1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2553/nuad21153kn_ch2.pdf ·...

54
บทที 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ การวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษา ผลของโปรแกรมการสนับสนุนและใหความรูตอการดูแล ตนเองและคุณภาพชีวิตในผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัด ซึ่งผูวิจัยไดทําการศึกษาเอกสารและ งานวิจัยที่เกี่ยวของดังนี1. โรคมะเร็งปอด 2. ระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและใหความรูของโอเร็ม 3. การดูแลตนเองของผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัด 4. คุณภาพชีวิตของผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัด โรคมะเร็งปอด ความหมายและอุบัติการณการเกิดโรคมะเร็งปอด มะเร็งปอด หมายถึง เนื้องอกชนิดรายแรงที่เกิดจากการเจริญเติบโตที่ผิดปกติของเซลล ปอด โดยทั่วไปพบวามักเริ่มจากเซลลเดียวซึ่งจะมีการเปลี่ยนแปลง เจริญเติบโตและแพรกระจาย โดยไมสามารถควบคุมได (Schwartz & Jones, 2006) มะเร็งปอดเปนปญหาทางสาธารณสุขของเกือบทุกประเทศทั่วโลกและเปนสาเหตุการ เสียชีวิตอันดับหนึ่งของโรคมะเร็งทั้งหมด ( World Health Organization [WHO], 2004) โดยใน ประเทศไทยปพุทธศักราช 2551 คาดวาจะมีผูปวยมะเร็งปอดทั้งหมดถึง 15,000 ราย ( Sriplung, Wiangnon, Sontipong, Sumitsawan, & Martin, 2006) ประมาณอัตราอุบัติการณ ( estimated incidence rate) 20.6 ตอแสนประชากรในเพศชาย และ 9.3 ตอแสนประชากรในเพศหญิง ( Martin, 2006) สวนสถิติโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม ในป 2543-2546 พบวามะเร็งปอด ยังมี อุบัติการณการเกิดโรคและการเสียชีวิตเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ทั้งเพศชายและเพศหญิง โดยมีผูปวย รายใหมถึง 1,922 ราย คิดเปนรอยละ 18.9 ของโรคมะเร็งทั้งหมด และมีผูเสียชีวิต 1,608 ราย คิดเปน รอยละ 24.1 ของผูที่เสียชีวิตทั้งหมดจากโรคมะเร็ง (หนวยเวชระเบียนโรงพยาบาลมหาราชนคร เชียงใหม , 2546)

Upload: others

Post on 05-Sep-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

บทท่ี 2

เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

การวิจัยคร้ังน้ีเปนการศึกษา ผลของโปรแกรมการสนับสนุนและใหความรูตอการดูแล

ตนเองและคุณภาพชีวิตในผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัด ซึ่งผูวิจัยไดทําการศึกษาเอกสารและ

งานวิจัยที่เกี่ยวของดังน้ี

1. โรคมะเร็งปอด

2. ระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและใหความรูของโอเร็ม

3. การดูแลตนเองของผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัด

4. คุณภาพชีวิตของผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัด

โรคมะเร็งปอด

ความหมายและอุบัติการณการเกิดโรคมะเร็งปอด

มะเร็งปอด หมายถึง เน้ืองอกชนิดรายแรงที่เกิดจากการเจริญเติบโตที่ผิดปกติของเซลล

ปอด โดยทั่วไปพบวามักเร่ิมจากเซลลเดียวซึ่งจะมีการเปลี่ยนแปลง เจริญเติบโตและแพรกระจาย

โดยไมสามารถควบคุมได (Schwartz & Jones, 2006)

มะเร็งปอดเปนปญหาทางสาธารณสุขของเกือบทุกประเทศทั่วโลกและเปนสาเหตุการ

เสียชีวิตอันดับหนึ่งของโรคมะเร็งทั้งหมด ( World Health Organization [WHO], 2004) โดยใน

ประเทศไทยปพุทธศักราช 2551 คาดวาจะมีผูปวยมะเร็งปอดทั้งหมดถึง 15,000 ราย ( Sriplung,

Wiangnon, Sontipong, Sumitsawan, & Martin, 2006) ประมาณอัตราอุบัติการณ ( estimated

incidence rate) 20.6 ตอแสนประชากรในเพศชาย และ 9.3 ตอแสนประชากรในเพศหญิง ( Martin,

2006) สวนสถิติโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม ในป 2543-2546 พบวามะเร็งปอด ยังมี

อุบัติการณการเกิดโรคและการเสียชีวิตเพิ่มขึ้นอยางตอเน่ือง ทั้งเพศชายและเพศหญิง โดยมีผูปวย

รายใหมถึง 1,922 ราย คิดเปนรอยละ 18.9 ของโรคมะเร็งทั้งหมด และมีผูเสียชีวิต 1,608 ราย คิดเปน

รอยละ 24.1 ของผูที่เสียชีวิตทั้งหมดจากโรคมะเร็ง (หนวยเวชระเบียนโรงพยาบาลมหาราชนคร

เชียงใหม, 2546)

Page 2: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

9

ชนิดและระยะของมะเร็งปอด

มะเร็งปอดแบงออกเปน 2 กลุมใหญ ไดแก มะเร็งปอดชนิดเซลลเล็ก ( small cell lung

cancer [SCLC]) และมะเร็งปอดชนิดที่เซลลไมเล็ก ( non-small cell lung cancer [NSCLC])

(American Cancer Society [ACS], 2006; The Cancer Council New South Wales, 2007)

1. มะเร็งปอดชนิดเซลลเลก็ พบไดประมาณรอยละ 15-20 ของมะเร็งปอดทั้งหมด (The

Cancer Council New South Wales, 2007) มีความสัมพันธสูงกับการสูบบุหร่ี ตําแหนงของกอนมะเร็ง

มักเกิดขึ้นตรงกลางปอด (National Health and Medical Research Council, 2004) เปนชนิดที่มีความ

รายแรงมากที่สุด มีความสามารถในการแพรกระจายสูง ไมเหมาะกับการรักษาดวยวิธีการผาตัด แต

ตอบสนองไดดีตอการรักษาดวยเคมีบําบัด โดยทั่วไปมักใหรวมกับรังสีรักษา (Pass, Mitchell,

Johnson, Turrisi, & Minna, 2000) ลักษณะของเซลลมะเร็งชนิดนี้ อาจมีรูปรางกลมและคลายไข อาจ

เรียกวาโอตเซลล (oat cell) หรือมีรูปรางคลายกระสวย (spindle-shaped) หรือมีหลายลักษณะรวมกัน

ก็ได (polygonal cell) (National Health and Medical Research Council, 2004)

2. มะเร็งปอดชนิดเซลลไมเล็ก เปนมะเร็งปอดที่พบได ประมาณรอยละ 85-90 ของ

มะเร็งปอดทั้งหมด (ACS, 2006) ตําแหนงของกอนมะเร็งมักเกิดในเซลลของหลอดลมใหญในปอด

และแขนงของหลอดลมเลก็ ( The Cancer Council New South Wales, 2007) มะเร็งปอดชนิดเซลล

ไมเล็ก ประกอบดวย 3 ชนิดยอย ดังน้ี (ACS, 2006)

2.1 สความัสเซลลคารซิโนมา (squamous cell carcinoma) เปนมะเร็งปอดชนิดที่พบ

มากสุดในเพศชาย ( ACS, 2006) มีความสัมพันธอยางชัดเจนกับการสูบบุหร่ี ตําแหนงของ

กอนมะเร็งมักพบตรงศูนยกลางปอดติดกับหลอดลมใหญ การแพรกระจายไปยังอวัยวะอ่ืนเปนไป

ไดชา แตเจริญเติบโตอยางรวดเร็วในตําแหนงที่เปนอวัยวะตนกําเนิด ( National Health and Medical

Research Council, 2004)

2.2 อะดีโนคารซิโนมา ( adenocarcinoma) เปนมะเร็งปอดชนิดที่พบไดทั้งเพศชาย

และเพศหญิง รวมทั้งผูที่ไมสูบบุหร่ี ( National Health and Medical Research Council, 2004)

ตําแหนงของกอนมะเร็งมักพบอยูชายขอบของปอด โดยเฉพาะสวนปลายใกลเยื่อหุมปอด บางคร้ัง

พบวามีการสรางเมือกจากตอมเมือกและเซลลของกอนมะเร็ง อะดีโนคารซิโนมายังแยกเปนชนิด

ยอยตามการจําแนกขององคการอนามัยโลกไดหลายชนิด โดยชนิดที่พบบอยคือ บรองคิโอ -อัลวีโอ

ลารเซลล คารซิโนมา ( bronchio-alveolar cell carcinoma) ซึ่งมีการพยากรณโรคที่ดีกวาชนิดอ่ืน

(ACS, 2006)

2.3 มะเร็งเซลลใหญ (large cell carcinoma) เปนชนิดที่กอนมะเร็งพบไดในจุดตางๆ

ของปอด และมักพบเนื้อตายตรงกลางของกอนมะเร็งไดบอย เซลลมีขนาดใหญและไมมีพัฒนาการ

Page 3: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

10

รูปรางไปเหมือนกับเซลลชนิดอ่ืน การเจริญและลุกลามไดรวดเร็ว เปนผลใหการพยากรณโรคไมดี

(กรีฑา ธรรมคัมภีร, 2550; ACS, 2006)

สําหรับการแบงระยะของโรคมะเร็งปอดในปจจุบัน อาจแบงตามระบบของ TMN

classification ซึ่งพิจารณาจากการกระจายตัวของมะเร็งไปยังสวนตางๆ ของรางกาย สามารถแบง

ออกได ดังน้ี (Mountain, 1997)

Primary tumor (T) เปนลักษณะและการลุกลามของกอนมะเร็งปฐมภูมิ มีต้ังแต Tx คือ

ตรวจพบเซลลมะเร็งในเสมหะหรือ น้ําจากการลางหลอดลม จนถึง T4 คือ กอนมะเร็งมีขนาดเทาใด

ก็ไดที่มีการกระจายเขาสูอวัยวะสําคัญ

Regional lymph node (N) หมายถึง ตอมนํ้าเหลืองที่มะเร็งลุกลามเขาถึง มีต้ังแต Nx คือ

ไมสามารถประเมินได จนถึง N3 คือ เซลลมะเร็ง กระจายไปยังตอมนํ้าเหลือง อ่ืน และ/หรือดานตรง

ขามกับรอยโรค

Distant metastasis (M) หมายถึง การลุกลามออกไปยังอวัยวะอ่ืน มีต้ังแต Mx คือไม

สามารถประเมินไดจนถึง M1 คือ มีการกระจายของเซลลมะเร็งไปยังอวัยวะอ่ืน

จากการแบงระยะของมะเร็งตามหลัก TMN อาจแบงระยะของโรคมะเร็งปอดเปน 4

stage ดังน้ี (กรีฑา ธรรมคัมภีร, 2550)

Stage 0: มะเร็งพบในหลอดลมแตไมกินลึกลงไปในปอด อยูเฉพาะที่และไมกระจายไป

ที่ใด (Carcinoma in Situ)

Stage I: มะเร็งจํากัดอยูในปอด ยังไมกระจายแพรออกไป

Stage II: มะเร็งอยูเฉพาะที่ โตขึ้นและมีการกระจายไปยังตอมน้ําเหลืองในปอดขาง

เดียวกนั

Stage IIIA: มะเร็งแพรกระจายไปยังตอมน้ําเหลืองรอบๆ หลอดลม อาจลามไปถึงทรวง

อก และกระบังลมขางเดียวกัน

Stage IIIB: มะเร็งกระจายไปยังตอมน้ําเหลืองที่ปอดดานตรงขาม และที่คอ

Stage IV: มะเร็งแพรกระจายไปอวัยวะอื่นในรางกายแลว

นอกจากนี้ ยังสามารถแบงระยะของโรคมะเร็งปอด ออกเปนระยะโรคจํากัด (limited

disease) และระยะโรคลุกลาม (extensive disease) ดังน้ี (Cancer Care Nova Scotia, 2005)

ระยะโรคจํากัด หมายถึง มะเร็งปอดที่อยูภายในปอดขางเดียว รักษาดวยการฉายรังสีได

อยางปลอดภัย

ระยะโรคลุกลาม หมายถึง มะเร็งมีการลุกลามออกนอกปอดขางที่เปนมะเร็ง หรือมีการ

กระจายของเซลลมะเร็งไปยังตอมน้ําเหลืองบริเวณขั้วปอด ดานตรงขามกับรอยโรคหรือตอม

Page 4: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

11

น้ําเหลืองเหนือไหปลาราดานตรงขามกับรอยโรค โดยระยะโรคลุกลามนี้จะเทียบเทาระยะที่ 4 ใน

ระบบ TMN

อาการและอาการแสดงของมะเร็งปอด

มะเร็งปอดในระยะแรกจะไมแสดงอาการ เนื่องจากเซลลมะเร็งเกิดจากเซลลเพียงเซลล

เดียว ทําใหยากตอการวินิจฉัย (กรีฑา ธรรมคัมภีร , 2550; Olson & Jett, 2001; Pass et al., 2000) การ

ตรวจพบในระยะปลอดอาการจึงมักพบโดยบังเอิญ จากการฉายภาพรังสีทรวงอก อาการของ

โรคมะเร็งปอดสวนใหญจะขึ้นกับระยะของโรค การเจริญเติบโตของกอนมะเร็งและตําแหนงที่

มะเร็งแพรกระจายไป ( Olson & Jett, 2001) อาการและอาการแสดงของโรคมะเร็งปอด แบงไดเปน

4 ชนิด ไดแก อาการจากกอนมะเร็งโดยตรง ( local symptoms) อาการจากกอนมะเร็งไปกดหรือ

แพรกระจายอยูภายในปอด ( intrathoracic spread symptoms) อาการจากการแพรกระจายของมะเร็ง

ไปยังอวัยวะอ่ืน ( metastatic symptoms) และอาการที่เกิดจากผลขางเคียงของมะเร็งปอด

(paraneoplastic symptoms) (กรีฑา ธรรมคัมภีร, 2550; Olson & Jett, 2001)

1. อาการจากกอนมะเร็งโดยตรง อาการที่พบบอยที่สุด คือ อาการไอ ซึ่งเกิดจากหลาย

สาเหตุรวมกัน เชน กอนเน้ืออุดกั้นหลอดลม ปอดอักเสบจากการอุดกั้นหลอดลม มะเร็งลุกลามเขา

ในเน้ือปอด หรือเกิดจากนํ้าในชองเยื่อหุมปอด (กรีฑา ธรรมคัมภีร , 2550) นอกจากนี้ ยังพบอาการ

นํ้าหนักลด หายใจหอบเหน่ือย อาการเจ็บหนาอก อาการไอเปนเลือด หายใจเสียงว๊ีด ซึ่งมักพบ

เฉพาะที่และอาจเปนอาการแสดงแรกของผูปวยที่มีกอนเนื้อในหลอดลมใหญ รวมถึงอาการปอด

อักเสบชนิดที่เกิดจากการอุดกั้นของทางเดินหายใจ ( postobstructive pneumonia) (กรีฑา ธรรม

คัมภีร, 2550; Olson & Jett, 2001)

2. อาการจากกอนมะเร็งไปกด หรือแพรกระจายอยูภายในปอด จะขึ้นอยูกับขนาดและ

ตําแหนงของกอนมะเร็ง อาการจากกอนมะเร็งกดเสนประสาท หากกดเสนประสาทกลองเสียง

(recurrent laryngeal nerve) จะทําใหสายเสนเสียงซายเปนอัมพาต เกิดอาการเสียงแหบ และมีผลให

กลไกการกลืนผิดปกติ มีอาการสําลักนํ้าและอาหาร หากกดเสนประสาทกระบังลม ( phrenic nerve)

ทําใหกระบังลมเกิดอัมพาต มีอาการเหนื่อยงาย และถากดเสนประสาทบริเวณแขน จะทําใหปวด

ไหล แขน และแขนลีบ สวนการถูกกดบริเวณกลุมเสนประสาทซิมพาเทติกบริเวณคอ ( cervical

sympathetic chain) จะมีอาการหนังตาตก มานตาแคบ ไมมีเหงื่อออก เรียกกลุมอาการน้ีวา ฮอรเนอร

ซินโดรม นอกจากน้ีหากกอนมะเร็งกดเสนเลือดดําสุพีเรียวีนา คาวา จะทําใหเกิดกลุมอาการสุพีเรียวี

นา คาวา ซนิโดรม (superior vena cava syndrome) คือ บวมบริเวณหนา คอ แขน และอก แดงที่คอ

มีการขยายตัวของหลอดเลือดดําฝอยที่หนาอก และถากอนมะเร็งกดบริเวณเมดิแอสติน่ัม

Page 5: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

12

(mediastinum) มีผลกดหลอดอาหาร เกิดอาการกลืนลําบาก ทําใหเกิดรูร่ัวบริเวณหลอดลมกับหลอด

อาหาร เกิดการไอ สําลักนํ้า และอาหารไดงาย นอกจากน้ี หากมะเร็งแพรกระจายไปสูผนังเยื่อหุม

ปอดชัน้นอก ( parietal pleura) จะทําใหเกิดนํ้าในชองเยื่อหุมปอด ( pleural effusion) ผูปวยจะมี

อาการเหน่ือยงาย แนนหนาอก และไอ หากมะเร็งมีการแพรกระจายเขาสูเยื่อหุมหัวใจ จะทําใหเกิด

นํ้าในชองเยื่อหุมหัวใจ (pericardial effusion) ทาํใหหายใจเหน่ือย นอนราบไมได ไอ แนนหนาอก

หลอดเลือดดําที่คอโปงพอง และอาจเกิดภาวะหัวใจถูกบีบรัด (cardiac tamponade) รวมทั้งเมื่อมีการ

กระจายของมะเร็งเขาสูทางเดินนํ้าเหลือง ผูปวยจะมีอาการไข และหอบเหน่ือยเพิ่มขึ้น (กรีฑา ธรรม

คัมภีร, 2550; วิศิษฏ อุดมพาณิชย, 2542; Kraut & Wozniak, 2000; Olson & Jett, 2001)

3. อาการจากการแพรกระจายของมะเร็งไปยังอวัยวะอ่ืน มะเร็งปอด สามารถ

แพรกระจายไปยังทุกอวัยวะ ที่พบบอย ไดแก ตอมนํ้าเหลือง ตับ กระดูก สมอง และตอมหมวกไต

(วิศิษฏ อุดมพาณิชย , 2542) โดยพบการกระจายไปสมองบอยที่สุด ซึ่งอาการและอาการแสดงมี

ความหลากหลายมาก ที่พบบอยคือ ปวดศีรษะ คลื่นไส อาเจียน ซึม กลามเน้ือออนแรง พฤติกรรม

เปลีย่นแปลง ชัก หรือหมดสติได (กรีฑา ธรรมคัมภีร , 2550) หากมะเร็งแพรกระจายไปยังกระดูก

จะมีอาการปวดกระดูกหรือมีกระดูกหักจากพยาธิสภาพ ถาหากมะเร็งแพรกระจายมายังตับ จะพบ

ตับโต ตัวเหลือง ปวดทอง มีนํ้าในชองทอง และตับวายได สวนการแพรกระจายไปยังตอมหมวกไต

จะทําใหการทํางานของตอมหมวกไตผิดปกติ (adrenal insufficiency) สําหรับการแพรกระจายไปยัง

ตอมน้ําเหลือง มักไมแสดงอาการ (Kraut & Wozniak, 2000; Olson & Jett, 2001)

4. อาการที่เกิดจากผลขางเคียงของมะเร็งปอด เปนอาการที่เปนผลทางออมของ

เซลลมะเร็งที่ทําใหระบบการทํางานของรางกายผิดปกติ มักพบในมะเร็งปอดชนิดเซลลเล็ก (กรีฑา

ธรรมคมัภรี , 2550) เกิดจากการสรางฮอรโมนนอกแหลง ( ectopic hormone production) หรือจาก

การที่รางกายสรางภูมิคุมกันตอเซลลมะเร็งแลวภูมิคุมกันที่สรางขึ้นไปทําปฏิกิริยากับเน้ือเยื่อปกติ

ของรางกาย ทําใหเกิดอาการคลายโรคของภูมิคุมกันทําลายตนเอง ( autoimmune) ในระบบตางๆ

(วิศิษฏ อุดมพาณิชย, 2542) ความผิดปกติของตอมไรทอที่สําคัญ ไดแก การที่กอนมะเร็งสรางสารที่

เรียกวาพาราไทรอยด ฮอรโมน รีเลทเต็ด เปปไทด ( parathyroid hormone-related peptide) ซึ่งทํา

หนาที่คลายพาราไทรอยดฮอรโมน ทําใหเกิดภาวะแคลเซียมในเลือดสูง ( hypercalcemia) และกลุม

อาการที่เกิดจากการทํางานไมเหมาะสมของฮอรโมนแอนต้ีไดยูรีติค ( syndrome of inappropriate

antidiuretic hormone [SIADH]) ทําใหเกิดภาวะโซเดียมในเลือดตํ่า ( hyponatremia) จะมีอาการ

คลื่นไส อาเจียน ซึม ชักและเสียชีวิตได นอกจากน้ียังมีการสรางฮอรโมนคอรติโคโทรปน รีลีซซิ่ง

ฮอรโมน ( corticotrophin-releasing hormone [CRH]) และอะดริโนคอรตโิคโท รปก ฮอรโมน 2

(adrenocorticotropic hormone [ACTH]) นอกแหลง ซึ่งทําใหเกิดกลุมอาการคุชชิ่ง ( Cushing’s

Page 6: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

13

syndrome) จะมีอาการตัวบวม ความดันโลหิตสูง กลามเน้ือออนแรง ผิวแหง และด้ือตอกลูโคส สวน

ความผิดปกติทางระบบประสาทที่พบ ไดแก อาการออนแรงของกลามเนื้อสวนตน ตอบสนองตอ

การกระตุนชา การทํางานของประสาทอัตโนมัติผิดปกติ และอาการที่เกิดจากการถูกทําลายของ

สมองสวนซีรีเบลลัม โดยภูมิคุมกันของรางกายที่สรางขึ้นจากกอนมะเร็ง ทําใหเกิดอาการเดินเซ พูด

ไมชัด และกลืนลําบาก รวมทั้งการสูญเสียการรับความรูสึกของประสาทสวนปลาย ( peripheral

sensory neuropathy) โดยเฉพาะแขน และขา อาจมีอาการออนแรงรวมดวย นอกจากนี้ ยังพบ

ผลขางเคียงของมะเร็งปอดตอกลามเน้ือและกระดูก ทําใหเกิดอาการปวด บวม แดง แสบรอน น้ิวปุม

บริเวณขอ และกระดูกระยางค อาการทางระบบเลือดและหลอดเลือด พบอาการซีด เม็ดเลือดขาว

เพิ่มขึ้น และลิ่มเลือดอุดตันที่หลอดเลือดดําที่ขา อาการทางผิวหนัง สีผิวจะคล้ําขึ้น มีขนออนเพิ่มขึ้น

อาจมีผื่นรวมกับกลามเน้ืออักเสบได อาการทางไต อาจเกิดหนวยไตอักเสบได อาการดานอ่ืนๆ ยัง

พบวาผูปวยจะเกิดภาวะผอมจนหนังหุมกระดูก (cachexia) เน่ืองจากมีการสรางสารที่กระตุน

กระบวนการสลาย ( catabolism) และสรางคีโตนเพิ่มมากขึ้น ทําใหมีการยอยสลายของกลามเนื้อ

และโปรตีนเพิ่มขึ้น (กรีฑา ธรรมคัมภีร , 2550; วิศิษฏ อุดมพาณิชย , 2542; Kraut & Wozniak, 2000;

Olson & Jett, 2001)

วิธีการรักษาโรคมะเร็งปอดในปจจุบัน

หลักการรักษาผูปวยมะเร็งปอดต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงเพียง

เล็กนอย การรักษาหลักยังคงประกอบดวย การผาตัด รังสีรักษา เคมีบําบัด หรือเปนการรักษารวมกัน

ต้ังแต 2 วิธีขึ้นไป ทั้งน้ีขึ้นกับวัตถุประสงคของการรักษา สภาพรางกายของผูปวย อาการขางเคียง

ของการรักษา และคุณภาพชีวิต (Spiro & Silvestri, 2005)

1. การผาตัด เปนวิธีการรักษาที่ดีที่สุด ในการหวังผลเพื่อใหผูปวยหายจากโรค

(resection for cure) โดยเฉพาะในผูปวยมะเร็งปอดชนิดเซลลไมเล็กระยะเร่ิมแรก ที่สามารถรักษา

ดวยการผาตัดใหหายได (กรีฑา ธรรมคัมภีร , 2550; ACS, 2006; Scottish Intercollegiate Guidelines

Network [SIGN], 2005) สวนในระยะแพรกระจาย การผาตัดจะชวยยืดระยะเวลาในการรอดชีวิต

บรรเทาอาการ และเพิ่มคุณภาพชีวิตของผูปวย (กิติชัย เหลืองทวีบุญ , 2550; สมเจริญ แซเต็ง , 2545)

แตสําหรับมะเร็งปอดชนิดเซลลเล็ก การผาตัดไมไดมีบทบาทมากนัก เน่ืองดวยมะเร็งชนิดน้ี มักมี

การแพรกระจายไปแลวเมื่อไดรับการวินิจฉัย ทําใหยากตอการรักษาดวยวิธีการผาตัด (กรีฑา ธรรม

คัมภีร, 2550) ปจจุบัน ไดมีการพัฒนาเทคโนโลยีที่ชวยในการผาตัด โดยผาตัดผานการสองกลอง

วีดีโอ (video-assisted thoracic surgery [VATs]) ซึง่จะชวยลดขนาดแผล และภาวะแทรกซอนจาก

การผาตัดลงได (SIGN, 2005)

Page 7: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

14

2. รังสีรักษา การรักษาผูปวยมะเร็งปอดดวยวิธีรังสีรักษามี 2 วิธีหลัก คือ การฉายรังสี

(teletherapy หรือ external beam radiation therapy) และวิธีการใสแร (brachytherapy) (ดวงใจ แสง

กวัลย , 2550) ซึ่งวัตถุประสงคของการรักษาเปนการรักษาเพื่อใหหายขาด ( cure) หรือรักษาเพื่อ

บรรเทาอาการ ( palliation) รูปแบบของการใหรังสีรักษา อาจเปนการใหรังสีรักษาเพียงวิธีเดียว ซึ่ง

เหมาะสมกับผูปวยที่ไมเหมาะสมกับการผาตัด หรือการรักษาดวยเคมีบําบัด การใหรังสีรักษา

รวมกับการผาตัด โดยอาจฉายรังสีนํากอนผาตัด หรือตามหลังการผาตัดก็ได และการใหรังสีรักษา

รวมกับเคมีบําบัด โดยอาจใหตามหลังเคมีบําบัด หรือใหพรอมกับเคมีบําบัด (ดวงใจ แสงกวัลย ,

2550; ACS, 2006)

3. เคมีบําบัด เปนขอบงชี้สําคัญในการรักษามะเร็งในระยะแพรกระจาย โดยมี

วัตถุประสงคเพื่อบําบัดอาการจากโรคมะเร็ง เพิ่มคุณภาพชีวิต รวมทั้งยืดระยะเวลารอดชีวิตของ

ผูปวย (นรินทร วรวุฒิ และ กรีฑา ธรรมคัมภีร , 2550; SIGN, 2005) ซึ่งการรักษาอาจใหเคมีบําบัด

เปนหลัก หรือเปนการรักษาดวยการใหเคมีบําบัดกอนการผาตัด ( neoadjuvant chemotherapy)

โดยเฉพาะในระยะที่มะเร็งมีการลุกลามเขาสูตอมนํ้าเหลือง หวังผลเพื่อใหผูปวยมีอาการทางคลินิก

ที่ดีขึ้น และตอบสนองตอการรักษาดีขึ้น และการรักษาเสริมดวยเคมีบําบัด ( adjuvant

chemotherapy) หลังการผาตัด เพื่อปองกันการแพรกระจายและกลับเปนซ้ําของโรค (Maghfoor &

Perry, 2005) การรักษาดวยเคมีบําบัดนิยมรักษาดวยยาหลายชนิดรวมกัน มากกวาการรักษาดวยยา

ชนิดเดียว เน่ืองจากใหผลในการรักษาที่ดีกวา (สุมิตรา ทองประเสริฐ, 2545; ACS, 2006)

4. สารยับยั้งโมเลกุลหรือกระบวนการทางชีวภาพของเซลลมะเร็ง ( moleculary targeted

therapy) เปนยาที่ออกฤทธิ์เฉพาะในระดับโมเลกุลยีนหรือกระบวนการทางชีวเคมีตางๆ โดยยับยั้ง

โมเลกุลหรือกระบวนการทางชีวภาพภายในและภายนอกเซลลที่มีความสําคัญตอการเกิดและ

เจริญเติบโตของเซลลมะเร็ง ทําใหหยุดการเจริญเติบโต การลุกลาม หรือแพรกระจายของโรคมะเร็ง

ได เน่ืองจากยากลุมน้ีมีความจําเพาะตอเซลลมะเร็ง จึงเปนการรักษาที่ดี และมีผลขางเคียงตอเซลล

ปกติของรางกายนอยมาก ปจจุบันยาในกลุมนี้ที่นํามาใชในการรักษาผูปวยมะเร็งปอดคือ ยากลุมที่

ออกฤทธิ์ยับยั้งการทํางานของ ทัยโรซีน ไคเนส รีเซปเตอร ( tyrosine kinase receptor) โดยมโีมเลกลุ

เปาหมายคือ เอพเิดอมอล โกรท แฟคเตอร รีเซปเตอร ( epidermal growth factor receptor [EGFR])

ไดแก ยาจีฟทินิบ (gefitinib) ซึ่งมีขอบงใชในการรักษามะเร็งปอดชนิดเซลลไมเล็กที่ลมเหลวตอการ

รักษาดวยเคมีบําบัดอยางนอย 1 สูตร ซึ่งประกอบดวย พลาติน่ัม (platinum) (ภัทรพิมพ สรรพวีรวงศ

, 2549; ACS/NCCN, 2006) นอกจากน้ี ยังมียาที่ยับยั้งกระบวนการสรางหลอดเลือด ( antiangiogenic

agent) โดยยาจะยับยั้งการทํางานของ วาสคูลาร เอนโดทีเรียล โกรท แฟคเตอร ( vascular

endothelial growth factor [VEGF]) ซึ่งมีผลในการยับยั้งการสรางหลอดเลือดใหมที่มาเลี้ยง

Page 8: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

15

กอนมะเร็ง และเสริมฤทธิ์การรักษาดวยเคมีบําบัดดวย (นรินทร วรวุฒิ และ กรีฑา ธรรมคัมภีร ,

2550; Spiro & Silvestri, 2005) อยางไรก็ตามยาในกลุมเหลานี้ยังตองมีการศึกษาติดตามประโยชน

ทางคลินิกตอไป

แนวทางการรักษาโรคมะเร็งปอดดวยเคมีบําบัด

การรักษามะเร็งปอดดวยเคมีบําบัด จะขึ้นอยูกับชนิดของมะเร็ง และระยะของโรค

(ACS, 2006) โดยมีแนวทางการรักษา ดังนี้ (NCCN, 2008)

1. การรักษามะเร็งปอดชนิดเซลลไมเล็กดวยเคมีบําบัด ( chemotherapy of non-small

cell lung cancer) (NCCN, 2008)

1.1 การรักษาในระยะโรคจํากัด

1.1.1 การรักษาเสริมดวยเคมีบําบัด ( adjuvant chemotherapy) เคมีบําบัดหลักที่

เลือกใช คือ ซิสพลาติน (cisplatin) โดยพิจารณาใหรวมกับเคมีบําบัดชนิดใดชนิดหน่ึงดังตอไปน้ี คือ

ไวนอเรลบนิ ( vinorelbine) อีโทโปไซด ( etoposide) วินบลาสติน ( vinblastin) เจมซิทาบิน

(gemcitabine) และดอคซีแทคเซล ( docetaxel) สําหรับผูปวยที่ไมสามารถทนตอยาซิสพลาติน จะ

พิจารณาใหเคมีบําบัด สูตรเจมซิทาบินรวมกับคารโบพลาติน ( carboplatin) หรือ สูตรแพคลิทาเซล

(paclitaxel) รวมกับคารโบ พลาติน สูตรดอคซีแทคเซลรวมกับคารโบพลาติน หรือสูตรเจมซิทาบิน

รวมกับดอคซีแทคเซล โดยเคมีบําบัดทุกสูตรที่กลาวมาจะใหทุก 3-4 สปัดาห จํานวน 4 ชุด ยกเวน

สูตรเจมซิทาบินรวมกับดอคซีแทคเซล ซึ่งจะใหทุก 4 สปัดาห เปนจํานวน 8 ชุด

1.1.2 การใหเคมีบําบัดพรอมกับรังสีรักษา ( concurrent chemotherapy/RT

regimens) สูตรเคมีบําบัดที่เลือกใช คือ สูตรซิสพลาตินรวมกับอีโทโปไซด หรือสูตรซิสพลาติน

รวมกับวินบลาสตินหรือสูตรแพคลิทาเซลรวมกับคารโบพลาติน

1.1.3 การรักษาดวยวิธีการใหเคมีบําบัดพรอมกับรังสีรักษา แลวตามดวยเคมี

บําบัด (concurrent chemotherapy/RT followed by chemotherapy) สูตรเคมีบําบัดที่เลือกใช คือสูตร

ซิสพลาติน รวมกับอีโทโปไซด พรอมกับรังสีรักษา แลวตามดวยดอคซีแทคเซล หรือสูตรแพคลิทา

เซลรวมกับคารโบพลาติน พรอมกับรังสีรักษาแลวตามดวยสูตรแพคลิทาเซลรวมกับคารโบพลาติน

อีก 2 ชุด

1.2 การรักษาดวยเคมีบําบัดในระยะโรคลุกลาม สวนใหญเปนการใหเคมีบําบัด 2

ชนิดรวมกัน โดยจะพิจารณาใหยากลุมพลาติน่ัม คือ ซิสพลาตินหรือคารโบพลาติน รวมกับเคมี

บําบัดตอไปน้ีคือ แพคลิทาเซล ดอคซีแทคเซล เจมซิทาบิน ไวนอเรลบิน อีโทโปไซด วินบลาสติน

หรือไอริโนทแีคน

Page 9: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

16

2. การรักษามะเร็งปอดชนิดเซลลเล็กดวยเคมีบําบัด ( chemotherapy of small cell lung

cancer)

2.1 ระยะโรคจํากัด สูตรเคมีบําบัดหลักที่เลือกใชในการรักษา คือ ซิสพลาติน

รวมกับ อีโทโปไซด ซึ่งสูตรน้ีอาจใหรวมกับรังสีรักษา หรืออาจพิจารณาใชสูตรคารโบพลาติน

รวมกับอีโทโปไซด โดยในระยะโรคจํากัดน้ีจะใหเคมีบําบัดจํานวน 4 ชุด ชุดละ 3 วัน แตละชดุหาง

กนั 3 สปัดาห

2.2 ระยะโรคลุกลาม สูตรเคมีบําบัดที่เลือกใชในการรักษา คือ สูตรซิสพลาติน

รวมกับ อีโทโปไซด สูตรคารโบพลาตินรวมกับอีโทโปไซด สูตรไอริโนทีแคนรวมกับซิสพลาติน

ซัยโคลฟอสฟาไมด (cyclophosphamide) รวมกับด็อกโซรูบิซิน (doxorubicin) และวินคริสติน

(vincristine) หรือ ซัยโคลฟอสฟาไมดรวมกับด็อกโซรูบิซินและอีโทโปไซด โดยในระยะโรค

ลุกลามจะใหเคมีบําบัดจํานวน 4-6 ชุด ชดุละ 3 วัน แตละชดุหางกนั 3 สัปดาห ยกเวนสูตรไอริโนที

แคนรวมกับซิสพลาติน ที่จะใหในวันที่ 1, 8 และ 15

2.3 กรณีที่มีการกลับเปนซ้ําของโรค (relapse) จะพิจารณาใหยาเคมีตามลําดับ ดังน้ี

2.3.1 หากมีระยะเวลาการกลับเปนซ้ํา นอยกวา 2-3 เดือน พิจารณาให ไอฟอสฟา

ไมด (ifosfamide) แพคลิทาเซล ดอคซีแทคเซล เจมซิทาบิน และโทโปทีแคน (topotecan)

2.3.2 หากระยะเวลาการกลับเปนซ้ํา มากกวา 2-3 เดือน ถึง 6 เดือน พิจารณาให

โทโปทีแคน ไอริโนทีแคน หรือซัยโคลฟอสฟาไมด รวมกับดอคโซรูบิซินและวินคริสติน หรือเจม

ซิทาบิน แทกเซน (taxane) อีโทโปไซดชนิดรับประทาน หรือไวนอเรลบนิ

2.3.3 หากมีการกลับเปนซ้ําของโรคมากกวา 6 เดือน ขึ้นไป ใหเร่ิมตนการใหเคมี

บําบัดสูตรแรกที่เคยไดรับอีกคร้ัง

สําหรับแนวทางการรักษาโรคมะเร็งปอดดวยเคมีบําบัดของโรงพยาบาลมหาราช ปฏิบัติ

ตามแนวทางของสถาบันมะเร็งแหงชาติ กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข ที่จัดทําขึ้นโดยมะเร็ง

วิทยาสมาคมแหงประเทศไทย (มะเร็งวิทยาสมาคมแหงประเทศไทย , 2548ก, 2548ข) รวมกับการ

พิจารณาปจจัยตางๆ ไดแก ชนิดของมะเร็งปอด อายุ ความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรม โรคและ

ความเจ็บปวยเดิม ปจจัยดานเศรษฐกิจและความคุมทุนของการรักษา รวมถึงการตอบสนองตอยา

ของผูปวย (สุมิตรา ทองประเสริฐ, 2545) โดยแบงการรักษาดวยเคมีบําบัดเปน 2 แบบ ดังน้ี

1. การรักษามะเร็งปอดชนิดเซลลไมเล็ก

1.1 ระยะโรคจํากัด จะใหเคมีบําบัดรวมกับรังสีรักษา หรือใหเคมีบําบัดแลวตามดวย

รังสีรักษา และพิจารณาผาตัดในกรณีที่สามารถผาตัดได จํานวนชุดของเคมีบําบัดที่ใหคือ 4-6 ชุด

สวนใหญจะพิจารณาใหเคมีบําบัดโดยการใหยาหลายชนิดรวมกัน ทางหลอดเลือดดํา สูตรที่ใชบอย

Page 10: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

17

ในโรงพยาบาลมหาราช นครเชียงใหม คือ 1) สูตรไวนอเรลบินรวมกับซิสพลาติน โดยใหซสิพ

ลาติน 50 มก./ม2 ในวันที ่1 และวันที ่8 และใหไวนอเรลบนิ 25 มก./ม2 ในวันที ่1, 8, 15 และวันที ่

22 ของการใหเคมีบําบัดแตละชุด จํานวน 4 ชุด แตละชุดหางกันทุก 4 สปัดาห 2) สูตรแพคลิทาเซล

รวมกับคารโบ พลาติน โดยใหแพคลิทาเซล 200 มก./ม2

1.2 ระยะโรคลุกลาม จะใหการรักษาดวยเคมีบําบัดกลุมพลาติน่ัม คือ ซิสพลาติน

หรือคารโบพลาติน รวมกับยาตอไปน้ี ไวนอเรลบิน อีโทโปไซด วินบลาสติน เจมซิทาบิน ดอคซีแท

คเซล แพคลิทาเซล ไอริโนทีแคน และไอฟอสฟาไมด (Ifosfamide) โดยจํานวนชุดของเคมีบําบัดที่

ให คือ 4-6 ชุด แตละชุดหางกันทุก 3-4 สัปดาห (มะเร็งวิทยาสมาคมแหงประเทศไทย, 2548ข)

และคารโบพลาติน คํานวณขนาดยาตาม

พื้นที่ใตกราฟ ( area under the plasma concentration-time curve [AUC]) ในวันที ่1 ของการใหเคมี

บาํบดัแตละชดุ จํานวน 4 ชุด แตละชุดหางกันทุก 3 สปัดาห (มะเร็งวิทยาสมาคมแหงประเทศไทย ,

2548ข)

1.3 หากมีการกลับเปนซ้ําของโรค จะพิจารณาให ดอคซีแทคเซล หรือจีฟนิทิบ

(มะเร็งวิทยาสมาคมแหงประเทศไทย, 2548ข)

2. การรักษามะเร็งปอดชนิดเซลลเล็ก

2.1 ในระยะโรคจํากัด จะใหเคมีบําบัดจํานวน 2 ชุด จากน้ันจะฉายรังสี 1 คร้ัง และ

ใหเคมีบําบัดตออีก 4 ชุด จึงจะสิ้นสุดการรักษา โดยพิจารณาใหเคมีบําบัดสูตรซิสพลาตินรวมกับอี

โทโปไซด โดยใหซสิพลาตินขนาด 80-100 มก/ม2 ฉดีเขาหลอดเลอืดดําในวันที ่ 1 และใหอโีทโป

ไซดขนาด 100 มก/ม2

2.2 ในระยะโรคลุกลาม จะใหเคมีบําบัดเหมือนกับมะเร็งปอด ชนิดเซลลเล็กใน

ระยะจํากดั เปนจํานวน 4-6 ชุด ถึงจะสิ้นสุดการรักษา กรณีที่มีการกลับเปนซ้ําภายหลังรับการรักษา

ดวยเคมีบําบัดสูตรแรก จะพิจารณาสลับสูตรของเคมีบําบัด หรือเลือกใหเคมีบําบัดชนิดตัวเดียวซึ่งที่

นิยมใช คือ โทโปทีแคน เจมซิตาบิน ดอคซีแทคเซล และไวนอเรลบิน รวมทั้งการเพิ่มขนาดของเคมี

บําบัด (มะเร็งวิทยาสมาคมแหงประเทศไทย, 2548ก)

ในวันที่1 ถึงวันที่ 3 ของการใหเคมีบําบัดแตละชุด ซึ่งหางกันทุก 3 สปัดาห

(มะเร็งวิทยาสมาคมแหงประเทศไทย, 2548ก)

ในการศึกษาคร้ังน้ี ทําการศึกษาในผูปวยมะเร็งปอดชนิดเซลลไมเล็กในระยะ IIIB

(stage IIIB) และระยะ IV (stage IV) ที่ไดรับการรักษาดวยเคมีบําบัดสูตรคารโบพลาตินรวมกับแพค

ลิทาเซล ทางหลอดเลือดดําในชุดที่ 1 จนถึงชุดที่ 3 แตละชุดหางกันทุก 3 สปัดาห โดยยา แพคลิทา

เซลใหโดยการหยดเขาทางหลอดเลอืดดําหมดภายใน 3 ชั่วโมง และตามดวย ยาคารโบพลาตินให

หมดภายใน 1 ชั่วโมง กลไกการออกฤทธิ์ของคารโบพลาตินและแพคลิทาเซลตอวงจรชีวิตของ

เซลล (cell cycle) มีดังน้ี

Page 11: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

18

1. คารโบพลาติน เปนเคมีบําบัดในกลุม อัลคลิเลติงเอเจนท (alkylating agents) ออกฤทธิ์

ตอเซลลทุกระยะของวงจร โดยรวมตัวกบั ดีเอ็นเอ (DNA) ทําใหเกิดความผิดปกติ ในการเชื่อมโยง

พนัธะ (cross-linking) ของดีเอ็นเอ เกิดการบิดเบี้ยวหรือความผิดปกติของเกลียวคูสายดีเอ็นเอ ( DNA

strands) สงผลใหยับยั้งการสังเคราะหดีเอ็นเอ ( DNA) ของเซลลมะเร็ง เซลลมะเร็งจึงหยุดการ

เจริญเติบโตหรือการแบงตัว (Solimando, 2008)

2. แพคลิทาเซล เปนเคมีบําบัดในกลุมที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลลโดยเขาไปหยุด

กระบวนการแบงตัวของเซลลแบบไมโทซิส ( mitosis) (National Cancer Institute, 2009) โดยเคมี

บําบัดจะเขาไปมีผลตอเสนใยโปรตีน ( microtuble) ภายในเซลลที่เรียกวาไมโทติก สปนเดิล ( mitotic

spindle) และสปนเดิล ไฟเบอร ( spindle fiber) สงเสริมใหเกิดการเกาะกลุมกันของเสนใยโปรตีน

กอนเวลาที่ควรจะเปน ปองกันไมใหเกิดการแตกตัวของโมเลกุลภายในเซลล จึงเกิดความผิดปกติใน

การแยกออกจากกันของโครโมโซม และทําใหกระบวนการที่จะนําไปสูการแบงตัวของเซลลมะเร็ง

ถูกยับยั้ง เซลลมะเร็งจึงหยุดการเจริญเติบโต (Solimando, 2008)

ผลกระทบของผูปวยมะเร็งปอดท่ีไดรับเคมีบําบัดสูตรคารโบพลาตินรวมกับแพคลิทาเซล

มะเร็งปอดเปนโรคที่มีความรายแรงเนื่องจากตรวจพบไดยากและมีการแพรกระจายของ

มะเร็งอยางรวดเร็วกอนไดรับการวินิจฉัย การรักษาสวนใหญจึงเปนการรักษาดวยเคมีบําบัด ซึ่งเคมี

บําบัดสูตรคารโบพลาตินรวมกับแพคลิทาเซลเปนเคมีบําบัดสูตรหนึ่งที่ใชบอยในการรักษามะเร็ง

ปอดชนิดเซลลไมเล็ก แมเคมีบําบัดจะเปนวิธีการรักษาที่สําคัญสําหรับผูปวยโรคมะเร็งปอด แต

ผูปวยก็อาจไดรับผลกระทบจากการรักษาในหลายดานดังน้ี

ผลกระทบดานรางกาย ผูปวยที่ไดรับเคมีบําบัดสูตรคารโบพลาตินรวมกับแพคลิทาเซล

อาจมีอาการไมพึงประสงคเกิดขึ้น ซึ่งหมายรวมถึงอาการแพยาหรือผลขางเคียงจากการรักษาที่

สงผลกระทบตอรางกายของผูปวย ความรุนแรงของอาการอาจแตกตางกันขึ้นอยูกับขนาดและ

ระยะเวลาของเคมีบําบัดที่ไดรับ รวมทั้งความสมบูรณของรางกาย ผลขางเคียงจากเคมีบําบัดมัก

เกิดขึ้นในชวงระยะเวลาหนึ่งจากนั้นจะทุเลาลงหรือหายไปเมื่อยุติการรักษา ซึ่งอาการไมพึงประสงค

จากการรักษาดวยเคมีบําบัดสูตรคารโบพลาตินรวมกับแพคลิทาเซลที่พบไดมีดังนี้

1. การแพยาหรืออาการของปฏิกิริยาภูมิไวเกิน ( hypersensitivity reactions) เปน

ปฏิกิริยาที่ภูมิรางกายไวตอยาเกินไป จากรายงานการศึกษาในผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัด

สูตรคารโบ พลาตินรวมกับแพคลิทาเซล จํานวน 185 ราย พบวาเกิดปฏิกิริยาการแพ ( allergy)

จํานวน 14 ราย คิดเปนรอยละ 7.6 (Stathopoulos et al., 2004) การเกิดปฏิกิริยาภูมิไวเกินจากยาแพค

ลิทาเซล เปนอาการที่พบไดคอนขางบอย โดยความถี่และความรุนแรงของอาการไมสัมพันธกับ

Page 12: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

19

ขนาดหรือระยะเวลาการใชยา อาการที่พบมีต้ังแตไมรุนแรง เชน คันตามตัว เกิดผื่นตามรางกาย

จนถึงมีอาการแพอยางรุนแรง เชน หายใจลําบาก หายใจมีเสียงว้ีด ความดันโลหิตตํ่า เปนลม หนา

แดง คอแดง เจ็บหนาอก หัวใจเตนเร็วหรือเตนผดิจังหวะ เปนตน และอาการแพอยางรุนแรงซึ่งอาจ

เกิดขึ้นภายใน 1 ชั่วโมงแรกของการใหยาแพคลิทาเซลทางหลอดเลือดดํา อุบัติการณการเกิด

ประมาณรอยละ 2-10 ของผูปวยที่ไดรับยา ( Barton-Burke, Wilkes, & Ingwersen, 2001, Camp-

Sorrell, 2000) ผูปวยอาจมีความดันโลหิตตํ่า หัวใจเตนชา หรือหัวใจเตนผิดจังหวะ ลิ่มเลือดอุดตัน

ในหลอดเลอืดดํารวมดวยได ซึง่เปนผลของยาตอการทาํงานของระบบหัวใจและหลอดเลอืด พบได

ใน 3 ชั่วโมงแรกของการไดรับยา จากรายงานการศึกษาในผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัดสูตร

คารโบพลาตินรวมกับแพคลิทาเซล จํานวน 185 ราย พบอาการพิษตอหัวใจ ( cardiotoxicity) 3 ราย

คิดเปนรอยละ 1.6 (Stathopoulos et al., 2004) สวนปฏิกิริยาภูมิไวเกินจากยาคารโบพลาติน อาจพบ

อาการหัวใจเตนเร็วกวาปกติ หายใจมีเสียงว้ีด ความดันโลหิตตํ่า และอาการหนาบวม ( Barton-Burke

et al., 2001)

2. อาการขางเคียงจากยาเคมีบําบัด เปนอาการที่เกิดจากยาเคมีบําบัดไปมีผลตอเซลลที่

ปกติของรางกาย โดยเฉพาะเซลลที่เจริญเติบโตและแบงตัวไดรวดเร็ว เชน เซลลผม เซลลไขกระดูก

เปนตน แตเซลลเหลานี้จะสามารถซอมแซมตัวเองไดภายหลังการใหเคมีบําบัด อาการขางเคียงจาก

เคมีบําบัดที่พบไดบอยในผูปวยที่ไดรับเคมีบําบัดสูตรคารโบพลาตินรวมกับแพคลิทาเซล มีดังน้ี

2.1 ผลขางเคียงตอระบบทางเดินอาหาร

2.1.1 คลื่นไสและอาเจียน คารโบพลาตินเปนเคมีบําบัดในกลุมที่มีผลชักนําให

เกิดอาการคลื่นไสและอาเจียนในระดับปานกลาง ( moderate emetogenic chemotherapy) โดยมี

ความเสี่ยงตอการเกิดอาการอาเจียนในระยะเฉียบพลัน ( acute vomiting) รอยละ 30-90 สวนใหญ

อาการเกิดหลัง 6 ชั่วโมงที่ไดรับยา ( Barton-Burke et al., 2001) สวนความเสี่ยงตอการเกิดอาการ

อาเจียนในระยะหลัง ( delayed vomiting) พบวามีไมมากนัก สําหรับยาแพคลิทาเซลเปนเคมีบําบัด

ในกลุมที่มีผลชักนําใหเกิดอาการคลื่นไสและอาเจียนในระดับตํ่า ( low emetogenic chemotherapy)

โดยมีความเสี่ยงตอการเกิดอาการอาเจียนในระยะเฉียบพลัน ( acute vomiting) รอยละ 10 - 30

(Molassiotis & Borjeson, 2006) ซึ่งอาจจะเร่ิมตนมีอาการภายใน 1-6 ชั่วโมงแรกของการไดรับยา

ชวงเวลาของการเกิดอาการคลื่นไสและอาเจียนจากยาเคมีบําบัดทั้งสองตัวนี้สวนใหญมีอาการ

ภายใน 24 ชั่วโมงแรกของการไดรับยา ( Wilkes, Ingwersen, & Barton-Burke, 2001) แตก็อาจพบวา

ผูปวยบางรายที่ไดรับยาคารโบพลาตินเกิดอาการคลื่นไสและอาเจียนในระยะหลัง ( delayed emesis)

ที่เกิดภายหลัง 24 ชั่วโมงหลังจากไดรับยาได (กัญญารัตน กตัญู, 2552)

Page 13: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

20

2.1.2 เยือ่บชุองปากอักเสบ คารโบพลาตินและแพคลิทาเซลเปนเคมีบําบัดใน

กลุมที่มีผลขางเคียงทําใหเกิดอาการเยื่อบุชองปากอักเสบได ( Fulton & Treon, 2007) โดยพบวา

ผูปวยที่ไดรับยาแพคลิทาเซลจะมีอาการเยื่อบุชองปากอักเสบไดรอยละ 39 ความรุนแรงของอาการ

อยูในระดับเล็กนอย สวนผูปวยที่ไดรับยาคารโบพลาตินจะมีอาการเยื่อบุชองปากอักเสบได

ประมาณรอยละ 10 ความรุนแรงของอาการอยูในระดับเล็กนอยเชนกัน ผลขางเคียงของเคมีบําบัดที่

มีผลตอเซลลเยื่อบุชองปากจะเร่ิมมีผลนับต้ังแตวันแรกที่ไดรับเคมีบําบัด แตชวงเวลาที่จะสามารถ

พบอาการทางคลินิกไดอยางชัดเจนจะอยูในชวง 3-5 วันหลังจากไดรับเคมีบําบัด และชวงเวลาที่มี

ความถี่ของการเกิดอาการสูงสุดอยูในชวง 7-14 วัน หลังจากไดรับเคมีบําบัด จากน้ันอาการจะคอยๆ

ดีขึ้นและจะฟนคืนสูสภาพปกติภายในระยะเวลา 2-3 สปัดาห (Barton-Burke et al., 2001)

2.1.3 ทองเสีย อาการทองเสียที่เกิดจากการไดรับเคมีบําบัดโดยสวนใหญพบวา

อาจเกิดอาการไดภายในระยะเวลาหลายวันหรือหลายสัปดาหภายหลังจากไดรับเคมีบําบัด ( Coward

& Coley, 2006) ผูปวยที่ไดรับยาคารโบพลาติน พบวาอาจเกิดอาการทองเสียไดประมาณรอยละ 10

แตอาการมักไมรุนแรง สวนยาแพคลิทาเซล พบวาอาจเกิดอาการทองเสียไดประมาณรอยละ 43 แต

ความรุนแรงของอาการอยูในระดับเล็กนอยถึงปานกลาง (Barton-Burke et al., 2001)

2.2 ผลขางเคียงตอระบบเลือด เปนผลขางเคียงของเคมีบําบัดตอการทํางานของไข

กระดูกทําใหมีการทําลายเซลลเม็ดเลือดและสรางเซลลเม็ดเลือดลดลง เกิดภาวะเม็ดเลือดขาวตํ่า

โดยเฉพาะชนิดนิวโตรฟว ( neutropenia) ภาวะเกล็ดเลือดตํ่า ( thrombocytopenia) และภาวะโลหิต

จาง (anemia) จากการมีเม็ดเลือดแดงตํ่า ผลขางเคียงของเคมีบําบัดตอระบบเลือดจะมีความรุนแรง

แตกตางกันขึ้นอยูกับขนาดและระยะเวลาในการใชยาเคมีบําบัด อาการสวนใหญสามารถหายเปน

ปกติได มีการศึกษาพบวาคารโบพลาตินรวมกับแพคลิทาเซลทําใหผูปวยเกิดภาวะเม็ดเลือดขาวนิว

โตรฟวตํ่าไดบอยที่สุด รองลงมาเปนภาวะเกล็ดเลือดตํ่าและภาวะซีด ( Schiller, Harrington, Belani,

Langer, Sandler, & Krook et al., 2002)

2.2.1 ภาวะเม็ดเลือดขาวนิวโตรฟวตํ่า เปนภาวะที่เพิ่มความเสี่ยงตอการติดเชื้อใน

รางกาย โดยเฉพาะชวงเวลาที่เม็ดเลือดขาวตํ่าสุดหลังไดรับเคมีบําบัด ( nadir phase) (Gobel &

O’Learry, 2007) ซึ่งผลของยาแพคลิทาเซลตอการกดการทํางานของไขกระดูกและทําใหเกิดภาวะ

เมด็ลอืดขาวนิวโตรฟวตํ่าสวนใหญเร่ิมเกดิอาการใน 8-14 วันหลังไดรับยาเคมีบําบัด จากน้ันจะเร่ิม

ฟนคืนสูสภาพปกติภายในวันที่ 15-21 หลังไดรับเคมีบําบัด ( Solimando, 2008) สวนผลของยาคาร

โบพลาตินตอการเกิดภาวะเม็ดเลือดขาวนิวโตรฟวตํ่าจะอยูในชวง 1 สัปดาหหลังไดรับยา และอาจ

ใชเวลาในการฟนคืนสูสภาพปกติใน 5-6 สปัดาห (Wilkes et al., 2001)

Page 14: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

21

2.2.2 ภาวะเกล็ดเลือดตํ่า ยาเคมีบําบัดคารโบพลาตินและแพคลิทาเซล เปนเคมี

บําบัดที่มีผลกดการทํางานของไขกระดูก ทําใหเสี่ยงตอการเกิดภาวะเกล็ดเลือดตํ่า

(thrombocytopenia) ได โดยสวนใหญจะเร่ิมเกิดภาวะเกล็ดเลือดตํ่าใน 8-14 วันหลังจากไดรับเคมี

บําบัด และชวงเวลาที่ยาคารโบพลาตินมีผลตอการทํางานของเกล็ดเลือดสูงสุด ทําใหเกิดภาวะเกล็ด

เลือดตํ่าอยางรุนแรงไดอยูในชวง 14-21 วันหลังไดรับยา และจะฟนคืนสูสภาพปกติภายในวันที่ 28

หลังไดรับเคมีบําบัด (Wilkes et al., 2001)

2.2.3 ภาวะโลหิตจาง เปนผลขางเคียงของเคมีบําบัดที่กดการทํางานของไข

กระดูก ทําใหมีการสรางเม็ดเลือดแดงลดลง ภาวะโลหิตจางสวนใหญจะเกิดในผูปวยที่ไดรับยาเคมี

บําบัดเปนเวลานานหลายชุด (Wilkes et al., 2001)

2.3. ผลขางเคียงตอระบบประสาทและกลามเนื้อ จากรายงานการศึกษาในผูปวย

มะเร็งปอดที่ไดรับคารโบพลาตินรวมกับแพคลิทาเซลจํานวน 234 ราย พบวาความผิดปกติของ

ระบบประสาท (neurotoxicity) พบไดรอยละ 8 และอุบัติการณเพิ่มขึ้นในผูปวยที่ไดรับเคมีบําบัด

ต้ังแตชุดที่ 3 ขึ้นไป (Kosmidis, Mylonakis, Nicolaides, Kalophonos, Samantas, & Boukovinas et

al., 2002) ความรุนแรงของอาการทางระบบประสาทจะสัมพันธกับปริมาณยาที่สะสมในรางกาย

ขนาดยาที่ไดรับในแตละคร้ัง (single dose) และการถูกทําลายของเสนประสาทที่มีมากอนที่จะไดรับ

ยา (Quasthoff & Hartung, 2002) ทั้งนี้คารโบพลาตินเปนเคมีบําบัดที่มีผลขางเคียงทําใหเกิดความ

ผิดปกติของเสนประสาทในสวนของการรับความรูสึก ( sensory) และการเปลี่ยนแปลงทางจิต

(mental status) เชน อาการสับสนและหลงลืม แตสามารถหายเปนปกติได สวนแพคลิทาเซลพบวา

อาจทําใหเกิดความผิดปกติในสวนของการรับความรูสึกและการเคลื่อนไหว ( sensorimotor) ของ

อวัยวะสวนปลาย ระยะเวลาที่จะเร่ิมเกิดอาการผิดปกติเกี่ยวกับระบบประสาทจะขึ้นอยูกับการไดรับ

ยาในขนาดสูงเปนเวลานานหลายชุด (Barton-Burke et al., 2001)

2.3.1 อาการผิดปกติของเสนประสาทสวนปลาย คารโบพลาตินและแพคลิทา

เซลอาจทําใหเกิดความผิดปกติหรือเปลี่ยนแปลงการรับรูของระบบประสาทสวนปลาย เชน ชา

ปลายมือ ปลายเทาได ทั้งนี้ยาแพคลิทาเซลอาจทําใหเกิดความผิดปกติของเสนประสาทไดภายใน 24

ชั่วโมงหลังไดรับยาในขนาดสูงและอาการจะดีขึ้นภายใน 1 เดือนหลังสิ้นสุดการรักษา อาการที่พบ

ไดแก ปวดแสบปวดรอนบริเวณน้ิวเทา การรับรูความรูสึกไวกวาปกติ หรืออาการชา รับรูความรูสึก

ลดลง ( paresthesia) ชารอบดวงตาในระดับเล็กนอย เปนตน พบไดประมาณรอยละ 62 (Barton-

Burke et al., 2001) จากรายงานการศึกษาพบวาขนาดของยาที่ไดรับมีผลตอการเกิดความผิดปกติ

ของเสนประสาทสวนปลาย โดยหากไดรับยาแพคลิทาเซลในขนาดสะสมมากกวา 1000 มก/ม2 มี

ความสัมพันธสูงกับการเกิดอาการพิษตอระบบประสาทสวนปลาย นอกจากนี้ยังมีความสัมพันธกับ

Page 15: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

22

ระยะเวลาที่ไดรับการรักษาดวยยาคารโบ พลาตินรวมกับแพคลิทาเซล ซึ่งพบวาความผิดปกติของ

ระบบประสาทสวนปลาย เชน อาการชาปลายมือ ปลายเทา จะมีอุบัติการณเพิ่มขึ้นภายหลังไดรับ

เคมีบําบัดชุดที่ 3 ขึ้นไป และระยะเวลาในการฟนหายอาจใชเวลาประมาณ 3 เดือนหลงัสิน้สดุการ

รักษา (Argyriou, Polychronopoulos, Iconomou, Koutras, Kalofonos, & Chroni, 2005)

2.3.2 ความปกติเกี่ยวกับการไดยินและการมองเห็น ผูปวยที่ไดรับคารโบพลาติน

ในขนาดสูง พบวาอาจมีอาการไดยินเสียงห่ึงๆ ในหู หรือสูญเสียการไดยินในโทนสูงได จากรายงาน

การศึกษาในหนูเกี่ยวกับขนาดของยาคารโบพลาตินที่ชักนําใหเกิดการสูญเสียการไดยิน พบวาการ

ไดรับยาคารโบพลาตินในขนาดสูงกวา 128 มก./กก จะมีผลใหเกิดการสูญเสียการไดยินได รวมทั้ง

การไดรับยาคารโบพลาตินในขนาดสะสมมากวา 1.6 กรัม/ม2 (

2.3.3 อาการทางระบบกลามเนื้อ พบวายาแพคลิทาเซลอาจทําใหเกิดอาการปวด

ขอและปวดกลามเน้ือ แตพบไดนอยกวารอยละ 10 โดยอาการมักจะเกิดแบบชั่วคราวใน 2-4 วัน

หลังไดรับยาและอาการจะหายไปใน 2-3 วัน อาการปวดที่เกิดขึ้นสามารถรักษาใหหายไดโดยการ

ใชยาแกปวดแบบธรรมดา จากการศึกษาในผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัดสูตรคารโบพลาติน

รวมกับแพคลิทาเซลจํานวน 234 ราย พบวามีอุบัติการณการเกิดอาการประมาณรอยละ 1 (Kosmidis

et al., 2002) นอกจากนี้จากรายงานการศึกษาในผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับคารโบพลาตินรวมกับแพค

ลิทาเซล จํานวน 203 ราย พบวาอาจมีอาการออนแรงของกลามเนื้อ ( weakness) หรือออนเปลีย้

(asthenia) เกิดขึ้นได รอยละ 8 (Kelly, Crowley, Bunn, Presant, Grevstad, & Moinpour et al.,

2001)

Husain, Scott, Whitworth, Somani,

& Rybak, 2001) สวนแพคลิทาเซลจากรายงานพบวาอาจทําใหเกิดความผิดปกติเกี่ยวกับ

เสนประสาทตาและ/หรือการมองเห็น ทําใหเกิดความไมสมดุลของการมองเห็น ในผูปวยที่ไดรับใน

ขนาดที่สูงกวาที่แนะนํา นอกจากน้ันยังอาจพบอาการพิษตอหู เชน สูญเสียการไดยินและอาการหูอ้ือ

เปนตน

2.4 ผลขางเคียงตอระบบไตและทางเดินปสสาวะ คารโบพลาตินเปนเคมีบําบัดใน

กลุมที่มีพิษตอไตในระดับตํ่า (low-risk of nephrotoxicity) ยาจะมีผลในการทําลายทอไตเพียงเล็กนอย

(Barton-Burke, Wilkes, Ingwersen, 2001) จากการศึกษาในผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัดสูตร

คารโบพลาตินรวมกับแพคลิทาเซลจํานวน 185 ราย พบวามีอุบัติการณการเกิดผลขางเคียงตอไต รอย

ละ 1.1 โดยพบวามีคายูเรีย (blood urea nitrogen [BUN]) และคาครีเอตินิน (creatinin) ในกระแสเลอืด

เพิ่มขึ้น (Stathopoulos, Veslemes, Georgatou, Antoniou, Giamboudakis, Katis et al., 2004) สวน

รายงานการศึกษาในหนูทดลองเกี่ยวกับการเกิดพิษตอไตจากยาคารโบพลาติน พบวาภายหลังที่ไดรับ

Page 16: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

23

ยาคารโบพลาตินไป 3-5 วัน จะมีการเปลี่ยนแปลงลดลงของสารตางๆ ซึ่งบงชี้ถึงการเกิดภาวะพิษตอ

ไต โดยเฉพาะในวันที ่4 ของการไดรับยาคารโบพลาติน (Husain, Whitworth, & Rybak, 2004)

2.5 ผลขางเคียงตอระบบโครงรางและผิวหนัง

2.5.1 ผมรวง กลไกของการเกิดอาการผมรวงจากเคมีบําบัดเกิดขึ้นเนื่องจากเซลล

ผมมีการเจริญแบงตัวอยางรวดเร็วและมีการไหลเวียนของเลือดรอบปุมรากผม ( hair follicles) เปน

จํานวนมาก ทําใหมีการแลกเปลี่ยนสารชีวเคมีจากสวนประกอบตางๆในบริเวณดังกลาวอยู

ตลอดเวลา ซึ่งสารเคมีจากเคมีบําบัดจะเขาไปมีผลตอการแบงตัวของเซลลผมและทําใหเกิดปฏิริยาที่

ทําใหเสนผมหลุดรวงไดงายขึ้น (Batchelor, 2006) แพคลิทาเซลเปนเคมีบําบัดในกลุมที่มีผลตอการ

เกิดผมรวงอยางรุนแรง สวนคารโบพลาตินเปนเคมีบําบัดที่จัดอยูในกลุมที่ทําใหเกิดอาการผมรวง

ในระดับเลก็นอย (Batchelor, 2006) ผูปวยที่ไดรับแพคลิทาเซลสวนใหญพบวามีอาการผมรวงเกือบ

ทุกรายและผมจะรวงหมดภายใน 3 สปัดาห (Yabro, Frogge, Goodman, & Groenwald, 2000)

อาการผมรวงจะเร่ิมเกิดภายใน 7-10 วันนับจากที่ไดรับเคมีบําบัด และจะเร่ิมฟนคืนการเจริญเติบโต

ของเสนผมใหมภายใน 4-6 สัปดาหนับจากสิ้นสุดการรักษา จากรายงานการศึกษาในผูปวยมะเร็ง

ปอดที่ไดรับเคมีบําบัดสูตรคารโบพลาตินรวมกับแพคลิทาเซลจํานวน 185 ราย พบวา มีอาการผม

รวงรอยละ 84.3 (Stathopoulos et al., 2004)

2.5.2 การเปลี่ยนแปลงของผิวหนัง ผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัดสูตรคาร

โบ พลาตินรวมกับแพคลิทาเซลอาจเกิดอาการผื่น คันตามผิวหนังได แตอุบัติการณคอนขางนอย

ผลกระทบดานจิตใจและจิตวิญญาณ พบวาผูปวยมะเร็งปอดเกิดอาการซึมเศรา

(Kattlore & Wim, 2003) ทุกขใจ กังวลใจ และมีความรูสึกไมแนนอนเกี่ยวกับโรคและการรักษา

สงผลใหเกิดความเครียดและความสับสน ( Arantzamendi & Kearney, 2004) ผูปวยอาจรูสึกโดด

เด่ียว สิ้นหวัง ทอแท และคับของใจ ( The Cancer Council New South Wales, 2005) ซึ่งจาก

การศึกษาในสตรีที่ปวยเปนมะเร็งปอด จํานวน 217 ราย พบวาผูปวยมีความเครียด และความวิตก

กังวลจากการวินิจฉัยโรค หวาดกลัวตอการแพรกระจายและการกลับเปนซ้ําของโรค รวมทั้งผลของ

ความเจ็บปวยและอาการขางเคียงจากการรักษาที่เกิดขึ้น ยังทําใหแนวคิดเกี่ยวกับตนเองของผูปวย

เปลี่ยนแปลงไป สงผลใหความรูสึกมีคุณคาในตนเองลดลง ( Sarna et al., 2005) นอกจากน้ี ผูปวย

มะเร็งปอดยังตองเผชิญกับทุกขทรมานจากสาเหตุตางๆ หลายประการ ไดแก ปญหาที่เกิดจากความ

บกพรองของการปฏิบัติหนาที่ตางๆ ในชีวิตประจําวัน ปญหาจากความไมสุขสบายจากอาการ และ

ปญหาที่เกี่ยวกับความสามารถในการรับรูที่เปลี่ยนแปลงไป ปญหาครอบครัว คูสมรส ปญหา

ทางดานอารมณ ไดแก อาการซึมเศรา วิตกกังวล การปรับตัวกับความเจ็บปวย ความรูสึกแปลกแยก

โดดเด่ียว เบื่อหนาย และการมีรูปรางลักษณะที่เปลี่ยนแปลงไป ปญหาดานจิตวิญญาณ ไดแก การ

Page 17: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

24

สูญเสียศรัทธา และเปาหมายของชีวิต ตองเผชิญหนากับความตาย ความวิตกกังวลซึ่งเกิดจากการ

ขาดขอมูลเกี่ยวกับโรคและการรักษา ( Graves et al., 2007) ซึ่งความกดดัน ความเครียด ความวิตก

กังวล การขาดการชวยเหลือ ไรซึ่งความหวังและความกลัวที่จะตาย ลวนเปนสิ่งที่ทําใหความผาสุก

ทางจิตวิญญาณลดนอยลง (Lin, & Bauer-Nu, 2003)

ผลกระทบดานสังคม จากการเจ็บปวยดวยโรคมะเร็งปอดและการรักษาดวยเคมีบําบัด

สงผลกระทบทางสังคมตอผูปวยหลายประการ ไดแก ผลจากอาการของโรค เชน อาการหายใจ

เหน่ือยหอบ เสียงแหบ กลืนลําบาก จะรบกวนการทํากิจกรรมในชีวิตประจําวันและการดําเนินชีวิต

ในสังคมของผูปวย ( Yoshimura, 2001) เพิ่มความเครียดของสมาชิกในครอบครัว รบกวนการ

ทํางานทั้งภายในบานและนอกบาน ทําใหความสามารถในการทําหนาที่หรือบทบาททางสังคมของ

ผูปวยลดลงหรือเกิดความรูสึกแปลกแยก และยังมีผลกระทบตอดานเพศสัมพันธของผูปวย ( Sarna

et al., 2005) นอกจากน้ี ผลจากความเครียด วิตกกังวล รูสึกสูญเสีย เศราโศก เปนปญหาทางจิตใจที่

มีผลกระทบตอทางดานสังคมและการปรับตัวของผูปวยมะเร็ง ทําใหผูปวยปฏิเสธการมีปฏิสัมพันธ

กับผูอ่ืน สงผลใหเกิดปญหาเกี่ยวกับสัมพันธภาพตามมา ( Oncology Nursing Society Position,

2008) สวนอาการขางเคียงจากเคมีบําบัดบางอาการ ก็สงผลกระทบทางสังคมตอผูปวยมะเร็งปอด

ทําใหผูปวยเกิดความเหนื่อยลา ขาดพลังงานและแรงจูงใจในการเขารวมทํากิจกรรม ทางสังคม

รวมทั้งลดการมีปฏิสัมพันธกับผูอ่ืน ( Curt et al., 2000) สวนอาการผมรวง จะมีผลตอภาพลักษณ

ของผูปวย ทําใหเกิดความรูสึกอับอาย สูญเสียความภาคภูมิใจและความนาเชื่อถือ ซึ่งจะกระทบตอ

การทํากิจกรรมและการมีปฏิสัมพันธทางสังคมของผูปวย ( Batchelor, 2001; Lemieux, Maunsell, &

Provencher, 2008) นอกจากนี้อาการคลื่นไส อาเจียนจากเคมีบําบัด หากไมสามารถควบคุมอาการ

ได ก็มีผลกระทบตอการดําเนินชีวิต การทํางานและคุณภาพชีวิตของผูปวยดวยเชนกัน ( Miller &

Kearney, 2004)

ผลกระทบดานเศรษฐกิจ เกิดจากการที่ผูปวยตองสูญเสียคาใชจายในการรักษา

ภาวะแทรกซอนที่เกิดจากผลขางเคียงของเคมีบําบัดเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ มีการศึกษาพบวาผูปวยมะเร็ง

ที่ไดรับเคมีบําบัดเกิดการติดเชื้อขณะอยูที่บานเน่ืองจากภาวะเม็ดเลือดขาวตํ่า ทําใหสูญเสียคาใชจาย

ในการรักษาถึง 88,816 ดอลลารสหรัฐตอป ( Calhoun, Brown, Kozloff, & Bennett, 2005)

นอกจากน้ี เคมีบําบัดยังทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงการรับรสและกลิ่นอาหาร ซึ่งสงผลกระทบตอ

ภาวะโภชนาการของผูปวยทําใหไดรับสารอาหารไมเพียงพอหรือไมสามารถรับประทานอาหารเอง

ได จะตองไดรับอาหารทางสายยางทําใหมีคาใชจายในการรักษาเพิ่มมากขึ้น ( Comeau, Epstein, &

Migas, 2001) รวมถึงผลกระทบจากความเหนื่อยลาที่เกิดขึ้นจากโรคและการรักษา อาจทําใหผูปวย

ไมสามารถทํางานไดตามปกติ ตองหยุดงาน หรือเปลี่ยนงาน เนื่องจากความเหนื่อยลาทําใหเกิด

Page 18: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

25

ความยากลําบากในการทํางานที่ตองใชสมาธิและความคิด อาการที่เกิดขึ้นนอกจากจะมีผลกระทบ

ตอผูปวยแลวยังกระทบตอผูดูแลที่ตองหยุดงานเพื่อมาดูแลผูปวย ทําใหครอบครัวตองสูญเสียรายได

(Curt et al., 2000)

จากขอมูลที่กลาวมาขางตนสรุปไดวา ผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัดสูตรคารโบพ

ลาตินรวมกับแพคลิทาเซล อาจไดรับผลกระทบจากโรคและการรักษา ทั้งทางดานรางกาย จิตใจและ

จิตวิญญาณ ดานสังคม และดานเศรษฐกิจ โดยปญหาดานรางกายสวนใหญเกิดจากอาการของโรค

และผลขางเคียงจากการรักษา ทําใหผูปวยมีความทุกขทรมานจากอาการ ความสามารถในการ

ปฏิบัติกิจกรรมและการทําหนาที่ของรางกายลดลง และยังมีผลตอจิตใจและจิตวิญญาณของผูปวย

ทําใหเกิดความกลัว เครียด ทุกขใจ กังวลใจ ซึมเศรา และรูสึกไมแนนอนเกี่ยวกับโรคและการรักษา

นอกจากนี้ยังรบกวนตอการดําเนินชีวิตและการปฏิบัติบทบาทในสังคมของผูปวย สวนผลกระทบ

ดานเศรษฐกิจ ทําใหผูปวยและครอบครัวตองสูญเสียรายไดและเวลา รวมทั้งมีคาใชจายเพิ่มมากขึ้น

จากอาการแทรกซอนตางๆ จึงอาจกลาวไดวา ผลกระทบจากโรคและการรักษาดวยเคมีบําบัด

นอกจากจะสงผลทางลบตอผลลัพธการรักษายังมีผลตอความสามารถในการดูแลตนเองและคุณภาพ

ชีวิตของผูปวย

ระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและใหความรูของโอเร็ม

จากแนวคิดของโอเร็ม ( Orem, 2001) การดูแลตนเองเปนการที่บุคคลริเร่ิมและกระทํา

การอยางจงใจ มีเปาหมายและลําดับขั้นตอน ในการควบคุมปจจัยทั้งภายในและภายนอกที่จะ

กระทบตอการทําหนาที่และพัฒนาการของรางกาย ทั้งในขณะปกติและเมื่อเกิดความเจ็บปวย เพื่อ

รักษาไวซึ่งชีวิต สุขภาพ และความผาสุก แตหากบุคคลมีความสามารถในการดูแลตนเองไมเพียง

พอที่จะตอบสนองตอความตองการการดูแลตนเองทั้งหมดได จะสงผลใหเกิดความพรองในการ

ดูแลตนเองและตองอาศัยความสามารถทางการพยาบาลในการจัดระบบการพยาบาลเพื่อชวย

ปรับแกไขใหเกิดความสมดุลระหวางความสามารถในการดูแลตนเองกับความตองการการดูแล

ตนเองทั้งหมด (สมจิต หนุเจริญกุล, 2544)

ระบบการพยาบาลตามแนวคิดของโอเร็ม เปนระบบที่ไดมาจากการใชความสามารถ

ทางการพยาบาลเพื่อปรับแกไขความไมสมดุลระหวางความสามารถในการดูแลตนเองกับความ

ตองการการดูแลตนเองทั้งหมดของผูปวย ( Orem, 2001) แบงออกเปน 3 ระบบ ไดแก 1) ระบบ

ทดแทนทัง้หมด ( wholly compensatory nursing system) เหมาะสมสําหรับผูปวยที่ไมสามารถ

ตัดสินใจอยางมีเหตุผล หรือไมสามารถเคลื่อนไหวเองได 2) ระบบทดแทนบางสวน ( partly

Page 19: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

26

compensatory nursing system) เหมาะสมสําหรับผูปวยที่สามารถปฏิบัติกิจกรรมการดูแลบางอยาง

ไดดวยตนเอง และ 3) ระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและใหความรู ( supportive-educative

nursing system) เหมาะสมสําหรับผูปวยที่สามารถตัดสินใจ และกระทําการดูแลตนเองได (สมจิต

หนุเจริญกุล, 2544; Orem, 2001)

ผูปวยมะเร็งปอดที่รับการรักษาดวยเคมีบําบัดสวนใหญ เปนผูที่สามารถคิด ตัดสินใจ

และกระทําการดูแลตนเองได ดังนั้นระบบการพยาบาลที่เหมาะสมสําหรับผูปวย คือ ระบบการ

พยาบาลแบบสนับสนุนและใหความรู ซึ่งเปนกิจกรรมการพยาบาลที่ชวยสงเสริมและพัฒนา

ความสามารถในการดูแลตนเองของผูปวย โดยผูปวยสามารถเรียนรูที่จะกําหนดความตองการการ

ดูแลตนเองทั้งหมด กระทําการดูแลตนเอง ประเมินผล และปรับเปลี่ยนการดูแลตนเองใหเหมาะสม

กับการดําเนินชีวิตได แตขาดความรู ทักษะ หรือแรงจูงใจในการปฏิบัติการดูแลตนเอง จึงตองการ

การชี้แนะแนวทางเพื่อใหสามารถพิจารณา ตัดสินใจในแตละสถานการณที่มีความซับซอนได สวน

พยาบาลจะมีบทบาทเปนที่ปรึกษา กระตุนใหกําลังใจ ใหความรูและสนับสนุนใหผูปวยพัฒนา

ความสามารถในการดูแลตนเอง และคงไวซึ่งความพยายามในการดูแลตนเองอยางเพียงพอและ

ตอเน่ือง

วิธีการชวยเหลือในระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและใหความรูมีดังตอไปนี้ (สมจิต

หนุเจริญกุล, 2544; Orem, 2001)

1. การชี้แนะ เปนวิธีการที่เหมาะสมสําหรับผูปวยที่สามารถตัดสินใจเลือกได และผูปวย

ตองมีแรงจูงใจและมีความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมดูแลตนเอง พยาบาลจะชี้แนะใหผูปวย

ตัดสินใจเลือกวิธีการดูแลตนเอง โดยการแนะนําแนวทาง และใหขอมูลที่จําเปน เพื่อเปน

แหลงขอมูลที่จะชวยผูปวยในการตัดสินใจเลือกวิธีการดูแลตนเอง ภายใตการแนะนําและการให

คําปรึกษาของพยาบาล การชี้แนะ มักใชรวมกับการสนับสนุนทั้งทางรางกายและจิตใจ

2. การสนับสนุน เปนวิธีการสงเสริมความพยายามใหผูปวยสามารถปฏิบัติกิจกรรมการ

ดูแลตนเองไดในสถานการณตางๆ แมจะอยูในภาวะเครียด เจ็บปวด ทุกขทรมานจากโรคหรือ

เหตุการณที่ประสพอยูในชีวิต เพื่อใหสามารถอยูไดโดยไมกระทบตอการพัฒนาการของตนเอง

หรือมีผลกระทบนอยที่สุด โดยอาจเปนการสนับสนุนทั้งทางรางกายและจิตใจ ดวยการใชคําพูดที่

กระตุนใหกําลังใจ และกริยาทาทางของพยาบาล เชน การมอง การสัมผัส การชวยทางดานรางกาย

หรือดานสิ่งของ รวมทั้งเกี่ยวของกับการจัดสิ่งแวดลอมที่จะพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเอง

ของผูปวย อันจะชวยใหผูปวยมีกําลังใจและความมั่นใจ ที่จะริเร่ิมและพยายามปฏิบัติกิจกรรมการ

ดูแลตนเองอยางตอเน่ือง

Page 20: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

27

3. การสอน เปนวิธีการที่สําคัญในการชวยเหลือใหผูปวยพัฒนาความรูหรือทักษะที่

จําเปน ที่จะนําไปสูการพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองของผูปวย โดยการสอน ตองยึด

หลักการเพิ่มศักด์ิศรีและความรูสึกมีคุณคาในตนเองของผูปวย ใหผูปวยมีสวนรวมในการรูจัก

ควบคุมตนเอง พยาบาลตองใหเกียรติและยอมรับในความเปนปจเจกบุคคลของผูปวย ซึ่งหลักใน

การสอนมดัีงน้ี

3.1 สอนในสิ่งที่ผูปวยตองการเรียนรู เร่ิมตนจากสิ่งที่ผูปวยตองการ ไตถามและรับ

ฟงการรับรูของผูปวย ซึ่งจะชวยใหผูปวยรูสึกวามีสวนรวมในการควบคุมและดูแลตนเอง รับรูถึง

ความเอาใจใสสนใจของพยาบาล ทําใหเกิดความนับถือและไววางใจ รวมทั้งเพิ่มความสนใจในการ

เรียนรูมากขึ้น โดยเน้ือหาที่สอนจะตองเสริมจากความรูเดิม รวมทั้งตองปรับเน้ือหาและวิธีการสอน

ใหเขากับความสามารถในการเรียนรูของผูปวยแตละคน มีการประเมินความเขาใจและการรับรูของ

ผูปวยดวย

3.2 ความพรอมของผูปวยเปนสิ่งจําเปนสําหรับการเรียนรู หากผูปวยขาดความ

พรอม จะเปนขอจํากัดในการเรียนรูของผูปวย และการเรียนรูจะเพิ่มขึ้นจากการมีสวนรวมและการ

ฝกปฏิบัติ โดยการใหผูปวยมีสวนรวมในการเรียนการสอน พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือ

ฝกหัดกระทําตางๆ ในการดูแลตนเอง

3.3 การประเมินความกาวหนาในการบรรลุเปาหมายของการเรียนรู ใหขอมูล

ปอนกลับ จะชวยในการเรียนรูและปรับพฤติกรรมของผูปวย ใหคําชมและกําลังใจในการเรียนรูและ

กระทําการดูแลตนเองที่ถูกตอง ชี้แจง และแกไข โดยหลีกเลี่ยงคําติเตียนในกิจกรรมที่ยังกระทําได

ไมถูกตอง

3.4 จัดการควบคุมสิ่งแวดลอมใหสงเสริมการเรียนรู รวมทั้งสรางสัมพันธภาพที่ดี

และอบอุนระหวางพยาบาลกับผูปวยจะชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนการสอน

3.5 การสงเสริมใหผูปวยรูสึกถึงคุณคาในตนเอง เพื่อเพิ่มแรงจูงใจในการเรียนรู

ปญหา โดยเปดโอกาสใหผูปวยมีอํานาจในการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเอง ผูปวยและพยาบาลมีการ

ติดตอวางแผน วางเปาหมาย และเลือกวิธีการดูแลรวมกัน

4. การสรางสิ่งแวดลอมที่สงเสริมใหบุคคลไดพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเอง

เปนวิธีการเพิ่มแรงจูงใจของผูปวยในการวางเปาหมายที่เหมาะสม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อให

ไดผลตามเปาหมายที่ต้ังไว สิ่งแวดลอมหมายรวมถึงการเปลี่ยนแปลงเจตคติ การใหคุณคาตอการ

ดูแลตนเอง การใชความสามารถในทางสรางสรรค การปรับเปลี่ยนอัตมโนทัศนและการพัฒนา

ทางดานรางกาย พยาบาลจะตองจัดใหผูปวยมีโอกาสมีปฏิสัมพันธและติดตอกับตนเองและผูอ่ืน

เพื่อที่จะใหคําแนะนํา สนับสนุน และใชวิธีการชวยเหลืออ่ืนๆ สรางสิ่งแวดลอมที่สงเสริมการเรียนรู

Page 21: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

28

และการมีสวนรวมของผูปวย โดยคํานึงถึงความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมทั้งทางกายภาพ จิต

สังคม บทบาท และตําแหนงของแตละบุคคลดวย รวมถึงการจัดหาและใหคําแนะนําอยางเพียงพอ

เกี่ยวกับแหลงประโยชน การใช และการแบงปนแหลงประโยชนแกผูปวย ใหการดูแลเมื่อผูปวย

ตองการ จัดหาแหลงชวยเหลือตามความสนใจของผูปวย และจัดใหมีความเหมาะสมระหวางการอยู

คนเดียวกับการมีปฏิสัมพันธกับผูอ่ืน ไมกาวกายการตัดสินใจของผูปวย เคารพ เชื่อ และไววางใจใน

การพัฒนาความสามารถของผูปวย รวมทั้งเขาใจธรรมชาติของบุคคลที่จะพยายามตอบสนองตอ

ความคาดหวัง และความเชื่อมั่นจากบุคคลอ่ืนดวย

การสงเสริมใหผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัดสามารถดูแลตนเองได พยาบาลตอง

ใชวิธีการชวยเหลือ ประกอบดวย 1) การสอน เกี่ยวกับการดูแลตนเองของผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับ

เคมีบําบัด ทั้ง 4 ดาน ไดแก การดูแลตนเองใหมีสุขภาพแข็งแรง การดูแลตนเองเพือ่ปองกนัและ

บรรเทาอาการขางเคียงจากเคมีบําบัด การดูแลตนเองเพื่อใหจิตใจและอารมณแจมใส และการดูแล

ตนเองตามแผนการรักษาของแพทย ซึ่งชวยใหผูปวยพัฒนาความรูและทักษะที่จําเปนในการดูแล

ตนเอง 2) การชี้แนะแนวทางและวิธีการดูแลตนเองที่เหมาะสม ที่ชวยใหผูปวยสามารถตัดสินใจ

เลอืกวิธกีารดูแลตนเองเพือ่ตอบสนองความตองการในการดูแลตนเอง 3) พยาบาลตองสนับสนุนทั้ง

ทางดานรางกายและจิตใจ โดยการจัดหาคูมือการดูแลตนเองใหแกผูปวย การใชทาทาง การสัมผัส

และคําพูดที่กระตุน ใหกําลังใจ ยกยอง ชมเชย เมื่อผูปวยปฏิบัติพฤติกรรมการดูแลตนเองไดถูกตอง

ทําใหผูปวยมีกําลังใจ มีความมั่นใจ และคงไวซึ่งพฤติกรรมการดูแลตนเอง และ 4) พยาบาลตอง

สรางสิ่งแวดลอม โดยการสรางสัมพันธภาพ เลือกใชสถานที่ที่เหมาะสมในการสอนใหความรู และ

รวมรับรูความรูสึก เปดโอกาสใหผูปวยพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นอยางตอเน่ือง ชวย

ประสานงานระหวางผูปวย ผูดูแล กับทีมสุขภาพเพื่อชวยเพิ่มเติมแหลงประโยชน รวมทั้งเปด

โอกาสใหครอบครัวมีสวนรวมในการดูแล สนับสนุนและใหกําลังใจผูปวย ซึ่งจะชวยสงเสริมการ

เรียนรูและเพิ่มแรงจูงใจ ในการริเร่ิมและคงไวซึ่งการดูแลตนเอง อันจะนําไปสูการปฏิบัติการดูแล

ตนเองอยางตอเน่ืองและมีประสิทธิภาพ คงไวซึ่งสุขภาพและความผาสุกหรือคุณภาพชีวิตสูงสุดตาม

ศักยภาพของแตละบุคคล

จากการทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของพบวาไดมีผูนําแนวคิด ระบบการ

พยาบาลแบบสนับสนุนและใหความรูมาศึกษาในผูปวยโรคมะเร็งที่ไดรับเคมีบําบัดเพื่อสงเสริมให

ผูปวยมีการดูแลตนเองที่ดีขึ้น โดยการศึกษาของ อรทัย สนใจยุทธ ( 2539) ในผูปวยมะเร็งปอดที่

ไดรับเคมีบําบัดจํานวน 60 ราย ที่ไดรับเคมีบําบัดต้ังแตชุดที่ 1 เปนตนไป เปนการศึกษาที่มีเพียง

กลุมเดียว ผูปวยจะไดรับการสนับสนุนและใหความรูรวม 3 คร้ัง คร้ังละ 4 วัน วันละ 30-45 นาที

ขณะรับเคมีบําบัดในโรงพยาบาลในสัปดาหที่ 1, 4 และ 8 ผูวิจัยจะเขาพบกับผูปวย ในวันแรกที่รับ

Page 22: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

29

เคมีบําบัดและเขาพบติดตอกันจนครบ 4 วัน ในการพบกันทั้ง 3 คร้ัง ผูปวยจะไดรับการสนับสนุน

และใหความรูเกี่ยวกับโรค การรักษา และอาการขางเคียงและการดูแลตนเองเพื่อปองกันและ

บรรเทาอาการขางเคียงของเคมีบําบัด รวมทั้งไดรับการประเมินพฤติกรรมการดูแลตนเอง กอนและ

หลังไดรับการจัดกระทําทั้ง 3 คร้ัง คือ สัปดาหที่ 1, 4 และ 8 ผลการวิจัยพบวาหลังไดรับการ

สนับสนุนและใหความรู ผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัด มีพฤติกรรมการดูแลตนเองดีกวากอน

ไดรับการสนับสนุนและใหความรูอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (อรทัย สนใจยุทธ, 2539)

สําหรับการศึกษาผลของการสนับสนุนและใหความรูตอการดูแลตนเองในผูปวย

โรคมะเร็งชนิดอ่ืนนอกจากมะเร็งปอดพบหลายการศึกษาดังนี้ การศึกษาของสุภาวดี โสภณวัฒนกุล

(2545) เกี่ยวกับผลการพยาบาลแบบสนับสนุนการดูแลตนเองตอความรูและพฤติกรรมการดูแล

ตนเองในผูปวยมะเร็งเม็ดเลือดขาวที่ไดรับเคมีบําบัด มีกลุมทดลองและกลุมควบคุมกลุมละ 15 ราย

กลุมควบคุมจะไดรับการพยาบาลตามปกติ สวนกลุมทดลองไดรับการพยาบาลแบบสนับสนุนการ

ดูแลตนเองจากผูวิจัยขณะที่ผูปวยอยูในโรงพยาบาล โดยมีการติดตามผูปวยอยางตอเน่ือง 4 วัน วัน

ละ 2-3 ชั่วโมง โดยในวันแรก เปนการสรางสัมพันธภาพและใหความรูเกี่ยวกับเคมีบําบัดและ

ผลขางเคียงที่อาจเกิดขึ้น สวนในวันที่ 2 และวันที่ 3 จะซักถามถึงปญหา ชี้แนะทางเลือก ใหความรู

เพิ่มเติม รวมทั้งสนับสนุนทั้งดานรางกายและจิตใจ และวันที่ 4 เปนการสรุปเน้ือหา แลกเปลี่ยน

ความคิดเห็นและประสบการณ ชี้แนะทางเลือก และใหกําลังใจในการปฏิบัติกิจกรรมการดูแล

ตนเอง วัดผลลพัธดานความรูและพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวย ในวันแรกกอนการทดลอง

และในวันที ่5 เมื่อสิ้นสุดการทดลอง พบวากลุมทดลองมีพฤติกรรมการดูแลตนเองสูงกวากอนการ

ทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

นอกจากนี้ การศึกษาของ ประคอง อินทรสมบัติ , ขนิษฐา หาญประสิทธิ์คํา , และ วรชัย

รัตนธราธร ( 2539) เกี่ยวกับผลของการสงเสริมใหผูปวยมีสวนรวมในการดูแลตนเองตออาการไม

สุขสบาย ภาวะอารมณ และความพรองในการดูแลตนเองในผูปวยมะเร็งที่ไดรับเคมีบําบัด กลุม

ตัวอยาง 54 ราย แบงเปนกลุมควบคุมและกลุมทดลองกลุมละ 27 ราย กลุมควบคุมไดรับการ

พยาบาลตามปกติ สวนกลุมทดลองไดรับการพยาบาลระบบสนับสนุนและใหความรู เร่ิมตนในวัน

แรกกอนไดรับเคมีบําบัดและตอเน่ืองจนครบ 3 วัน ประเมินความพรองในการดูแลตนเองของผูปวย

กอนและหลังไดรับการพยาบาลระบบสนับสนุนและใหความรู พบวาผูปวยกลุมทดลองมีคะแนน

ความพรองในการดูแลตนเองหลังไดรับเคมีบําบัดนอยกวากลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

สําหรับการศึกษาในตางประเทศ พบการศึกษาในผูปวยมะเร็งเตานมที่ไดรับเคมีบําบัด

ของ แครดด็อค อดัม ยูซุย และมิเชล ( Craddock, Adums, Usui, & Michell, 1999) มีกลุมตัวอยาง 48

ราย โดยกลุมทดลอง 26 ราย ไดรับการสนับสนุนและใหความรูทางโทรศัพทขณะอยูที่บานรวม 3

Page 23: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

30

คร้ัง หลังไดรับเคมีบําบัดชุดที่ 1 ถึงชุดที่ 4 ชุดละหน่ึงคร้ัง คร้ังละประมาณ 15 นาที โดยผูวิจัยจะ

โทรศัพทติดตอกับผูปวยภายในวันที่ 3-5 หลังไดรับเคมีบําบัดแตละชุด เพื่อสนับสนุนและใหความรู

รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติกิจกรรมการดูแลตนเอง ซึ่งในการโทรศัพทแตละคร้ังหาก

พบวาผูปวยยังขาดประสิทธิภาพในการปฏิบัติ ผูวิจัยจะใหขอมูล ชี้แนะสนับสนุน และชวยเหลือใน

การแกไขปญหารวมกับผูปวย สวนกลุมควบคุมจะไดรับการโทรศัพทเพื่อตอบแบบสอบถามเทานั้น

วัดผลลัพธดานพฤติกรรมการดูแลตนเอง เพื่อจัดการกับอาการขางเคียงจากเคมีบําบัดทันทีหลัง

สิ้นสุดการสนับสนุนและใหความรูทางโทรศัพทคร้ังที่ 3 และวัดประสิทธิภาพของการปฏิบัติ

พฤติกรรมการดูแลตนเอง ทันทีหลังสิ้นสุดการสนับสนุนและใหความรูทางโทรศัพทแตละคร้ัง รวม

3 คร้ัง จากผลการวิจัย พบวาผูปวยกลุมทดลองมีการเร่ิมตนปฏิบัติพฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อ

จัดการกับอาการขางเคียงจากเคมีบําบัดมากกวากลุมควบคุม

จากการทบทวนวรรณกรรมที่ผานมาขางตน อาจกลาวไดวาระบบการพยาบาลแบบ

สนับสนุนและใหความรูของโอเร็มชวยใหผูปวยโรคมะเร็งที่ไดรับเคมีบําบัดมีการดูแลตนเองดีขึ้น

(สุภาวดี โสภณวัฒนกุล, 2545; อรทัย สนใจยุทธ, 2539)

นอกจากการศึกษาที่กลาวมา จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของยังพบวาไดมี

การศึกษาถึงผลของระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและใหความรูตอคุณภาพชีวิตของผูปวย

มะเร็งที่ไดรับเคมีบําบัด โดยการศึกษาของ อุบล จวงพานิช, สมจิตร หรองบุตรศรี , และ รัชนีพร คน

ชุม (2542) ในผูปวยภายหลังผาตัดเตานมและไดรับการรักษาเสริมดวยยาเคมีบําบัด มีกลุมควบคุม

และกลุมทดลองกลุมละ 40 ราย ซึ่งกลุมควบคุมไดรับการพยาบาลตามปกติ สวนกลุมทดลองไดรับ

การพยาบาลระบบสนับสนุนการดูแลตนเองและใหความรูเกี่ยวกับการรักษาและการดูแลตนเอง

กอนไดรับเคมีบําบัด 1 วัน ประเมินคุณภาพชีวิตของผูปวยทั้งสองกลุมโดยใชแบบวัดคุณภาพชีวิต

ของบังอร ฤทธิอุดม ( 2536) ซึ่งดัดแปลงจากเคร่ืองมือของเบอรกฮารด ( Burchhardt, 1982) รวม 2

คร้ัง คือ กอนใหยาเคมีบําบัด 1 วัน และหลังใหยาเคมีบําบัด 4 สัปดาห ผลการวิจัยพบวากลุมทดลอง

มีคะแนนเฉลี่ยคุณภาพชีวิตดีกวากลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญ ทั้งน้ีพบวาการสนับสนุนและให

ความรูชวยใหผูปวยสามารถปฏิบัติตัวเพื่อปองกันอาการขางเคียงจากยาเคมีบําบัดไดและสามารถ

ปฏิบัติตัวเมื่อเกิดอาการขางเคียงไดอยางถูกตอง นอกจากน้ี จุฑากานต กิ่งเนตร ( 2539) ไดศึกษาผล

ของระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและใหความรู ตอความผาสุกในชีวิตของผูปวยมะเร็งเม็ด

โลหิตขาวที่ไดรับเคมีบําบัด มีกลุมควบคุมและกลุมทดลอง กลุมละ 10 ราย กลุมทดลองจะไดรับ

การพยาบาลแบบสนับสนุนและใหความรูจากผูวิจัย ในวันที่ 1-5 ของการมารับเคมีบําบัดคร้ังแรก

โดยวันแรกเปนการสรางสัมพันธภาพ สวนวันที่ 2-5 เปนการใหความรูเร่ืองโรค ยาเคมีบําบัด และ

การดูแลตนเอง รวมกับการชี้แนะ สนับสนุน และสรางสิ่งแวดลอมที่สงเสริมการดูแลตนเองของ

Page 24: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

31

ผูปวย ใชเวลาวันละ 30 นาที สวนกลุมควบคุมจะไดรับการพยาบาลตามปกติ ประเมินการรับรูความ

ผาสุกของผูปวยโดยใชแบบวัดความผาสุกดวยตนเองของแคนทริล ( Cantril Self-Anchoring Ladder

Scale) รวม 2 คร้ัง คือ กอนไดรับเคมีบําบัดคร้ังแรก และอีก 1 เดือนตอมา ผลการวิจัยพบวา ภายหลัง

ไดรับการสนับสนุนและใหความรู กลุมทดลองมีความผาสุกในชีวิตเพิ่มขึ้นกวากอนไดรับการ

สนับสนุนและใหความรู รวมทั้งมีความผาสุกในชีวิตมากกวากลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญ ซึ่งผูวิจัย

วิเคราะหวา การสนับสนุนและใหความรู ชวยใหผูปวยมีความรูที่เพียงพอ ลดความวิตกกังวล เพิ่ม

ความสามารถในการดูแลตนเองเพื่อจัดการกับอาการขางเคียงจากเคมีบําบัด และชวยใหเผชิญปญหา

จากโรคและการรักษาไดดีขึ้น จึงอาจสงผลใหผูปวยมีความผาสุกในชีวิตเพิ่มขึ้น

การศึกษาของ ทิพาพร วงศหงษกุล และคณะ ( 2547) ในผูรอดชีวิตจากมะเร็งเตานม มี

กลุมควบคุม 31 รายที่ไดรับการพยาบาลตามปกติ และกลุมทดลอง 30 ราย ที่ไดรับโปรแกรมการ

สนับสนุนและใหความรูเปนจํานวน 4 คร้ัง คือ ในการพบกันคร้ังแรก และในสัปดาหที่ 2, 4, และ 6

ตามลําดับ เก็บรวบรวมขอมูล 3 คร้ัง คือ กอนเขาโปรแกรม หลังสิ้นสุดโปรแกรมในสัปดาหที่ 6

และอีก 3 เดือนตอมา โดยใชแบสอบถามคุณภาพชีวิตในผูปวยมะเร็งเตานมของเฟอแรลล แกรนด

และเฮสเซ-ดาวว (Forrell, Grant, & Hassey-Dow 1995) ผลการวิจัยพบวา คะแนนเฉลี่ยของคุณภาพ

ชีวิตของกลุมทดลองและกลุมควบคุมมีแนวโนมลดลงและไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ

ระหวางคะแนนคุณภาพชีวิตของกลุมทดลองและกลุมควบคุม แตทั้งน้ีจากผลการวิจัยก็พบวากลุม

ทดลอง แสดงถึงความพยายามในการจัดกระทํากิจกรรมบางอยางกับตนเองเพิ่มมากขึ้น รวมทั้ง

แสดงใหเห็นถึงการตระหนักถึงการชะลอการลดลงของคุณภาพชีวิตในกลุมทดลอง

อยางไรก็ตามในปจจุบันยังไมพบการศึกษาผลของระบบการพยาบาลแบบสนับสนุน

และใหความรูตอคุณภาพชีวิตของผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัด พบเพียงการศึกษาเกี่ยวกับผล

การใหบริบาลเภสัชกรรมซึ่งเปนรูปแบบหนึ่งของการใหความรูตอคุณภาพชีวิตของผูปวยมะเร็ง

ปอดที่ไดรับเคมีบําบัด ของ เยาวภา เชื้อพูล ( 2548) ที่มีกลุมควบคุมและกลุมทดลองกลุมละ 31 ราย

โดยกลุมควบคุมจะไดรับการพยาบาลตามปกติ สวนกลุมทดลองจะไดรับการใหความรูเร่ืองยาและ

การดูแลตนเองจากเภสัชกรทุกคร้ังของการมารับเคมีบําบัด เร่ิมจากชุดที่ 1 จนครบตามแผนการ

รักษา ประเมินความรูโดยใชแบบสัมภาษณความรู และประเมินคุณภาพชีวิตโดยใชแบบสํารวจ

สุขภาพ (Short Form-36) ฉบับภาษาไทย รวม 3 คร้ัง คือ กอนไดรับเคมีบําบัด และทุก 2 คร้ังของ

การมารับเคมีบําบัด (ชุดที่ 3, 6) ผลการศึกษาพบวา กลุมทดลองมีความรูเร่ืองยาเคมีบําบัดและการ

ดูแลตนเองเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญ โดยความรูที่เพิ่มขึ้นมีความสัมพันธกับการเพิ่มคุณภาพชีวิตดาน

กายภาพของผูปวย ทั้งน้ีเน่ืองจากการที่ผูปวยมีความรูเพิ่มขึ้นชวยใหสามารถปองกันและจัดการกับ

ผลขางเคียงบางประการไดดีขึ้น สงผลใหผูปวยมีคุณภาพชีวิตดานกายภาพเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญ

Page 25: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

32

ดวย รวมทั้งมีแนวโนมการเกิดอาการไมพึงประสงคจากยาเคมีบําบัดลดลงเมื่อเทียบกับกลุมควบคุม

ที่มีแนวโนมเพิ่มขึ้น

จากการทบทวนวรรณกรรมที่กลาวมาเกี่ยวกับการสนับสนุนและใหความรูตอคุณภาพ

ชีวิตของผูปวยมะเร็งที่ไดรับเคมีบําบัด อาจสรุปไดวาการสนับสนุนและใหความรูอาจเปนวิธีการที่

จะชวยใหผูปวยมะเร็งที่ไดรับเคมีบําบัด (จุฑากานต กิ่งเนตร, 2539; เยาวภา เชื้อพูล , 2547; อุบล จวง

พานิช, สมจิตร หรองบุตรศรี , และ รัชนีพร คนชุม , 2542) มีความรูและสามารถดูแลตนเองไดดีข้ึน

จึงสงผลใหผูปวยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นดวย

สําหรับรูปแบบโปรแกรมการสนับสนุนและใหความรูที่ใหกับผูปวยมีความหลากหลาย

ขึ้นอยูกับความแตกตางของโรค วิธีการรักษา รวมทั้งอาการขางเคียงที่อาจเกิดขึ้น โดยระยะเวลาของ

โปรแกรมการสนับสนุนและใหความรู เพื่อใหเกิดผลลัพธดานการดูแลตนเอง มีระยะเวลาต้ังแต 4

วัน ถึง 5 สัปดาหในผูปวยมะเร็งเม็ดเลือดขาว (สุภาวดี โสภณวัฒนกุล , 2545; อัญชลี สมโสภณ ,

2545) สวนในโรคมะเร็งปอดมีระยะเวลา 8 สปัดาห (อรทัย สนใจยุทธ , 2539) และ 4 สัปดาห ใน

โรคมะเร็งเตานม (ประทุม สรอยวงค , 2547) สวนระยะเวลาของโปรแกรมการสนับสนุนและให

ความรูเพื่อใหเกิดผลลัพธดานคุณภาพชีวิต พบวาในโรคมะเร็งปอดมีระยะเวลา 10-12 สปัดาห (เยาว

ภา เชื้อพูล , 2547) ในโรคมะเร็งเตานมมีระยะเวลาต้ังแต 1 วัน (อุบล จวงพานิช , สมจิตร หรองบุตร

ศรี, และ รัชนีพร คนชุม , 2542) ถึง 6 สปัดาห (ทิพาพร วงศหงสกุล และคณะ , 2547) สวนใน

โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวมีระยะเวลา 5 วัน (จุฑากานต กิ่งเนตร , 2539) ดานระยะเวลาที่ใชในการ

สนับสนุนและใหความรูแตละคร้ัง อยูในชวง 30-60 นาที สําหรับการประเมินผลลัพธพบวาการ

ประเมินผลลัพธดานการดูแลตนเอง มักกระทําไปพรอมกับการประเมินคุณภาพชีวิตของผูปวย ซึ่ง

ในผูปวยโรคมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัดพบวาระยะเวลาของโปรแกรมการสนับสนุนและใหความ

รูอยูในชวงสัปดาหที่ 8-12 และทําการประเมินผลลัพธดานการดูแลตนเองหรือคุณภาพชีวิตของ

ผูปวยเปน 3 ระยะ คอื กอนไดรบัโปรแกรม ระหวางรับโปรแกรมและหลงัไดรบัโปรแกรม (เยาวภา

เชื้อพูล, 2547; อรทัย สนใจยุทธ , 2539) ซึ่งระยะเวลาของโปรแกรมการสนับสนุนและใหความรู

ดังกลาว สอดคลองกับผลการศึกษาที่พบวาคุณภาพชีวิตของผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัดมี

แนวโนมเปลี่ยนแปลงลดลงอยางมีนัยสําคัญภายหลังไดรับเคมีบําบัด 2 เดือน (จิราวรรณ สันติเสวี ,

นุจรี ประทีปะวณิช และเอ้ือมแข สุขประเสริฐ, 2550)

ในปจจุบันแมไมพบการศึกษาผลของระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและใหความรู

ตอการดูแลตนเองและคุณภาพชีวิตในผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัดโดยตรง แตจากผล

การศึกษาที่พบวาการสนับสนุนและใหความรูชวยใหผูปวยมะเร็งปอดมีการดูแลตนเองดีขึ้น และ

การใหความรูโดยวิธีอภิบาลเภสัชกรรมชวยใหผูปวยมีคุณภาพชีวิตดานกายภาพที่ดีขึ้น อยางไรก็

Page 26: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

33

ตาม การศึกษาที่ผานมาพบวายังมีขอจํากัดในเร่ืองของแบบการวิจัยที่เปนการศึกษาเพียงกลุมเดียว

(อรทัย สนใจยุทธ , 2539) และในปจจุบัน รูปแบบและบริบทการดูแลผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมี

บําบัดไดเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ผูปวยมีระยะเวลาในการอยูโรงพยาบาลสั้นลงซึ่งอาจมีผลตอการ

ดูแลตนเองและคุณภาพชีวิตของผูปวยได รวมทั้งการอภิบาลเภสัชกรรมยังเปนบทบาทหลักของ

เภสัชกรมากกวาบทบาทของพยาบาลและเปนเพียงรูปแบบหนึ่งของการใหความรู ผูปวยอาจยังมี

ความตองการการสนับสนุนและใหความรูอยางตอเน่ืองเพื่อใหมีการดูแลตนเองที่มีประสิทธิภาพ

ซึ่งการใชโทรศัพทชวยในการติดตามสนับสนุนผูปวยขณะกลับไปอยูที่บานเปนอีกวิธีการหน่ึงที่

ชวยกระตุนและสนับสนุนใหผูปวยมีการดูแลตนเองที่ดีขึ้น (Williams & Schreier, 2004) นอกจากน้ี

รูปแบบการสนับสนุนและใหความรูแกผูปวยมะเร็งปอดที่ผานมาเปนการกระทําขณะที่ผูปวยอยูใน

โรงพยาบาลเทาน้ันไมมีการติดตามอยางตอเน่ืองขณะที่ผูปวยกลับไปอยูที่บานซึ่งเปนสิ่งสําคัญที่

ชวยใหผูปวยมีความรู แรงจูงใจ และสามารถพัฒนาทักษะตางๆ ในการดูแลตนเองไดอยางเหมาะสม

และตอเน่ืองมากยิ่งขึ้น

การดูแลตนเองของผูปวยมะเร็งปอดท่ีไดรับเคมีบําบัด

ผูวิจัยไดสรุปแนวทางการดูแลตนเองของผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัดตามแนวคิด

การดูแลตนเองของโอเร็ม ( Orem, 2001) รวมกับการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ ซึ่งผูปวยควรมี

การดูแลตนเองใน 4 ประเด็นหลัก คือ 1) การดูแลตนเองใหมีสุขภาพแข็งแรง 2) การดูแลตนเอง เพื่อ

ปองกันและบรรเทาอาการขางเคียงจากเคมีบําบัด 3) การดูแลตนเอง เพื่อใหจิตใจและอารมณแจมใส

4) การดูแลตนเองตามแผนการรักษาของแพทย มีรายละเอียดดังนี้

1. การดูแลตนเองใหมีสุขภาพแข็งแรง

การดูแลตนเองใหมีสุขภาพแข็งแรง ผูปวยควรมีการดูแลตนเองในเร่ืองเกี่ยวกับการ

รับประทานอาหาร การด่ืมนํ้าและเคร่ืองด่ืม การใชสมุนไพร การขับถาย การพักผอน และการออก

กําลังกาย มีรายละเอียดดังน้ี

1.1 การรับประทานอาหาร ผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัดอาจมีการเปลี่ยนแปลง

ภาวะโภชนาการไดทั้งจากโรคมะเร็งที่ทําใหการเผาผลาญพลังงานของรางกายเพิ่มมากขึ้นและจาก

ผลขางเคียงของเคมีบําบัดที่ทําใหเกิดอาการคลื่นไส อาเจียน เบื่ออาหาร การรับรสเปลี่ยนแปลง

รวมทั้งอาการทองเสีย ทําใหผูปวยมีนํ้าหนักตัวลดลงและอาจนําไปสูการเกิดภาวะทุพโภชนาการได

ซึ่งจะมีผลกระทบตอคุณภาพชีวิตและแผนการรักษา (St.John, 2005) ดังน้ันผูปวยจึงควรรับประทาน

อาหารใหครบทั้ง 5 หมู ประกอบดวย เน้ือสัตว แปง ผัก ผลไม และไขมัน ทั้งน้ีตองรักษาสมดุลของ

Page 27: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

34

การรับประทานไขมัน โปรตีน และคารโบไฮเดรตอยางเหมาะสม โดยควรรับประทานอาหารจําพวก

คารโบไฮเดรตเปนหลัก ซึ่งไดจากขาว แปง นํ้าตาล ธัญพืช รวมทั้งจากพืชและผลไมบางชนิด ลดการ

รับประทานอาหารที่มีไขมันสูงเกินไป เนื่องจากจะเพิ่มความเสี่ยงตอการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดได

สวนอาหารจําพวกโปรตีนมีความสําคัญชวยในการเจริญเติบโตและซอมแซมสวนที่สึกหรอของ

รางกายจึงควรรับประทานอยางเพียงพอ โดยจะไดจากเน้ือสัตว เปด ไก ไข และถั่วตางๆ (Doyle et al.,

2006) นอกจากน้ี ควรรับประทานผักและผลไมในจํานวนที่เพิ่มขึ้น เน่ืองจากมีวิตามินและเกลือแร

ที่จําเปนสําหรับรางกายรวมทั้งยังมีเสนใยอาหารที่ชวยใหมีการขับถายไดดียิ่งขึ้น เพิ่มการรับประทาน

อาหารที่มีแคลเซี่ยมสูง เชน นํ้าผลไม บล็อกคอร่ี ปลาเล็กปลานอย เปนตน และอาหารที่มีโฟเลต เชน

ผักสด ผลไม ถั่ว และธัญพืชตางๆ เปนตน (Abramson Cancer Center, 2008) กรณีที่มีอาการเบื่ออาหาร

หรือรับประทานอาหารไดนอย ใหพยายามรับประทานอาหารคร้ังละนอยๆ แตบอยคร้ังทุก 2-3 ชั่วโมง

รับประทานอาหารวางหรือเคร่ืองด่ืมเสริม เพื่อใหรางกายไดรับอาหารอยางเพียงพอ จนกวาอาการ

จะดีขึ้น (ACS, 2006; Brown et al., 2003)

1.2 การด่ืมนํ้าและเคร่ืองด่ืม สําหรับผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัดควรด่ืมนํ้า

อยาง อยางนอย 2-3 ลิตรตอวัน กรณีไมมีขอจํากัด หลีกเลี่ยงการด่ืมเคร่ืองด่ืมที่มีสวนผสมของ

แอลกอฮอล คาเฟอีน และงดการสูบบุหร่ี (Wojtaszek, Kochis, & Cunningham, 2002)

1.3 การใชสมุนไพรหรือ ยาบางชนิดอาจมีผลตอยาเคมีบําบัด ดังน้ัน ผูปวยมะเร็ง

ปอดจึงตอง แจงใหแพทยทราบวาใชยา ใดเปนประจํา และอาจตองหยุดการใชสมุนไพรไวกอน

ในชวงที่ไดรับเคมีบําบัด นอกจากน้ี ควรหลีกเลี่ยงการซื้อยา มารับประทานเอง และปรึกษาแพทย

ทุกคร้ังกอนที่จะกลับมาใชสมุนไพรหรือกอนที่จะตัดสินใจเลือกวิธีการรักษาอ่ืนที่ไมใชแพทย

แผนปจจุบัน เชน การแพทยทางเลือก หรือการแพทยเสริม เปนตน (นริศ เจนวิริยะ, 2546)

1.4 ดูแลการขับถายใหเปนปกติ ควรถายอุจจาระทุกวัน ปองกันการเกิดอาการ

ทองผูกโดยการด่ืมน้ํามากๆ รับประทานอาหารที่มีกากใยสูง และออกกําลังกายเพื่อกระตุนการ

เคลื่อนไหวของลําไส ( Curtiss, 2000) รวมทั้งปองกันการเกิดอาการทองเสียโดยการรับประทาน

อาหารที่สด สะอาด หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด ชา กาแฟ และเคร่ืองด่ืมที่มีสวนผสมของแอลกอฮอล

(Martz, 2000)

1.5 คงไวซึ่งการพักผอนนอนหลับอยางเพียงพอเพื่อรักษาไวซึ่งการทําหนาที่ที่ปกติ

และความผาสุกของรางกาย ผูปวยควรนอนหลับอยางนอยวันละ 7-8 ชั่วโมง และปองกันการเกิด

ปญหาการนอนไมหลบัหรือสงเสริมการนอนหลบัใหดีขึน้ โดยควรเขานอนเมือ่ตองการนอนหลบั

เทานั้น จัดตารางเวลาในการเขานอน -การต่ืนนอน และปฏิบัติตามเวลาที่กําหนดไว พยายามลด

ความวิตกกังวลเกี่ยวกับการนอนหลับและปญหาตางๆ กอนการเขานอน หลีกเลี่ยงการรับประทาน

Page 28: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

35

อาหารและเคร่ืองด่ืมที่มีคาเฟอีน นิโคติน และแอลกอฮอล รวมทั้งออกกําลังกายเปนประจําและจัด

สิ่งแวดลอมที่สงเสริมการนอนหลับ ไดแก ลดเสียง แสง และปรับอุณหภูมิหองใหเหมาะสม เปนตน

(Yellen, 2000)

1.6 ออกกําลังกายเปนประจํา โดยอาจเร่ิมจากความแรงระดับตํ่าและคอยๆ เพิ่ม

ความแรงขึ้นเทาที่จะเปนไปได เชน เร่ิมจากการหด -คลายกลามเน้ือ แลวเปลี่ยนเปนการเดินชาๆ

จากนั้นเพิ่มระดับขึ้นเร่ือยๆ ตามความสามารถที่จะทําได ระมัดระวังในเร่ืองการเกิดอันตรายจากการ

หกลม ผูใหญควรออกกําลังกาย 5 วัน ตอสัปดาห คร้ังละอยางนอย 30 นาทีขึ้นไป งดการออกกําลัง

กายในชวงที่มีภาวะซีดอยางรุนแรง หลีกเลี่ยงการออกกําลังกายในสถานที่ที่มีผูคนพลุกพลาน

ในชวงที่มีภาวะเม็ดเลือดขาวตํ่า (Doyle et al., 2006)

2. การดูแลตนเองเพื่อปองกันและบรรเทาอาการขางเคียงจากเคมีบําบัด

ผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัดควรมีการดูแลตนเองเพื่อการปองกันและบรรเทา

อาการขางเคียงจากเคมีบําบัดดังตอไปนี้ 1) การติดเชื้อ 2) การเกดิภาวะเลอืดออกงาย 3) การเกิดภาวะ

โลหิตจาง 4) อาการคลื่นไส อาเจียน 5) ผมรวง 6) เยื่อบุชองปากอักเสบ 7) ชาปลายมือ ปลายเทา

การรับความรูสึกของอวัยวะสวนปลายลดลง 8) การขับถายปสสาวะผิดปกติ 9) อาการทองเสีย 10)

ความเหน่ือยลา มีรายละเอียดดังน้ี

2.1 การดูแลตนเองเพื่อปองกันและบรรเทาอาการติดเชื้อในรางกาย เนื่องจากภาวะ

เม็ดเลือดขาวตํ่า ผูปวยควรปฏิบัติตามแนวทางการปองกันการติดเชื้อ ดังตอไปน้ี (เชาวลี อ่ิมใจ, 2549;

คณาจารยมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาพยาบาลศาสตร, 2547; Kearney & Richardson, 2006)

2.1.1 หลีกเลี่ยงการอยูในสถานที่ที่มีฝุนละออง หรือสถานที่แออัด หรือการอยู

ใกลชิดบุคคลที่ปวยดวยโรคติดตอ เชน ไขหวัด วัณโรค หรือโรคติดเชื้ออ่ืนๆ หลีกเลี่ยงการสัมผัส

มูลสัตว หรือสิ่งปฏิกูลตางๆ ที่อาจเปนตัวนําเชื้อโรคเขาสูรางกาย

2.1.2 ดูแลความสะอาดรางกาย โดยการอาบน้ําทุกวัน รักษาความสะอาดของ

สวนตางๆ ของรางกาย โดยเฉพาะ น้ิวเทา ขาหนีบ รักแร และบริเวณอับชื้นหรือมีเหงื่อ ตัดเล็บใหสั้น

หลีกเลี่ยงการทาสีเล็บ หรือการไวเล็บยาว และไมใชของใชสวนตัวรวมกับผูอ่ืน เชน ผาเช็ดตัว แกวนํ้า

ที่โกนหนวด เปนตน ลางมือทุกคร้ัง กอนและหลังการรับประทานอาหาร หลังการเขาหองนํ้า หรือ

สัมผัสกับสารคัดหลั่ง เยื่อเมือกตางๆ เชน นํ้ามูก นํ้าลาย นํ้าตา เปนตน

2.1.3 สตรีที่เปนประจําเดือน ควรหลีกเลี่ยงการใชผาอนามัยแบบสอดและงดการ

สวนลางชองคลอด เพราะอาจทําใหเกิดการระคายเคืองหรือเกิดแผลได หากเกิดแผลถลอกบริเวณ

ผิวหนังใหทําความสะอาดดวยสบูและนํ้าอุนสะอาด ปดดวยผาปดแผลที่ปราศจากเชื้อ เปลี่ยนใหม

Page 29: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

36

ทุกคร้ังที่เปยกชื้น และสังเกตอาการอักเสบติดเชื้อ เชน อาการบวม แดง กดเจ็บ มีหนอง เปนตน

หากมีควรรีบมาพบแพทย

2.1.4 รับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม สด สะอาด และดูแลความสะอาดปากฟน

โดยการแปรงฟนอยางนอยวันละ 2 คร้ัง หรือใชนํ้ายาบวนปากที่ไมมีสวนผสมของแอลกอฮอล

2.1.5 สังเกตอาการไข เชื้อราในชองปาก อาการปวด บวม แดง รอน ตามบริเวณ

สวนตางๆ ของรางกาย ซึ่งอาจเปนอาการแสดงของการติดเชื้อ หากมีควรรีบมาพบแพทย

2.1.6 กรณีที่ผูปวยมีระดับเม็ดเลือดขาวนิวโตรฟวตํ่ามาก (absolute neutrophil count

นอยกวา 500 cells/µL) ควรปฏิบัติดังน้ี หลีกเลี่ยงการสัมผัสและการอยูใกลชิดกับสัตวเลี้ยง

รับประทานอาหารที่สุกสะอาด สดใหม งดผักสด ผลไมสดที่มีเปลือกบาง อาหารหมักดอง นมสด

พลาสเจอไรซ ควรด่ืมนมสเตอริไลซแทน ระมัดระวังการเกิดบาดแผลหรือการระคายเคืองตอ

ผิวหนังและเยื่อบุตางๆ หลีกเลี่ยงการเกาหรือการทําใหผิวหนังเปนแผล และตรวจผิวหนังของตนเอง

ทุกวัน ดูแลความสะอาดของรางกาย และสุขอนามัยอยางเครงครัด ลางมือบอยๆ รักษาความสะอาด

ในชองปากและฟน โดยใหบวนปากดวยนํ้าเกลอืทกุ 1-2 ชั่วโมง และแปรงฟนอยางถูกวิธีทุกคร้ัง

หลงัรับประทานอาหารและกอนนอน จัดสิง่แวดลอมใหสะอาด งดการนําดอกไมสดหรือตนไมไว

ในหอง หลังถายอุจจาระ ปสสาวะตองทําความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุและทวารหนักทุกคร้ัง

และสังเกตอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ เชน ไข ไอ เจ็บคอ ปวด บวม แดง รอนบริเวณ

แผล เปนตน หากมีใหรีบไปพบแพทย

2.2 การดูแลตนเองเพือ่ปองกนัการเกดิภาวะเลอืดออกงาย (เชาวลี อ่ิมใจ , 2549;

คณาจารยมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาพยาบาลศาสตร, 2547; Kearney & Richardson, 2006;

Wilkes, 2001)

2.2.1 ปองกันการเกิดบาดแผลตางๆ ระมัดระวังการใชของมีคม แนะนําใหใช

เคร่ืองโกนหนวดไฟฟา แทนการใชมีดโกนเพราะอาจทําใหเกิดแผลจากการถูกมีดบาด ใชแปรงฟน

ที่มีขนแปรงออนนุม หลีกเลี่ยงการใชไหมขัดฟนและไมจ้ิมฟน หลีกเลี่ยงการสวมใสเสื้อผาที่คับ

ดึงร้ังมากเกินไป ปองกันการเสียดสีที่จะทําใหเกิดแผล สวมถุงมือทุกคร้ังเวลาทําสวน และสวม

รองเทาที่ทุกคร้ังที่ออกนอกบาน รวมทั้งจัดสิ่งแวดลอมใหปลอดภัย

2.2.2 หลีกเลี่ยงการใชยาที่มีผลตอการทํางานของเกร็ดเลือด เชน แอสไพริน และ

แอลกอฮอล เปนตน สังเกตจํ้าเลือด จุดเลือดออกจากสวนตางๆ ของรางกายทุกวัน เพื่อประเมิน

ภาวะเลอืดออกผดิปกติ

Page 30: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

37

2.2.3 ดูแลใหมีการขับถายอุจจาระที่ปกติ ปองกันการเกิดอาการทองผูก และการ

เบงถาย หลีกเลี่ยงการสวนลางชองคลอดและการสวนอุจจาระหรือการสอดใสอุปกรณตางๆ ทาง

ทวารหนัก

2.2.4 ใชเจลหลอลื่นขณะมีเพศสัมพันธ เพื่อปองกันการเสียดสี และเกิดแผล

บริเวณอวัยวะเพศ

2.3 การดูแลตนเองเพื่อปองกันและบรรเทาอาการที่เกิดจากภาวะโลหิตจางเนื่องจาก

การมเีมด็เลอืดแดงลดลง (เชาวลี อ่ิมใจ, 2549; Gobel & O’Leary, 2007)

2.3.1 สงัเกตและตระหนักถงึการเกดิภาวะโลหิตจาง โดยการตรวจดูภาวะซดีจาก

เยื่อบุตา ผิวหนัง เล็บ อาการเหน่ือยลา และเหน่ือยงาย รวมทั้งปองกันอันตรายที่อาจเกิดจากภาวะ

โลหิตจาง เชน หนามืด วิงเวียนศีรษะ ความดันโลหิตตํ่า โดยการลุกนั่ง เปลี่ยนทาทางชาๆ

2.3.2 รับประทานอาหารใหครบทั้ง 5 หมู โดยเฉพาะอาหารที่มีธาตุเหล็กและ

โปรตีน เชน ไข นม และผักใบเขียว เน้ือสัตวตางๆ เพื่อชวยลดภาวะซีด และไดรับโปรตีนที่เปน

สวนสําคัญในการสรางภูมิคุมกันปองกันเชื้อโรคของรางกาย

2.3.3 หลีกเลี่ยงการทํางานหนัก สงวนไวซึ่งพลังงานของรางกายโดยการทํา

กิจกรรมตางๆ ตามความเหมาะสม ไมหักโหม นอนหลับพักผอนอยางเพียงพอ เพื่อคงไวซึ่งการทํา

หนาที่ท่ีปกติของรางกาย และปองกันการสูญเสียเลือดออกจากรางกายจากสาเหตุตางๆ

2.4 การดูแลตนเองเพื่อปองกันและบรรเทาอาการคลื่นไส อาเจียน (เชาวลี อ่ิมใจ ,

2549; Molassiotis & Borjeson, 2006; Otto, 2001)

2.4.1 เมื่อมีอาการคลื่นไส อาเจียนควรเลือกรับประทานอาหารออน ยอยงาย

หรืออาหารเหลวใส เย็นและไมหวานจัด เชน โยเกร์ิต ลูกอมหรือนํ้าผลไมที่มีรสเปร้ียว เชน นํ้าสม

น้ํามะนาว หรือการด่ืมน้ําขิง รวมทั้งขนมปงกรอบ เปนตน ควรเคี้ยวอาหารชาๆ ไมควรเรงรีบ และ

รับประทานคร้ังละนอยแตบอยคร้ัง โดยแบงเปนมื้อเล็กๆ หลายๆ มื้อ หลีกเลี่ยงการรับประทาน

อาหารมื้อใหญและไมพยายามรับประทานอาหารเมื่อรูสึกอ่ิมหรือเมื่อมีความรูสึกคลื่นไส หลีกเลี่ยง

อาหารหวานจัด มัน รสเผ็ด และอาหารที่มีกลิ่นฉุน รวมทั้งการด่ืมน้ํามากๆ ขณะรับประทานอาหาร

2.4.2 รับประทานอาหารใหเพิ่มขึ้นในวันที่รูสึกวามีความอยากอาหาร รับประทาน

อาหารที่ตนเองชอบ และชนิดของอาหารควรมีความหลากหลาย จัดเตรียมอาหารใหมีสีสัน

นารับประทาน และดูแลความสะอาดปาก ฟน ดวยการแปรงฟนหรือบวนปากบอยๆ เพื่อรักษาความ

สะอาดของชองปาก รวมทั้งกระตุนความอยากอาหาร ควรพักผอนหลังการรับประทานอาหาร แต

ไมควรนอนราบหลังรับประทานอาหารเสร็จใหมๆ ในระยะ 2 ชั่วโมง เพื่อปองกันการไหลยอนกลับ

ของอาหาร

Page 31: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

38

2.4.3 จัดสิ่งแวดลอมที่สงเสริมบรรยากาศในการรับประทานอาหาร เชน กําจัด

เสียง หรือกลิ่นที่เปนสาเหตุกระตุนใหเกิดอาการคลื่นไส อาเจียน การสวมใสเสื้อผาหลวมๆ ไมรัด

แนนเกินไป รวมทั้งการจัดสถานที่ใหมีการระบายอากาศที่ดี มีอากาศเย็นสบาย ผอนคลาย

ความเครียดและความวิตกกังวล เมื่อมีอาการคลื่นไส อาเจียน โดยการเบี่ยงเบนความสนใจ การใช

เทคนิคผอนคลายกลามเน้ือ เปนตน

2.4.4 สังเกตและประเมินอาการคลื่นไส อาเจียนของตนเอง ปรึกษาแพทยหรือ

พยาบาลเมื่อรูสึกวาอาการคลื่นไส อาเจียนรุนแรงขึ้น หรือไมสามารถควบคุมหรือบรรเทาอาการได

2.5 การดูแลตนเองเพื่อบรรเทาอาการผมรวง (Batchelor, 2001, 2006)

2.5.1 หากผมยาว ควรตัดผมใหสั้น และหลีกเลี่ยงการสระผมบอยๆ เลือกใชแชมพู

สูตรออนโยนตอหนังศีรษะและเสนผม ที่มีสวนผสมของโปรตีน และมีความสมดุลของกรดดาง

2.5.2 หลีกเลี่ยงการสระผมดวยนํ้าอุนจัดในชวงแรกหลังไดเคมีบําบัด หาก

เปนไปไดควรสระผมดวยนํ้าอุณหภูมิปกติ เน่ืองจากอุณหภูมิของนํ้าที่เย็นจะทําใหหลอดเลือดหดรัดตัว

และลดปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงเซลลผม สงผลใหการขนสงสารเคมีจากเคมีบําบัดที่ทําใหเกิดผมรวง

ไปยังเซลลผมลดลง ลดการดูดซึมกลับและการสะสมของเคมีบําบัดเขาสูเซลลผม รวมทั้งลดเมตา

บอลิสซึ่มของเคมีบําบัดในเซลลผมดวย ภายหลังการสระผม เช็ดดวยผานุมเบาๆ ใชหวีซี่หาง ไมหวีผม

บอยเกินไป และควรปลอยใหแหงเองตามธรรมชาติ หลีกเลี่ยงการใชไดรเปาผม เคร่ืองหนีบผม

มวนผม หรือการทําสีผม และเลือกใชหมอนที่ทําจากผานุม เพื่อลดการเสียดสีกับเสนผม

2.5.3 สวมใสวิกผม กรณีหากไมสวมวิก ควรหลีกเลี่ยงไมใหหนังศีรษะโดน

แสงแดดโดยตรง ดวยการใชครีมกันแดด สวมหมวก หรือผาโพกศีรษะ รวมทั้งปองกันการระคาย

เคืองหนังศีรษะ และดวงตา ในกรณีที่ผมรวงหมด โดยการใชครีมทาที่มีสวนผสมวิตามินเอ และ

วิตามินดี บริเวณผิวหนังที่แหงหรือคัน สวมแวนกันแดด และทําความสะอาดตา เพื่อกําจัดสิ่ง

แปลกปลอมที่อาจเขาตา

2.6 การดูแลตนเองเพื่อปองกันและบรรเทาอาการเยื่อบุชองปากอักเสบ ( Beck,

2000; Bond, 2006; Eilers, 2004; Eilers & Million, 2007; Fulton & Treon, 2007)

2.6.1 แปรงฟนเบาๆ ดวยแปรงสีฟนที่ขนออนนุม ทํามุม 45 องศา ระหวางฟน

และเหงือก ใชเวลาในการแปรงฟนอยางนอย 90 วินาที โดยแปรงใหทั่วทั้งบริเวณฟน ลิ้น เหงือก

และเพดานปาก แลวลางใหสะอาดดวยนํ้าเปลา อยางนอยวันละ 2 คร้ัง เชาและกอนนอน กรณีใสฟน

ปลอม ใหถอดทําความสะอาดบอยๆ และงดใสฟนปลอมเวลานอน อาจใชไหมขัดฟนอยางนอย

วันละ 1 คร้ัง หรือตามคําแนะนําของแพทย บวนปากดวยน้ํายาบวนปากที่ไมมีสวนผสมของแอลกอฮอล

นํ้าเปลาหรือนํ้าอุนผสมเกลือจางๆ (ใชนํ้าตมสุก 8 ออนซ ผสมเกลือคร่ึงชอนชา) ทุก 2-4 ชั่วโมง

Page 32: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

39

และบอยคร้ังเทาที่ตองการ บวนปากใหทั่วคร้ังละประมาณ 1-2 นาที อาจใชลิปสติกหรือผลิตภัณฑ

ที่ชวยใหริมฝปากชุมชื้น

2.6.2 รับประทานอาหารที่มีโปรตีนเพิ่มมากขึ้น เลือกรับประทานอาหารออน ตัด

แบงเปนชิ้นเล็กๆ หรืออาหารเหลว ที่เย็น หลีกเลี่ยงอาหารที่รอน เผ็ด เค็ม และอาหารที่มีความเปน

กรด เชน มะนาว รวมทั้งอาหารที่หวานจัด อาหารแหง หยาบ เพราะจะสงเสริมใหเกิดแผลในปาก

เพิ่มขึ้น รวมทั้งด่ืมน้ํามากๆ ประมาณ 3 ลิตรตอวัน และไมด่ืมเคร่ืองด่ืมที่มีสวนผสมของแอลกอฮอล

หรือสูบบุหร่ีที่จะระคายตอเยื่อบุชองปาก

2.6.3 สังเกตการเกิดแผลในชองปาก หากพบวามีแผลเปนฝาขาว ปวด แสบรอน

มีไข หรือมีเลือดออก ควรไปพบแพทย

2.7 การดูแลตนเองเพื่อปองกันและบรรเทาอาการชาบริเวณปลายมือ ปลายเทา และ

การรับความรูสึกของอวัยวะสวนปลายลดลง (เชาวลี อ่ิมใจ , 2549; The National Cancer Institute

[NCI], 2003; Wilkes, 2001)

2.7.1 เมื่อมีอาการชาบริเวณปลายมือ ปลายเทา ควรเพิ่มความระมัดระวังตอการ

เกิดแผลตางๆ เนื่องจากการรับรูความรูสึกของอวัยวะสวนปลายลดลง โดยการระมัดระวังการใช

ของแหลมคม การสัมผัสของรอน สวมถุงมือเวลาทําสวนหรือทํางานบาน สวมใสรองเทาที่มิดชิด

ทั้งขณะอยูในบาน และอยูนอกบาน เพื่อปองกันการเกิดแผลที่เทา ตรวจสอบการเกิดแผลในบริเวณ

ตางๆ ของรางกาย โดยเฉพาะ แขน ขา น้ิวมือ และน้ิวเทา

2.7.2 เมื่อมีอาการออนแรงของกลามเนื้อ หรือมีความไมสมดุลของการรับ

ความรูสึกของอวัยวะตางๆ เชน กลามเน้ือแขน ขา เกิดขึ้น ควรระมัดระวังการลื่นลมและอุบัติเหตุ

โดยการเปลี่ยนทาชาๆ เวลาขึ้น -ลงบันได ควรจับราวบันได อาบนํ้าโดยใชฝกบัว และดูแลพื้น

หองนํ้าไมใหเปยกลื่น

2.7.3 บริหารกลามเน้ือมือ แขน ขา เปนประจํา โดยวิธีผอนคลายกลามเน้ือแบบ

โปรเกรสซิพ ซึ่งเปนการหดเกร็งกลามเน้ือในแตละสวนไวประมาณ 10 วินาที เร่ิมจากเบาสุด ไป

หนักสุด สลับกับการคอยๆ คลายกลามเน้ืออีก 10 วินาที โดยขณะที่ฝกกลามเน้ือน้ันใหเพงสมาธิไป

ยังการหดคลายของกลามเนื้อ ผอนลมหายใจเขาและออกตามปกติ ทําเปนประจําทุกวัน อยางนอย

วันละ 2 คร้ัง เชาและเย็น คร้ังละประมาณ 20-30 นาที (พนม เกตุมาน, 2550)

2.7.4 หากมีอาการปวดกลามเนื้อภายหลังไดรับเคมีบําบัด ควรรับประทานยาแกปวด

ตามแผนการรักษาของแพทย ซึ่งอาการปวดเกิดขึ้นเพียงชั่วคราวเทานั้น

2.7.5 หากมีอาการกลามเนื้อออนแรงมาก หูอ้ือ การไดยินลดลง ควรปรึกษาแพทย

เพื่อพิจารณาปรับขนาดของเคมีบําบัด

Page 33: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

40

2.8 การดูแลตนเองเพื่อปองกันการขับถายปสสาวะผิดปกติ (เชาวลี อ่ิมใจ , 2549;

Camp-Sorrell, 2000; Cancer Care Ontario [CCO], 2004)

2.8.1 ไมกลั้นปสสาวะ ควรปสสาวะกอนนอนเพื่อไมใหผนังของกระเพาะ

ปสสาวะมีความระคายเคืองตอฤทธิ์ของยาขณะนอนหลับ และหลีกเลี่ยงการนอนแชในอางอาบน้ํา

2.8.2 ด่ืมนํ้ามากๆ อยางนอยวันละ 3 ลิตร และหลีกเลี่ยงอาหารที่ทําใหเกิดการ

ระคายเคืองตอกระเพาะปสสาวะ เชน เคร่ืองด่ืมที่มีคารบอเนต แอลกอฮอล กาแฟ ชาแกๆ และ

อาหารรสจัด รวมทั้งการสูบบุหร่ี และอาหารที่มีกรดยูริกสูง

2.8.3 สังเกตอาการผิดปกติ เชน ถายปสสาวะบอย ปวดแสบขณะถายปสสาวะ

ปสสาวะสขีุน มเีลอืดออกในทางเดินปสสาวะ ปวดหลงั ปวดถวงบริเวณเหนือหัวเหนา รวมกบั

อาการไข หนาวสั่น ปวดทอง ปสสาวะไมออก รวมทั้งอาการที่เกิดจากความผิดปกติของเมตาบอลิสซึ่ม

ในรางกาย ไดแก อาการออนแรง สับสน ใจสั่น ชา เปนตะคริว ถามีควรไปพบแพทย

2.9 การดูแลตนเองเพื่อปองกันและบรรเทาอาการทองเสีย (Andrewes & Norton, 2006;

Cancer Care Ontario, 2004)

2.9.1 เมื่อมีอาการทองเสีย ควรด่ืมนํ้ามากๆ อยางนอย 8-12 แกวตอวัน และเลอืก

รับประทานอาหารออน ยอยงาย คร้ังละนอยๆ แตบอยคร้ัง หลีกเลี่ยงอาหารที่มีกากใยสูง อาหารมัน

หวานจัด นมและผลิตภัณฑจากนม ช็อกโกแลต นํ้าตาลเทียม โดยเฉพาะซอรบิทอล ซึ่งจะทําให

อุจจาระเหลวมากขึ้น หรืออาหารอ่ืนๆ ที่เพิ่มการเคลื่อนไหวของลําไส เชน อาหารรสจัด คาเฟอีน

แอลกอฮอล ของหมกัดอง

2.9.2 สงัเกตอาการที่เกิดรวม ไดแก ไขสูง วิงเวียนศีรษะ คลื่นไสอาเจียน ปวดทอง

ถายมีมูกเลือดปน ถายเหลวมากกวา 6-10 คร้ังตอวัน ถามีควรไปพบแพทย

2.10 การดูแลตนเองเพื่อปองกันและบรรเทาความเหนื่อยลาที่อาจเกิดไดจากหลาย

สาเหตุ ทั้งสาเหตุทางรางกาย พยาธิสภาพของโรคมะเร็ง การรักษา และอาการไมสุขสบายตางๆ

รวมทั้งสาเหตุทางดานจิตใจ ซึ่งมีวิธีการดูแลตนเอง ดังตอไปน้ี ( ACS/NCCN, 2008; Ahlberg, 2006;

Lee, Tsai, Lai, & Tsai, 2008; NCCN, 2007; Winningham, 2000)

2.10.1 ออกกําลังกายเปนประจํา อยางนอย 3-5 วันตอสัปดาห คร้ังละ 15-30 นาที

โดยอาจเร่ิม ออกกําลังกาย ต้ังแตระดับธรรมดาเบาๆ จนถึงระดับปานกลาง ไมหกัโหมจนเกนิไป

หยุดพักเมื่อมีอาการเหน่ือย เลือกวิธีการออกกําลังกาย เชน การเดิน การหายใจเขาออกลึกๆ การ

บริหารกลามเนื้อแบบโปรเกรสซีพ

2.10.2 การพกัผอนและการนอนหลบั ให หลีกเลี่ยงการนอน หลับมาก ในเวลา

กลางวัน อาจนอนพกัในชวงระหวางวัน (napping) ประมาณ 20-30 นาที เพื่อเพิ่มพลังงานใหกับตนเอง

Page 34: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

41

หากนอนพักประมาณ 10 นาท ีแลวไมหลับควรลุกขึ้นทํากิจกรรมอ่ืนๆ ไมนอนอยูเฉยๆ เพราะจะทาํให

เกดิความเหน่ือยลา เพิ่มมากขึ้น เขานอนในเวลาที่เหมาะสม ควรเปนเวลาใกลเคยีงกนัในแตละวัน

และจัดสิง่แวดลอมใหเหมาะสม กําจัดสิ่งที่รบกวนการนอนหลับ ทําจิตใจใหสบาย ลดความตึงเครียด

ความวิตกกังวล ควรด่ืมนํ้าอุนหรือนมอุนๆ กอนนอนเพราะจะชวยทาํใหนอนหลบัไดดี หลกีเลีย่ง

การด่ืมเคร่ืองด่ืมที่มีคาเฟอีนหลังเที่ยงวัน และปสสาวะกอนนอนเพือ่จะไดนอนหลบันานทัง้คนืโดย

ไมลุกขึ้นมาปสสาวะ รวมทั้งภายหลังจากต่ืน นอนตอนเชา ควรลุกขึ้นเพื่อทํากิจวัตรประจําวัน ทันที

ไมกลับไปนอนที่เตียงอีกเมื่อรูสึกวายังเหน่ือยลาอยู เพราะจะยิ่งทําใหเกิดอาการมากขึ้น

2.10.3 การสงวนพลังงาน มี วิธีการดังน้ี 1) จัดลําดับความสําคัญของการทํา

กิจกรรมตางๆ โดยควรทํากิจกรรมที่มีความสําคัญมากกอน เลื่อนหรืองดเวนกิจกรรมที่ไมจําเปน

ออกไป 2) เคลื่อนไหวรางกายอยางเหมาะสม ใชวิธีการเดินแทนการวิ่ง 3) ใชอุปกรณชวยในการทํา

กจิกรรม และ ขอความชวยเหลือจากผูอ่ืนตามความเหมาะสม 4) ทํากิจกรรมในชวงที่มีความ

เหน่ือยลานอยที่สุด 5) มีชวงเวลาการพักหลับชดเชยในระหวางวัน 6) จัดตารางเวลาการ ปฏิบัติ

กจิกรรมและปฏิบัติ ตามเวลาที่กําหนดไวอยางสม่ําเสมอและตอเน่ือง และใหความสนใจในแตละ

กิจกรรมที่ทําในชวงเวลาน้ันๆ

2.10.4 จัดการกบัความเครียด และความวิตกกงัวล ดวยวิธกีารเบี่ยงเบนความสนใจ

ไดแก การอานหนังสือ การฟงเพลง การดูทีวี พบปะเพื่อนฝูง การทําสมาธิ และการออกกําลังกาย

2.10.5 ด่ืมน้ํามากๆ และรับประทานอาหารใหเพียงพอ ครบทั้ง 5 หมู เพื่อคงไว

ซึ่งความแข็งแรงของกลามเนื้อ และปองกันการเกิดภาวะโลหิตจาง ซึ่งเปนสาเหตุหนึ่งของอาการ

เหน่ือยลา

3. การดูแลตนเองเพื่อใหจิตใจและอารมณแจมใส

ผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัดอาจไดรับผลกระทบจากโรคและการรักษามีผล

ตอจิตใจและอารมณของผูปวย ผูปวยจึงมีความตองการการดูแลตนเองดังตอไปน้ี ( ACS, 2006;

ACS/NCCN, 2005; NCCN, 2007)

3.1 แสวงหาแหลงสนับสนุนและการชวยเหลือที่เหมาะสม เมื่อเกิดปญหาทางดาน

อารมณและจิตใจ เชน การปรึกษาแพทย บุคคลในครอบครัว เพื่อน หรือที่พึ่งทางศาสนา ควรพูดคุย

ระบายความรูสึก เมื่อมีอาการทุกขใจหรือไมสบายใจ ไมควรเก็บความรูสึกเหลาน้ันไวเพียงลําพัง

เพราะจะทําใหเกิดความวิตกกังวลเพิ่มมากขึ้น และไมควรแกปญหาดวยการด่ืมสุรา หรือสิ่งเสพติดอ่ืน

3.2 แสวงหาแนวทางผอนคลายความเครียด ซึ่งอาจใชวิธีการที่เคยใชแลวประสพ

ความสําเร็จมากอน แตหากทดลองใชแลวไมไดผล อาจใชวิธีการอ่ืนๆ เชน การน่ังสมาธิ ฟงเพลง

Page 35: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

42

ดูทีวี ออกกําลังกาย หรือทํางานอดิเรก การเขารวมกิจกรรมกับสมาชิกในครอบครัวหรือกลุมทาง

สังคม หรือการเขารวมกิจกรรมทางศาสนา เปนตน

3.3 ซักถามแพทยหรือพยาบาลเมื่อเกิดขอสงสัย เกี่ยวกับแผนการรักษา และอาการ

ขางเคียงตางๆ ที่อาจเกิดขึ้น รวมทั้งวิธีการปองกันและจัดการกับอาการเหลาน้ัน เพื่อใหสามารถ

ประเมินอาการและวางแผนการปองกันได อันจะชวยลดความวิตกกังวลเมื่อตองเผชิญกับอาการ

เหลาน้ัน และสงเสริมใหเกิดการปรับตัวไดดียิ่งขึ้น

3.4 พยายามรักษาไวซึ่งสุขภาพที่ดี ดวยการเอาใจใสดูแลตนเอง ยอมรับความ

เจ็บปวยที่เกิดขึ้นวาเปนสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไมได แตสามารถดูแลตนเองใหมีสุขภาพกายและใจที่ดีได

โดยการคิดถึงการมีชีวิตอยูในปจจุบันใหมีความสุข มากกวาการวิตกกังวลตอสิ่งที่จะเกิดขึ้นใน

อนาคตมากจนเกินไป ไมตําหนิตนเองถึงสาเหตุของความเจ็บปวย เนื่องจากเปนสิ่งที่ไมเกิด

ประโยชนและจะสงผลเสียตอสุขภาพได ปรับตัวยอมรับการเปลี่ยนแปลงและปรับเปลี่ยนบทบาท

ใหเหมาะสม รักษาไวซึ่งสัมพันธภาพที่ดีระหวางบุคคลใกลชิด และเพื่อนรวมงาน

3.5 สงเสริมความผาสุกทางจิตวิญญาณ โดยการปฏิบัติตามหลักศาสนา เชน การ

สวดมนต ไหวพระ ทําบุญ ทําสมาธิ หรือการประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อที่ไมขัดกับแผนการ

รักษา

4. การดูแลตนเองตามแผนการรักษาของแพทย

การปฏิบัติตนตามแผนการรักษาของแพทย เปนสิ่งที่จําเปนสําหรับผูปวยมะเร็งปอด

ที่ไดรับเคมีบําบัด เน่ืองจากจะชวยใหเกิดผลลัพธที่ดีทางการรักษา ผูปวยจึงควรมีการดูแลสุขภาพ

ใหแข็งแรง มาตรวจตามแพทย และสังเกตอาการผิดปกติที่ตองกลับมาพบแพทย มีรายละเอียดดังน้ี

(NCI, 2003; SIGN, 2005)

4.1 ดูแลสุขภาพรางกายใหแข็งแรง ทั้งทางดานรางกาย และจิตใจ ทําจิตใจใหแจมใส

หลีกเลี่ยงสิ่งที่เปนผลเสียตอสุขภาพ รับประทานอาหารที่มีประโยชนใหครบทั้ง 5 หมู ออกกําลังกาย

และพักผอนใหเพียงพอ

4.2 มาตรวจตามแพทยนัดและมารับเคมีบําบัดตามแผนการรักษาอยางตอเนื่อง หาก

มีปญหาหรือขอของใจเกี่ยวกับแผนการรักษา ควรพูดคุยปรึกษาเพื่อหาทางออกกับทีมแพทยผูรักษา

ไมควรหยุดรับการรักษาเอง เน่ืองจากจะทําใหการรักษาไมตอเน่ืองและอาจเกิดผลเสียตอผลลัพธ

การรักษา

4.3 สังเกตอาการผิดปกติ ที่ตองกลับมาพบแพทย ไดแก

4.3.1 มีไขสูงมากกวา 38 องศาเซลเซยีส หรือ 100 องศาฟาเรนไฮต หรือมี

อาการหนาวสั่น เหงื่อออกมาก มีอาการบวมแดง รอน กดเจ็บ บริเวณผิวหนัง หรือรอบแผล หรือ

Page 36: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

43

บริเวณที่คาทอระบายตางๆ หรือรอบทวารหนัก มีสารคัดหลั่งผิดปกติทางชองคลอด มีกลิ่นเหม็น

คันชองคลอด

4.3.2 ทองเสียรุนแรง อาจมากกวา 6 คร้ังตอวันขึ้นไป หรือถายเปนมูกเลือดปน

หรือมีอาการทองผูก ไมถายอุจจาระหลายวัน และมีอาการปวดทอง หรือคลื่นไส อาเจียนรวมดวย

4.3.3 คลื่นไส อาเจียนอยางรุนแรง ไมสามารถรับประทานอาหารหรือน้ําไดเลย

มีอาการแสดงของภาวะขาดน้ํา คือ กระหายนํ้า ปากแหง ผิวหนังเสียความยืดหยุนตัว ปสสาวะออกนอย

วิงเวียนศีรษะ หนามืด ความดันโลหิตตํ่าเมื่อเปลี่ยนทา สับสน

4.3.4 ปสสาวะกะปริบกะปรอย มีสีขุน หรือปวดแสบขัด เวลาถายปสสาวะ

ปสสาวะมีเลือดปน ปสสาวะออกนอย หรือไมออก ในขณะที่ด่ืมนํ้าจํานวนปกติ

4.3.5 มอีาการไออยางรุนแรง เจ็บคอ ไอเปนเลอืด หรือหายใจเหน่ือยหอบ

4.3.6 มีเลือดออกผิดปกติ เชน เลือดออกตามไรฟน เลือดกําเดาไหล มีจุดจํ้า

เลือดตามรางกาย หรือเลือดไหลไมหยุด ปสสาวะสีแดงหรือสีนํ้าลางเน้ือ อุจจาระมีสีดําโดยไมได

ทานยาบํารุงเลือด เลือดออกผิดปกติทางชองคลอด เปนตน

4.3.7 ซีด ออนเพลียมาก เวียนศีรษะ หนามืด หรือมีผื่นขึ้นตามรางกาย หรือมี

อาการปวดอยางรุนแรง

จากที่กลาวมาอาจสรุปไดวา การดูแลตนเองของผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัดเปน

การกระทํากิจกรรมในชีวิตประจําวันที่ปรับใหสอดคลองกับความเจ็บปวยและการรักษาที่ไดรับ

ผสมผสานกิจกรรมการดูแลตนเองที่จําเปนเขาไปเปนสวนหน่ึงของวิถีชีวิต เพื่อสงเสริมใหเกิดผลลัพธ

ที่ดีตอสุขภาพ และสามารถดํารงชีวิตไดอยางปกติสุข

ปจจัยเง่ือนไขพื้นฐานในการดูแลตนเองของผูปวยมะเร็งปอดท่ีไดรับเคมีบําบัด

ปจจัยเงื่อนไขพื้นฐาน ( basic conditioning factor) เปนสิ่งที่มีอิทธิพลตอความสามารถ

ในการดูแลตนเอง ( self-care agency) และความตองการการดูแลตนเองทั้งหมด (therapeutic self-

care demand) ปจจัยเหลานี้สงผลถึงความแตกตางในการตัดสินใจและการแสดงพฤติกรรมให

สอดคลองกับสิ่งเราทั้งภายในและภายนอกที่มากระทบในแตละสถานการณ (สมจิต หนุเจริญกุล ,

2544) การพิจารณาความสามารถในการดูแลตนเองจึงตองคํานึงถึงปจจัยเงื่อนไขพื้นฐานดังตอไปนี้

1. อายุและระยะพัฒนาการ เปนตัวบงชี้ความตองการการดูแลตนเองโดยทั่วไป การ

ดูแลตนเองตามระยะพัฒนาการ รวมทั้งการพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเอง ซึ่งแตกตางกัน

ในแตละวัย รวมถึงศักยภาพในการริเร่ิมหรือกระทําอยางตอเนื่องในการพัฒนาความสามารถในการ

Page 37: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

44

ดูแลตนเอง (Orem, 2001) อายุ จะสัมพันธกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการทางดาน รางกาย จิตใจ

และความคิด รวมทั้งความสามารถในการรับรู แปลความหมาย ตัดสินใจ และแสดงพฤติกรรม

เกี่ยวกับสุขภาพของบุคคล โดยอายุและพัฒนาการ จะบงชี้ถึงการมีวุฒิภาวะของบุคคล ความสามารถ

ในการดูแลตนเองของบุคคลจะเพิ่มขึ้นตามวัย จะสูงสุดในวัยผูใหญ และลดลงในวัยสูงอายุ ( Orem,

2003) แตจากการศึกษาของ มาลี วรลัคนากุล ( 2535) เกี่ยวกับปจจัยเงื่อนไขพื้นฐานบางประการกับ

ความสามารถในการดูแลตนเองของผูปวยโรคมะเร็งที่ไดรับเคมีบําบัด กลุมตัวอยาง 76 ราย พบวา

อายุไมมีความสัมพันธกับความสามารถในการดูแลตนเอง ทั้งน้ีผูวิจัยอธิบายวา เน่ืองจากกลุม

ตัวอยาง สวนใหญอยูในชวงวัยกลางคน และมีแนวโนมของอายุเพิ่มขึ้นเขาสูวัยสูงอายุทําให

ความสามารถในการดูแลตนเองลดลง

2. เพศ จะบงบอกถึงความแตกตางทางสรีระวิทยาและยังมีผลตอพฤติกรรมการดูแล

ตนเองของบุคคล เนื่องจากเปนตัวกําหนดบทบาทและบุคลิกภาพในครอบครัว ชุมชน และสังคม

รวมทั้งแสดงถึงคานิยมของบุคคลที่บงบอกถึงคุณภาพ พลังอํานาจ และความสามารถที่พัฒนาตาม

ธรรมชาติของมนุษยที่แตกตางกันดวยปจจัยทางกรรมพันธุ ( Orem, 2001) จากการศึกษาของ อรทัย

สนใจยทุธ (2539) ในผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัด จํานวน 60 ราย พบวา เพศมีความสัมพันธ

ทางบวกกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัด อยางมีนัยสําคัญทาง

สถิติ โดยเพศหญิงจะมีพฤติกรรมการดูแลตนเองดีกวาเพศชาย

3. ภาวะสุขภาพหรือระยะของโรค เปนภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลาและมี

ผลตอความสามารถในการดูแลตนเอง รวมทั้งความตองการการดูแลตนเองที่จําเปนของผูปวย

โดยเฉพาะการเจ็บปวยดวยโรครายแรง หรืออยูในระยะรุนแรงของโรค จะกระทบตอผูปวยทั้ง

ทางดานรางกาย และดานจิตใจ ทําใหเกิดขอจํากัดหรืออุปสรรคในการปฏิบัติพฤติกรรมการดูแล

ตนเอง (Orem, 2001) จากการศึกษาในผูปวยมะเร็งปอดพบวาผูที่มีระดับสมรรถนะการทํากิจกรรม

(Eastern Cooperative Oncology Group [ECOG] performance status scale) ในระดับตํ่า จะมีความ

รุนแรงของอาการมากกวาผูท่ีมีระดับสมรรถนะรางกายที่ดี (Hensing, Cella, & Yount, 2005)

4. แหลงประโยชนและระบบบริการสุขภาพ หมายรวมถึง ระบบบริการทางสุขภาพ

แพทยทางเลือก และแหลงสนับสนุนทางสังคมและเศรษฐกิจที่มีอยู ( Orem, 2001) การสนับสนุน

จากครอบครัว เครือญาติ หรือทีมสุขภาพ (Taylor, 2001) ระบบบริการสุขภาพ เปนปจจัยที่เอ้ืออํานวย

และเกือ้หนุนใหผูปวยและครอบครัวไดพฒันาความสามารถในการดูแลตนเอง และสงเสริมให

สามารถปฏิบัติกิจกรรมเพื่อการดูแลตนเองไดอยางเหมาะสม มีความเกี่ยวของกับภาวะสุขภาพของ

บุคคล ทั้งในยามปกติและยามเจ็บปวย ในการปองกันโรค สงเสริม รักษา และฟนฟูสภาพ ( Orem,

2001) โดยแพทย พยาบาล และบุคลากรทีมสุขภาพอ่ืนๆ ระบบบริการสุขภาพจะมีหลายระดับ เพื่อ

Page 38: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

45

ตอบสนองตอความตองการที่แตกตางกันของผูรับบริการ การมีแหลงประโยชนที่เหมาะสมและ

เพียงพอ จะสงเสริมใหบุคคลมีความสามารถเลือกวิธีการดูแลตนเอง เพื่อตอบสนองความตองการ

การดูแลตนเองทีแ่ตกตางกนัได ( Orem, 1991) จากการศึกษาในผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัด

จํานวน 60 ราย (อรทัย สนใจยุทธ , 2539) พบวา รายไดของครอบครัว ซึ่งเปนแหลงประโยชนของ

ผูปวย มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการดูแลตนเองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ นอกจากนี้

จากการศึกษาของบัวษร เวชพันธ ( 2548) ในผูปวยโรคมะเร็งที่ไดรับเคมีบําบัด จํานวน 380 ราย

พบวาการสนับสนุนจากทีมสุขภาพมีความสัมพันธทางบวกกับความสามารถในการดูแลตนเอง

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

5. ระบบครอบครัว ประกอบดวย บทบาทในครอบครัว จํานวนสมาชิก สถานภาพ

สมรส สัมพันธภาพในครอบครัว และความเปนเจาของที่อยูอาศัย ( Orem, 2001) เปนปจจัยพื้นฐาน

ที่มีผลตอความตองการการดูแลตนเอง และความสามารถในการดูแลตนเองของแตละบุคคล จะ

เกี่ยวของกับคุณภาพของการดูแลตนเอง หรือความชวยเหลือซึ่งกันและกัน ระหวางสมาชิก

ในครอบครัว บงชี้ถึงศักยภาพในการพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองของผูปวย หรือผูที่

รับผิดชอบดูแลผูปวย รวมทั้งเปนขอมูลในการตัดสินแหลงประโยชนทั้งเงินทอง และเวลาในการ

จัดระบบการดูแลตนเอง ( Taylor, 2001) แตจากการศึกษาของอรทัย สนใจยุทธ ( 2539) ในผูปวย

มะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัด จํานวน 60 ราย พบวา สถานภาพสมรส ไมมีความสัมพันธกับ

พฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวย ซึ่งผูวิจัยอธิบายวา กลุมตัวอยางสวนใหญอยูในวัฒนธรรมไทย

ที่มีความผูกพันกันระหวางเครือญาติ ทําใหผูที่มีสถานภาพโสด ไดรับการดูแลเอาใจใส จากบุตร

หลาน ญาติพี่นองและบุคคลในครอบครัว สงผลใหพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวย ไมแตกตาง

กับผูปวยที่มีสถานภาพสมรสคู

6. การศึกษาและประสบการณในชีวิต (Orem, 2001) เปนปจจัยดานสงัคมและวัฒนธรรม

ที่มีอิทธิพลตอความสามารถในการดูแลตนเอง รวมถึงการเลือกปฏิบัติพฤติกรรมการดูแลตนเอง

(สมจิต หนุเจริญกุล , 2544) เน่ืองจาก พฤติกรรมการดูแลตนเอง เกิดจากการเรียนรู ภายใต

ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม และความเชื่อของแตละบุคคล ( Orem, 2001) ซึ่งวิธีการดูแลตนเองที่

บุคคลเรียนรูและถายทอด สืบตอกันมา อาจเปนไดทั้งวิธีการที่เหมาะสมหรืออาจเปนผลเสียตอ

สุขภาพได สวนปจจัยดานการศึกษา จะมีผลตอการดูแลตนเองเน่ืองจากเปนสิ่งที่ชวยใหผูปวยมีการ

พัฒนาความรู ทักษะ และทัศนคติที่ดีตอการดูแลตนเอง ( Orem, 2001) ผูปวยที่มีระดับการศึกษาสูง

จะมีทักษะในการแสวงหาขอมูลเกี่ยวกับการดูแลตนเอง รวมถึงการเลือกใชแหลงประโยชนตางๆ

ไดดีกวาผูปวยที่มีการศึกษาตํ่า ซึ่งจากการศึกษาในผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัด จํานวน 60 ราย

Page 39: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

46

(อรทัย สนใจยุทธ, 2539) พบวาระดับการศึกษามีผลทางบวกตอพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวย

อยางมีนัยสําคัญ

7. แบบแผนการดําเนินชีวิตและสิ่งแวดลอม มีอิทธิพลตอการกําหนดความตองการ

การดูแลตนเองทั้งหมด และการปรับวิธีการที่จะสนองตอบตอความตองการการดูแลตนเองที่จําเปน

ใหเหมาะสมซึ่งแตกตางกันในแตละบุคคล (สมจิต หนุเจริญกุล , 2536) แบบแผนการปฏิบัติที่เปน

กิจวัตร เปนตัวกําหนดความตองการการดูแลทั้งหมดของบุคคล เชน บุคคลที่มีอาชีพแตกตางกัน

หรืออาศัยในสถานที่ที่แตกตางกัน ยอมมีแบบแผนการดําเนินชีวิต และสิ่งแวดลอมที่แตกตางกัน

ทําใหความตองการการดูแลตนเองแตกตางกันดวย (Orem, 2001) ปจจุบันยัไมพบการศึกษาเกี่ยวกับ

ปจจัยพื้นฐานดานแบบแผนการดําเนินชีวิตและสิ่งแวดลอมในผูปวยมะร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัด แต

พบการศึกษาในผูปวยมะเร็งปากมดลูกที่ไดรับรังสีรักษา จํานวน 100 ราย ซึ่งพบวาปจจัยพื้นฐาน

เร่ืองสภาพที่อยูอาศัย มีความสัมพันธทางบวกกับความสามารถในการดูแลตนเองของผูปวยอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ (กนกพร ใจแกว, 2537)

กลาวโดยสรุป การดูแลตนเองของผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัดมีหลายปจจัยที่

เกี่ยวของและมีผลตอความแตกตางในการปฏิบัติกิจกรรมการดูแลตนเองของแตละบุคคล ในการ

ศึกษาคร้ังน้ี ผูวิจัยไดนําปจจัยดานอายุ เพศ ระดับการศึกษา รายได และระยะของโรค มาประกอบ

การพิจารณาในการเลือกกลุมตัวอยางเขาศึกษาในกลุมทดลองและกลุมควบคุมโดยใหมีความ

คลายคลึงกันมากที่สุดเพื่อควบคุมอิทธิพลภายในที่อาจมีผลตอการดูแลตนเองของผูปวย ซึ่งผูปวย

มะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัดอาจไดรับผลกระทบจากโรคและการรักษาที่ทําใหความสามารถในการ

ดูแลตนเองลดลงและมีความตองการการดูแลตนเองทั้งหมดเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งยังสงผลตอการรับรู

คุณภาพชีวิตของผูปวยดวย

คุณภาพชีวิตของผูปวยมะเร็งปอดท่ีไดรับเคมีบําบัด

มะเร็งปอดเปนโรครายแรงและมีอัตราการรอดชีวิตคอนขางตํ่า การสงเสริมคุณภาพชีวิต

ของผูปวยจึงเปนเปาหมายสําคัญในการดูแลของทีมสุขภาพ เน่ืองจากคุณภาพชีวิตของผูปวยเปน

ผลลัพธสูงสุดของการรักษา และเปนปจจัยทํานายระยะเวลารอดชีวิตที่ดีของผูปวย ( Motazeri,

Milroy, Hold, McEwen, & Gillis, 2001)

Page 40: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

47

แนวคิดของคุณภาพชีวิต

ภายหลังศตวรรษที่สองเปนตนมา คุณภาพชีวิต (Quality of life) ไดเขามามีบทบาทในดาน

ของการเปนผลลัพธที่สําคัญของการรักษา การตระหนักวาการมีชีวิตที่ยืนยาวจากการรักษาอาจ

ไมใชเปาหมายสูงสุด หากแตเปนการที่บุคคลสามารถทําหนาที่ไดอยางเต็มศักยภาพที่มีอยูและ

มีความผาสุกในชีวิต (well-being) (Cella, 1994) คุณภาพจึงเปนสิ่งที่ทุกคนปรารถนาตองการใหเกิด

แมอยูในภาวะปกติหรือเจ็บปวย โดยเฉพาะในกลุมผูปวยโรคมะเร็งซึ่งเปนโรคที่ไมสามารถรักษาให

หายขาดได เปาหมายสําคัญของการรักษาคือการมุงหวังใหผูปวยมีชีวิตอยางมีความสุขกับโรคที่

เปนอยู

คําจํากัดความของคุณภาพชีวิต

คุณภาพชีวิตเปนสิ่งที่มีความซับซอน แนวคิดและคําจํากัดความของคุณภาพชีวิตจึงมี

ความหลากหลายแตกตางกันตามทัศนะของผูศึกษา ดังนั้นจึงเปนการยากในการใหคําจํากัดความที่

แนนอนและเปนสากลได อาจสรุปไดดังน้ี

คุณภาพชีวิตเปนสิ่งที่เกี่ยวของกับความผาสุกและความพึงพอใจของแตละบุคคล โดยผูที่

ใหคําจํากัดความในลักษณะดังกลาวน้ี ไดแก โอเร็ม (Orem, 2001) ที่ใหทัศนะเกี่ยวกับ “ความผาสุก”

(well-being) ซึ่งอาจมีความหมายเชนเดียวกับ “คุณภาพชีวิต” (quality of life) วาเปนการรับรูของแตละ

บุคคลภายใตเงื่อนไขตางๆ ของชีวิต เปนสิ่งที่แสดงออกถึงความพึงพอใจและความสุข การรับรูถึง

ความรูสึกมีคุณคาในตนเอง และการไดรับการยอมรับในฐานะบุคคล มีความสัมพันธกับสุขภาพและ

การมีแหลงประโยชนที่เพียงพอ บุคคลสามารถมีความผาสุกในชีวิตได แมมีความผิดปกติของ

โครงสรางหรือการทําหนาที่ของรางกาย นอกจากนี้ ยังมีผูใหคําจํากัดความของคุณภาพชีวิต วาเปน

การรับรูของบุคคลตอความสุขหรือความพึงพอใจในชีวิต (Anderson & Burckhardt, 1999; Oreson,

1990) เปนความรูสึกผาสุก ( well-being) ของบุคคล ( Cohen, 1996) ในชีวิตที่เปนอยูแบบองครวม

และเปนสิ่งที่วัดไดดวยตัวผูปวยเอง (Michael & Tannock, 1998) เกิดจากความพึงพอใจ (satisfaction)

หรือไมพึงพอใจ ( dissatisfaction) ตอเหตุการณในชีวิตที่มีความสําคัญกับพวกเขา ประกอบดวย

หลายมิติ (multidimention) ที่มีความซับซอนและเกี่ยวของซึ่งกันและกัน (Ferrans, 1996) และคุณภาพ

ชีวิตยังเปนผลรวมของเงื่อนไขตางๆ ในชีวิต โดยบุคคลจะตอบสนองตอเงื่อนไขเหลาน้ัน ในรูปแบบ

ของความพึงพอใจในชีวิต ที่ข้ึนอยูกับการประเมินคาของแตละบุคคล วัดไดทั้งจากการสังเกตและ

การรายงานจากตัวบุคคลเอง (Landesman, 1986) ซึ่งการประเมินและใหความหมายของแตละบุคคล

จะขึ้นอยูกับการดําเนินชีวิต ประสบการณ ความหวัง และความคาดหวังในอนาคต รวมทั้ง

Page 41: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

48

ประสบการณที่เผชิญอยู โดยจะรวมเขาไปในบริบทของชีวิต เปลี่ยนแปลงไปตามเวลาและสิ่งรอบตัว

คุณภาพชีวิตที่ดีจะสัมพันธกับความสามารถในการแสวงหาและไปถึงเปาหมายของแตละคน และจะ

ถูกกระทบจากความเจ็บปวย และการรักษา (Calman, 1984)

องคการอนามัยโลก (WHO, 1947) ไดใหคําจํากัดความของคุณภาพชีวิตวา เปนการรับรู

ของบุคคลตอสภาวะของชีวิต ภายใตบริบททางวัฒนธรรมและคานิยมของแตละบุคคล มีความสัมพันธ

กับเปาหมาย ความคาดหวัง กฎเกณฑและความกังวล สวน เวนทีกอดท เมอรริค และแอนเดอรเซน

(Ventegodt, Merrick, & Andersen, 2003) กลาววา คุณภาพชีวิต เปนชีวิตที่ดีและมีคุณภาพ นอกจากน้ี

เซลลา ( Cella, 1994) กลาววา คุณภาพชีวิตไมเพียงเปนการปราศจากโรคและการทําหนาที่ของ

รางกายที่ผิดปกติเทานั้น แตเปนบทสรุปของผลรวมจากเงื่อนไขตางๆในชีวิตและสิ่งรอบตัวของ

แตละบุคคลที่เกิดจากการรับรูความพึงพอใจ ความสุข และการใหคุณคาโดยรวมตอสถานการณ

ในแตชวงเวลา รวมถึงการรับรูและยอมรับตอผลที่เกิดจากความเจ็บปวยและการรักษาทั้งผลทางลบ

และผลทางบวก ที่กระทบตอการทําหนาที่ ( functioning) และความผาสุก (well-being) ในสิ่งที่เปนอยู

หรือคาดวาจะเปนทั้งดานรางกาย ดานจิตใจและดานสังคม ซึ่งตองการการประเมินในหลายมิติ

(multidimensionality) ที่สําคัญของชีวิต นอกจากน้ีเซลลา ยังไดใหคําจํากัดความของคุณภาพชีวิตที่

สัมพันธกับภาวะสุขภาพ ( health-related quality of life [HRQOL]) วาเปนการรับรูความผาสุกของ

แตละบุคคลตอสิ่งที่เปนอยูหรือคาดวาจะเปนทั้งดานรางกาย ดานจิตใจ ดานสังคม และดานการ

ปฏิบัติกิจกรรม ซึ่งถูกกระทบจากความเจ็บปวย และ/หรือการรักษาที่ไดรับ

โดยสรุปคําจํากัดความของคุณภาพชีวิตยังมีความหลากหลาย แตจากคําจํากัดความ

ขางตนมีความคลายคลึงกันในเร่ืองของคุณภาพชีวิต วาเปนการรับรูถึงความพึงพอใจ ( satisfaction)

และความผาสุก ( well-being) ในชีวิตแบบองครวมของแตละบุคคล มีความซับซอน ประกอบดวย

หลายมิติ (multidimention) เปลี่ยนแปลงไปตามเวลาและบริบทของชีวิต ประเมินไดจากการรายงาน

ของบุคคลและจากการสังเกต ซึ่งขอมูลจากการรายงานของบุคคลจะมีความนาเชื่อถือมากกวา

ในการศึกษาคร้ังน้ี ผูวิจัยใชคําจํากัดความคุณภาพชีวิตที่สัมพันธกับภาวะสุขภาพของ

เซลลา ( Cella, 1994) เนื่องจากเปนการใหคําจํากัดความที่กําหนดจากการศึกษาคุณภาพชีวิตของ

ผูปวยโรคเร้ือรัง จึงเปนนิยามที่ครอบคลุมและสะทอนใหเห็นถึงคุณภาพชีวิตของผูปวยแบบองค

รวมซึ่งไมจํากัดเพียงบุคคลที่ปราศจากโรคเทานั้น

Page 42: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

49

องคประกอบของคุณภาพชีวิต

การศึกษาเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตที่สัมพันธกับภาวะสุขภาพเปนสิ่งที่ชวยใหเกิดความ

เขาใจในผลที่เกิดจากโรคและการรักษาที่มีตอผูปวยผานมุมมองของตัวผูปวยเอง ซึ่งองคประกอบ

ของคุณภาพชีวิตยังมีความแตกตางและหลากหลายตามทัศนะของแตละบุคคลเชนเดียวกับ

คําจํากัดความของคุณภาพชีวิต ขึ้นอยูกับความสนใจในแงมุมของผูศึกษารวมทั้งกลุมประชากรที่ศึกษา

จากแนวคิดคุณภาพชีวิตที่สัมพันธกับภาวะสุขภาพของเซลลา ( Cella, 1994) ซึ่งพัฒนา

มาจากการมองสุขภาพแบบองครวมตามคําจํากัดความขององคการอนามัยโลก โดยมีแนวคิด

พืน้ฐาน 2 ประการ คือ 1) คุณภาพชีวิตเปนเชิงจิตวิสัย ( subjective) กลาวคือเปนการรับรูของแตละ

บุคคลเกี่ยวกับความเจ็บปวย การรักษา ความคาดหวังของตนเอง และการประเมินคาความเสี่ยงหรือ

อันตรายที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งตองใหความสําคัญกับสิ่งนําเขา (input) ที่มีผลกระทบตอบุคคล รวมทั้งการ

ยอมรับและตอบสนองของบุคคลทั้งทางบวกและทางลบตอความเจ็บปวยและการรักษาที่ไดรับ

และ 2) คุณภาพชีวิตเปนมุมมองหลายมิติ ( multidimentional) กลาวคือ คุณภาพชีวิตเปนการรับรู

ความพึงพอใจโดยรวมของบุคคลที่มีตอผลที่เกิดจากความเจ็บปวยและการรักษา ซึ่งเปนผลกระทบ

ที่ครอบคลุมเกี่ยวกับการทําหนาที่ (functioning) และความผาสุก (well-being) ทั้งดานอาการ (symptom)

การทําหนาที่ของรางกาย ( physical functioning) ดานอารมณ ( mood) ความนึกคิด ( cognitive) การ

ทําหนาที่ในครอบครัว ( family functioning) และกิจกรรมทางสังคม ( social activity) และตองการ

การประเมินในหลายมิติที่ครอบคลุมมิติสําคัญของชีวิต ประกอบดวย

1. มิติความผาสุกทางรางกาย ( physical well-being) เปนการรับรูและสังเกตการณการ

ทําหนาที่หรือความผิดปกติของรางกาย สะทอนถึงความผาสุกทางรางกายที่เปนผลจากอาการ

ของโรค การรักษาและผลขางเคียงจากการรักษา รวมทั้งความผาสุกทางรางกายโดยทั่วไปตามการ

รับรูของผูปวย

2. มิติความผาสุกทางอารมณ (emotional well-being) เปนสิ่งที่สะทอนใหเห็นผลทั้งใน

ทางบวกคือ ความผาสุก และผลในทางลบคือ ความกดดัน ทุกขทรมาน ที่เปนผลจากโรคและการรักษา

3. มิติความผาสุกทางสังคม (social well-being) เปนการรับรูความพึงพอใจการสนับสนุน

ทางสังคม การทํากิจกรรมยามวาง การทําหนาที่ในครอบครัว การมีเพศสัมพันธ รวมถึงการมีความ

พึงพอใจในการมีปฏิสัมพันธกับเพื่อน คนรูจัก หรือบุคคลใกลชิด

4. มิติความผาสุกดานการปฏิบัติกิจกรรม ( functional well-being) มีความสัมพันธ

ใกลชิดกับความผาสุกทางดานรางกาย เปนการรับรูถึงความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อ

ตอบสนองความตองการ ความปรารถนา กิจกรรมหรือบทบาททางสังคมของแตละบุคคล เชน

ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวัน การหนาที่ทั้งในและนอกบาน เปนตน

Page 43: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

50

ในการศึกษาคร้ังนี้ ผูวิจัยใชทฤษฎีการดูแลตนเองและระบบการพยาบาลของโอเร็ม

เปนพื้นฐาน มีจุดเนนของการพยาบาลอยูที่ตัวบุคคลซึ่งมีลักษณะเปนองครวมและทําหนาที่ไดทั้ง

ทางดานชีวภาพ ดานสังคม ดานการแปลและใหความหมายตอสัญลักษณตางๆ เปนระบบเปดและ

มีความเปนพลวัตร (Orem, 2001) ซึ่งการทําหนาที่ทั้งทางดานรางกาย จิตใจ สังคม และความสัมพันธ

ที่ดีกับบุคคลอ่ืนเปนสิ่งไมอาจแยกออกจากกันได การตอบสนองของบุคคลทั้งในภาวะปกติและ

ยามเจ็บปวยจึงแสดงออกมาเปนองครวม ดังน้ันการรับรูคุณภาพชีวิตของผูปวยจึงเปนการรับรู

โดยรวมเชนเดียวกนั (สมจิต หนุเจริญกุล , 2544) ผูวิจัยจึงไดศึกษามิติคุณภาพชีวิตตามแนวคิด

ของเซลลา ( Cella, 1994) เน่ืองจากเปนการกําหนดมิติคุณภาพชีวิตจากผลการศึกษาในผูปวย

โรคมะเร็งซึ่งมีความใกลเคียงกับกลุมตัวอยางในการศึกษาคร้ังนี้และเปนมิติที่ประกอบดวย ดาน

รางกาย ดานจิตใจ ดานสังคม และดานการปฏิบัติกิจกรรม ซึ่งผูศึกษาเห็นวามีความครอบคลุม เปน

องครวม และเหมาะสมกับผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัด

เนื่องดวยคุณภาพชีวิตเปนเปาหมายสูงสุดของการรักษาพยาบาล ในปจจุบันจึงไดมี

การศึกษาเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตในผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัดเพิ่มมากขึ้น ดังการศึกษาของ

จิราวรรณ สันติ เสวี , นุจรี ประทีปะวณิช , และเอ้ือมแข สุขประเสริฐ ( 2550) ในผูปวยมะเร็งปอด

ชนิดเซลลไมเล็ก จํานวน 23 ราย ที่ไดรับเคมีบําบัดสูตรซิสพลาตินรวมกับอีโทโปไซด และสูตร

แพคลิทาเซลรวมกับคารโบพลาติน โดยใชเคร่ืองมือประเมินคุณภาพชีวิต 2 ชนิดคอื Functional

Assessment of Cancer Therapy-Lung [FACT-L] และ FACT-Neurotoxicity [FACT/GOG-Ntx]

พบวาหลังการรักษาดวยเคมีบําบัด 1 เดือน ผูปวยที่ไดรับเคมีบําบัดทั้ง 2 สูตร มีคาคะแนนคุณภาพ

ชีวิตดานอารมณเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญ ในขณะที่คุณภาพชีวิตดานกิจกรรมมีแนวโนมลดลงและ

ในเดือนที ่ 2 หลังไดรับเคมีบําบัด พบวาคุณภาพชีวิตในแตละมิติมีแนวโนมลดลง ทั้งดานรางกาย

ดานอารมณ โดยเฉพาะดานการปฏิบัติกิจกรรมที่ลดลงอยางมีนัยสําคัญ นอกจากน้ี ยังพบวาผูปวย

ทั้ง 2 กลุมมีอุบัติการณและความรุนแรงของอาการขางเคียงจากเคมีบําบัดเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งมีการ

ดําเนินของโรคเพิ่มมากขึ้นดวย ทําใหสัดสวนของคุณภาพชีวิตของผูปวยลดลง เชนเดียวกนักบั

การศึกษาของวาน และคณะ ( Wan et al., 2007) ในผูปวยมะเร็งปอด 181 ราย ที่อยูระหวางรับการ

รักษาดวยเคมีบําบัด เคมีบําบัดรวมกับการผาตัด หรือเคมีบําบัดรวมกับรังสีรักษา ใชแบบประเมิน

คุณภาพชีวิต FACT-L version 4 ที่พบวาคะแนนคุณภาพชีวิตโดยรวมของผูปวยลดลงอยางมี

นัยสําคัญภายหลังรับการรักษา 1 เดือน โดยเฉพาะมิติคุณภาพชีวิตดานรางกายและดานอารมณ

นอกจากน้ี เบอรแคนและคณะ ( Bircan et al., 2003) ไดศึกษาคุณภาพชีวิตของผูปวย

มะเร็งปอดทั้งชนิดเซลลเล็กและเซลลไมเล็ก จํานวน 52 ราย ที่ไดรับเคมีบําบัด โดยใชแบบวัด

คุณภาพชีวิต The European Organization for Research and Treatment of Cancer Quality of Life

Page 44: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

51

Questionnaire [EORTC QLQ-C30] และ Quality of Life Questionnaire Lung Cancer-13 [QLQ-

LC13] พบวาหลังไดรับเคมีบําบัดชุดที่ 3 ผูปวยมะเร็งปอดมีคุณภาพชีวิตโดยรวมและคุณภาพชีวิต

ดานอารมณดีขึ้น แตก็มีอาการขางเคียง ไดแก ผมรวง แผลในปาก คลื่นไส และอาเจียน รวมทั้ง

มีปญหาการนอนหลับและปญหาดานเศรษฐกิจเพิ่มสูงขึ้นดวย ซึ่งผลการศึกษาน้ีคลายคลึงกับ

การศึกษาของ ชี , หยาง, ซู, และหยาง (Chie, Yang, Hsu, & Yang, 2004) ในผูปวยมะเร็งปอดที่รับ

เคมีบําบัด จํานวน 51 ราย ที่พบวาภายหลังไดรับเคมีบําบัด 2 สัปดาห คุณภาพชีวิตโดยรวมของ

ผูปวยดีขึ้น แตคุณภาพชีวิตดานการทําหนาที่ของรางกายลดลง รวมทั้งมิติดานอาการ พบวาผูปวย

มีอาการคลื่นไส อาเจียนสูงขึ้น นอกจากน้ีจากการศึกษาของ เบอรทีโร ( Bertero, 2008) ในผูปวย

มะเร็งปอดรายใหม จํานวน 23 ราย โดยใชแบบวัดคุณภาพชีวิต EORTC QLQ-C30 และ QLQ-

LC13 พบวาคุณภาพชีวิตโดยรวมของผูปวยอยูในระดับปานกลาง และคุณภาพชีวิตในแตละมิติ

พบวามิติการทําหนาที่ดานการนึกคิดมีคาเฉลี่ยตํ่าสุด รองมาเปนดานการทําหนาที่ตามบทบาท ดาน

สังคมและดานรางกาย ตามลําดับ สวนคุณภาพชีวิตดานอารมณมีคาเฉลี่ยสูงสุด และมิติดานอาการ

ทั่วไปและอาการที่เกี่ยวของกับมะเร็งปอด พบวาผูปวยสวนใหญจะมีอาการเหน่ือยลา หายใจเหน่ือย

ปวด และคลื่นไสอาเจียน

จากการสรุปผลการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวกับคุณภาพชีวิตของผูปวยมะเร็งปอด

ชนิดเซลลไมเล็กที่ไดรับเคมีบําบัดจากงานวิจัยทั้งหมด 18 งานวิจัยที่เกี่ยวของของ กลาสเตอรสกาย

และแพสแมน (Klastersky & Paesmans, 2001) พบวาผูปวยมะเร็งปอดชนิดเซลลไมเล็กที่ไดรับเคมี

บําบัดสวนใหญมีการแนวโนมการเปลี่ยนแปลงของคุณภาพชีวิตดีขึ้นภายหลังรับการรักษา เมื่อ

เปรียบเทียบกับผูปวยที่ไดรับเพียงการรักษาแบบประคับประคอง โดยมิติคุณภาพชีวิตของผูปวย

ที่ดีขึ้นมักเปนมิติดานรางกาย ดานสังคม ดานอารมณ และดานความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรม

แตทั้งน้ีพบวา อาการขางเคียงจากเคมีบําบัด เชน อาการคลื่นไส อาเจียน ทองผูก ผมรวง และอาการ

อักเสบของปลายประสาท เปนปจจัยที่มีผลใหคุณภาพของผูปวยมะเร็งปอดลดลง

กลาวไดวา คุณภาพชีวิตของผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัดอาจเปลี่ยนแปลงไดทั้ง

ในทางที่ดีขึ้นหรือลดลง ทั้งนี้จากการทบทวนงานวิจัยขางตนพบวาแมคุณภาพชีวิตโดยรวมของ

ผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัดจะมีแนวโนมดีขึ้นในชวงแรกของการรักษา (Bircan et al., 2003;

Chie, Yang, Hsu, & Yang, 2004) แตเมื่อพิจารณาในแตละมิติยอยพบวาคุณภาพชีวิตในบางมิติ

มีแนวโนมลดลงและเมื่อทําการศึกษาในระยะเวลาตอมาพบวาคุณภาพชีวิตของผูปวยจะมีแนวโนม

ลดลงในเกือบทุกมิติ โดยเฉพาะมิติที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติกิจกรรม หรือมิติดานรางกาย (จิราวรรณ

สนัติเสวี และคณะ, 2550; Chie et al., 2004; Wan et al., 2007) และยังพบวาผลขางเคียงจากการ

Page 45: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

52

รักษาดวยเคมีบําบัด เปนปจจัยสําคัญประการหน่ึงที่สงผลกระทบตอคุณภาพชีวิตของผูปวย ( Bircan

et al., 2003; Chie et al., 2004; Klastersky & Paesmans, 2001)

ปจจัยท่ีมีผลตอคุณภาพชีวิตของผูปวยมะเร็งปอดท่ีไดรับเคมีบําบัด

ปจจัยที่มีผลตอคุณภาพชีวิตของผูปวยมะเร็งปอดมีอยูหลายประการ ทั้งปจจัยที่เกี่ยวของ

กับผูปวย ระยะของโรค และการรักษา (Gridelli, Perrone, Nelli, Ramponi, & Marinis, 2001) ดังตอไปน้ี

1. อายุ เปนปจจัยหน่ึงที่มีผลตอคุณภาพชีวิตของผูปวย มีการศึกษาในผูปวยมะเร็งรายใหม

ที่ไดรับเคมีบําบัด จํานวน 34 ราย พบวาผูปวยที่มีอายุมาก (อาย ุ 65 ป หรือมากกวา) มีคุณภาพชีวิต

ดีกวาผูปวยมะเร็งที่มีอายุนอยกวา เน่ืองจากผูปวยที่มีอายุมากกวาจะสามารถจัดการกับปญหา

ปรับตัวกับโรค การรักษา และผลขางเคียงไดดีกวา (Mkanta, Chumbler, Richardson, & Kobb, 2007)

2. ระดับความสามารถในการทํากิจกรรม ( performance status) ความสามารถในการ

ทํากิจกรรม มีความสัมพันธสูงกับทุกมิติของคุณภาพชีวิตของผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัด

โดยผูปวยที่มีระดับความสามารถในการทํากิจกรรมดีกวาจะมีคุณภาพชีวิตที่ดีกวา ( Bircan et al.,

2003) ซึ่งความสามารถในการทํากิจกรรม ประเมินไดโดยใชหลักการของกลุมความรวมมือทาง

โรคมะเร็งภาคตะวันออก ( Eastern Cooperative Oncology Group [ECOG] Performance Status) ซึ่ง

แบงเปน 6 ระดับ จากระดับ 0 ถึงระดับ 5 โดยระดับ 0 หมายถึง สามารถทํากิจกรรมตางๆ ได

ตามปกติ เหมือนกับกอนเปนโรค ระดับ 1 หมายถึง มีขีดจํากัดในการทํากิจกรรมหนักๆ แตยัง

สามารถเดินหรือทํางานเบาๆได ระดับ 2 หมายถึง ใชเวลานอนอยูบนเตียงนอยกวารอยละ 50 ของ

เวลาระหวางวัน สามารถเคลือ่นไหวและชวยเหลอืตนเองไดแตไมสามารถทาํงานใดๆ ได ระดับ 3

หมายถึง ตองนอนอยูบนเตียงมากกวารอยละ 50 ของเวลาระหวางวัน และสามารถชวยเหลอืตนเอง

ไดเพียงเล็กนอย ระดับ 4 หมายถึง ตองนอนอยูบนเตียงตลอด ไมสามารถชวยเหลอืตัวเองไดเลย

และระดับ 5 หมายถึง เสียชีวิต (Eastern Cooperative Oncology Group, 2009)

3. ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม จากการศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตของผูปวย

มะเร็งปอด กอนไดรับเคมีบําบัด พบวาผูปวยที่ฐานะยากจน รายไดนอย จะมีคุณภาพชีวิตดานการทํา

หนาที่ตามบทบาท ดานการทําหนาที่ของรางกาย และคุณภาพชีวิตโดยรวมตํ่ากวากลุมที่มีฐานะทาง

เศรษฐกิจดีอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และภายหลังไดรับเคมีบําบัด พบวาผูปวยกลุมที่มีฐานะทาง

เศรษฐกิจไมดีจะมีระดับความรุนแรงของอาการสูงกวา แตไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ

ระหวางคุณภาพชีวิตของผูปวยทั้งสองกลุมภายหลังไดรับเคมีบําบัด ( Montazeri, Hole, Milroy,

McEwen, & Gillis, 2003)

Page 46: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

53

4. แหลงสนับสนุนทางสังคม จากการศึกษาของ เดานี-วามโบลดท, บทัเลอร, และโคลเทอร

(Downe-Wamboldt, Butler, & Coulter, 2006) เกี่ยวกับความสัมพันธระหวางการสนับสนุนทาง

สังคมกับคุณภาพชีวิตของผูปวยมะเร็งปอด พบวาผูปวยมะเร็งปอดที่มีแหลงสนับสนุนทางสังคมที่ดี

จะใหความหมายของความเจ็บปวยในทางบวกรวมทั้งจะรับรูถึงการมีแหลงประโยชนที่จําเปน ซึ่ง

สงผลดีตอการปฏิบัติกลวิธีตางๆ ในการแกไขปญหา ทําใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีกวาผูที่มีแหลง

สนับสนุนทางสังคมนอย

5. ชนิดและระยะของโรคมะเร็งปอด เปนปจจัยที่มีผลตอการพิจารณาเลือกวิธีการ

รักษาที่แตกตางกัน ซึ่งจะเกี่ยวของกับการตอบสนองตอการรักษาและผลขางเคียงที่อาจจะเกิดกับ

ผูปวยดวย ( Gridelli et al., 2001) นอกจากนี้ ระยะของโรคจะเปนปจจัยทํานายคุณภาพชีวิตของ

ผูปวย เนื่องจากจะเกี่ยวของกับความสามารถในการทํากิจกรรมตางๆในชีวิตประจําวัน ( Montazeri

et al., 2001)

6. อาการจากโรคและการรักษา เปนปจจัยหน่ึงที่เกี่ยวของกับคุณภาพชีวิตผูปวย

มะเร็งปอด โดยพบวา ผูปวยที่มีอุบัติการณการเกิดอาการ และมีความรุนแรงของอาการ หรือรับรู

ความทุกขทรมานจากอาการของโรคมะเร็งและการรักษามากกวาจะมีผลกระทบตอการรับรู

ความหมายในชีวิต ทําใหการรับรูความหมายของชีวิตลดลง สงผลใหลดความผาสุกทางดานจิตใจ

เพิ่มการรับรูขอจํากัดทางดานรางกาย และการทําหนาที่มากขึ้น (Wamboldt, Butler, & Coulter, 2006)

เห็นไดวาคุณภาพชีวิตของผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัดมีหลายปจจัยที่เกี่ยวของ

และกระทบตอคุณภาพชีวิตของผูปวย ดังน้ันการสงเสริมใหผูปวยมีคุณภาพชีวิตที่ดีจึงจําเปนตอง

พิจารณาปจจัยเหลาน้ีดวย เพื่อใหเกิดความเขาใจอยางถองแทและสามารถสงเสริมใหผูปวยมี

คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอยางแทจริง ทั้งน้ี จากการทบทวนปจจัยที่เกี่ยวของกับการดูแลตนเองและ

คุณภาพชีวิตของผูปวยมะเร็งปอด ผูวิจัยไดนําปจจัยดานอายุ เพศ ระดับการศึกษา รายได และระยะ

ของโรค มาประกอบการพิจารณาในการเลือกกลุมตัวอยางเขาศึกษาในกลุมทดลองและกลุมควบคุม

โดยใหมีความคลายคลึงกันมากที่สุดเพื่อควบคุมอิทธิพลภายในที่อาจมีผลตอการดูแลตนเองและ

คุณภาพชีวิตของผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัด

Page 47: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

54

การประเมินคุณภาพชีวิตของผูปวยมะเร็งปอดท่ีไดรับเคมีบําบัด

ปจจุบันการประเมินคุณภาพชีวิตยังมีความแตกตางกันขึ้นอยูกับแนวคิดและ

วัตถุประสงคของการศึกษา ซึ่งเซลลาและโนวินสกี ( Cella & Nowinski, 2002) ไดแบงคุณภาพชีวิต

ออกเปน 2 กลุม คือ

1. คุณภาพชีวิตโดยรวม (global quality of life) เปนความพึงพอใจของบุคคลตอแตละ

มิติของชีวิตที่ไมเกี่ยวของกับปจจัยเฉพาะทางสุขภาพ สามารถใชไดกับทุกคนไมวาภาวะเจ็บปวย

หรือมีสุขภาพดี ประเมินไดโดยใชแบบวัดคุณภาพชีวิตโดยทั่วไป หรือแบบวัดคุณภาพชีวิตที่

เฉพาะเจาะจงกับโรคก็ได

2. คุณภาพชีวิตที่สัมพันธกับภาวะสุขภาพ ( health related quality of life [HRQOL])

เปนคุณภาพชีวิตในบริบททางสุขภาพ มุงเนนในเร่ืองที่สัมพันธกับสุขภาพทั้งทางตรงและทางออม

ประกอบดวยหลายมิติและเปนการรวมผลของความผิดปกติที่เกิดตอบุคคลในวงกวาง ทั้งดาน

ประสบการณ การทําหนาที่ และการตอบสนองของบุคคลตอความเจ็บปวย คุณภาพชีวิตที่สัมพันธ

กับภาวะสุขภาพ อาจแบงออกเปน คุณภาพชีวิตที่สัมพันธกับภาวะสุขภาพโดยทั่วไป (general health

related quality of life) เปนคุณภาพชีวิตอยางกวางๆ และหลากหลายในผูปวยโรคเร้ือรังรวมทั้ง

โรคมะเร็งตางๆ และคุณภาพชีวิตที่เฉพาะเจาะจงในแตละโรค (specific health related quality of life)

ในการวิจัยคร้ังน้ี เปนการศึกษาคุณภาพชีวิตที่สัมพันธกับภาวะสุขภาพของผูปวย

โรคมะเร็งปอด ซึ่งปจจุบันยังไมมีคํานิยามของคุณภาพชีวิตดานสุขภาพที่เปนที่ยอมรับอยางเปน

สากล แตมีการกลาวถึงโครงสรางลักษณะพื้นฐานของคุณภาพชีวิตซึ่งใชเปนหลักในการพัฒนาแบบ

ประเมินและวิธีการประเมินคุณภาพชีวิตไวดังน้ี (นุชจรี วุฒิสุพงษ , 2541) 1) มีความเปนจิตพิสัย

(sbjective) คือ การวัดคุณภาพชีวิตเปนเร่ืองของบุคคล มีความแตกตางกันตวามการรับรูของแตละ

บุคคล 2) มีลักษณะเปนหลายมิติ ( multidimentional) คือ คุณภาพชีวิตไมไดศึกษาเพียงดานใด

ดานหน่ึง เชน การไมมีโรคเพียงอยางเดียวไมไดหมายความถึงการมีคุณภาพชีวิตที่ดี คุณภาพชีวิต

เปนการประเมินหลายมิติรวมกันเปนองครวม โดยควรทําการประเมินอยางนอย 3 มิติ คือ มิติทาง

กายภาพ (physical domain) ทางจิตใจ (phychological domain) และทางสังคม ( social domain) และ

3) มีการเปลี่ยนแปลงไดตามเวลาที่เปลี่ยนไป ( variable with time) คือ คุณภาพชีวิตไมไดมีคาคงที่

แตสามารถเปลี่ยนแปลงไดตามเวลาและสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป ดังนั้น การประเมินคุณภาพ

ชีวิตจึงควรเปนการประเมินอยางตอเนื่อง ( longitudinal study) เพือ่ใหเห็นแนวโนมของการ

เปลีย่นแปลง

Page 48: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

55

เคร่ืองมือประเมินคุณภาพชีวิตท่ีสัมพันธกับภาวะสุขภาพของผูปวยมะเร็งปอด

เคร่ืองมือที่ใชในการประเมินคุณภาพชีวิตที่สัมพันธกับภาวะสุขภาพ อาจแบงออกเปน

2 กลุมใหญ คือ (Cella & Nowinski, 2002; Litwin, 2007)

1. เคร่ืองมือประเมินคุณภาพชีวิตที่สัมพันธกับภาวะสุขภาพโดยทั่วไป ( generic

HRQOL measures) ใชในการประเมินคุณภาพชีวิตในวงกวาง เกี่ยวกับการทําหนาที่ การรับรูสุขภาพ

และอาการทั่วไป ครอบคลุมทั้งโรคเร้ือรังตางๆ มีขอดีคือ ใชไดในผูปวยทุกโรคและกับคนปกติได

ขอมูลที่ไดสามารถนํามาเปรียบเทียบกันระหวางผูปวยแตละโรค หรือเปรียบเทียบกับคนปกติได

สวนขอดอยคือ เปนการประเมินโดยทั่วไป ไมมีความเฉพาะเจาะจงและไมมีความไวตอความ

แตกตางในแตละโรค ตัวอยางของเคร่ืองมือในกลุมน้ี ไดแก Functional Assessment of Cancer

Therapy-General Scale [FACT-G] (Cella et al., 1993), Quality of Well-Being Scale (Kaplan, Sieber, &

Ganiats, 1997), Medical Outcomes Study Form [SF-36] (Ware & Sherbourne, 1992), Sickness Impact

Profile (Bergner, Bobbitt, Carter, & Gilson, 1981) เปนตน

2. เคร่ืองมือประเมินคุณภาพชีวิตที่เฉพาะเจาะจงกับโรค ( disease-specific

instruments) เปนเคร่ืองมือที่ใชวัดคุณภาพชีวิตที่เฉพาะเจาะจงกับแตละโรค หรือเฉพาะกลุมโรคหรือ

กลุมอาการ ขอดี คือ มีความไวในการวัดความแตกตางหรือความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการรักษา

ที่ใหในแตละโรคได สวนขอดอยคือ ขอมูลที่ไดจากแตละเคร่ืองมือมีความแตกตางกัน ไมสามารถ

นํามาเปรียบเทียบกันได ตัวอยางของเคร่ืองมือในกลุมน้ี ไดแก The European Organization for

Research and Treatment of Cancer [EORTC] Quality of Life Questionnaire [QLQ-C30] (Aaronson

et al., 1993), Functional Assessment of Cancer Therapy Scale [FACT] module lung cancer (Cella et

al., 1993), Functional Living Index: Cancer [FLIC] (Schipper, Clinch, McMurray, & Levitt, 1984),

Quality of Life Index: Cancer (Ferrans & Power, 1985) เปนตน

จากการศึกษาเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตของผูปวยมะเร็งปอดในชวงทศวรรษที่ผานมา

พบวาเคร่ืองมือที่ใชในการประเมินคุณภาพชีวิตมีมากกวา 50 ชนิด ทั้งน้ีเน่ืองจากแนวคิดของ

คุณภาพชีวิตที่ยังไมชัดเจน จึงทําใหมีความพยายามในการประเมินคุณภาพชีวิตใหครอบคลุม

ในหลายมิติ ซึ่งแบบประเมินการทําหนาที่ในการรักษาโรคมะเร็งทั่วไป ( Functional Assessment of

Cancer Therapy-General [FACT-G]) เปนเคร่ืองมือหน่ึงที่นิยมใชในการประเมินคุณภาพชีวิตของ

ผูปวยมะเร็งปอด สรางและพัฒนาขึ้นโดยเซลลาและคณะ ( Cella et al., 1993) มีวัตถุประสงคเพื่อ

ประเมินคุณภาพชีวิตของผูปวยมะเร็งที่ไดรับการรักษา ปจจุบันนิยมใชในทางคลินิกอยางแพรหลาย

และแปลเปนภาษาตางๆ มากกวา 30 ภาษา เคร่ืองมือน้ีไดพัฒนาและปรับปรุงเปนจํานวน 4 คร้ัง

ดังน้ี

Page 49: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

56

แบบประเมิน FACT-G version 1 เร่ิมสรางในปคริสตศักราช 1987-1989 (Cella et al.,

1993) มีขอคําถาม 38 ขอ ครอบคลุมเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตในมิติของระดับความสามารถในการทํา

กิจกรรม ในการกําหนดขอยอยของแบบประเมินจากการสัมภาษณกึ่งโครงสราง ( semistructure

interview) ในผูปวยมะเร็งปอด มะเร็งเตานม และมะเร็งลําไสใหญและลําไสตรง รวม 45 ราย และจาก

ผูเชี่ยวชาญทางโรคมะเร็ง 15 ราย จากนั้นนําไปทดลองใชกับผูปวยมะเร็งปอด มะเร็งเตานม และมะเร็ง

ลําไสใหญและลําไสตรง ที่ไดรับเคมีบําบัดอีก 90 ราย ไดขอคําถามทั้งหมด 38 ขอ และคะแนนของ

ขอคําตอบเปนแบบลิเคิรท ( likert scale) 5 ระดับ จาก 0-4 คะแนน คะแนนรวมนํามาจัดกลุมได

3 ระดับ คือ คุณภาพชีวิตดีขึ้น คงที่ หรือเลวลง นําไปตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือโดยการนําไป

หาความเชื่อมั่นดวยการวิเคราะหรายขอ (item analysis) โดยนําไปทดสอบใชกับผูปวยมะเร็ง 545 ราย

ซึ่งเปนผูปวยมะเร็งปอด มะเร็งเตานม มะเร็งลําไสใหญและลําไสตรง มะเร็งเม็ดเลือดขาว มะเร็ง

ตอมนํ้าเหลือง มะเร็งศีรษะและคอ มะเร็งตอมลูกหมากและมะเร็งลําไส ที่แตกตางกันในสถานที่

ที่รับการรักษา จากนั้นทําการวิเคราะหรายขอ พบวามีขอคําถาม 10 ขอ ที่ไมเหมาะสม ซึ่งไดนํามา

ปรับปรุงในฉบับตอมา

แบบประเมิน FACT-G version 2 (Cella et al., 1993) ไดมีการพัฒนาขึ้นในชวงป

คริสตศักราช 1990-1993 โดยลดขอคําถามลงจากแบบประเมินฉบับแรกลงเหลือ 28 ขอ ครอบคลุม

คุณภาพชีวิต 5 มิติ คือ ความผาสุกดานรางกาย ( physical well-being) 7ขอ ความผาสุกดานสังคม

(social well-being) 7 ขอ ความผาสุกดานอารมณ (emotional well-being) 5 ขอ ความผาสุกดานการ

ปฏิบัติกิจกรรม (functional well-being) 7 ขอ และสัมพันธภาพกับแพทย (relationship with doctor)

2 ขอ การใหคะแนนของขอคําตอบเปนแบบลิเคิรท แบงเปน 5 ระดับ จาก 0-4 คะแนน และในแตละ

มิติของคุณภาพชีวิต จะใหผูปวยประเมินคุณภาพชีวิตโดยรวมของแตละมิติจากการรับรูของแตละ

บุคคล เปนระดับตัวเลขจาก 0 ไมมีผลกระทบตอคุณภาพชีวิตเลย จนถึง 10 มีผลกระทบตอ

คุณภาพชีวิตมากที่สุด คะแนนรวมทั้งหมด คะแนนสูงกวา หมายถึง มีคุณภาพชีวิตดีกวา

การตรวจสอบความตรงของแบบประเมิน FACT-G version 2 ไดนาํไปหาความตรง

เชิงโครงสราง (construct validity) ดวยวิธีการวิธีการวิเคราะหปจจัย ( factor analysis) จากการทดลอง

ใชกับผูปวยมะเร็ง 545 ราย พบวาสามารถแยกไดเปน 6 ปจจัย ซึ่งไดนํามาสรางเปนหัวขอยอย 5

หัวขอ ครอบคลุม 5 มิติของคุณภาพชีวิต จากนั้นนําแบบประเมินไปทดลองใชในผูปวยโรคมะเร็ง

466 ราย เพื่อทดสอบความสัมพันธระหวางปจจัย 2 ปจจัย พบวามีความสัมพันธในระดับสูง (r factor= .25)

และการเปรียบเทียบความแตกตางกับกลุมที่รู ( differentiating known group) ทดสอบโดยการนํา

แบบประเมินไปทดลองใชกับผูปวยโรคมะเร็ง จํานวน 545 ราย ซึ่งรวมทั้งโรคมะเร็งปอดที่มีความ

แตกตางกันในระยะของโรค ระดับความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมและสถานที่ที่รับบริการ

Page 50: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

57

ผลการทดสอบชี้ใหเห็นวา FACT-G version 2 เปนเคร่ืองมือที่มีความตรงเชิงโครงสราง โดยสามารถ

จําแนกผูปวยที่มีความแตกตางดานระยะของโรค ระดับความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรม และ

สถานที่ที่รับบริการได นอกจากนี้ยังนําแบบประเมินไปหาความตรงเหมือน ( convergent validity)

ดวยการทดลองใชในผูปวยมะเร็ง 316 ราย โดยเปรียบเทียบกับแบบประเมินคุณภาพชีวิต Functional

Living Index-Cancer [FLIC] พบวามีคาสัมประสิทธิ์ความสัมพันธของเพียรสัน (pearson correlation)

อยูในระดับสูง ( r=.79) บงชี้วาเคร่ืองมือนี้มีความตรงเหมือน และนําไปหาความตรงเชิงจําแนก

(discriminant validity) โดยทดลองใชแบบประเมินในผูปวยมะเร็ง 316 ราย เปรียบเทียบกับเคร่ืองมือ

ที่วัดตัวแปรแตกตางกัน คือแบบประเมินสังคมที่พึงปรารถนา ( M-CSDS) พบวามีคาสัมประสิทธิ์

ความสัมพันธของเพียรสันในระดับตํ่า (r=.22) บงชี้วาเคร่ืองมือนี้ มีความตรงเชิงจําแนก

สวนการหาความเชื่อมั่นของเคร่ืองมือโดยการหาคาสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค

(cronbach’s alpha coefficients) ไดคาครอนบาค แอลฟาของแบบสอบถามทั้งฉบับเทากับ .89 และ

ความสอดคลองภายในของแตละแตมิติของคุณภาพชีวิต อยูในชวง .65-.82 โดยมิติดานความสัมพันธ

กับแพทย มีคาความสอดคลองตํ่าสุด การหาความเชื่อมั่นโดยวิธีการทดสอบซ้ํา ( test-retest) โดยการ

นําแบบประเมินไปทดลองใชในผูปวยมะเร็ง จํานวน 70 ราย ไดคาสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ

(correlation coefficients) ของแบบประเมิน ทั้งฉบับเทากับ .92 และสําหรับคุณภาพชีวิตแตละมิติได

คาสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ มากกวา .82 และการตรวจสอบความไวตอการเปลี่ยนแปลง (sensitivity

to change) โดยการนําไปทดลองใชกับผูปวยมะเร็งปอด มะเร็งเตานม และมะเร็งลําไสใหญระยะ

ลกุลาม จํานวน 104 ราย ที่ไดรับเคมีบําบัด พบวาตัวบงชี้ทางคลินิกที่สําคัญ คือ ระดับความสามารถ

ในการปฏิบัติกิจกรรมของผูปวย (performance status rating [PSR])

แบบประเมิน FACT-G version 3 (Cella et al., 1995) ไดมีการพัฒนาขึ้นในชวงป

คริสตศักราช 1994-1995 โดยไดปรับปรุงใหมีความชัดเจนของขอคําถามเพิ่มขึ้น และเพิ่มขอคําถาม

ในมิติคุณภาพชีวิตดานอารมณ 1 ขอ รวมขอคําถามทั้งหมด 29 ขอยอย ครอบคลุมคุณภาพชีวิต 5 มิติ

คือ มิติความ ผาสุกดานรางกาย 7 ขอ ดานสังคมและครอบครัว 7 ขอ ดานการปฏิบัติกิจกรรม 7 ขอ

ดานอารมณ 6 ขอ และดานความสัมพันธกับแพทย 2 ขอ รูปแบบการใหคะแนนคําตอบยังคงเปน

แบบลิเคิรท 5 ระดับ จาก 0-4 คะแนน ชวงคะแนนต้ังแต 0-116 คะแนน โดยคะแนนสงูกวา หมายถงึ

มีคุณภาพชีวิตดีกวา แบบประเมิน FACT-G version 3 ไดทําการตรวจสอบความเชื่อมั่นของ

เคร่ืองมือโดยการหาความสอดคลองภายในดวยวิธีหาคาสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค โดยการ

นําไปทดลองใชในผูปวยมะเร็งปอด จํานวน 116 ราย ไดคาครอนบาค แอลฟาของแบบสอบถามทั้ง

ฉบับเทากับ .87 และตรวจสอบความไวตอการเปลี่ยนแปลง โดยใชระดับความสามารถในการ

Page 51: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

58

ปฏิบัติกิจกรรมของผูปวยเปนตัวบงชี้การเปลี่ยนแปลงทางคลินิกที่เกี่ยวของกับคุณภาพชีวิต 3 ระดับ

คือ ดีขึ้น คงที่ หรือเลวลง พบวาเคร่ืองมือน้ีมีความไวตอการเปลี่ยนแปลงทางคลินิกของผูปวย

แบบประเมิน FACT-G version 4 ไดมีการพัฒนาขึ้นในชวงปคริสตศักราช 1997

โดยมีการปรับลดขอคําถามลงเหลือ 27 ขอ และตัดมิติของคุณภาพชีวิตดานความสัมพันธกับแพทย

ออก ทําใหมีรูปแบบงายขึ้น รวมทั้งมีการปรับการใชภาษาเพื่อใหมีความชัดเจนมากขึ้น โดยแบงมิติ

คุณภาพชีวิตออกเปน 4 มิติ ไดแก 1) มิติความผาสุกดานรางกาย ( physical well-being [PWB])

2) มิติความผาสุกดานสังคมและครอบครัว (social/family well-being [SWB]) 3) มิติความผาสุกดาน

อารมณ (emotional well-being [EWB]) และ 4) มิติความผาสุกดานปฏิบัติกิจกรรม ( functional well-

being [FWB]) (Cella cited in Victorson, Barocas, Song, & Cella, 2008) ลักษณะของเคร่ืองมือ เปน

ขอคําถามที่ใหผูปวยตอบเอง โดยมีกรอบเวลาการประเมินในชวง 1 สัปดาหที่ผานมา ประกอบดวย

ขอคําถาม 27 ขอ ครอบคลุมมิติคุณภาพชีวิต 4 ดาน คือ ดานรางกาย 7 ขอ ดานสังคมและครอบครัว

7 ขอ ดานอารมณ 6 ขอ และดานการปฏิบัติกิจกรรม 7 ขอ การแปลผล คะแนนคําตอบแตละขอ

จะเปนแบบลิเคิรท 5 ระดับ จาก 0 คะแนน หมายถึง ไมมีเลย ถึง 4 คะแนน หมายถึง มีมาก จากนั้น

มาคาํนวณคะแนนตามเกณฑทีก่าํหนด คะแนนทีเ่ปนไปไดอยูในชวง 0-108 คะแนน โดยคะแนน

สูงกวา หมายถึง คุณภาพชีวิตดีกวา เคร่ืองมือน้ีไดนําไปหาความเชื่อมั่นของดวยวิธีหาคาสัมประสิทธิ์

แอลฟาของครอนบาค ไดคาครอนบาค แอลฟาของแบบประเมินทั้งฉบับเทากับ .87

สําหรับในประเทศไทย แบบประเมินคุณภาพชีวิต FACT-G version 4 ไดนํามาแปล

เปนภาษาไทย โดยวรชัย รัตนธราธร และคณะ ( Ratanatharathorn et al., 2001) และนําไปทดสอบ

กับผูปวยโรคมะเร็ง 364 ราย เพื่อหาคาความเชื่อมั่นดวยวิธีหาคาสัมประสิทธแอลฟา และการ

ทดสอบซ้ําดวยการหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ ( spearman rank-correlation coefficients) ทดสอบ

ความเที่ยงตรงเชิงโครงสรางดวยวิธีการวิเคราะหปจจัย และการเปรียบเทียบกับกลุมที่รู พบวาคา

ความเชื่อมั่นของคุณภาพชีวิตแตละมิติ และทั้งฉบับอยูในระดับนาพอใจ โดยคาสัมประสิทธแอลฟา

เทากับ .75-.90 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบสเปยรแมนทั้งฉบับเทากับ .80 การทดสอบความ

เที่ยงตรงเชิงโครงสรางสามารถวัดตัวแปรทางคลินิกไดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ นอกจากนี้การ

วิเคราะหหาคาน้ําหนักองคประกอบ ( factor loading) พบวาขอคําถามสวนใหญไดคาคะแนนการจัด

กลุมอยูในเกณฑยอมรับได และสอดคลองตรงตามรายดานของแบบวัดคุณภาพชีวิต FACT-G

ตนฉบับภาษาอังกฤษ (Ratanatharathorn et al., 2001)

จากการทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของพบวาแบบประเมินคุณภาพชีวิต

FACT-G ถูกนํามาใชในการประเมินคุณภาพชีวิตของผูปวยทั้งในประเทศไทยและในตางประเทศ

โดยในประเทศไทย สมบูรณ เทียนทอง และคณะ (Thienthong et al., 2006) ไดศึกษาอาการปวดกับ

Page 52: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

59

คุณภาพชีวิตของผูปวยโรคมะเร็ง จํานวน 520 ราย โดยใชแบบประเมินคุณภาพชีวิต FACT-G version

4 ฉบับแปลเปนภาษาไทย โดยวรชัย รัตนธราธร และคณะ (Ratanatharathorn et al., 2001) ไดคาความ

เชื่อมั่นสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคของแบบประเมินทั้งฉบับ .86 และแตละมิติของคุณภาพ

ชีวิตอยูในชวง .70-.82 และการศึกษาของ นุจรี ประทีปะวณิช , อนัฆพงษ พันธมณี , เอ้ือมแข

สขุประเสริฐ , สุณี เลิศสินอุดม , และธิติ วีระปรียากูร ( Pratheepawanit, Phunmanee, Sookprasert,

Lertsinudom, & Weerapreeyakul, 2002) ซึ่งไดนําแบบประเมิน FACT-G version 4 ฉบับ แปลเปน

ภาษาไทยนํามาดัดแปลงเปนแบบสัมภาษณผูปวยไทยโรคมะเร็ง จํานวน 54 ราย ไดคาความเชื่อมั่น

สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคของแบบประเมินทั้งฉบับเทากับ .82 สวนในตางประเทศ

มีการศึกษาของมัลลิน และคณะ (Muullin et al., 2000) ซึ่งนําแบบสอบถาม FACT-G version 4 มาใช

ประเมินคุณภาพชีวิตของผูปวยโรคมะเร็ง จํานวน 167 ราย โดยแปลเปนภาษาของแอฟริกาใต (South

African) 3 ภาษา คือภาษาพีดิ (Pedi) ภาษาซวานา (Tswana) และภาษาซ-ูลู (Zulu) ไดคาความเชื่อมั่น

สัมประสิทธิแ์อลฟาของครอนบาคของแบบประเมินทั้งฉบับ เทากับ .92, .90 และ .84 ตามลําดับ

นอกจากนี้ในประเทศฝร่ังเศสไดมีการศึกษาความตรงและความเชื่อมั่นของแบบประเมินคุณภาพชีวิต

FACT-G version 4 มีกลุมตัวอยางเปนผูปวยโรคมะเร็งที่รับการรักษาดวยเคมีบําบัดและการฉายแสง

493 ราย ไดคาความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคของแบบประเมินทั้งฉบับเทากับ .90

และในแตละมิติอยูในชวง .77-.86 และเมื่อทดสอบความตรงเชิงโครงสรางโดยวิธีการเปรียบเทียบกับ

กลุมที่รู พบวา FACT-G สามารถจําแนกความแตกตางของคุณภาพชีวิตของผูปวยที่มีระยะโรคและ

การรักษาที่แตกตางกันไดอยางมีนัยสําคัญ (p< .05) (Costet, Lapierre, Benhamou, & Le Gales, 2005)

ในการศึกษาคร้ังน้ีผูวิจัยไดเลือกใชแบบประเมินคุณภาพชีวิต FACT-G version 4 ฉบับ

แปลเปนภาษาไทยของ วรชัย รัตนธราธร และคณะ ( Ratanatharathorn et al., 2001) เน่ืองจากเปน

เคร่ืองมือที่ใชสําหรับวัดคุณภาพชีวิตของผูปวยโรคมะเร็งที่ไดรับการรักษา ซึ่งไดรับการแปลและ

ตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมืออยางเปนระบบพบวามีความตรงและความเชื่อมั่นของเคร่ืองมืออยู

ในเกณฑดี

กลาวโดยสรุป ผลกระทบที่เกิดกับผูปวยมะเร็งปอดที่ดีรับเคมีบําบัดสงผลใหความ

ตองการการดูแลตนเองทั้งหมดของผูปวยเพิ่มขึ้นในขณะที่ความสามารถในการดูแลตนเองลดลง

ผูปวยจึงเกิดความพรองในการดูแลตนเองและจําเปนตองอาศัยความสามารถทางการพยาบาลในการ

จัดระบบการพยาบาลที่เหมาะสมในการดูแลเพื่อชวยพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองของ

ผูปวยใหเพียงพอที่จะตอบสนองตอความตองการการดูแลตนเองทั้งหมดได ในการวิจัยคร้ังน้ีเปนการ

ตอยอดจากผลงานวิจัยที่พบวาการสนับสนุนและใหความรูชวยใหผูปวยโรคมะเร็งที่ไดรับเคมีบําบัด

มีการดูแลตนเองดีขึ้นและอาจสงเสริมใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นดวย โดยผูวิจัยจะบูรณาการกิจกรรม

Page 53: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

60

การพยาบาลระบบสนับสนุนและใหความรูซึ่งประกอบดวย การสอน การชี้แนะ การสนับสนุน และ

การสรางสิ่งแวดลอมที่ชวยสงเสริมและพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเอง ( Orem, 2001)

ในรูปแบบของการสนับสนุนและใหความรูขณะผูปวยอยูในโรงพยาบาลและการติดตามสนับสนุน

อยางตอเน่ืองทางโทรศัพทเมื่อผูปวยกลับไปอยูที่บาน ซึ่งโปรแกรมน้ีจะมีระยะเวลา 7 สัปดาห ผูวิจัย

คาดวาอาจชวยใหผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัดไดพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเอง ทําให

มีการดูแลตนเองที่ถูกตองและนําไปสูการมีคุณภาพชีวิตที่ดี

กรอบแนวคิดในการวิจัย

การวิจัยคร้ังนี้เปนการศึกษาผลของโปรแกรมการสนับสนุนและใหความรูตอการดูแล

ตนเองและคุณภาพชีวิตในผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัด ใชกรอบแนวคิดการดูแลตนเองและ

ระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและใหความรูของโอเร็ม (Orem, 2001) โดยผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับ

เคมีบําบัดสวนใหญเปนผูที่สามารถคิด ตัดสินใจและกระทําการดูแลตนเองได แตผลกระทบจาก

โรคและการรักษาทําใหความสามารถในการดูแลตนเองของผูปวยลดลงและมีความตองการการ

ดูแลตนเองที่จําเปนเพิ่มขึ้นเพื่อตอบสนองตอความตองการการดูแลตนเองทั้งหมดของผูปวยมะเร็ง

ปอดที่ไดรับเคมีบําบัด ประกอบดวย 1) การดูแลตนเองใหมีสุขภาพแข็งแรง 2) การดูแลตนเองเพือ่

ปองกันและบรรเทาอาการขางเคียงจากเคมีบําบัด 3) การดูแลตนเองเพื่อใหจิตใจและอารมณแจมใส

และ 4) การดูแลตนเองตามแผนการรักษาของแพทย โปรแกรมการสนับสนุนและใหความรูเปน

กิจกรรมที่สรางจากระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและใหความรูของโอเร็ม มีกิจกรรมประกอบดวย

การสนับสนุนและใหความรูขณะผูปวยอยูโรงพยาบาลรวมกับการติดตามสนับสนุนทางโทรศัพท

ขณะผูปวยอยูที่บาน โดยใชกลยุทธคือ การสอนเกี่ยวกับวิธีการดูแลตนเองทั้งหมดของผูปวย

มะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัดใน 4 ดาน ที่ชวยพัฒนาความรูและทักษะที่จําเปนในการดูแลตนเอง

ของผูปวย รวมทั้งการชี้แนะแนวทางที่ชวยใหผูปวยสามารถตัดสินใจเลือกวิธีการดูแลตนเองได

อยางเหมาะสม รวมกับการสนับสนุนทั้งดานรางกายและจิตใจ โดยการมอบคูมือการดูแลตนเอง

การใชทาทาง การสัมผัส และคําพูดที่กระตุนใหมีกําลังใจ และความมั่นใจในการดูแลตนเองอยาง

ตอเน่ือง และการสรางสิ่งแวดลอมโดยการสรางสัมพันธภาพ เปดโอกาสใหพูดคุยแลกเปลี่ยนความ

คิดเห็น ชวยประสานงานระหวางผูปวย ผูดูแล กับทีมสุขภาพเพื่อเพิ่มเติมแหลงประโยชน ซึ่งจะชวย

สงเสริมการเรียนรูและเพิ่มแรงจูงใจในการริเร่ิมและคงไวซึ่งการดูแลตนเอง ดังน้ัน เมื่อผูปวย

มะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัดไดรับโปรแกรมการสนับสนุนและใหความรู ที่ชวยพัฒนา

ความสามารถในการดูแลตนเองใหเพียงพอที่จะตอบสนองตอความตองการการดูแลตนเองทั้งหมด

Page 54: 1. โรคมะเร็งปอดarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2553/nuad21153kn_ch2.pdf · 2012. 8. 16. · มะเร็งปอดชนิดเซลล เล็ก พบได

61

ใน 4 ดาน นาจะสงผลใหผูปวยมีการดูแลตนเองที่ดีขึ้น นําไปสูการรับรูความผาสุกในชีวิตที่เปนอยู

ทั้งทางดานรางกาย ดานอารมณ ดานสังคม และดานการปฏิบัติกิจกรรม ซึ่งหมายถึงการมีคุณภาพ

ชีวิตที่ดีขึ้นของผูปวยมะเร็งปอดที่ไดรับเคมีบําบัด