1....

9
1. การส่งเสริมศักยภาพบัณฑิตคุณภาพตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ตะวันออก “บัณฑิตนักปฏิบัติ” สาขาวิชาเทคโนโลยีโลจิสติกส์และการจัดการระบบขนส่ง "กระบวนการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนานักศึกษา" หลักการและเหตุผล ในปัจจุบันการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การค้าและการลงทุน รวมทั้งการแข่งขันที่รุนแรง สถาบันทาง การศึกษาเป็นอีกองค์กรหนึ่งที่ต้องเตรียมความพร้อมในการปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว โดยทาง สถาบันทางการศึกษาจะเป็นสถานที่ที่มีบทบาทในการพัฒนาศักยภาพของนักเรียน นักศึกษา และประชาชนให้มี ทักษะที่เหมาะสม เพื่อการเตรียมความพร้อมในการก้าวสู่การเปลี่ยนแปลงทางอุตสาหกรรมและการเพิ่มโอกาสใน การหางานทาของนักเรียนนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก เห็นความสาคัญของการพัฒนานักศึกษาให้มีมาตรฐาน ตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย คือ "บัณฑิตนักปฏิบัติ" ที่จะช่วยส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การ พัฒนาสมรรถนะด้านการประกอบวิชาชีพ สาขาวิชาเทคโนโลยีโลจิสติกส์และการจัดการระบบขนส่ง คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ เล็งเห็นความสาคัญของเรื่องดังกล่าว อัน จะเป็นการช่วยพัฒนานักศึกษาให้มีมาตรฐานตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย คือ "บัณฑิตนักปฏิบัติ" ที่จะช่วย ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จึงได้จัดให้มีการส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในสาขาวิชาอย่าง ต่อเนื่อง จากการเน้นการปฏิบัติจริง จากสถานการณ์จริง และจากผู้เชี่ยวชาญด้านโลจิสติกส์จริง โดยกระบวนการ จัดการการเรียนการสอน เน้นการเป็น"โค้ช"มากกว่าการเป็น"อาจารย์" วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในสาขาฯ ตามอัตลักษณ์บัณฑิต 2. เพื่อส่งเข้าประกวดแข่งขันในเวทีระดับชาติ 3. เพื่อประชาสัมพันธ์สาขาวิชาฯผ่านเวทีการแสดงผลงานของนักศึกษา กระบวนการหรือขั้นตอนในการดาเนินการ รายวิชาการจัดการคลังและศูนย์กระจายสินค้า 1. มอบหมายให้นักศึกษาจัดทาแผนธุรกิจเป็นกลุ่ม 2. มอบหมายภาระหน้าที่ที่ชัดเจนในกลุ่ม เช่น CEO,DC/WH Manager, Transport Manager, Marketing Manager, Financial Manager, HR Manager, IT Manager เป็นต้น

Upload: others

Post on 15-Oct-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 1. การส่งเสริมศักยภาพบัณฑิตคุณภาพตามอัตลักษณ์ของ ... project/t-visit book 1/2 BP-mtr.pdf3

1. การส่งเสริมศักยภาพบัณฑิตคุณภาพตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก “บัณฑิตนกัปฏิบัติ” สาขาวิชาเทคโนโลยีโลจิสติกส์และการจัดการระบบขนส่ง "กระบวนการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนานักศึกษา"

หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การค้าและการลงทุน รวมทั้งการแข่งขันท่ีรุนแรง สถาบันทางการศึกษาเป็นอีกองค์กรหนึ่งที่ต้องเตรียมความพร้อมในการปรับตัวเพ่ือรองรับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว โดยทางสถาบันทางการศึกษาจะเป็นสถานที่ที่มีบทบาทในการพัฒนาศักยภาพของนักเรียน นักศึกษา และประชาชนให้มีทักษะที่เหมาะสม เพ่ือการเตรียมความพร้อมในการก้าวสู่การเปลี่ยนแปลงทางอุตสาหกรรมและการเพ่ิมโอกาสในการหางานท าของนักเรียนนักศึกษา

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก เห็นความส าคัญของการพัฒนานักศึกษาให้มีมาตรฐานตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย คือ "บัณฑิตนักปฏิบัติ" ที่จะช่วยส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การพัฒนาสมรรถนะด้านการประกอบวิชาชีพ

สาขาวิชาเทคโนโลยีโลจิสติกสแ์ละการจัดการระบบขนส่ง คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ เล็งเห็นความส าคัญของเรื่องดังกล่าว อันจะเป็นการช่วยพัฒนานักศึกษาให้มีมาตรฐานตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย คือ "บัณฑิตนักปฏิบัติ" ที่จะช่วยส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จึงได้จัดให้มีการส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในสาขาวิชาอย่างต่อเนื่อง จากการเน้นการปฏิบัติจริง จากสถานการณ์จริง และจากผู้เชี่ยวชาญด้านโลจิสติกส์จริง โดยกระบวนการจัดการการเรียนการสอน เน้นการเป็น"โค้ช"มากกว่าการเป็น"อาจารย์"

วัตถุประสงค ์1. เพ่ือพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในสาขาฯ ตามอัตลักษณ์บัณฑิต 2. เพ่ือส่งเข้าประกวดแข่งขันในเวทีระดับชาติ 3. เพ่ือประชาสัมพันธ์สาขาวิชาฯผ่านเวทีการแสดงผลงานของนักศึกษา

กระบวนการหรือขั้นตอนในการด าเนินการ

รายวิชาการจัดการคลังและศูนย์กระจายสินค้า 1. มอบหมายให้นักศึกษาจัดท าแผนธุรกิจเป็นกลุ่ม 2. มอบหมายภาระหน้าที่ที่ชัดเจนในกลุ่ม เช่น CEO,DC/WH Manager, Transport Manager,

Marketing Manager, Financial Manager, HR Manager, IT Manager เป็นต้น

Page 2: 1. การส่งเสริมศักยภาพบัณฑิตคุณภาพตามอัตลักษณ์ของ ... project/t-visit book 1/2 BP-mtr.pdf3

3. ติดตามงานในแต่ละต าแหน่งรายบุคคลโดยการน าเสนอผลงานแผนธุรกิจที่ตนเองได้รับมอบหมายกับผู้เชี่ยวชาญในงานโลจิสติกส์

4. อาจารย์ผู้สอนให้แนวคิดการท างาน สร้างบรรยากาศทางความคิด กระตุ้นการท างานอย่างต่อเนื่อง ช่วยเหลือแนะน าพอสมควร

5. น าเสนอแผนธุรกิจในภาพรวมทั้งหมดของกลุ่ม โดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญในงานโลจิสติกส์ให้ค าแนะน า

รายวิชาสหกิจศึกษา 1. ให้นักศึกษาน าเสนอหัวข้อโครงงานและให้ค าแนะน าการท างานร่วมกับนักศึกษา 2. ประสานงานกับบริษัทที่นักศึกษาเข้าสหกิจเพ่ือขอเข้าไปนิเทศและการติดตามโครงงาน ณ

สถานที่จริง 3. ปรับปรุงโครงงานที่หน้างานร่วมกับนักศึกษา 4. ให้นักศึกษาน าเสนอผลงานกับสถานประกอบการและคณาจารย์นิเทศ 5. จัดท ารูปเล่มโครงงาน 6. จัดหาเวทีประกวดแข่งขันในงานสหกิจศึกษาและต่อยอดผลงานนักศึกษาเพ่ือลงลงตีพิมพ์

ผลงานวิจัย

ผลการด าเนินการ 1. รางวัลชนะเลิศ การประกวดแผนและน าเสนอทางธุรกิจในงาน MBS Festival ในผลงาน แผน

ธุรกิจ บริษัท FAST SUPPLY CHAIN จ ากัด อาจารย์ที่ปรึกษา คือ อาจารย์วิญญู ปรอยกระโทก จัดโดย คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2557

2. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การประกวดแผนการ ตลาดและการน าเสนอทางธุรกิจ ระดับอุดมศึกษา ในผลงาน แผนธุรกิจ บริษัท GO-DUNK Warehouse & Distribution Center จ ากัด อาจารย์ที่ปรึกษา คือ อาจารย์วิญญู ปรอยกระโทก จัดโดย คณะ วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี เมือ่วันที่ 12 ธันวาคม 2556

3. รางวัลชนะเลิศ การประกวดโครงงานสหกิจศึกษา ในโครงการสัมมนาและการแข่งขันทักษะทางวิชาการด้าน บริหารธุรกิจ 9 มทร. ครั้งที่ 2 ในผลงานเรื่อง “การลดปริมาณขวดเปล่าแบบ One way ในคลังสินค้าด้วยระบบ Just in time กรณีศึกษา บริษัท กรีนสปอร์ต จ ากัด โดยนางสาวธริษตรี ไม้ไพบูลย์ อาจารย์ที่ปรึกษา คือ อาจารย์วิญญู ปรอยกระโทก จัดโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ เมื่อวันที่ 27-29 พฤศจิกายน 2556

4. รางวัลที่ 2 โครงงานสหกิจศึกษา สาขา นวัตกรรม งานสหกิจศึกษาภาคตะวันออก ครั้งท่ี 4 ในผลงานเรื่อง “การลดปริมาณขวดเปล่าแบบ One way ในคลังสินค้าด้วยระบบ Just in time กรณีศึกษา บริษัท กรีนสปอร์ต จ ากัด โดยนางสาวธริษตรี ไม้ไพบูลย์ อาจารย์ที่ปรึกษา คือ อาจารย์วิญญู ปรอยกระโทก จัดโดย มหาวิทยาลยับูรพา เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2557

Page 3: 1. การส่งเสริมศักยภาพบัณฑิตคุณภาพตามอัตลักษณ์ของ ... project/t-visit book 1/2 BP-mtr.pdf3

ปัจจัยแห่งความส าเร็จ (Critical Success Factors : CSFs)

1. เน้นการเป็น "โค้ช" มากกว่า "อาจารย์" 2. เน้นการท างานเป็นทีม 3. เน้นการค้นคว้าให้ถึงแก่นของความรู้ และน ามาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริง 4. การให้ผู้เชี่ยวชาญในงานโลจิสติกส์มีส่วนร่วมในการพัฒนานักศึกษา 5. กดดันพอสมควร บนความเชื่อท่ีว่า "หากได้รับแรงกดดัน มนุษย์ทุกคนจะดึงศักยภาพของตัวเอง

ออกมา"

รูปภาพประกอบ (ถ้ามี)

Page 4: 1. การส่งเสริมศักยภาพบัณฑิตคุณภาพตามอัตลักษณ์ของ ... project/t-visit book 1/2 BP-mtr.pdf3

2. การบริการวิชาการเชิงบูรณาการ “โครงการสร้างโบสถ์ดินแบบบดอัด” โดย คณะวิศวกรรม ศาสตร์และสถาปัตยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย

หลักการและเหตุผล โครงการสร้างโบสถ์ดินแบบบดอัด ของคณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก เริ่มจากการที่ ผศ.วิทวัส สิทธิกุล อาจารย์ประจ าสาขาวิศวกรรมโยธา ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในโครงการสร้างพระอุโบสถ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชด ารัสของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพ่ือน้อมถวายเป็นพระราชกุศลแด่เจ้าประคุณสมเด็จพระญานสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ในวโรกาสที่เจริญพระชนมายุ ๑๐๐ พรรษา จ านวนทั้งสิ้น ๙ แห่ง จากความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยต่างๆและส านักงานเลขานุการสมเด็จพระสังฆราช โดยคณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ ได้ด าเนินโครงการดังกล่าว ร่วมกับส านักงานเลขานุการฯ จ านวนทั้ งสิ้น ๔ แห่ง ประกอบด้วย วัดบุเจ้าคุณ อ.วังน้ าเขียว จ.นครราชสีมา ในปี พ.ศ.๒๕๕๒ วัดสันติวรคุณ อ.สะเดา จ.สงขลา ในปี พ.ศ.๒๕๕๔ วัดตอยาง อ.หนองโดน จ.สระบุรี ในปี พ.ศ.๒๕๕๕ และ วัดทับทิมสยาม อ.บ่อไร่ จ.ตราด ในปี พ.ศ.๒๕๕๖ ทั้งนี้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก มีนโยบายในการสนับสนุนโครงการท านุบ ารุงศาสนา รักษาศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาชนบท เพ่ือให้นักศึกษาได้มีประสบการณ์ในการท างานจริง รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ท าทุบ ารุงศาสนา น านวัตกรรมสู่สังคม รู้จักการท างานร่วมกัน การเสียสละเพ่ือพัฒนาสังคม และสามารถน าองค์ความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ผู้อ่ืนและสังคม คณะได้น านโยบายดังกล่าวของมหาวิทยาลัยและเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานของคณะเพ่ือส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถปฏิบัติงานได้จริง ประยุกต์วิชาการที่ได้ศึกษามาใช้งานจริง และสามารถถ่ายทอดให้กับชุมชนและผู้ที่สนใจได้รับความรู้อีกทางหนึ่ง

วัตถุประสงค ์ โครงการสร้างโบสถ์ดินแบบบดอัด มีวัตถุประสงค์

๑. เพ่ือสร้างโบสถ์ดินแบบบดอัดน้อมถวายเป็นพระราชกุศลแด่เจ้าประคุณสมเด็จพระญานสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ในวโรกาสที่เจริญพระชนมายุ ๑๐๐ พรรษา

๒. เพ่ือสนับสนุนกิจกรรมส านักงานเลขานุการสมเด็จพระสังฆราช ที่ได้จัดโครงการสร้างพระอุโบสถ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชด ารัสของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

๓. เพ่ือใช้ความรู้ในทางวิชาชีพ เพ่ือประโยชน์ต่อชุมชน ๔. เพ่ือเป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษา อาจารย์ และชุมชน ๕. เพ่ือบริการวิชาการแก่ชุมชน และสังคม ๖. เพ่ือบูรณาการการบริการวิชาการ กับการเรียนการสอน และกิจกรรมนักศึกษา ๗. เพ่ือส่งเสริมและเพ่ิมทักษะทางวิชาชีพให้กับนักศึกษา ๘. มุ่งเน้นให้นักศึกษาเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติ ตามอัตลักษณ์ของ คณะและมหาวิทยาลัย

Page 5: 1. การส่งเสริมศักยภาพบัณฑิตคุณภาพตามอัตลักษณ์ของ ... project/t-visit book 1/2 BP-mtr.pdf3

(ไม่)

(ใช่)

(ไม่)

(ผ่าน)

- ๒ -

กระบวนการหรือขั้นตอนในการด าเนินการ

ศึกษาและวิเคราะห์ ข้อมูลวัดที่จะด าเนินโครงการ

ออกแบบสถาปัตยกรรมและโครงสร้างของโบสถ์ดิน

ส านักงานเลขานกุารสมเด็จพระสังฆราช

พิจารณา

ปรับแก้รูปแบบ

จัดท าแผนด าเนินโครงการ

ด าเนินการจัดโครงการ

ประเมินผลการด าเนินโครงการ

แก้ไขปรับปรุง

พัฒนาการด าเนินงานโครงการถัดไป

ตรวจสอบการก่อสร้าง

สรุป / รายงานผลการด าเนินโครงการ

Page 6: 1. การส่งเสริมศักยภาพบัณฑิตคุณภาพตามอัตลักษณ์ของ ... project/t-visit book 1/2 BP-mtr.pdf3

- ๓ -

ผลการด าเนินการ จากการด าเนินโครงกล่าว ตั้งแต่ ปี ๒๕๕๒-๒๕๕๖ ได้มีการน าผลการด าเนินโครงการ และปัญหาอุปสรรคต่างๆที่ได้รับ มาพัฒนาปรับปรุงวิธีการด าเนินงานโครงการในปีถัดมา ทั้งในเรื่องของเทคนิคการออกแบบ และก่อสร้าง เพ่ือตอบโจทย์ในการใช้งานของแต่ละพ้ืนที่ในการด าเนินโครงการ และได้มีการส ารวจความพึงพอใจของนักศึกษา อาจารย์ เจ้าหน้าที่ และชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ ซึ่งนักศึกษา อาจารย์ เจ้าหน้าที่ มีความพึงพอใจที่ได้เข้าไปสร้างโบสถ์ดินแบบบดอัด มีความพึงพอใจในระดับมาก ที่ได้มี โอกาสเข้าไปเผยแพร่ ให้ความรู้ ตลอดจนก่สร้างโบสถ์ให้กับชุมชน ส่วนของชุมชน มีความพึงพอใจในระดับ มากเช่นกัน เนื่องจาก ได้เรียนรู้วิธีการก่อสร้างโบสถ์โดยใช้วิธีแบบบดอัดดิน และสามารถน าไปประยุกต์ใช้กับงานก่อสร้างประเภทอ่ืนได้ และยังถือว่าได้ท านุบ ารุงศาสนาอีกทางหนึ่งด้วย

ปัจจัยแห่งความส าเร็จ (Critical Success Factors : CSFs) ปัจจัยที่ส่งผลให้ครงการนี้ประสบความส าเร็จ คือ การร่วมมือร่วมใจกันระหว่าง อาจารย์ นักศึกษา เจ้าหน้าที่ และชุมชนที่ด าเนินโครงการ โดยทุกฝ่ายตระหนักถึงคุณค่า และสาธารณะประโยชน์ที่จะได้จากโบสถ์ที่ก่อสร้างข้ึนมาด้วยน้ าพักน้ าแรงของทุกฝ่าย

รูปภาพประกอบ

Page 7: 1. การส่งเสริมศักยภาพบัณฑิตคุณภาพตามอัตลักษณ์ของ ... project/t-visit book 1/2 BP-mtr.pdf3
Page 8: 1. การส่งเสริมศักยภาพบัณฑิตคุณภาพตามอัตลักษณ์ของ ... project/t-visit book 1/2 BP-mtr.pdf3

การพัฒนางานวิจัยสู่ความเป็นเลิศ (กรณีศึกษา : สถานีวิจัยบัวและถ่ายทอดเทคโนโลย)ี

สถานีวิจัยบัวและถ่ายทอดเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก เริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2534 โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณ นพชัย ชาญศิลป์ เป็นหัวหน้าสถานีวิจัยฯ ซึ่งในขณะนั้นยังเป็นคณะเกษตรศาสตร์บางพระ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล โดยได้เริ่มท าการศึกษาวิจัยวิธีการผสมพันธุ์บัวฝรั่งขึ้น ซึ่งในช่วงเวลานั้นการผสมพันธุ์บัวฝรั่งจัดเป็นเรื่องที่คนทั่วไปเชื่อว่าท าได้ยากมาก และได้ประสบความส าเร็จในปี พ.ศ.2538 นับว่าเป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกของเอเชียที่สามารถผสมพันธุ์บัวฝรั่งได้

ต่อมาในปี พ.ศ. 2547 ได้น าพันธุ์บัวฝรั่งลูกผสมต้นหนึ่งของมหาวิทยาลัยฯ เข้าประกวดในระดับนานาชาติซึ่งจัดขึ้นโดยสถาบัน The International Water Lily and Water Gardening Society (IWGS) และได้รับรางวัลชนะเลิศประเภทบัวฝรั่งลูกผสมใหม ่จากนั้นสถานีวิจัยฯ ได้ด าเนินการวิจัยการเพาะพันธุ์บัวอย่างต่อเนื่องและได้ท าการถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เกษตรกรและชุมชนที่สนใจ นอกจากนั้นยังเป็นแหล่งเรียนรู้และศึกษาดูงานให้แก่หน่วยงานและบุคคลที่สนใจทั้งในประเทศและต่างประเทศอย่างสม่ าเสมอ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2550 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออกจึงได้ให้มีการจัดตั้ง สถานีวิจัยบัวและถ่ายทอดเทคโนโลยีขึ้น สังกัดคณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ โดยมีธนาคารพันธุกรรมบัวเพ่ือด าเนินการเก็บรวบรวมพันธุ์บัวพ้ืนเมืองจากแหล่งต่างๆ ทั่วโลกอยู่ในระดับแนวหน้าของโลก ซึ่งปัจจุบันมีบัวพันธุ์พ้ืนเมืองอยู่ประมาณ 40 ชนิด และพันธุ์ลูกผสมและพันธุ์การค้าอีกประมาณ 400 พันธุ์ ซึ่งหลังจากการก่อตั้งสถานีวิจัยบัวฯได้มีบัวฝรั่งลูกผสมเกิดขึ้นมากมายเช่น ปฐมเทวี

ศรีบางพระ มังคลอุบล ชลสุดา ธิดาธาร ตระการสินธุ์ ปิ่นวารี เจ้าสาวนที รัศมีธารา ดาราสมุทร และสุดสาครเป็นต้น ส่วนบัวลูกผสมอ่ืนๆที่ท าชื่อเสียงให้กับประเทศไทยในการประกวดบัวนานาชาติก็มี มังคลอุบล จุฬารัตน์ วันวิสาข์ เตือนตา ชาญวิทย์ ดวงตาสวรรค์ มายารานี เยาวลักษณ์ ตะวันออก และรวมทั้งบางพันธุ์ที่ได้รับการพัฒนายังไม่มีชื่อเรียกอย่างเป็นที่รู้จักทั่วไป

ส าหรับในปี 2557 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณ นพชัย ชาญศิลป์ ได้วิจัยและพัฒนาสายพันธุ์

Mayaranee Yaowalak Tawan-ok

Page 9: 1. การส่งเสริมศักยภาพบัณฑิตคุณภาพตามอัตลักษณ์ของ ... project/t-visit book 1/2 BP-mtr.pdf3

บัวฝรั่งลูกผสม และส่งเข้าประกวด ณ สวนพฤกษศาสตร์เมืองเดนเวอร์ รัฐโคโลราโด ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งจัดโดย International Water Lily and Water Gardening Society หรือ IWGS ในงานประกวดบัวลูกผสมใหม่ประจ าปี 2013 จ านวน 3 ประเภท และสามารถคว้ารางวัลมาได้ถึง 7 รางวัล ได้แก่

พันธุ์บัว ชื่อ มายาราณี เป็นบัวยักษ์ลูกผสมในกลุ่มบัวยักษ์ออสเตรเลียด้วยกัน ผลิตขึ้นในปี พ.ศ.2553 มีขนาดใหญ่มากและบานทน สามารถเปลี่ยนสีได้ทุกวันโดยการไล่ระดับสี อาทิ สีน้ าเงิน สีฟ้า สีม่วง สีชมพูเข้ม ซ่ึงสามารถคว้ารางวัลที่ได้รับจ านวน 3 รางวัล คือ 1. รางวัล 1St Place Anecphya Water Lily (รางวัลชนะเลิศ ในกลุ่มบัวยักษ์ออสเตรเลียลูกผสม) 2. รางวัล Best People’s Choice Awards (รางวัลชนะเลิศขวัญใจมหาชนประเภทบัวยักษ์) 3. รางวัล Best of all People’s Choice Awards (รางวัล

ชนะเลิศขวัญใจมหาชนรวมทุกประเภท) พันธุ์บัว ชื่อ เยาวลักษณ์ เป็นบัวยักษ์ลูกผสมภายในสกุลเดียวกัน ผลิตขึ้นในปี พ.ศ.2554 มีลักษณะเด่น คือ รูปร่างดอกเป็นถ้วยบานวันแรกดอกจะเป็นสีฟ้าและค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสีชมพูแดงในวันที่ห้า และรางวัลที่ได้รับจ านวน 2 รางวัล คือ

1. รางวัล 2ND Place Anecphya Water Lily (รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ในกลุ่มยักษ์ออสเตรเลียลูกผสม)

2. รางวัล Second Best People’s Choice Awards (รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ขวัญใจมหาชนประเภทบัวยักษ์)

พันธุ์บัว ชื่อ ตะวันออก เป็นบัวสายเขตร้อนบานกลางวัน ลูกผสม ผลิตขึ้นในปี พ.ศ.๒๕๔๘ จัดว่าเป็นบัวสีส้มแสดที่ดีท่ีสุดต้นหนึ่งของโลกเพาะเลี้ยงง่ายและทนแดด และได้รับรางวัลจ านวน ๒ รางวัล คือ 1. รางวัลที่ 2nd Place Tropical Water Lily (รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ในกลุ่มบัวสายเขตร้อนลูกผสม) 2. รางวัล Second Best People’s Choice Awards (รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ขวัญใจมหาชนประเภทบัวสายเขตร้อนลูกผสม)