทบดานสิ่งแวดลอมจากผลกระทบทางเศรษฐกิจ ผลกระทบดานสิ่งแวดลอม (Environmental Impacts) หมายถึงการเสื่อมโทรมของ ฐานทรัพยากรธรรมชาติ เชน ดิน ปาไม ความหลากหลายทางชีวภาพ ตลอดจนความเสียหายที่เกิดขึ้น ตอคุณภาพสิ่งแวดลอม เชน อากาศ น้ํา อันเปนผลที่เกิดขึ้นมาจากการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ในการผลิตสินคาทั้งสินคาการเกษตรและสินคาอุตสาหกรรมที่เพิ่มขึ้น และกอใหเกิดผลกระทบตอ สิ่งแวดลอมตามมา ในมิติของเศรษฐศาสตรสิ่งแวดลอมการเปลี่ยนแปลงกิจกรรมทางเศรษฐกิจเกิดขึ้น จากการนําเอาปจจัยการผลิตเขาสูกระบวนการผลิตตาม “สูตร” การผลิตสินคา ทําใหมีการซื้อ-ขายสินคา สําหรับนํามาใชเปนปจจัยการผลิตและกระตุนใหมีการผลิตสินคาอยางหลากหลายมากยิ่งขึ้น ผลกระทบ ทางสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตจึงมีความเชื่อมโยงและสัมพันธกับการเปลี่ยนแปลง ทางดานเศรษฐกิจอยางมาก ในการศึกษาผลกระทบดานสิ่งแวดลอมจึงเปนการรวบรวมผลกระทบ ดานสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นในทุกสวนของปจจัยการผลิตซึ่งถูกรวมเขาสูกระบวนการผลิต และเพื่อให การประเมินผลกระทบดานสิ่งแวดลอมถูกนับรวมเปนสวนหนึ่งของตนทุนการผลิตในรูปของตนทุน ทางสังคมและใชเปนขอมูลเปรียบเทียบไดกับขอมูลรายไดหรือผลประโยชนในระบบบัญชีจึงนิยมมีหนวย วัดที่แปลงเปนมูลคาเงินเพื่อใหสะดวกในการวิเคราะหเปรียบเทียบผลประโยชนได-เสียระหวางสินคาได อยางเหมาะสม การศึกษาผลกระทบดานสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจ ภายใตความตกลงการคาเสรีจึงมีหลักเกณฑการพิจารณาโดยการเปรียบเทียบผลได - ผลเสียทาง ดานเศรษฐกิจและสิ่งแวดลอมที่ประเมินในรูปของตัวเงิน โดยมีเกณฑที่ใชในวิเคราะหที่สําคัญ ไดแก 1) หลักเกณฑการวิเคราะหผลกระทบดานเศรษฐกิจ โดยใชการวิเคราะหเปรียบเทียบ ผลประโยชนกับตนทุน (Benefit-Cost Analysis) เปนการวิเคราะหเชิงเศรษฐศาสตรที่นําเอาผลไดของ กิจกรรมทางเศรษฐกิจไปเปรียบเทียบกับคาใชจายหรือตนทุนของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดยปกติจะ

Upload: others

Post on 04-Feb-2021

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • บทที่ 8

    ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม จากการมีความตกลงการคาเสรี

    8.1 การศึกษาผลกระทบดานสิ่งแวดลอมจากผลกระทบทางเศรษฐกิจ

    ผลกระทบดานสิ่ งแวดลอม (Environmental Impacts) หมายถึงการเสื่อมโทรมของ ฐานทรัพยากรธรรมชาติ เชน ดิน ปาไม ความหลากหลายทางชีวภาพ ตลอดจนความเสียหายที่เกิดขึ้น

    ตอคุณภาพสิ่งแวดลอม เชน อากาศ น้ํา อันเปนผลที่เกิดขึ้นมาจากการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ในการผลิตสินคาทั้งสินคาการเกษตรและสินคาอุตสาหกรรมที่เพิ่มขึ้น และกอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมตามมา ในมิติของเศรษฐศาสตรสิ่งแวดลอมการเปลี่ยนแปลงกิจกรรมทางเศรษฐกิจเกิดขึ้น

    จากการนําเอาปจจัยการผลิตเขาสูกระบวนการผลิตตาม “สูตร” การผลิตสินคา ทําใหมีการซื้อ-ขายสินคาสําหรับนํามาใชเปนปจจัยการผลิตและกระตุนใหมีการผลิตสินคาอยางหลากหลายมากยิ่งขึ้น ผลกระทบทางสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตจึงมีความเชื่อมโยงและสัมพันธกับการเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจอยางมาก ในการศึกษาผลกระทบดานสิ่งแวดลอมจึงเปนการรวบรวมผลกระทบ

    ดานสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นในทุกสวนของปจจัยการผลิตซึ่งถูกรวมเขาสูกระบวนการผลิต และเพื่อให การประเมินผลกระทบดานสิ่งแวดลอมถูกนับรวมเปนสวนหนึ่งของตนทุนการผลิตในรูปของตนทุน ทางสังคมและใชเปนขอมูลเปรียบเทียบไดกับขอมูลรายไดหรือผลประโยชนในระบบบัญชีจึงนิยมมีหนวยวัดที่แปลงเปนมูลคาเงินเพื่อใหสะดวกในการวิเคราะหเปรียบเทียบผลประโยชนได-เสียระหวางสินคาได

    อยางเหมาะสม

    การศึกษาผลกระทบดานสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจภายใตความตกลงการคาเสรีจึงมีหลักเกณฑการพิจารณาโดยการเปรียบเทียบผลได - ผลเสียทาง

    ดานเศรษฐกิจและสิ่งแวดลอมที่ประเมินในรูปของตัวเงิน โดยมีเกณฑที่ใชในวิเคราะหที่สําคัญ ไดแก

    1) หลักเกณฑการวิเคราะหผลกระทบดานเศรษฐกิจ โดยใชการวิเคราะหเปรียบเทียบผลประโยชนกับตนทุน (Benefit-Cost Analysis) เปนการวิเคราะหเชิงเศรษฐศาสตรที่นําเอาผลไดของกิจกรรมทางเศรษฐกิจไปเปรียบเทียบกับคาใชจายหรือตนทุนของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดยปกติจะ

  • 8-2 บทที่ 8: ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการมีความตกลงการคาเสรี

    จัดทําบัญชีผลประโยชนและตนทุนเปนตัวเงิน แตการวิเคราะหทางดานสิ่งแวดลอมจะใชเปนขอมูล

    ดานตนทุนที่จะใชคํานวณเปรียบเทียบผลประโยชนกับตนทุน จากการผลิตสินคาและบริการเพื่อ การคาระหวางประเทศ

    สําหรับการคํานวณผลกระทบทางเศรษฐกิจของการศึกษาครั้งนี้ คณะผูศึกษาไดกําหนดหลักเกณฑการประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจโดยการคํานวณการเปลี่ยนแปลงของผลผลิตมวลรวม

    ของชาติหรือ GDP ที่เกิดจากการสงออกและนําเขาสินคาแตละรายการ โดยการสงออกสินคาเพิ่มขึ้นสงผลใหมูลคา GDP เพิ่มขึ้น ขณะที่การนําเขาสินคาเพิ่มขึ้นสงผลใหมูลคา GDP ลดลง เนื่องจาก GDP เปนการนับสินคาและบริการที่มีการซื้อขายผานระบบตลาด ดังนั้นการสงออกและนําเขาสินคารายการ

    ตางๆ จึงสงผลให GDP มีการเปลี่ยนแปลงแตกตางกัน เนื่องจากสินคาแตละรายการจะมี “สูตรการผลิต (Production Function)” เฉพาะของตัวเอง และ GDP ก็เปนองคประกอบของสูตรการผลิตดวย ซึ่งสามารถสาธิตการเขียนสูตรการผลิตสินคาในรูปสมการไดดังนี้

    ),,,( 4321 XXXXAQ i

    กําหนดให

    Q ผลผลิตสินคา

    A เทคโนโลยี

    1iX วัตถุดิบ / วัสดุ ชนิด i

    2X แรงงาน

    3X ทุน / เครื่องมือ / เครื่องจักร / สิ่งกอสราง

    4X ภาษีทางออม

    ในสมการสูตรการผลิต” มี 432 ,, XXX เปนองคประกอบของ GDP ไดแก คาตอบแทน

    แรงงาน คาตอบแทนการลงทุน (กําไรของธุรกิจ) และมูลคาภาษีทางออม โดยสินคาแตละรายการจะมีสัดสวนของคาตอบแทนแรงงาน ทุน และภาษีทางออมที่แตกตางกัน นอกจากนี้ การสงออกสินคา

    รายการตางๆ ที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงจะสงผลใหมีการเปลี่ยนแปลงของ GDP ที่แตกตางกัน เนื่องจากสินคาแตละตัวมักมีความเกี่ยวของกันในลักษณะของการเปนวัตถุดิบใหแกกันตามระบบหวงโซอุปทาน (Supply Chain) ตั้งแตตนน้ําจนถึงปลายน้ํา ดังนั้น สินคาที่ตองใชวัตถุดิบในการผลิตมากก็ยิ่งมี

    ผลกระทบตอเนื่องกับสินคาอื่นๆ มากและสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของ GDP อยางกวางขวาง มากข้ึน

  • บทที่ 8: ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการมีความตกลงการคาเสรี 8-3

    การเปลี่ยนแปลงของ GDP อันเปนผลจากการสงออกและนําเขาสินคาเพิ่มขึ้น สามารถคํานวณ

    โดยการทดสอบการเพิ่มคาของตัวแปรของการสงออกสินคาและตัวแปรการนําเขาสินคาตาม “แบบจําลองตารางปจจัยการผลิตและผลผลิต” (Input-Output Model, Leontief 1936, 1966) ซึ่งสามารถอธิบายถึงการหมุนเวียนและความเชื่อมโยงของสินคาและบริการระหวางสาขาตางๆ ในระบบเศรษฐกิจ กลาวคือ

    สามารถวิเคราะหไดวาสินคาหรือสาขาผลิตใดมีผลตอระบบเศรษฐกิจมากนอยเทาใด โดยผลกระทบนั้นมีทั้งความเชื่อมโยงแบบ Backward Linkage กลาวคือหากมีการผลิตในสินคาเพิ่มขึ้นหนึ่งหนวยจะสงผลใหสินคาอื่นๆ ที่เปนปจจัยการผลิตในสินคานั้นเพิ่มขึ้นกี่หนวย และความเชื่อมโยงแบบ Forward Linkage ซึ่งบงชี้วาหากการผลิตในสินคา/สาขานั้นเพิ่มขึ้นหนึ่งหนวย จะสงผลใหสาขาการผลิตอื่นที่ใช

    สาขาการผลิตนั้นเปนปจจัยการผลิตมีการผลิตเพิ่มขึ้นรวมกี่หนวย

    โครงสรางของตารางปจจัยการผลิตและผลผลิตแบงเปน 2 สวนใหญๆ คือทางดานสดมภเปน โครงสรางปจจัยการผลิตสินคาและบริการ ซึ่งประกอบดวยปจจัยการผลิตขั้นตน (Primary Input) และ

    ปจจัยการผลิตขั้นกลาง (Intermediate Input) ทางดานแถวเปนการกระจายผลผลิต (Output Distribution) ตารางปจจัยการผลิตและผลผลิตจึงสามารถนํามาใชในการวิเคราะหความเชื่อมโยงของสินคาในระบบตลาดและดุลยภาพของระบบเศรษฐกิจ โดยสามารถจําลองทฤษฎีของระบบเศรษฐกิจ ดวยแบบจําลองตารางปจจัยการผลิตและผลผลิตไดดังนี้

    ดุลยภาพของระบบเศรษฐกิจหรือตลาด หมายถึง อุปทาน = อุปสงค

    FXAX [1]

    นิยามอุปสงคในสวนของการใชผลผลิตขั้นสุดทายF คือ

    FXAX [2]

    หรือ

    FXAI )( [3]

    คํานวณปริมาณการผลิต X จากขอมูลการใชผลผลิตขั้นสุดทาย F

    FAIX 1)( [4]

    โดยกําหนดใหอุปทาน X ประกอบดวยอุปทานของสินคา i

    nX

    X

    X

    X 2

    1

    [5]

  • 8-4 บทที่ 8: ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการมีความตกลงการคาเสรี

    อุปสงคของการใชผลผลิตขั้นสุดทาย F ประกอบดวยอุปสงคของการใชผลผลิตขั้นสุดทาย i

    nF

    F

    F

    F.2

    1

    [6]

    เทคโนโลยีการผลิต A ประกอบดวยเทคโนโลยีการผลิตสินคา i ดังนี้

    mnmm

    n

    n

    AAA

    AAA

    AAA

    A

    .

    ....

    .

    .

    21

    22221

    11211

    n

    mnmm

    n

    n

    n

    n

    X

    X

    X

    X

    X

    X

    X

    X

    X

    X

    X

    XX

    X

    X

    X

    X

    X

    .

    ....

    .

    .

    2

    2

    1

    1

    2

    2

    22

    1

    21

    1

    2

    12

    1

    11

    [7]

    อุปสงคของสินคา i ใชในกระบวนการผลิต j และการใชผลผลิตขั้นสุดทายมีนิยาม ดังนี้

    nnmnmm

    n

    n

    XFXXX

    XFXXX

    XFXXX

    ...

    ......

    ...

    ...

    21

    2222221

    1111211

    [8]

    1

    .

    1

    1

    I = Identity Matrix [9]

    คุณสมบัติของ [4] หรือสมการ FAIX 1)( คือทําใหสามารถพยากรณผลกระทบสะสมทางตรงและทางออมของการแปรผันของ F สําหรับสินคาใดๆ เพียงสินคาเดียว เชน การแปรผันของ

    1F จะทําใหปริมาณการผลิตของสินคา niX i ...1, เปลี่ยนแปลงไปเทาใด เนื่องจากสินคาตางๆ มีความสัมพันธกันในทางเปนวัตถุดิบของกันและกัน สมการ FAIX 1)( มี 1)( AI เปนสัมประสิทธิ์ทวีคูณ (Multiplier) ของ F ซึ่งสัมประสิทธิ์ทวีคูณ (Multiplier) ใชเปนดัชนีสําหรับประเมิน ผลกระทบทางตรงและทางออมสะสม

    การทดสอบการเพิ่มคาของตั วแปรการส งออกสินคา และตัวแปรการนําเขาสิ นค า ของ “แบบจําลองตารางปจจัยการผลิตและผลผลิต” กระทําไดโดยการทดสอบเพิ่มคาตัวแปร F ซึ่งมีนิยามสวนขยายดังนี้

  • บทที่ 8: ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการมีความตกลงการคาเสรี 8-5

    iisisisii MEGICF ,,,1,

    n

    iiFGDP

    11,

    กําหนดให

    1,iF ยอดรวมการใชสินคา i ที่ผลิตในประเทศขั้นสุดทาย

    1,iC การใชสินคา i ที่ผลิตในประเทศสําหรับการบริโภคโดยครัวเรือน

    1,iI การใชสินคา i ที่ผลิตในประเทศสําหรับการใชจายดานการลงทุน

    1,iG การใชสินคา i ที่ผลิตในประเทศสําหรับการใชจายโดยรัฐบาล

    iE การใชสินคา i ที่ผลิตในประเทศสําหรับการสงออกไปขายตางประเทศ

    s 1 แทนสินคาผลิตในประเทศ

    s 2 แทนสินคาผลิตจากตางประเทศ

    iM รวมการใชสินคา i ที่นําเขาจากตางประเทศสําหรับ (1) เปนวัตถุดิบของการผลิตสินคา (2) เปนสินคาขั้นสุดทายสําหรับการบริโภคโดยครัวเรือน (3) เปนสินคาขั้นสุดทายสําหรับการใชจาย ดานการลงทุน (4) เปนสินคาขั้นสุดทายสําหรับการใชจายโดยรัฐบาล

    GDP ผลผลิตมวลรวมของชาติ (Gross Domestic Products)

    ดังนั้นจึงพบวา GDP เพิ่มขึ้นเพราะมีการสงออกสินคามากขึ้นและ GDP ลดลงเพราะมีการนําเขาสินคามากขึ้น ผลประโยชนทางเศรษฐกิจของ FTA จึงประเมินไดจากการเพิ่มขึ้นของ GDP และตนทุนทางเศรษฐกิจของ FTA นั่นเอง โดยสามารถประเมินไดจากการเพิ่มขึ้นและลดลงของ GDP แสดง

    ดังตารางที่ 8.1

    ตารางที่ 8.1: หลักเกณฑการประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจ

    เงื่อนไข GDP

    บวก กลาง ลบ

    สงออกเพิ่มขึ้น

    นําเขาเพิ่มขึ้น

    สงออกเพิ่มขึ้น + นําเขาเพิ่มขึ้น

  • 8-6 บทที่ 8: ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการมีความตกลงการคาเสรี

    โดยปกติ FTA อาจทําใหมีการเปลี่ยนแปลงโครงสรางการผลิตได กลาวคือเกิดการกระจุกตัวใน

    การผลิตสินคาบางรายการอันเปนผลมาจากมีความไดเปรียบดานตนทุน และมีสินคาจากตางประเทศไหลเขามาแทนที่สินคาที่เคยผลิตไดในประเทศ ทําใหสินคาที่ถูกเขามาแทนที่ตองปรับตัวไปผลิตสินคา ชนิดอื่นหรือถูกเบียดออกจากตลาดไป นั่นคือ FTA ทําใหเกิดการลดความหลากหลายของรายการสินคา

    ที่สามารถผลิตไดในประเทศ มีการกระจุกตัวของการจางงานในกลุมสินคาที่สามารถสงออกได และ การสูญเสียการจางงานในกลุมสินคาที่เคยผลิตไดในประเทศและมีสินคาจากตางประเทศเขาแทนที่

    2) ขอมูลสําหรับการประเมินผลประโยชนและตนทุนทางเศรษฐกิจของ FTA

    ในการประเมินผลกระทบของ FTA สําหรับการศึกษาในครั้งนี้จะเปนการประเมินผลกระทบ ทางเศรษฐกิจแบบสมบูรณหมายถึงทําการประเมินผลกระทบทั้งทางตรงและทางออม คํานวณโดยใช

    เทคนิควิธีของแบบจําลองตารางปจจัยการผลิตและผลผลิต (Input-Output Model) สําหรับขอมูลที่ใชประเมินผลประโยชนและตนทุนทางเศรษฐกิจของ FTA ของการศึกษาในครั้งนี้ประกอบดวยขอมูล 3 สวน ไดแก (1) ตารางปจจัยการผลิตและผลผลิตของประเทศไทย (Input-Output Table of Thailand)

    ในป 2543 (2) มูลคาสินคาสงออกของประเทศไทยไปประเทศคูสัญญา (3) มูลคาสินคานําเขาของประเทศไทยจากประเทศคูสัญญา โดยมีแหลงที่มาของขอมูลดังตารางที่ 8.2

    ตารางที่ 8.2: รายการขอมูลและแหลงขอมูลที่ใชในการคํานวณผลประโยชนและตนทุนทางเศรษฐกิจ

    ขอมูลที่ใชประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจ

    ลําดับ ขอมูล แหลงขอมูล

    1. ขอมูลของตารางปจจัยการผลิตและผลผลิตของประเทศไทย (Input-Output Table of Thailand)

    สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.)

    2. มูลคาสินคาสงออกของประเทศไทยไปประเทศคูสัญญา

    กรมสงเสริมการสงออก /กรมศุลกากร

    3. มูลคาสินคานําเขาของประเทศไทยจากประเทศคูสัญญา

    กรมสงเสริมการสงออก /กรมศุลกากร

    3) หลักเกณฑการวิเคราะหคาใชจายที่เกิดขึ้นจากการจัดการสิ่งแวดลอม

    ภายหลังจากที่ไดมีการสงเสริมการคาและการลงทุนในสินคา บริการสาขาสิ่งแวดลอม หรือ

    สาขาอื่นที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม การวิเคราะหคาใชจายจากการจัดการสิ่งแวดลอมจึงเปนการวิเคราะหผลกระทบดานสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมดานการผลิต การนําเขา-สงออก สินคาและบริการ รวมทั้งกิจกรรมภายใตขอตกลงอื่นๆ นอกเหนือจากการคาภายใตการทําขอตกลงการคาเสรีของ

    ประเทศไทยกับประเทศตางๆ เพื่อใหทราบถึงผลประโยชนและตนทุนจากการดําเนินงานตามความตกลงการคาเสรีวามีความคุมคาหรือไมและกอใหเกิดประโยชนตอประเทศชาติระดับใด

  • บทที่ 8: ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการมีความตกลงการคาเสรี 8-7

    สําหรับการศึกษาในครั้งนี้ไดกําหนดแนวทางเบื้องตนของการคํานวณตนทุนของมาตรการ

    ดานสิ่งแวดลอม (Environmental Compliance Cost)1 โดยในกรณีที่ประเทศคูสัญญานําเอามาตรการดานสิ่งแวดลอมเขามาแทนที่การลดอัตราภาษีและคาธรรมเนียมนําเขาสินคาตามสัญญาการทําขอตกลงการคาเสรี ซึ่งสงผลใหมีตนทุนมาตรการดานสิ่งแวดลอมซึ่งอาจจะมีมูลคามากพอที่จะแทนที่อัตราภาษี

    และคาธรรมเนียมนําเขาสินคาที่ลดลงและทําใหสินคาสงออกมีราคาสูงอยูเชนเดิม และมาตรการ ดานสิ่งแวดลอมที่ประเทศนําเขาใชจะทําใหอุปสงคในวัตถุที่มีกระบวนการผลิตตามมาตรฐานสิ่งแวดลอมขยายตัวและเกิดความขาดแคลน และกดดันใหราคาวัตถุที่มีกระบวนการผลิตตามมาตรฐานสิ่งแวดลอมปรับสูงขึ้น การปรับตัวจึงเริ่มตนที่การขยายการผลิตเฉพาะสวนที่มีกระบวนการผลิตตามมาตรฐาน

    สิ่งแวดลอมตั้งแตวัตถุดิบจนถึงกระบวนการผลิตเพื่อใหสอดคลองกับมาตรการดานสิ่งแวดลอมของประเทศผูนําเขาบังคับใช นําไปสูการขยายตัวของอุปสงคของวัตถุที่มีกระบวนการผลิตตามมาตรฐานสิ่งแวดลอมและทําใหราคาวัตถุที่มีกระบวนการผลิตตามมาตรฐานสิ่งแวดลอมปรับสูงขึ้นซึ่งหมายถึงตนทุนมาตรการดานสิ่งแวดลอมนั่นเอง

    ขอมูลสําหรับการคํานวณตนทุนมาตรการสิ่งแวดลอมใชขอมูลทุติยภูมิ ไดแก ตารางปจจัย การผลิตและผลผลิตของประเทศไทย (Input-Output Table of Thailand) ขอมูลการคาของ กระทรวงพาณิชย รวมถึงการใชขอมูลปฐมภูมิ ไดแก การสัมภาษณผูประกอบการภาคเกษตร อุตสาหกรรมที่มีศักยภาพดานสงออกไปยังประเทศรวมสัญญา เพื่อรวมรวมขอมูลดานงบประมาณที่ใชใน

    การจัดการสิ่งแวดลอม และการดําเนินการตามกฎหมายและขอกําหนดดานสิ่งแวดลอมของประเทศคูคา

    8.2 แนวทางการคํานวณมูลคากระทบดานส่ิงแวดลอม

    การประเมินผลกระทบดานสิ่งแวดลอมเปนการดําเนินการเพื่อใหทราบถึงมูลคา (ตนทุนหรือผลประโยชน) ที่เปลี่ยนไปอันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงดานสิ่งแวดลอมจากการใชทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดลอม2 เปนฐานการผลิตสินคาอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม การใชปจจัยการผลิต

    ดานการลงทุน และการบริการสาขาสิ่ งแวดลอม หรือสาขาอื่นที่มีผลกระทบตอสิ่ งแวดลอมใน รูปของตัวเงินเพื่อใหทราบถึงผลประโยชนสุทธิ (Net Benefit) โดยมีเกณฑการพิจารณาผลกระทบ 4 ดาน ไดแก ดานกายภาพ ดานนิเวศวิทยา ดานคุณคาและการใชประโยชน และดานคุณภาพชีวิต ซึ่งการประเมินมูลคาทางสิ่งแวดลอมมีเครื่องมือหลายชนิด ขึ้นอยูกับสินคาและบริการที่ตองการประเมิน

    ดังนี้

    1 ตนทุนมาตรการดานสิ่งแวดลอม (Environmental Compliance Cost) หมายถึง คาเชาเศรษฐกิจ (Economic Rent) ที่เกิดจาก

    ความขาดแคลนของปจจัยการผลิตที่มีมาตรฐานดานสิ่งแวดลอมสูง ไดแก วัตถุที่มีกระบวนการผลิตตามมาตรฐานสิ่งแวดลอม เชน ISO

    14000s เปนตน

    2 สําหรับผลกระทบตอระบบธรรมชาติในเชิงกายภาพนั้นไมสามารถประเมินเปนมูลคาไดอยางนาเชื่อถือ

  • 8-8 บทที่ 8: ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการมีความตกลงการคาเสรี

    1) ศึกษาทบทวนวิธีการประเมินผลกระทบ/มูลคาทางสิ่งแวดลอมประเภทตางๆ อาทิ

    Contingent Valuation Method (CVM), Travel Cost Method (TCM), Hedonic Pricing Method (HPM), Environment as Factor Input, Market Valuation (MV), Benefit Transfer Approach (BT) Life Cycle Ascessment: LCA)3

    การประเมินผลกระทบ/มูลคาทางสิ่งแวดลอมตามวิธี Contingent Valuation Method

    (CVM), Travel Cost Method (TCM), Hedonic Pricing Method (HPM), Environment as Factor Input, Market Valuation (MV), Benefit Transfer Approach (BT) เปนการประเมินตามแนวคิดเกี่ยวกับประเภทของคุณคาของสิ่งแวดลอม (สมพจน, 2550) ประกอบดวย (1) มิติการใชประโยชน (Use Value) และ (2) มิติจิตวิญญาณ (Non-use Value) แสดงในรูปที่ 8.1

    3 Contingent Valuation Method (CVM) เปนวิธีที่ใชการสมมุติเหตุการณ และตั้งคําถามเพื่อสัมภาษณประชาชนที่ไดรับ

    ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงตามเหตุการณที่สมมุติข้ึนวามีความยินดีที่จะจายเทาไร (Willingness to Pay) หรือมีความยินดีที่จะรับการ

    ชดเชยเทาไร (Willingness to Accept)

    Travel Cost Method (TCM) เปนวิธีที่ใชประเมินมูลคาเชิงนันทนาการเทานั้น เชน มูลคาของแหลงทองเที่ยว โดยสอบถามถึง

    คาใชจายในการมาเที่ยว (คาเดินทาง อาหาร ที่พัก ฯลฯ)

    Hedonic Pricing Method (HPM) เปนวิธีที่ใชประเมินมูลคาสิ่งแวดลอมที่เกี่ยวของกับมูลคาอสังหาริมทรัพย หรือ คาจาง เชน

    มลพิษทางอากาศทําใหราคาบานลดลง เปนตน

    Environment as Factor Input เปนวิธีการประเมินเฉพาะกรณีที่สิ ่งแวดลอมทําหนาที่เปนสวนหนึ่งของปจจัยการผลิต

    เชน นํ้าเสียทําใหตนทุนการผลิตนํ้าประปาสูงขึ้น การสูญเสียปาชายเลนทําใหปริมาณปลาลดลง เปนตน

    Market Valuation (MV) เปนวิธีการประเมินจากคาใชจายของประชาชนตามมูลคาทางตลาดโดยวิธีตางๆ เชน Replacement

    Cost Approach, Averting Expenditure Approach, Preventive Cost Approach และ Dose Response Approach เปนตน

    Benefit Transfer Approach (BT) เปนวิธีที่สามารถนํามาใชประเมินมูลคาไดทุกประเภทเนื่องจากไมตองทําการสํารวจหรือ

    เก็บขอมูลภาคสนามเอง แตเปนการสํารวจเอกสารงานวิจัยเดิม และนํามูลคาสิ่งแวดลอมที่ศึกษาไวแลวจากที่อื่นมาปรับคาเพื่อเปนตัวแทนของมูลคาสิ่งแวดลอมที่กําลังศึกษาอยู

    Life Cycle Analysis (LCA) เปนวิธีการประเมินผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากผลิตภัณฑตลอดชวงอายุการนับตั้งแตขั้นเตรียม

    วัตถุดิบจนกระทั่งการกําจัดดวยวิธีที่เหมาะสม โดยมีองคประกอบของการวิเคราะห 3 สวนดวยกันคือ (1) Life Cycle Inventory (LCI) คือ การจัดระบบขอมูลทั้งสวนที่รับและสวนที่เกิดขึ้น ไมวาจะเปนปริมาณของพลังงานที่ใชความตองการของวัตถุดิบ และอื่นๆ ที่มีผลเกี่ยวเนื่อง

    กับผลิตภัณฑ กระบวนการและผลกระทบที่เกิดขึ้น (2) Life Cycle Impact Assessment (LCIA) คือการนําขอมูลมาทําการแปลงแยกแยะตามชนิดของผลกระทบที่มีตอสิ่งแวดลอม และ (3) Life Cycle Interpretation คือ การประเมินผลที่เกิดขึ้นเพื่อจะใชในการนํามาเปรียบเทียบ

    ระหวางผลิตภัณฑที่สามารถใชทดแทนกันได

  • บทที่ 8: ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการมีความตกลงการคาเสรี 8-9

    รูปที่ 8.1: มูลคาทางเศรษฐกิจของสิ่งแวดลอม

    2) คัดเลือกวิธีการประเมินผลกระทบ/มูลคาตอสิ่งแวดลอม โดยพิจารณาความเหมาะสมกับรายการสินคา/บริการ/การลงทุนที่เปนเปาหมายของการศึกษาในครั้งนี้ รวมถึงพิจารณาความพรอมและความเหมาะสมดานอ่ืนๆ ประกอบดวย เชน ความพรอมของขอมูล งบประมาณ ระยะเวลาในการศึกษา

    เปนตน จากนั้นนําเอาวิธีการประเมินที่เหมาะสมมาทําการประเมินผลกระทบและมูลคาทางสิ่งแวดลอมของสินคา/บริการ/การลงทุน และคณะผูศึกษาไดกําหนดแนวทางการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดลอมโดยใชหลักการวงจรชีวิตและผลิตภัณฑ (Economic Input - Output Life Cycle Assessment: EIO-LCA) (Karna and Engstrom 1994; Lave et al 1995; Pento. 1997; Joshi 2000) โดยใชหลักการระบบ

    บัญชีปจจัยการผลิตและผลผลิต (Input-Output Accounting) (Leontief, 1966) ซึ่งไดกําหนดรายการชนิดผลกระทบสิ่งแวดลอมที่ประเมินไว 10 รายการ ไดแก (1) ไฟฟา (2) กาซ (3) น้ํามัน (4) การขนสง ทุกประเภท (5) สารเคมี (6) ปุย สารเคมีฆาศัตรูพืช (7) ปาไม (8) ที่ดิน (9) น้ําประปา และ

    (10) สุขาภิบาล

    ขั้นตอนการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดลอมโดยใชหลักการวงจรชีวิตและผลิตภัณฑ ซึ่งใชการคํานวณดวยระบบบัญชีปจจัยการผลิตและผลผลิต (Leontief 1936; 1966) โดยใชฐานขอมูล ตารางปจจัยการผลิตและผลผลิตของประเทศไทย จัดทําโดยสํานักงานคณะกรรมการพัฒนา

    การเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) มีรายละเอียดดังนี้

    (1) วงจรชีวิตและผลิตภัณฑ (Economic Input - Output Life Cycle Assessment: EIO-LCA) เปนการคํานวณผลกระทบทางสิ่งแวดลอมตามหลักการวงจรชีวิตและผลิตภัณฑ ซึ่งใชขอมูลของระบบบัญชีตารางปจจัยการผลิตและผลผลิต (Input-Output Table) มีนิยามตามสมการ [1] และ สวนขยายตามสมการ [2] -[15]

    สัญลักษณ kjE ใชแทนผลกระทบทางสิ่งแวดลอมชนิด k แสดงในตารางที่ 8.4 ของสินคา j

    มูลคาทางเศรษฐกิจของสิ่งแวดลอม

    (Total

    มูลคาของการใชประโยชน

    (Use

    มูลคาในเชิงจิตวิญญาณ

    (Non-

    ใชประโยชนโดยตรง

    (Direct use)

    ใชประโยชนทางออม

    ใชประโยชนในอนาคต

    (Optio

    การดํารงอยู (Existence

    Value)

    การเรียนรู (Vicarious

    Value)

    การตกทอดสูชนรุนหลัง

    (Bequ

  • 8-10 บทที่ 8: ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการมีความตกลงการคาเสรี

    การคํานวณตามสมการ [1] ใชขอมูลของระบบบัญชีตารางปจจัยการผลิตและผลผลิตของ

    ประเทศไทย (Input-Output Table of Thailand) รวบรวมโดยสํานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ซึ่งจําแนกสาขาการผลิตของประเทศไทยรวม 180 สาขา ตารางปจจัยการผลิตและผลผลิตเปนระบบบัญชีที่แสดง “สูตร” การผลิต (Production Function) หรือ

    โครงสรางปจจัยการผลิตสําหรับการผลิตสินคาประเภทตางๆ

    “สูตร” การผลิต หมายถึงสัดสวนของการใชปจจัยการผลิตในกระบวนการผลิตสินคา และสามารถแสดงใหเห็นผลกระทบทางสิ่งแวดลอมชนิดตางๆ ที่สะสมในกระบวนการผลิตสินคาและกระบวนการผลิตปจจัยการผลิต

    การคํานวณผลกระทบสิ่งแวดลอมตามหลักการวงจรชีวิตของผลิตภัณฑโดยใชระบบบัญชีปจจัยการผลิตและผลผลิต มีนิยามดังนี้

    1)( AIRXRE [1]

    โดย

    nE

    E

    E

    E 2

    1

    ผลกระทบทางสิ่งแวดลอมชนิด 1-n [2]

    สําหรับการศึกษานี้ n = 10 ไดแก ไดแก (1) ไฟฟา (2) กาซ (3) น้ํามัน (4) การขนสง ทุกประเภท (5) สารเคมี (6) ปุย สารเคมีฆาศัตรูพืช (7) ปาไม (8) ที่ดิน (9) น้ําประปา และ (10) สุขาภิบาล

    knnn

    k

    k

    kj

    EEE

    EEE

    EEE

    E

    21

    222

    12

    121

    11

    ผลกระทบทางสิ่งแวดลอมชนิด n สําหรับสาขาการผลิต k [3]

    nR

    R

    R

    R 2

    1

    ขอมูลสัมประสิทธิ์ผลกระทบทางสิ่งแวดลอมชนิด n [4]

  • บทที่ 8: ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการมีความตกลงการคาเสรี 8-11

    knnn

    k

    k

    kj

    RRR

    RRR

    RRR

    R

    21

    222

    12

    121

    11

    ขอมูลสัมประสิทธิ์ผลกระทบทางสิ่งแวดลอมชนิด n สําหรับสาขา

    การผลิต k [5]

    nX

    X

    X

    X 2

    1

    อุปทานหรือผลผลิตของสินคา 1-n [6]

    และนิยาม 1)( AI เปนแกนหลักของแบบจําลองตารางปจจัยการผลิตและผลผลิต

    (Input-Output Model) (Leontief,1966) ตามนิยามความสัมพันธและเงื่อนไข แสดงใน สมการ [1]-[9] ในหัวขอ 8.1

    (2) การคํานวณตนทุนมาตรการดานสิ่งแวดลอม

    ในกรณีที่ตรวจพบวามีการใชมาตรการที่ไมใชภาษีของประเทศผูนําเขา ซึ่งเปนผลใหผูสงออกสินคามีภาระตนทุนสูงขึ้น ตนทุนเหลานี้จะมีผลกระทบเชื่อมโยงถึงกันในระบบเศรษฐกิจ และ

    การคํานวณผลกระทบของตนทุนเหลานี้ มีนิยามและขั้นตอนดังนี้

    2.1) นิยามอุปสงครวมของสินคา

    EDZ

    EDZ

    Z

    E

    Z

    D

    Z

    Z

    Z

    E

    E

    E

    Z

    D

    D

    D

    Z

    Z

    กําหนดให

    Z อุปสงครวม

    D สินคาบริโภคในประเทศ

    E สินคาสงออก

  • 8-12 บทที่ 8: ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการมีความตกลงการคาเสรี

    ถาการเปลี่ยนแปลงสินคาบริโภคในประเทศ = 0D

    D

    สามารถคํานวณการเปลี่ยนแปลงผลผลิตได Z

    E

    E

    E

    Z

    Z

    หรือลดรูปเปน

    ebz

    นิยามดุลยภาพของตลาดคืออุปสงค = อุปทาน จึงนิยามอุปทานดังนี้

    VAZ

    VAZ

    Z

    V

    Z

    A

    Z

    Z

    Z

    V

    V

    V

    Z

    A

    A

    A

    Z

    Z

    กําหนดให

    Z อุปทาน

    A ตนทุนวัตถุ (Intermediate Inputs) (ตนทุนที่ไมใชมูลคาเพิ่ม)

    V ตนทุนมูลคาเพิ่ม

    ดังนั้น นิยามความสัมพันธระหวางการเปลี่ยนแปลงสินคาสงออก กับ

    การเปลี่ยนแปลงตนทุนวัตถุดิบ (ตนทุนที่ไมใชมูลคาเพิ่ม) ได

    Z

    V

    V

    V

    A

    Z

    Z

    E

    E

    E

    A

    A

    หรือ

    Z

    V

    V

    V

    A

    E

    E

    E

    A

    A

    การคํานวณตนทุนมาตรการสิ่งแวดลอมตามหลักการคาเชาทางเศรษฐกิจ (Economic Rent) ซึ่งแสดงใหเห็นการกดดันใหตนทุนของวัตถุดิบที่มีกระบวนการผลิตตามมาตรฐานสิ่งแวดลอมปรับสูงขึ้นแสดงดังรูปที่ 8.2

  • บทที่ 8: ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการมีความตกลงการคาเสรี 8-13

    2.2) นิยามอุปสงคของวัตถุดิบที่มีกระบวนการผลิตตามมาตรฐานสิ่งแวดลอม

    PdcA

    กําหนดให

    P ราคาวัตถุดิบที่มีกระบวนการผลิตตามมาตรฐานสิ่งแวดลอม

    c คาคงที่

    d คาสัมประสิทธิ์ของราคา

    ดังนั้น d

    AcP

    รูปที่ 8.2: การเปลี่ยนแปลงตนทุนมาตรการสิ่งแวดลอม

    2.3) นิยามการปรับตัวของตนทุน เพื่อเปนตัวชี้วัดตนทุนมาตรการสิ่งแวดลอมคือการแขงขันระหวางวัตถุดิบที่มีกระบวนการผลิตตามมาตรฐานสิ่งแวดลอมกับวัตถุดิบที่มีกระบวนการผลติ

    ตามมาตรฐานทั่วไป

    อุปสงคของปจจัยการผลิต ที่มีมาตรฐานดานสิ่งแวดลอมสูงขยายตัว

    อุปสงคของปจจัยการผลิต ที่มีมาตรฐานดานสิ่งแวดลอมสูง

    ราคาเพิ่ม

    ราคา

    อุปสงคของปจจัยการผลิตที่มีมาตรฐานดานสิ่งแวดลอมต่ํา

    ปริมาณการผลิตวัตถุดิบรวมสวนที่มีการะบวนการผลิตตามมาตรฐานสิ่งแวดลอม และกระบวนการผลิตทั่วไป

  • 8-14 บทที่ 8: ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการมีความตกลงการคาเสรี

    .tttt AdcP โดยกําหนดให

    1t หมายถึง ตนทุนวัตถุดิบที่มีกระบวนการผลิตตามมาตรฐานสิ่งแวดลอม

    2t หมายถึง ตนทุนวัตถุดิบที่มีกระบวนการผลิตตามมาตรฐานทั่วไป tP ราคาหรือตนทุนวัตถุดิบ tA ปริมาณวัตถุดิบ

    tc คาคงที่ td คาสัมประสิทธ ของ tA

    2.4) นิยามตนทุนรวมได

    t

    tq

    ttt AAdctsTotal 0 )()cos(

    2

    2t

    ttt Ad

    Ac

    2.5) นิยามสมการ Lagrangian ของการเลือกใชวัตถุดิบระหวางวัตถุดิบที่มีกระบวนการผลิตตามมาตรฐานสิ่งแวดลอมกับวัตถุดิบที่มีกระบวนการผลิตตามมาตรฐานทั่วไป ดังนี้

    n

    ii

    n

    ii

    iiit AZAd

    AcPMin11

    2

    2

    2.6) นิยามอนุพันธของ iA และ ได ,0 ii Adc และ

    n

    iiAZ

    1

    0

    คา คือคาเชาทางเศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงคา แสดงถึงตนทุนของมาตรการสิ่งแวดลอม (Environmental Compliance Cost)

    3) การคํานวณดุลสิ่งแวดลอม

    ในการศึกษาผลกระทบดานสิ่งแวดลอมจากการทําความตกลงการคาเสรีของการศึกษา ในครั้งนี้ ไดมีการคํานวณดุลสิ่งแวดลอมซึ่งเปนสวนตางระหวาง (1) ประโยชนดานสิ่งแวดลอม (2) ตนทุน

    ดานสิ่งแวดลอม โดยผลกระทบดานสิ่งแวดลอมของสินคาสงออกถือวาเปนภาระของประเทศผูสงออก ซึ่งจะไดรับผลกระทบจากการใชปจจัยการผลิตและกระบวนการผลิต ซึ่งนับรวมเปนตนทุนการผลิต สําหรับผลกระทบดานสิ่งแวดลอมของสินคานําเขาถือวาเปนการผลักภาระไปสูประเทศคูคาของประเทศไทย ซึ่งนับรวมเปนผลไดหรือผลประโยชน สําหรับประเด็นผลกระทบดานสิ่งแวดลอมและแหลงขอมูลที่

    นํามาใชในการคํานวณผลกระทบดานสิ่งแวดลอม ดังแสดงในตารางที่ 8.3

  • บทที่ 8: ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการมีความตกลงการคาเสรี 8-15

    ตารางที่ 8.3: ประเด็นผลกระทบทางสิ่งแวดลอมและแหลง/ลักษณะขอมูล

    ประเด็นผลกระทบทางสิ่งแวดลอม แหลง/ลักษณะขอมูล

    1. ไฟฟา ตารางปจจัยการผลิตและผลผลิต

    2. กาซ ตารางปจจัยการผลิตและผลผลิต

    3. น้ํามัน ตารางปจจัยการผลิตและผลผลิต

    4. การขนสงทุกประเภท ตารางปจจัยการผลิตและผลผลิต

    5. สารเคมี ตารางปจจัยการผลิตและผลผลิต

    6. ปุย สารเคมีฆาศัตรูพืช ตารางปจจัยการผลิตและผลผลิต

    7. ปาไม ตารางปจจัยการผลิตและผลผลิต

    8. ที่ดิน ตารางปจจัยการผลิตและผลผลิต/รายงานสํามะโน

    อุตสาหกรรม

    9. น้ําประปา ตารางปจจัยการผลิตและผลผลิต

    10. สุขาภิบาล ตารางปจจัยการผลิตและผลผลิต

    ในการศึกษาผลกระทบดานสิ่งแวดลอมจากการทําความตกลงการคาเสรีในครั้งนี้ ไดทําการคัดเลือกสินคาอุตสาหกรรมและสินคาเกษตรกรรมเพื่อใชเปนตัวแทนของสินคาสงออกและนําเขาของประเทศไทย โดยมีรายละเอียดของสินคาดังตอไปนี้

    8.2.1 สินคาอุตสาหกรรม

    รายการสินคาอุตสาหกรรมที่ไดรับการคัดเลือกเพื่อเปนตัวแทนในการวิเคราะห

    ผลกระทบดานเศรษฐกิจและสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นจากการทําความตกลงการคาเสรีนั้น ในสวนของ การสงออกประกอบดวยสินคาอุตสาหกรรม 8 รายการ ไดแก (1) อาหารทะเลกระปอง (2) เยื่อกระดาษ (3) พลาสติก (4) เหล็ก (5) รถยนต (6) ชิ้นสวนยานยนต (7) เครื่องใชไฟฟา (8) ไกแปรรูป (รายละเอียดดังตารางที่ 8.5) ในสวนของสินคาที่ใชเปนตัวแทนสินคานําเขาของประเทศไทยประกอบดวยรายการ

    สินคาอุตสาหกรรมจํานวน 40 รายการ (รายละเอียดดังตารางที่ 8.5)

    หลักเกณฑสําคัญในการคัดเลือกสินคาสําหรับใชเปนตัวแทนในการวิเคราะหผลกระทบ ที่เกิดขึ้นจากความตกลงการคาเสรี ไดแก การเปนสินคาที่มีความสําคัญในเชิงมูลคาของการคา ระหวางประเทศไทยกับประเทศคูสัญญาโดยพิจารณาจากมูลคาการสงออกและนําเขา เนื่องจากมูลคาสูง

    ในเบื้องตนยอมหมายถึงมีปริมาณการผลิตมากอันจะสงผลตอสิ่งแวดลอมมาก การเปนสินคาที่สําคัญใน การทําความตกลงการคาเสรี รวมทั้งการเปนสินคาที่มีกระบวนการผลิตซับซอนซึ่งทําใหมีการเชื่อมโยงระหวางสินคาตางๆ อยางกวางขวางจึงจะสงผลกระทบดานสิ่งแวดลอมสะสมในขั้นตอนตางๆ มากนั่นเอง

    สําหรับความสําคัญของสินคาแตละรายการตอการคาระหวางประเทศไทยกับ

    ประเทศคูสัญญา 5 ประเทศจะไมเทากัน สินคาบางรายการเปนสินคาที่มีมูลคาสงออกสูงสําหรับ

  • 8-16 บทที่ 8: ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการมีความตกลงการคาเสรี

    การสงออกไปประเทศคูสัญญาบางประเทศ เชน พลาสติก เปนสินคาสงออกที่มีความสําคัญสําหรับ

    การคาระหวางประเทศไทยกับคูสัญญา 5 ประเทศ ไดแก ออสเตรเลีย นิวซีแลนด ญี่ปุน จีน อินเดีย ในขณะที่เครื่องใชไฟฟาเปนสินคาสงออกที่มีความสําคัญสําหรับการคาระหวางประเทศไทยกับญี่ปุนเทานั้น ในสวนของสินคานําเขาสินคาอุตสาหกรรมประเภทน้ํามันปโตรเลียม อลูมิเนียม ทอง ทองแดง ปลาแชแข็ง นมและครีม เปนสินคานําเขาที่มีมูลคาสูงสําหรับการคาระหวางประเทศไทยกับ

    ประเทศคูสัญญา 2 ประเทศ ไดแก ออสเตรเลีย นิวซีแลนด ในขณะที่ชิ้นสวนประกอบอิเลคโทรนิกสเปนสินคานําเขาที่มีความสําคัญในเชิงมูลคานับแสนลานบาทสําหรับการคาระหวางประเทศไทยกับญี่ปุนเทานั้น

    ชิ้นสวนประกอบคอมพิวเตอร ชิ้นสวนประกอบเครื่องไฟฟา ผลิตภัณฑเหล็ก เปน สินคานําเขาที่มีความสําคัญสําหรับการคาระหวางประเทศไทยกับประเทศจีนโดยมีมูลคานับ แสนลานบาท

    โลหะเงิน เปนสินคานําเขาที่มีความสําคัญจากประเทศจีน โดยมีมูลคาการนําเขาสูงถึง

    ระดับหมื่นลานบาท สวนเคมีภัณฑควบคุมโรคพืชก็เปนสินคานําเขาที่สําคัญจากจีนเชนเดียวกัน โดยมีมูลคาสูงถึง 7,000 ลานบาท

    อัญมณี เปนสินคานําเขาที่มีความสําคัญสําหรับการคาระหวางประเทศไทยกับอินเดียโดยมีมูลคาการนําเขาสูงนับหมื่นลานบาท

    น้ํามันปโตรเลียม ทองแดงและโลหะผสมทองแดง ชิ้นสวนประกอบเครื่องไฟฟา กากถั่วเหลืองบดหรืออัดเม็ด แรเหล็ก ฝายดิบ อัญมณี อ่ืนๆ ลวดทองแดง ชิ้นสวนประกอบยานยนต ผลิตภัณฑยา สารสังเคราะหจากสิ่งมีชีวิตใชเพิ่มแสงสวางของฟลูออเรสเซนท เหรียญ ปลาแชแข็ง เปนสินคานําเขาที่มีความสําคัญสําหรับการคาระหวางประเทศไทยกับอินเดียโดยมีมูลคาสูงจากมากไปหานอยเปน 8,000 ลานบาท จนถึง 700 ลานบาท ตามลําดับ

    ตารางที่ 8.4: รายชื่อสินคาอุตสาหกรรมที่คัดเลือกเปนตัวแทนของสินคาสงออกของประเทศไทย

    สินคาสงออก ตลาดสําคัญ

    1. อาหารทะเลกระปอง ออสเตรเลีย นิวซีแลนด ญี่ปุน จีน

    2. เยื่อกระดาษ จีน อินเดีย

    3. พลาสติก ออสเตรเลีย นิวซีแลนด ญี่ปุน จีน อินเดีย

    4. เหล็ก จีน อินเดีย

    5. รถยนต ออสเตรเลีย นิวซีแลนด ญี่ปุน จีน

    6. ชิ้นสวนยานยนต ออสเตรเลีย ญี่ปุน จีน อินเดีย

    7. เครื่องใชไฟฟา ญี่ปุน

    8. ไกแปรรูป ญี่ปุน

  • บทที่ 8: ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการมีความตกลงการคาเสรี 8-17

    ตารางที่ 8.5: รายชื่อสินคาอุตสาหกรรมที่คัดเลือกเปนตัวแทนของสินคานําเขาประเทศไทย

    สินคานําเขา แหลงนาํเขาสาํคัญ

    1. กระดาษใชแลวคัดแยกออกจากขยะ นิวซีแลนด

    2. กากถั่วเหลืองบดหรอือดัเม็ด อินเดยี

    3. ขยะหรือเศษอลูมิเนยีม ออสเตรเลีย นวิซีแลนด

    4. เคมีภัณฑควบคุมโรคพืช จีน

    5. เครื่องจักรกล ญี่ปุน

    6. เครื่องอดัอากาศหรือกาซ นิวซีแลนด

    7. ชิ้นสวนประกอบคอมพิวเตอร ญี่ปุน จีน

    8. ชิ้นสวนประกอบเครือ่งไฟฟา ญี่ปุน จีน อินเดีย

    9. ชิ้นสวนประกอบยานยนต ญี่ปุน อินเดีย

    10. ชิ้นสวนประกอบอิเลคโทรนิกส ญี่ปุน จีน

    11. ตะก่ัว ออสเตรเลีย

    12. ถานหนิหรือเชื้อเพลิงไดจากถานหิน ออสเตรเลีย

    13. ทองแดงและโลหะผสมทองแดง ออสเตรเลีย อินเดยี

    14. นมและครีมสกัดหรือเติมรสหวาน ออสเตรเลีย นวิซีแลนด

    15. น้ํามันปโตรเลียม ออสเตรเลีย นวิซีแลนด อนิเดยี

    16. เนยแข็งและเนยแทง ออสเตรเลีย นวิซีแลนด

    17. เนยทําจากนม เนยแข็ง ครีมและโยเกิรต ออสเตรเลีย นวิซีแลนด

    18. เนยและไขมันทําจากนม ออสเตรเลีย นวิซีแลนด

    19. ปลาแชแข็ง ออสเตรเลีย นวิซีแลนด อนิเดยี

    20. ผลิตภัณฑพลาสติก ญี่ปุน

    21. ผลิตภัณฑยา อินเดยี

    22. ผลิตภัณฑเหล็ก ออสเตรเลีย ญีปุ่น จีน

    23. แผนอลูมิเนียมหนาไมเกิน 0.2 มม ออสเตรเลีย

    24. มอลทสกัด อาหารสําเร็จรปูทาํจากแปง ออสเตรเลีย นวิซีแลนด

    25. มอลทอบและไมอบ ออสเตรเลีย นวิซีแลนด

    26. ไมแผน หรอืไมสับเปนชิน้ นิวซีแลนด

    27. เยื่อกระดาษฟอกขาวดวยโซดาหรือซัลเฟส นิวซีแลนด

    28. แรทอง ออสเตรเลีย

    29. แรสังกะสีและสังกะสีสกัด ออสเตรเลีย

    30. แรเหล็ก ออสเตรเลีย อินเดยี

  • 8-18 บทที่ 8: ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการมีความตกลงการคาเสรี

    สินคานําเขา แหลงนาํเขาสาํคัญ

    31. แรอลูมิเนียม ออสเตรเลีย

    32. ลวดทองแดง อินเดยี

    33. โลหะเงิน จีน

    34. เศษเหล็กและเหล็กกลา ออสเตรเลีย

    35. เหรยีญ อินเดยี

    36. เหล็กแผนเคลือบ ออสเตรเลีย ญีปุ่น

    37. เหล็กแผนรดีรอน ออสเตรเลีย ญีปุ่น

    38. อัญมณ ี(เพชร) อินเดยี

    39. อัญมณีอื่นๆ อินเดยี

    40. อุปกรณอิเล็กโทรนิกส ญี่ปุน

    8.2.2 สินคาเกษตรกรรม

    รายการสินคาเกษตรกรรมที่ไดรับการคัดเลือกเพื่อเปนตัวแทนในการวิเคราะหผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการทําความตกลงการคาเสรีในสวนของการสงออกประกอบดวยสินคา 5 รายการ ไดแก

    (1) กุง (2) ปลาหมึก (3) ปลาแชแข็ง (4) ผัก และ (5) ผลไม (ตารางที่ 8.6) สําหรับรายการสินคาเกษตรกรรมนําเขาที่ไดรับการคัดเลือกประกอบดวยรายการสินคา 5 รายการ ไดแก (1) ฝายดิบ (2) พืชผัก (3) สารมีรสหวานอื่นๆ นอกจากน้ําตาล (4) วัตถุแตงสีที่เปนอินทรียสังเคราะห ฯลฯ (5) หนังดิบ (ตารางที่ 8.7)

    ตารางที่ 8.6: รายชื่อสินคาเกษตรที่คัดเลือกเปนตัวแทนของสินคาสงออกของประเทศไทย

    สินคาสงออก ตลาดสาํคัญ

    1. กุง ญี่ปุน จีน

    2. ปลาหมึก ญี่ปุน จีน

    3. ปลาแชแข็ง จีน

    4. ผัก ญี่ปุน

    5. ผลไม จีน

  • บทที่ 8: ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการมีความตกลงการคาเสรี 8-19

    ตารางที่ 8.7: รายชื่อสินคาเกษตรทีค่ัดเลือกเปนตัวแทนของสินคานําเขาของประเทศไทย

    สินคานําเขา แหลงนาํเขาสาํคัญ

    1. ฝายดิบ ออสเตรเลีย อินเดยี

    2. พืชผัก (หอม กระเทยีม) จีน

    3. สารมรีสหวานอื่นๆ นอกจากน้ําตาล นิวซีแลนด

    4. วัตถแุตงสทีี่เปนอินทรียสังเคราะห รวมทั้งผลิตภัณฑที่เปนอินทรยีสังเคราะหชนิดที่ใชเปนตวัใหความขาวสวางชนิดฟลูออเรสเซนตหรอืใชเปน ลูมโินฟอร4

    อินเดยี

    5. หนังดิบ นิวซีแลนด

    8.2.3 การสงออก-นําเขาในรูปการลงทุนในประเทศไทย

    สําหรับสาขาการลงทุนที่มีความสําคัญในความตกลงการคาเสรีดานการลงทุนระหวางประเทศไทยกับคูสัญญา 5 ประเทศของการศึกษาในครั้งนี้ ไดแก (1) เหมืองแรและยอยหิน (2) โลหะและอโลหะ (3) กอสราง (4) เครื่องจักร ยานพาหนะ และอุปกรณขนสง (ตารางที่ 8.8)

    ตารางที่ 8.8: สาขาการลงทุนที่ใหความสําคัญในความตกลงการคาเสรีดานการลงทุนระหวางประเทศ

    ไทยกับคูสัญญา 5 ประเทศ

    สาขาการลงทุน ประเทศ

    1. เหมืองแรและยอยหิน ออสเตรเลีย

    2. โลหะและอโลหะ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด

    3. กอสราง ญี่ปุน จีน

    4. เครื่องจักร ยานพาหนะ และอุปกรณขนสง ญี่ปุน อินเดีย

    จากตารางที่ 8.8 การลงทุนสาขาเหมืองแรและยอยหินเปนความรวมมือที่สําคัญระหวางไทยกับออสเตรเลีย โดยมีสินคาสําคัญในกลุมนี้ ไดแก ถานหิน อัญมณี และทอง

    โลหะ อโลหะ เปนความรวมมือที่สําคัญระหวางไทยกับออสเตรเลียและนิวซีแลนด โดยมี

    สินคาสําคัญในกลุมนี้ ไดแก อลูมิเนียมและทองแดง

    4 คํานิยามภาษาอังกฤษ: Synthetic organic colouring matter, whether or not chemically defined; preparations as

    specified in Note 3 to this Chapter based on synthetic organic colouring matter; synthetic organic products of a kind used as fluorescent brightening agents or as luminophores, whether or not chemically defined

  • 8-20 บทที่ 8: ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการมีความตกลงการคาเสรี

    กอสราง เปนความรวมมือที่สําคัญระหวางไทยกับญี่ปุนและจีน

    เครื่องจักร ยานพาหนะและอุปกรณขนสง เปนความรวมมือที่สําคัญระหวางไทยกับญี่ปุนและอินเดีย โดยมีสินคาสําคัญในกลุมนี้ ไดแก ยานยนต และเครื่องจักร

    8.2.4 การนําเขาบริการและบริการสาขาสิ่งแวดลอม

    ในการนําเขาบริการสาขาสิ่งแวดลอมนั้น สาขาบริการที่มีความสําคัญในความตกลงการคาเสรีระหวางประเทศไทยกับคูสัญญา 5 ประเทศ (ตารางที่ 8.9) ไดแก

    สาขาบริการดานการทองเที่ยว เปนสาขาสินคาบริการที่สําคัญสําหรับความรวมมือระหวางไทยกับออสเตรเลีย

    สาขาบริการดานโรงแรมและภัตตาคาร เปนสาขาสินคาบริการที่สําคัญสําหรับ ความรวมมือระหวางไทยกับอินเดีย โดยมีสินคาสําคัญในกลุมนี้ ไดแก โรงแรม และภัตตาคาร

    การบริการสาขาสิ่งแวดลอม เปนสาขาสินคาบริการที่สําคัญสําหรับความรวมมือระหวางไทยกับญี่ปุน โดยมีสินคาสําคัญในกลุมนี้ ไดแก วัสดุที่ใชแลวตามพิกัด 2621905

    ตารางที่ 8.9: รายชื่อสินคาบริการที่มีความสําคัญในความตกลงการคาเสรีระหวางประเทศไทยกับ

    คูสัญญา 5 ประเทศ

    สาขาการบริการ ประเทศ

    1. การบริการดานการทองเที่ยว ญี่ปุน จีน ออสเตรเลีย อินเดีย นิวซีแลนด

    2. การบริการดานโรงแรมและภัตตาคาร อินเดีย

    3. การบริการสาขาสิ่งแวดลอม ญี่ปุน

    5 ป 2550 นําเขาจากญี่ปุน รหัส 262190 (KG) OTHER SLAG AND ASH E.G. : HUSK ASH ETC., INCLUDING SEAWEED ASH (KELP), (OTHER THAN THOSE OF HEADING NO. 26.18 TO 26.20 ; ASH AND RESIDUES FROM THE

    INCINERATION OF MUNICIPAL WASTE) 582,400 ตัน มูลคา 503 ลานบาท นําเขาจากจีน รหัส 262110 (KG) Ash and residues from the incineration of municipal waste มูลคา 6 หมื่นตัน มูลคา 0.9 ลานบาท

  • บทที่ 8: ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการมีความตกลงการคาเสรี 8-21

    8.3 ผลกระทบดานส่ิงแวดลอมจากการมีความตกลงการคาเสรี

    ความตกลงการคาเสรีระหวางประเทศคูสัญญาสองฝายเปนความตกลงทวิภาคีเพื่อเปดประตูการคาระหวางประเทศคูสัญญาโดยการลดกําแพงภาษีและมาตรการกีดกันที่ไมใชภาษีระหวางสองฝาย

    ในลักษณะตอบแทนกัน ซึ่งมีผลทําใหประเทศคูสัญญาสามารถสงออกสินคาบางประเภทแลกเปลี่ยนกันเพิ่มขึ้น ผลกระทบดานสิ่งแวดลอมที่เชื่อมโยงกับการผลิตสินคา มีความรุนแรงมากข้ึนเพราะมีการสงออกสินคาบางประเภทเพิ่มขึ้น ในขณะเดียวกันการเปดประตูประเทศไทยเปนการตางตอบแทนให

    ประเทศคูสัญญาสงออกสินคาบางชนิดเขาสูประเทศไทยเพิ่มขึ้น ทําใหมีสินคาตางประเทศเขาแทนที่สินคาที่ผลิตในประเทศไทย อาจทําใหภาระผลกระทบดานสิ่งแวดลอมซึ่งเชื่อมโยงกับการผลิตสินคาของประเทศไทยลดลง แตผลกระทบดานสิ่งแวดลอมเปลี่ยนไปเปนภาระของประเทศผูสงสินคาออกเขาสูประเทศไทย

    เพื่อใหทราบถึงผลกระทบดานสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้น คณะผูวิจัยจึงไดจัดทําบัญชีผลกระทบ ดานสิ่งแวดลอมของความตกลงการคาเสรี โดยการรวบรวมผลกระทบดานสิ่งแวดลอมของสินคาสงออกและสินคานําเขาเพื่อสะทอนใหเห็นถึงดุลบัญชีสิ่งแวดลอม โดยแสดงเปนมูลคาและมีหนวยเปนเงินบาท

    ดุลสิ่งแวดลอมคือผลตางระหวางผลกระทบดานสิ่งแวดลอมที่เพิ่มขึ้นเพราะประเทศไทยมี

    การผลิตสินคาเพ่ือสงออกเพิ่มขึ้นจากการที่ประเทศคูสัญญาตกลงยกเลิกมาตรการกีดกันทางภาษีและไมใชภาษี สําหรับสินคานําเขาจากประเทศไทยกับผลกระทบดานสิ่งแวดลอมที่ลดลง เพราะประเทศไทยนําเขาสินคาแทนที่สินคาที่มีการผลิตอยูแลวในประเทศเพิ่มขึ้น เนื่องจากประเทศไทยตกลงยกเลิกมาตรการกีดกันทางภาษีและไมใชภาษีสําหรับสินคาสงออกจากประเทศคูสัญญา และภาระผลกระทบ

    ดานสิ่งแวดลอมเปลี่ยนไปตกอยูกับประเทศคูสัญญาที่สงสินคาเขาสูประเทศไทยมากขึ้น ซึ่งสินคา ตางชนิดมีผลกระทบดานสิ่งแวดลอมตางกัน ดังปรากฎในตารางที่ 8.10 ถึงตารางที่ 8.13

    การคํานวณผลกระทบดานสิ่งแวดลอมตามวิธีการในขอ 8.2 แสดงในตารางที่ 8.10 ถึงตาราง

    ที่ 8.15 ครอบคลุมความสิ้นเปลืองทรัพยากรธรรมชาติและความเสียหายเกี่ยวกับคุณภาพสิ่งแวดลอม เพราะมีการขับถายขยะมลภาวะออกสูทรัพยากรสวนรวม ไดแก ดิน น้ํา และบรรยากาศ เพราะมีการผลิตสินคาเพื่อการบริโภคและใชสอย โดยผลกระทบดานสิ่งแวดลอมมีมากขึ้นจากการผลิตสินคาเพื่อ การบริโภคและใชสอยมากข้ึน

    8.3.1 สินคาอุตสาหกรรม

    ดัชนีผลกระทบดานสิ่งแวดลอมของการสงออกและนําเขาเพิ่มขึ้น 1 บาท สําหรับรายชื่อสินคาอุตสาหกรรมที่คัดเลือกเปนตัวแทนของสินคาสงออกของประเทศไทย แสดงรายละเอียดดังตาราง ที่ 8.10 และตารางที่ 8.11 โดยดัชนีผลกระทบดานสิ่งแวดลอมของสินคาอุ�