1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั...

57
บทนํา ความทั วไปเก ยวก บกฎหมาย ระหว างประเทศ ผศ .ดร .อุษณีย์ เอมศิรานันท์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 1

Upload: others

Post on 30-Oct-2019

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

บทนาํความทัว่ไปเกี่ยวกบักฎหมาย

ระหวา่งประเทศ

ผศ.ดร .อุษณีย์ เอมศริานันท์

คณะนิตศิาสตร์ มหาวทิยาลัยเช ียงใหม่

1

Page 2: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

I.ความสมัพนัธ์ระหวา่งประเทศและกฎหมายระหวา่งประเทศ

2

Page 3: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

ยุคกลาง (Middle Age)•ประเทศในยโุรปแยกเป็นแคว้นเลก็แคว้นน้อย ระบบสมบรูณาญาสทิธิราชย์ ระบบศกัดินา

• รัฐในยโุรปอยูภ่ายใต้คริสตจกัรนิกายโรมนัคาทอลกิ

3

Page 4: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

ยุคแห่งรัฐชาติ (NATION-STATES)• สงคราม 30 ปี (1618-1648) • Peace of Westphalia 1648 และการเกิดขึน้ของรัฐชาต ิ

• ความจําเป็นที่จะต้องมีกฎเกณฑ์แหง่การปฏิบตัิตนในสงัคมระหวา่งประเทศที่ไมม่ีผู้ นําที่ทรงอํานาจหรือศาสนาที่ยิ่งใหญ่เพียงศาสนาเดียว

• จดุเริ่มต้นของกฎหมายระหวา่งประเทศยคุเดิม ซึง่เป็นกฎเกณฑ์แหง่กฎหมายทัง้ปวงที่ใช้บงัคบัโดยตรงตอ่ “รัฐ”

• แนวคดิเรื่องอํานาจอธิปไตย (sovereignty) และ ความเทา่เทียมกนัของรัฐ (equality of states)

4

Page 5: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

แนวปฏบิัตขิองประเทศตะวนัตกต่อประเทศอื่นๆ

สนธิสัญญาเกี่ยวกับสิทธ ิสภาพนอกอาณาเขต

อาณาจกัรออตโตมนั จีน ญี่ปุ่ น อียิปต์ อิรัก โมรอคโค ซีเรีย เปอร์เซีย ไทย

• ความไมเ่ทา่เทียม ไมไ่ด้ตัง้อยู่บนหลกัการตา่งตอบแทน

• การจํากดั ก้าวลว่งในอํานาจอธิปไตยของรัฐอื่น

การล่าอาณานิคม

ทวีปแอฟริกา

ทวีปเอเชีย

• IL ในยคุนัน้เปิดโอกาสให้รัฐสามารถมีอํานาจอธิปไตยเหนือรัฐอื่น

• สงคราม/สนธิสญัญาสนัตภิาพ

5

Page 6: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

หลังสงครามโลกครั้งที่ 1

•การเกดิข ึน้ของสหภาพโซเวียต ค.ศ. 1917

อดุมการณ์ทางการเมือง สงัคม เศรษฐกิจตา่งไปจากประเทศมหาอํานาจเดิม

6

Page 7: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

•ความพยายามใช้กฎหมายเป็นเครื่องมือรักษาสันตภิาพและการมีบทบาทขององค์การระหว่างประเทศ•องค์การสนันิบาตชาติ (League of Nations) ค.ศ. 1919

•ศาลยตุิธรรมระหวา่งประเทศ (Permanent Court of International Justice-PCIJ) ค.ศ. 1921

•แตไ่มส่ามารถปอ้งกนัการเกิดสงครามโลกครัง้ที่ 2 ได้

7

Page 8: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

หลังสงครามโลกครัง้ท ี่ 2

• รัฐมหาอาํนาจฝ่ายสัมพนัธมติรชนะสงครามได้จดัตัง้ระบบกฎหมายใหม่

• ผลกระทบรุนแรงระดบัโลกของ WWII → ความสาํคญัของการรักษาสนัติภาพ

• มีการก่อตัง้ United Nations (UN)และศาลยตุิธรรมระหวา่งประเทศ (International Court of Justice -ICJ) ค.ศ. 1946

8

Page 9: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

กฎบตัรสหประชาชาติ

ข้อ ๑ ความมุง่ประสงค์ของสหประชาชาตคิือ

๑. เพื่อธํารงไว้ซึง่สนัตภิาพและความมัน่คงระหวา่งประเทศ และเพื่อจดุหมายปลายทางนัน้ จะได้ดําเนินมาตรการร่วมกนัอนัมีผลจริงจงัเพื่อการปอ้งกนัและการขจดัปัดเป่าการคกุคามตอ่สนัตภิาพ และเพื่อปราบปรามการกระทําการรุกรานหรือการละเมิดอื่น ๆ ตอ่สนัตภิาพ......

9

Page 10: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

•สงครามเยน็ (1950-1980)

การแบง่ขัว้ทางการเมืองและเศรษฐกิจ

•สงัคมนิยมและเสรีนิยม• ซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้

10

Page 11: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

• หลกัการทรูแมน ให้การสนบัสนนุประเทศในยโุรปที่ถกูแทรกแซงโดยคอมมิวนิสต์

• แผนเศรษฐกิจมาร์แชล• องค์การ NATO (North

Atlantic Treaty Orgnization)

สหภาพโซเวียตและประเทศคอมมิวนิสต์ในยโุรปตะวนัออก

• จดัตัง้กลุม่ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ โคมีคอน Comecon• จดัตัง้กลุม่พนัธมิตรทางทหาร กตกิาสญัญาวอร์ซอ Warsaw Pact

11

Page 12: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

•การล่มสลายของจกัรวรรดอิาณานิคม• อิทธิพลภายนอก : สงคราม USSR USA• อิทธิพลภายใน : ภาระทางทหาร รัฐสวสัดกิาร > ประโยชน์

• มตสิมชัชาใหญ่ UN วา่ด้วยการให้เอกราชแก่ประเทศอาณานิคมและกลุม่ชน ค.ศ. 1960 (Declaration on the Granting of Independence to Colonial Countries and Peoples)• สทิธิในการเลือกหนทางของตนเองของกลุม่ชน (Right to

Self - Determination)• การเกิดขึน้ของประเทศโลกที่สาม

12

Page 13: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

•การสิน้สดุของสงครามเย็น• ค.ศ. 1989-1991 การทําลายกําแพงเบอร์ลนิและการลม่สลายของสหภาพโซเวียต • การเกิดขึน้ของกลุม่ประเทศเศรษฐกิจอยูใ่นระยะเปลีย่นผา่นในยโุรปตะวนัออก (countries with economies in transition)

โลกยุคโลกาภวิัฒน์หลังสงครามเยน็

13

Page 14: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

II.ลักษณะสําคญัของสังคมระหว่างประเทศและ

ระบบกฎหมายระหว่างประเทศ

14

Page 15: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

15

Page 16: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

สังคมภายในรัฐ

• บคุคลเทา่เทียมกนัตามกฎหมาย แตพ่ลเมืองของรัฐไมไ่ด้มีอํานาจสงูสดุ

• รัฐผกูขาดการใช้อํานาจ• สงัคมแบบรวมศนูย์อํานาจ ความสมัพนัธ์ทางอํานาจในแนวตัง้

สังคมระหว่างประเทศ

• รัฐที่มีความเทา่เทียมกนัและมีอํานาจอธิปไตย

• ไมม่ีองค์กร/รัฐบาลที่มีอํานาจเหนือกวา่รัฐ

• สงัคมแบบกระจายอํานาจ• ความสมัพนัธ์ทางอํานาจในแนวราบระหวา่งสมาชิกของสงัคมระหวา่งประเทศ

16

Page 17: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

ลกัษณะเฉพาะของกฎหมายระหวา่งประเทศ

•การสร้างกฎหมายระหวา่งประเทศ•การบงัคบัใช้กฎเกณฑ์•ลกัษณะของกฎเกณฑ์

17

Page 18: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

1. การสร้างกฎหมายระหวา่งประเทศ

• ไมม่ีองค์การนิตบิญัญตัเิหนือรัฐที่มีอํานาจอธิปไตยสงูสดุทําหน้าที่ออกกฎหมายบงัคบัแก่ทกุรัฐในโลก

• อํานาจอธิปไตยเป็นของรัฐ อํานาจในการก่อให้เกิดกฎหมายระหวา่งประเทศจงึอยูท่ี่รัฐ

• การให้ความยินยอมอยา่งเสรีของรัฐ ปัจจยัและเงื่อนไขหลกัของความสมบรูณ์ของกฎเกณฑ์และการใช้ยนักบัรัฐ

18

Page 19: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

ระบบกฎหมายภายใน

• องค์กรฝ่ายบริหารควบคมุการปฏิบตัติามกฎเกณฑ์ที่รัฏฐาธิปัตย์กําหนด

• ศาลภายในมีอํานาจตดัสนิคดีหลงัจากที่คูก่รณีฝ่ายหนึง่ฟอ้งคดี เอกชนจะปฏิเสธไม่ขึน้ศาลไมไ่ด้

ระบบกฎหมายระหว่างประเทศ

• รัฐเป็นทัง้ผู้สร้างและผู้บงัคบัใช้กฎหมาย

• ศาลระหวา่งประเทศมีอํานาจตดัสนิแตเ่พียงคดีที่คูก่รณีทัง้ 2ฝ่ายยินยอมให้ศาลตดัสนิข้อพิพาทระหวา่งตน โดยอาจให้ความยินยอมไว้ลว่งหน้า

• เพราะไมม่ีองค์กรอื่นที่มีอํานาจเหนือกวา่บงัคบัให้รัฐปฏิบตัติาม

2. การบงัคบัใชก้ฎหมาย19

Page 20: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

การบงัคับใช้กฎเกณฑ์เป็นไปตาม “หลักต่างตอบแทน” (reciprocity)

1. การบงัคับโดยรัฐทาํตามลาํพงั อัตตานุเคราะห์ (self help)• มาตรการตอบโต้ (Retorsion) การตอบโต้การกระทําที่ชอบด้วยกฎหมายแตไ่มเ่ป็นมิตรของรัฐอื่นด้วยการกระทําที่ชอบด้วยกฎหมายแตไ่มเ่ป็นมิตรเชน่กนั โดยการก่อความไมส่ะดวกตา่งๆ เชน่ การประท้วง การประณาม การตดัความสมัพนัธ์ทางการทตู การห้ามคนสญัชาตขิองรัฐที่ทําผิดเข้าเมือง

• มาตรการตอบแทน (Reprisal) การตอบโต้การกระทําที่มิชอบด้วยกฎหมายระหวา่งประเทศของรัฐอื่นด้วยการกระทําที่มิชอบด้วยกฎหมายระหวา่งประเทศ เชน่ ยดึกิจการหรือทรัพย์สนิของคนชาติ

20

Page 21: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

2. การร่วมกันบงัคับโดยหลายรัฐ

3. การบงัคับโดยผ่านทางสถาบนัหรือองค์การระหว่างประเทศ

เชน่ การใช้กําลงัร่วมกนัภายใต้กรอบของ UN หมวด 7 มาตรา 42 ของกฎบตัรสหประชาชาติ

21

Page 22: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

3. ลกัษณะของกฎเกณฑ์•การปราศจากลาํดบัศักดิ์ของกฎเกณฑ์ของกฎหมายระหว่างประเทศ• กฎเกณฑ์ทกุกฎเกณฑ์มีลําดบัศกัดิเ์สมอกนั ไมข่ึน้อยูก่บัที่มา เรื่อง หรือ จํานวนของรัฐที่เกี่ยวข้อง • ต้องใช้หลกัเรื่องเจตนารมณ์ลา่สดุของรัฐและหลกักฎหมายพิเศษยกเว้นกฎหมายทัว่ไป พิจารณาเป็นกรณีๆไป

22

Page 23: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

ข้อยกเว้นจากหลักการไม่มีลาํดบัศักดิ์

• Jus cogens• กฎหมายที่มีความสาํคญัสงูสดุที่กฎหมายอื่นจะขดัหรือแย้งมิได้ มิฉะนัน้จะตกเป็นโมฆะไป• การนําหลกัเรื่องความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอนัดีของประชาชนมาปรับใช้

23

Page 24: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

ข้อยกเว้นจากการไม่มีลาํดบัศักดิ์

• Soft lawการที่ข้อมติบางข้อของสหประชาชาติมีผลใช้บงัคบัในระดบัหนึง่ ซึง่ยงัไมถ่งึขัน้ในฐานะที่เป็นกฎหมาย เชน่ • ปฏิญญาสากลสทิธิมนษุยชน 1948

• ปฏิญญาวา่ด้วยการให้เอกราชแก่ประเทศและประชาชนที่ตกเป็นอาณานิคม 1970

24

Page 25: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

กฎหมายสนธิสญัญา

25

Page 26: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

อนสุญัญาเวียนนาวา่ด้วย

กฎหมายสนธิสญัญา ค.ศ.1969

Vienna Conv. on the Law of Treaties of 1969 (VCLT)มีผลใช้บงัคบั 27 มกราคม ค.ศ.1980

26

Page 27: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

1. ขอบเขตของอนุสัญญาเวยีนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา ค.ศ.1969

“สนธิสญัญา หมายถงึ ความตกลงระหวา่งประเทศซึง่ได้ทําขึน้ระหวา่งรัฐ เป็นลายลกัษณ์อกัษร และอยู่ภายใต้บงัคบักฎหมายระหวา่งประเทศ ทัง้นีไ้มว่า่จะปรากฏในตราสารฉบบัเดียว หรือสองฉบบัหรือตราสารที่เกี่ยวข้องกนัมากกวา่นัน้ขึน้ไป และจะมีชื่อเรียกเฉพาะวา่อยา่งไรก็ตาม”

27

Page 28: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

อาจมีช ื่อเรียกได้หลายอย่าง

อนุสัญญา (Convention)

สนธิสัญญา (Treaty)

ความตกลง (Agreement)

กตกิาระหว่างประเทศ (International Covenant)

กฎบัตร (Char ter )

พธิีสาร (Protocol)

บันทึกแลกเปลี่ยน(Exchange of Notes)

ธรรมนูญ (Statute)

กรรมสาร (Act)

28

Page 29: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

อยู่ในขอบเขตของอนุสัญญาเวยีนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา ค.ศ.1969 หรือไม่

•ข้อตกลงเขตการค้าเสรี (FTA) ระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลออสเตรเลีย

•ข้อตกลงเขตการค้าเสรี (FTA) ระหว่างรัฐบาลไทยกับสหภาพยุโรป

•สัญญาสัมปทานวางระบบนํา้ประปาระหว่างรัฐบาลอนิเดยีกับบริษัทกล้วยแขกซึ่งมีสัญชาตไิทย

•ความตกลงด้วยวาจาระหว่างรัฐบาลไทยและรัฐบาลพม่าในการร่วมมือกนัปราบปรามยาเสพย์ตดิ

29

Page 30: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

2. การทําสนธิสัญญา• ไม่มีแบบหรือวธิ ีการตายตวั• อาํนาจในการทาํสนธิสัญญาขึน้อยู่ก ับกฎหมายภายในของรัฐ• บุคคลผู้ทาํสนธ ิสัญญาต้องมี “อาํนาจเตม็” (Full

Powers) ซ ึ่งเป็นเอกสารท ี่แสดงว่าบุคคลนัน้เป็นผู้แทนของรัฐในการเจรจา รับ หรือรับรองความถูกต้องของตวับทในสนธิสัญญาหรือให้ความยนิยอมที่จะผูกพนัตามสนธิสัญญา

30

Page 31: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

บุคคลผู้ไม่ต้องแสดงเอกสารการมอบอํานาจเตม็• ประมุขแห่งรัฐ หวัหน้ารัฐบาล และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ• หวัหน้าคณะผู้แทนทางการทตู ในกรณีการรับตัวบทสนธิสัญญาระหว่างรัฐผู้ ส่งกับรัฐผู้ร ับ• ผู้แทนซึ่งได้รับแต่งตัง้จากรัฐของตนเพ ื่อเข้าร่วมประชุมระหว่างประเทศ หรือท ี่ได้รับการแต่งตัง้ไปยังองค์การระหว่างประเทศ หรือองค์กรขององค์การระหว่างประเทศนัน้ เพ ื่อความมุ่งประสงค์ในการยอมรับตัวบทของสนธิสัญญาในการประชุมระหว่างประเทศ หรือในองค์การระหว่างประเทศหรือในองค์กรขององค์การระหว่างประเทศนัน้

31

Page 32: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

2.1 การเจรจา (NEGOTIATION)

•ฝ่ายบริหารเป็นผู้ เจรจา

•การยกร่างอนุสัญญาภายใต้องค์การระหว่างประเทศ • rapporteur spécial จดัทาํร่างข้อบท

•คณะกรรมการ (working group)

32

Page 33: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

2.2 การรับ (ADOPTION) และการรับรองความถูกต้องของตวับท (AUTHENTICATION)

•การรับตวับทแหง่สนธิสญัญาต้องได้รับความยินยอมจากรัฐทัง้หมดที่เข้าร่วมในการจดัทําสนธิสญัญา

•ในการประชมุระหวา่งประเทศให้กระทําโดยคะแนนเสียง 2 ใน 3 ของรัฐที่เข้าประชมุและออกเสียงลงมติ เว้นแตร่ัฐจะตกลงกนัเป็นอยา่งอื่น

•เป็นการแสดงวา่ข้อความหรือเนือ้หาของร่างสนธิสญัญาถกูต้องเป็นที่ยตุิและไมอ่าจแก้ไขได้อีกตอ่ไปแล้ว แตย่งัไมก่่อให้เกิดพนัธกรณีใดๆ

33

Page 34: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

2.3 การให้ความยนิยอมที่จะผูกพนัตามสนธิสัญญา

(CONSENT TO BE BOUND BY A TREATY)

1. การลงนาม (consent by Signature) 2. การแลกเปลี่ยนตราสารท ี่ก่อให้เกดิสนธ ิสัญญา

(exchange of instruments constituting a treaty )3. การให้สัตยาบนั (ratification) 4. การยอมรับ (acceptance) หรือ การให้ความ

เหน็ชอบ (approval)5. การภาคยานุวัต ิ (accession)

34

Page 35: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

•การลงนาม ไมต่้องมีการให้สตัยาบนั การยอมรับ หรือ การให้ความเหน็ชอบอีกครัง้หนึง่

•สว่นตราสารการให้สตัยาบนั การยอมรับ การให้ความเหน็ชอบ หรือการภาคยานวุตัิ จะมีผลเป็นการให้ความยินยอมสมบรูณ์ก็ตอ่เมื่อ• มีการแลกเปลีย่นตราสารดงักลา่วระหวา่งรัฐภาคีหรือ•ได้สง่มอบให้แก่บคุคลผู้ มีหน้าที่ดแูลรักษาสนธิสญัญา

35

Page 36: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

การตั้งข้อสงวน (RESERVATIONS)

มาตรา 2 (1) (d)

“ข้อสงวน” คือ คําแถลงฝ่ายเดียว ไมว่า่จะเรียกชื่ออยา่งใดก็ตาม ซึง่กระทําโดยรัฐเมื่อลงนาม ให้สตัยาบนั ยอมรับ รับรอง เหน็ชอบหรือเข้าภาคยานวุตัิสนธิสญัญา โดยที่รัฐประสงค์ที่จะยกเว้นหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงผลในทางกฎหมายของข้อบทบางข้อแหง่สนธิสญัญาในการใช้บงัคบัข้อบทเหลา่นัน้แก่ตน

36

Page 37: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

•ข้อสงวน•เพื่อจะไมถ่กูผกูพนัโดยบทบญัญตัิใดบทบญัญตัิหนึง่ของสนธิสญัญา

•เพื่อตีความบทบญัญตัิใดบทบญัญตัิหนึง่ในแบบหนึง่

37

Page 38: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

ข้อยกเว้นในการตั้งข้อสงวน

มาตรา 19

ก) เมื่อสนธิสญัญาหา้มไม่ใหต้ั้งขอ้สงวนนั้น

ข) เมื่อสนธิสัญญากาํหนดเฉพาะเจาะจงว่าตั้งขอ้สงวน

ใดได้บ้าง และขอ้สงวนที่จะตั้ งไม่จัดอยู่ในจาํพวก

ของขอ้สงวนที่วา่นี้

ค) เมื่อขอ้สงวนขดักบัวตัถุประสงค์และความมุ่งหมาย

ของสนธิสญัญา

38

Page 39: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

การยอมรับและการคดัค้านข้อสงวน

•มาตรา 20 (1) สนธิสญัญาอนญุาตให้มีการตัง้ข้อสงวนไว้ชดัเจน

=> ตัง้ได้ทนัที โดยไมต่้องมีการสนองรับจากภาคีอื่นๆ

•มาตรา 20 (2) ในกรณีที่มีรัฐร่วมเจรจาไมม่าก และการบงัคบัใช้สนธิสญัญาโดยสมบรูณ์เป็นเงื่อนไขอนัสําคญัในการยอมรับข้อผกูพนัของแตล่ะรัฐ

=> การตัง้ข้อสงวนต้องได้รับการยอมรับโดยรัฐภาคีทัง้หมด

39

Page 40: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

การยอมรับและการคดัค้านข้อสงวน

•มาตรา 20 (5) หากไมม่ีการคดัค้านภายใน 12 เดือน หลงัจากได้รับทราบเกี่ยวกบัการตัง้ข้อสงวน

=> ให้ถือวา่รัฐภาคีอื่นยอมรับการตัง้ข้อสงวนนัน้

40

Page 41: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

ผลของการตั้ง การยอมรับและการคดัค้านข้อสงวน

มาตรา 21 (1) ข้อสงวนจะมีผลเป็นการปรับเปลี่ยนข้อผกูพนัภายใต้สนธิสญัญาระหวา่งรัฐภาคีที่ตัง้ข้อสงวนกบัรัฐภาคีที่ยอมรับข้อสงวน ตามขอบเขตที่กําหนดในข้อสงวนนัน้

มาตรา 21 (3) ในกรณีที่รัฐภาคีคัดค้านข้อสงวนแต่ไม่คดัค้านการมีผลใช้บงัคบัของสนธิสญัญาระหว่างรัฐภาคีที่ตัง้ข้อสงวนกบัตน ข้อบทเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวเนื่องกบัข้อสงวนไม่มีผลใช้บงัคบัในความสมัพนัธ์ระหว่างรัฐภาคีทัง้สองนัน้

41

Page 42: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

ความสัมพนัธ์ระหว่างรัฐที่ตั้งข้อสงวน

กับรัฐที่ยอมรับข้อสงวน และกับรัฐที่คดัค้าน

•A ตัง้ข้อสงวน ตอนให้สตัยาบนั

•B สนองรับข้อสงวน

•C คดัค้านข้อสงวน แตไ่มป่ฏิเสธความสมัพนัธ์ภายใต้สนธิสญัญากบั A

42

Page 43: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

ความสัมพนัธ์ระหว่างรัฐทีต่ั้งข้อสงวนกับรัฐทีย่อมรับข้อสงวน

การไม่ใช้บงัคับบทบญัญัติ

รัฐท ี่ต ัง้ข้อสงวน (A) สามารถไม่ใช้บงัคับบทบญัญัตดิ ังกล่าวในความสัมพนัธ์กับรัฐท ี่ยอมรับข้อสงวน (B)รัฐ B สามารถไม่ใช้บงัคับบทบญัญัตดิ ังกล่าวในความสัมพนัธ์กับรัฐ A เช่นกัน

การตคีวามบทบญัญัติ

รัฐ A สามารถตีความบทบญัญัตดิ ังกล่าวตามข้อสงวนและใช้ยันกับรัฐ B ได้

รัฐ B กส็ามารถใช้การตีความเช่นว่ายันกับรัฐ A เช่นกัน

43

Page 44: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

ความสัมพนัธ์ระหว่างรัฐทีต่ั้งข้อสงวนกับรัฐทีค่ดัค้านข้อสงวน

การไม่ใช้บงัคับบทบญัญัติ

บทบญัญัตทิ ี่ถกูตัง้ข้อสงวนจะไม่ถกูใช้บงัคับใน

ความสัมพนัธ์ระหว่างรัฐท ี่ต ัง้ข้อสงวน (A) กับรัฐท ี่

คัดค้าน (C)

การตคีวามบทบญัญัติ

รัฐท ี่ต ัง้ข้อสงวน (A) ไม่สามารถใช้การตคีวาม

บทบญัญัตดิงักล่าวยันกับรัฐท ี่คัดค้าน (C)

44

Page 45: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

ข้อสงัเกต

•กรณีที่ข้อสงวนเป็นการไมใ่ช้บงัคบับทบญัญตัิการคดัค้านการตัง้ข้อสงวนมีผลเหมือนกบัการยอมรับข้อสงวน เพราะ ผลคือการไมบ่งัคบัใช้บทบญัญตัิดงักลา่วในความสมัพนัธ์ระหวา่งรัฐที่ตัง้ข้อสงวนกบัรัฐที่คดัค้าน (C) เชน่เดียวกนักบักรณีความสมัพนัธ์ระหวา่งรัฐที่ตัง้ข้อสงวนกบัรัฐที่ยอมรับ (B)•กรณีที่ข้อสงวนเป็นการตีความบางบทบญัญตัิการคดัค้านการตัง้ข้อสงวนมีผลตา่งกบัการยอมรับข้อสงวน เพราะตอ่รัฐที่ยอมรับข้อสงวน (B) บทบญัญตัิที่ได้รับการตีความมีผลใช้บงัคบั แตต่อ่รัฐที่คดัค้าน (C) บทบญัญตัิที่ได้รับการตีความจะไม่ถกูใช้บงัคบั

45

Page 46: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

3. การมผีลบังคบัใช้ของสนธิสัญญา

ตวับุคคล (ratione personae)มาตรา 26 สนธิสญัญามีผลผกูพนัรัฐภาคี ที่จะต้องปฏิบตัิตามโดยสจุริต

หลกั pacta sunt servanda

46

Page 47: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

แง่เวลา ratione temporisมาตรา 24•ขึน้อยูก่บัความตกลงของรัฐภาคีหรือรัฐคูส่ญัญา• ถ้ามิได้กําหนดไว้ ให้มีผลใช้บงัคบัเมื่อรัฐที่ร่วมเจรจาทัง้หมดให้ความยินยอมที่จะผกูพนัตามสนธิสญัญา

• ถ้ารัฐแสดงเจตนาให้ความยินยอมเข้าผกูพนัสนธิสญัญาหลงัจากที่สนธิสญัญามีผลใช้บงัคบัแล้ว ให้สนธิสญัญามีผลใช้บงัคบัตอ่รัฐดงักลา่วในวนัที่รัฐนัน้ได้แสดงเจตนาให้ความยินยอมเข้าผกูพนัสนธิสญัญา

47

Page 48: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

4. ความไม่สมบูรณ์ของสนธิสัญญาสนธิสัญญาขัดกับกฎหมายภายใน (มาตรา 46)• รัฐไม่อาจอ้างข้อเทจ็จริงว่า การให้ความยนิยอมของตนเพ ื่อผูกพ ันตามสนธิสัญญากระทาํโดยฝ่าฝืนบทบัญญัติแห่งกฎหมายภายในเกี่ยวกับเรื่ องความสามารถในการท ําสนธ ิสัญญา มาเ ป็น เหตุท ําให้ความยินยอมนัน้ ไ ม่สมบูร ณ์ เ ว้ น แ ต่ ก าร ฝ่ าฝื น นั ้น เ ป็ น ก าร ชัด แ จ้ ง ซ ึ่ งเกี่ยวข้องกับกฎหมายที่มีความสาํคัญอย่างยิ่ง

• ให้ถือ ว่าเ ป็นการ ฝ่าฝืนกฎหมายภายในอ ย่างชัดแ จ้ง หาก ว่าเ ป็น เ รื่ อ งท ี่ ควร จะปร ะจัก ษ์แ ก่ รั ฐไ ด้ตามวิสัยปรกตใินการปฏบิตัติ่อกันโดยสุจริต

48

Page 49: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

ก าร สํ าคัญผิด ห รื อ ค ว าม ผิด พ ล าด (er ror ) (มาตรา 48)

•รัฐอาจหยิบยกข้อผิดพลาดในสนธิสัญญา มาเป็น เหตุให้ความยินยอมไม่สมบูร ณ์หากข้อผิดพลาดนัน้ เกี่ยวข้องกับข้อ เท ็จจริง หรือพฤติการณ์ซ ึ่งรัฐเข้าใจว่ามีอยู่ ในเวลาท ี่ท ําสนธ ิสัญญา และความเข้าใจนัน้เป็นพ ืน้ฐานสาํคัญในการให้ความยนิยอมเพ ื่อผูกพนัตามสนธิสัญญา

•ห้ามอ้างข้อผิดพลาด หากเป็นกรณีท ี่ร ัฐได้ปฏิบัต ิในลักษณะที่ทาํให้ตนเองมีส่วนรับผิดชอบในข้อผิดพลาดนัน้ หรือหากในพฤตกิารณ์ดงักล่าว รัฐน่าจะได้รู้ ถงึข้อผิดพลาดนัน้

49

Page 50: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

กลฉ้อฉล (fraud) การประพฤตมิิชอบ (cor ruption) และการข่มข ู่ (coercion)รัฐอาจอ้ างเหตุแห่ งความไม่สมบูร ณ์ของการ ให้ความ

ยนิยอมที่เกดิจาก• พฤติกรรมฉ้อฉลของรัฐอ ื่นท ี่ เข้าร่วมเจรจา (มาตรา

49)• การประพฤติมิชอบของผู้แทนไม่ว่าโดยตรงหรือโดย

อ้อมท ี่เกดิจากรัฐอ ีกฝ่ายหนึ่ง (มาตรา 50)• การข่มข ู่ผู้แทนของรัฐโดยการกระทาํหรือการคุกคาม

หรือการคุกคามหรือการใช้กาํลังต่อรัฐ (มาตรา 51-52)

50

Page 51: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

สนธิสัญญาขดักับหลัก JUS COGENS (มาตรา 53)

•สนธิสัญญาจะเป็นโมฆะ หากว่าข ัดกับ jus cogensหรือ หลักกฎหมายระหว่างประเทศที่ร ัฐต้องปฏบิตั ิโดยไม่มีข้อยกเว้น (peremptory norm of general international law)

•Jus cogens กฎซึ่งได้รับการยอมรับโดยประชาคมโลกโดยส่วนรวมว่าเป็นกฎหมายที่ไม่อนุญาตให้รัฐขอยกเว้นไม่ปฏบิตั ิและเป็นกฎที่จะสามารถปรับเปลี่ยนได้กแ็ต่โดยกฎที่มีสถานะอย่างเดยีวกันซ ึ่งเกดิข ึน้ในภายหลัง

51

Page 52: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

5. การสิ้นสุดและการระงบัใช้

•การสิน้สุด (termination) •การระงบัใช้ช ั่ วคราว (suspension) •การเลกิ (denunciation)

•การถอนตวั (withdrawal)

52

Page 53: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

5. การสิ้นสุดและการระงบัใช้

มาตรา 54การสิน้สุดหรือถอนตวั•กรณีที่สนธิสญัญากําหนดระยะเวลาสิน้สดุหรือการถอนตวัของรัฐหนึง่ไว้ ให้เป็นไปตามบทบญัญตัิของสนธิสญัญา•กรณีอื่นๆ โดยความเหน็ชอบของรัฐภาคีทัง้หมด หลงัจากการปรึกษาหารือกบัรัฐนัน้ๆแล้ว

53

Page 54: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

มาตรา 56การเลกิหรือการถอนตัว ในกรณีท ี่สนธ ิสัญญามไิด้กาํหนดไว้เรื่ องการสิน้สุด การเลกิหรือการถอนตัวไว้

ห้ามมิให้เลกิหรือถอนตวั เว้นแต่•หากปรากฏจากสนธิสญัญาวา่ รัฐภาคีมีเจตนาให้เลกิหรือถอนตวัได้ หรือ• โดยลกัษณะของสนธิสญัญานัน้ อาจอนมุานให้เลกิหรือถอนตวัได้• ต้องแจ้งเจตนาเลกิหรือถอนตวัลว่งหน้าไมน่้อยกวา่ 12

เดือน

54

Page 55: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

การเลิกหรือการระงบัการใช้บังคบัสนธิสัญญาเนื่องจากการฝ่าฝืนสนธิสัญญา (มาตรา 60)

•การฝ่าฝืนสนธิสัญญาอย่างร้ายแรงโดยรัฐภาคีฝ่ายหนึ่ง หรือรัฐใดรัฐหนึ่ง (mater ial breach) เป็นเหตุให้อ ีกฝ่ายหนึ่งหรือรัฐภาคีอ ื่นยกเป็นเหตุเพ ื่อเลิกหรือระงบัการใช้บงัคับของสนธิสัญญาได้

• กรณีท ี่ถ ือว่าเป็น mater ial breach ได้แก่ การปฏเิสธสนธิสัญญาโดยไม่ชอบ หรือ การฝ่าฝืนบทบญัญัติของสนธ ิสัญญาซึ่งมีความสาํคัญและจาํเป็นต่อการบรรลุวัตถุประสงค์และความมุ่งหมายของสนธิสัญญา

55

Page 56: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

การปฏิบัตติามสนธิสัญญาเป็นอันพ้นวสิัย

(มาตรา 61)

1. รัฐอาจอ้างการพ้นวสิัยในการปฏบิัตติามสนธิสัญญาเพื่อเป็นเหตุในการเลกิหรือถอนตัวจากสนธ ิสัญญา หากการพ้นวสิัยนัน้เป็นผลมาจากการสิน้สลายหรือการถูกทาํลายอย่างถาวรซ ึ่งวัตถุท ี่จาํเป็นต่อการปฏบิัตติามสนธิสัญญา

2. รัฐไม่อาจอ้างเหตุนีไ้ด้ หากการพ้นวสิัยนัน้เป็นผลมาจากการฝ่าฝืนพนัธกรณีตามสนธิสัญญา หรือพนัธกรณีระหว่างประเทศอื่นๆ โดยรัฐนัน้

56

Page 57: 1 ความทวไปเกั่ี่ยวกบกฎหมายั ระหว่างประเทศ · •ค.ศ. 1989-1991 การทําลายก ําแพงเบอร์ลินและการ

พฤตกิารณ์เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก (มาตรา 62 FUNDAMENTAL CHANGE OF CIRCUMSTANCES)

ห้ามมใิห้อ้างพฤตกิารณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากเป็นเหตุ

เพื่อเลิกหรือถอนตวัจากสนธิสัญญา เว้นแต่ในกรณี

ต่อไปนี้

(1) ความมอียู่ของพฤตกิารณ์นั้นเป็นพืน้ฐานสําคญั ในการ

ให้ความยนิยอมผูกพนัตามสนธิสัญญาของรัฐภาคี

(2) ผลของการเปลี่ยนแปลงมมีากถงึขนาดที่ทําให้พนัธกรณี

ภายใต้สนธิสัญญาที่รัฐภาคตี้องปฏบิัตเิปลี่ยนแปลงไป

เป็นอย่างมาก

57