1 คํานําapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/c00373/c00373-2.pdf · 3...

24
1 คํานํา ประเทศไทยอยูในภูมิภาคที่มีความหลากหลายของภูมิประเทศ จึงทําใหมีความ หลากหลายทางพันธุกรรมพืช และมีวัฒนธรรมในการบริโภคอาหารและการใชยารักษาโรคซึ่งเปนภูมิ ปญญาพื้นบานประจําถิ่น โดยเฉพาะพรรณพืชสมุนไพรและการแพทยแผนไทยหรือแพทยพื้นบาน ซึ่งมี องคความรูที่สั่งสมและสืบทอดกันมาแตโบราณ แตในปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวิถีชีวิต ของชุมชน ทําใหวัฒนธรรมอันมีคาทางดานพรรณพืชสมุนไพรลดความสําคัญลงไป จนเกิดปญหา ทางดานสุขภาพและผลขางเคียงการจากพัฒนาทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทําใหประชาชนใน สังคมหันกลับมาใหความสําคัญและคุณคาของภูมิปญญาทองถิ่นและใชพืชสมุนไพรในการดูแลสุขภาพมากขึ้น พืชสมุนไพร เปนทรัพยากรที่มีคาของชาติและเปนมรดกทางวัฒนธรรม ซึ่งสืบทอดกัน มาอยางยาวนาน จนกระทั่งชาวตางชาติไดนํายาแผนตะวันตกเขามาเผยแพรในประเทศไทย ตั้งแตรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ดวยรูปแบบที่สะดวกและมีประสิทธิภาพในการรักษา ทําให การใชสมุนไพรตาง ในประเทศไทยคอย ลดลงจนเกือบจะหายไปจากความทรงจําของชาวไทย ตําราสมุนไพรไทยสวนใหญสูญหายไปหรือถูกชาวตางชาติซื้อไปเปนขอมูลเพื่อการคนหาตัวยาใหม สมุนไพรบางชนิดที่เคยปรากฏซึ่งอยูในตําราไมสามารถหาผูรูจักไดแลว จึงเปนที่นาเสียดายเปนอยางยิ่ง ตอมรดกอันมีคาทางดานสมุนไพรของไทย ปจจุบันนี้สมุนไพรไดเริ่มกลับมาสูความสนใจของสังคมไทยและสังคมโลก ดวย แรงผลักดันหลายประการ เชน การคนพบโรคใหม ที่ยังไมสามารถรักษาได ทําใหนักวิทยาศาสตร ของไทยและตางประเทศหันมาคนควาตัวยาจากสมุนไพรมากขึ้น ทําใหมีการศึกษาวิจัยสมุนไพรจาก ประเทศซีกโลกตะวันออกมากขึ้น บางรายประสบความสําเร็จในการผลิตยาใหมและสงไปขายทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศไทยมีบริษัทจากประเทศญี่ปุสามารถผลิตยารักษาโรคกระเพาะอาหารอักเสบ โดยการสกัดสารจากใบเปลานอย จึงทําใหผูบริหารทุกระดับ และนักวิชาการในประเทศสนใจและ ดําเนินการใหเกิดการสงเสริมการอนุรักษและพัฒนาสมุนไพรและการแพทยแผนไทย ซึ่งเปนภูมิปญญา ที่มีคายิ่งของบรรพบุรุษไทยในรูปแบบตาง แตอุปสรรคในการอนุรักษและพัฒนาสมุนไพรและแพทย แผนไทย นั้นมีหลายประการ เชน ขาดบุคลากรที่มีความรูยาพื้นบานอยางตอเนื่องรวมทั้งความสับสนใน การเรียกชื่อสมุนไพรซึ่งมีซื่อพองกันตามทองถิ่นในภูมิภาคปญหาหลักเหมือนกัน คือ จํานวนหมอ พื้นบานที่ลดจํานวนลงไปเรื่อย และคนรุนหลังไมนิยมที่จะศึกษาและสืบทอดองคความรูเหลานี้ไว ที่ผานมาการสํารวจพืชสมุนไพร การสืบคนความรูหรือภูมิปญญาทองถิ่นในการใชพืช สมุนไพรในพื้นที่มีคอนขางนอย จึงจําเปนตองศึกษาขอมูลความหลากหลายและการใชประโยชนพืช สมุนไพร เพื่อใหไดขอมูลที่ไดไปใชในการอนุรักษขยายพันธุ และสงเสริมใหมีการใชพืชสมุนไพรอยาง ยั่งยืน และเปนประโยชนตอประชาชนในทองถิ่น ทําใหประชาชนในชุมชนไดมีความรูมากขึ้นและ เขาใจถึงคุณคาของพืชสมุนไพรที่มีอยูในทองถิ่นของตน ซึ่งจะสงผลใหเกิดการมีสวนรวมในการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติไดอยางยั่งยืน และเปนประโยชนในการใชพืชสมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐานตอไป

Upload: others

Post on 27-Oct-2019

8 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 1 คํานําapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00373/C00373-2.pdf · 3 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาความหลากหลายและการใช

1 คํานํา

ประเทศไทยอยูในภูมภิาคที่มีความหลากหลายของภูมปิระเทศ จึงทําใหมีความหลากหลายทางพันธุกรรมพชื และมีวัฒนธรรมในการบริโภคอาหารและการใชยารักษาโรคซึ่งเปนภูมิปญญาพื้นบานประจําถ่ิน โดยเฉพาะพรรณพืชสมุนไพรและการแพทยแผนไทยหรอืแพทยพืน้บาน ซ่ึงมีองคความรูที่ส่ังสมและสืบทอดกันมาแตโบราณ แตในปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวถีิชีวิตของชุมชน ทําใหวัฒนธรรมอันมีคาทางดานพรรณพืชสมุนไพรลดความสําคัญลงไป จนเกดิปญหาทางดานสุขภาพและผลขางเคียงการจากพฒันาทางดานวทิยาศาสตรและเทคโนโลยี ทําใหประชาชนในสังคมหันกลับมาใหความสําคัญและคุณคาของภูมิปญญาทองถ่ินและใชพืชสมุนไพรในการดูแลสุขภาพมากขึ้น พืชสมุนไพร เปนทรัพยากรที่มีคาของชาติและเปนมรดกทางวัฒนธรรม ซ่ึงสืบทอดกันมาอยางยาวนาน จนกระทัง่ชาวตางชาตไิดนํายาแผนตะวนัตกเขามาเผยแพรในประเทศไทย ตั้งแตรัชสมัยพระบาทสมเดจ็พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ดวยรูปแบบที่สะดวกและมีประสิทธิภาพในการรักษา ทําใหการใชสมุนไพรตาง ๆ ในประเทศไทยคอย ๆ ลดลงจนเกือบจะหายไปจากความทรงจําของชาวไทย ตําราสมุนไพรไทยสวนใหญสูญหายไปหรอืถูกชาวตางชาติซ้ือไปเปนขอมูลเพื่อการคนหาตวัยาใหม ๆ สมุนไพรบางชนิดที่เคยปรากฏซึ่งอยูในตําราไมสามารถหาผูรูจักไดแลว จึงเปนที่นาเสียดายเปนอยางยิ่งตอมรดกอันมคีาทางดานสมุนไพรของไทย ปจจุบันนี้สมุนไพรไดเร่ิมกลับมาสูความสนใจของสังคมไทยและสังคมโลก ดวยแรงผลักดันหลายประการ เชน การคนพบโรคใหม ๆ ที่ยังไมสามารถรักษาได ทาํใหนกัวิทยาศาสตรของไทยและตางประเทศหันมาคนควาตวัยาจากสมุนไพรมากขึ้น ทาํใหมีการศกึษาวิจยัสมุนไพรจากประเทศซีกโลกตะวันออกมากขึ้น บางรายประสบความสําเร็จในการผลิตยาใหมและสงไปขายทัว่โลก โดยเฉพาะในประเทศไทยมบีริษัทจากประเทศญี่ปุน สามารถผลิตยารักษาโรคกระเพาะอาหารอกัเสบโดยการสกัดสารจากใบเปลานอย จึงทําใหผูบริหารทกุระดับ และนักวิชาการในประเทศสนใจและดาํเนินการใหเกิดการสงเสริมการอนุรักษและพัฒนาสมนุไพรและการแพทยแผนไทย ซ่ึงเปนภูมปิญญาที่มีคายิ่งของบรรพบุรุษไทยในรูปแบบตาง ๆ แตอุปสรรคในการอนุรักษและพัฒนาสมนุไพรและแพทยแผนไทย นัน้มีหลายประการ เชน ขาดบุคลากรที่มีความรูยาพื้นบานอยางตอเนื่องรวมทั้งความสับสนในการเรียกชื่อสมุนไพรซึ่งมีซ่ือพองกันตามทองถ่ินในภูมภิาคปญหาหลกัเหมือนกัน คือ จํานวนหมอพื้นบานที่ลดจาํนวนลงไปเรื่อย ๆ และคนรุนหลังไมนยิมที่จะศึกษาและสืบทอดองคความรูเหลานี้ไว ที่ผานมาการสํารวจพืชสมุนไพร การสืบคนความรูหรือภูมิปญญาทองถ่ินในการใชพืชสมุนไพรในพืน้ที่มีคอนขางนอย จึงจําเปนตองศึกษาขอมูลความหลากหลายและการใชประโยชนพืชสมุนไพร เพื่อใหไดขอมูลที่ไดไปใชในการอนุรักษขยายพันธุ และสงเสริมใหมีการใชพืชสมุนไพรอยางยั่งยืน และเปนประโยชนตอประชาชนในทองถ่ิน ทําใหประชาชนในชุมชนไดมคีวามรูมากขึ้นและเขาใจถึงคุณคาของพืชสมุนไพรที่มีอยูในทองถ่ินของตน ซ่ึงจะสงผลใหเกิดการมีสวนรวมในการจดัการทรัพยากรธรรมชาติไดอยางยั่งยืน และเปนประโยชนในการใชพืชสมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐานตอไป

Page 2: 1 คํานําapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00373/C00373-2.pdf · 3 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาความหลากหลายและการใช

2

พื้นที่โครงการอนุรักษและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ โครงการพัฒนาสวนพระองค จังหวัดชุมพร อยูในพื้นที่ตําบลปากคลอง อําเภอปะทิว จังหวัดชุมพร เปนโครงการที่ดําเนินงานตามแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ในพื้นที่โครงการพัฒนาสวนพระองค จังหวัดชุมพร ซึ่งอยูบนพื้นที่เนินสันทรายชายทะเล (Coastal Sand Dune) มีพื้นที่ 448 ไรเศษ จากพื้นที่เนินสันทรายทั้งหมดประมาณ 2,000 ไร ซ่ึงโครงการอนุรักษ ฯ ไดดําเนินงานอนุรักษสภาพเนินสันทรายและสภาพแวดลอมเดิมของภูมิประเทศ ศึกษาคนควาวิจัยเกี่ยวกับพรรณไมภายในพื้นที่เนินสันทรายและสงเสริมใหเปนแหลงศึกษาเรียนรูและแหลงทองเที่ยวใหมของจังหวัดชุมพรตั้งแตป พ.ศ. 2543 จน กระทั่งในป พ.ศ. 2550 โครงการอนุรักษและพัฒนาฯ จังหวัดชุมพร ไดรับเลือกใหเปน 1 ใน 19 โครงการพระราชดําริ จาก 3,000 กวาโครงการทั่วประเทศ ใหเปน 1 ในโครงการเปดทองหลังพระสืบสานโครงการพระราชดําริ จากการคัดเลือกขององคกรภาคเอกชน สภาอุตสาหกรรมการทองเที่ยวแหงประเทศไทย สํานักงานสงเสริมการจัดประชุมและสัมมนา (องคการมหาชน) บริษัทการบินไทยจํากัด และการทองเที่ยวแหงประเทศไทย เพื่อใหเปนแหลงศึกษาเรียนรู และแหลงทองเที่ยวในวิถีเศรษฐกิจพอเพียง แกชุมชนรอบพื้นที่ บริเวณใกลเคียงและประชาชนพื้นที่สนใจทั่วไป จะไดเขาไปศึกษาหาความรูและใชประโยชนดานการศึกษาพรรณพืชสมุนไพร

Page 3: 1 คํานําapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00373/C00373-2.pdf · 3 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาความหลากหลายและการใช

3

วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาความหลากหลายและการใชประโยชนพืชสมุนไพรจากภูมิปญญาพื้นบานใน

พื้นที่โครงการอนุรักษและพฒันาทรัพยากรธรรมชาติ โครงการพัฒนาสวนพระองค จังหวดัชุมพร 2. เพื่อศึกษาพืชสมุนไพรในพื้นที่ศึกษาเพื่อนําผลการศึกษาไปใชในงานสาธารณสุขมูลฐาน

สรรพคุณยาไทย และการใชอยางงาย ๆ 3. เพื่อเปนขอมูลพื้นฐานในการสงเสริมใหชุมชนทราบแนวทางในการผลิตพืชสมุนไพรใน

เชิงเศรษฐกิจชุมชน

การตรวจเอกสาร สมุนไพร ตามพจนานกุรมฉบับราชบัณฑติสถาน พ.ศ. 2525 พิมพคร้ังที่ 5 พ.ศ. 2538 หนา 401 หมายถึง ผลิตผลธรรมชาติที่ไดจากพืช สัตว และแรธาตุ ทีใ่ชเปนยา หรือผสมกับสารอื่นตามตํารายา เพื่อบาํบัดรักษาโรค บํารุงรางกาย หรือใชเปนยาพิษ สมุนไพร ตามพระราชบัญญัติคุมครองและสงเสริมภมูิปญญาการแพทยไทย พ.ศ. 2542 หมายความวา พืช สัตว จุลชีพ ธาตุวัตถุ สารสกดัดั้งเดิมจากพชืและสัตวทีใ่ชหรือแปรสภาพหรือปรุงเปนยา หรืออาหาร เพื่อการตรวจวินิจฉัย บําบัดรักษาหรือปองกันโรค หรือสงเสริมสุขภาพรางกายมนุษยหรือสัตว ยาสมุนไพร ตามพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 และที่แกไขเพิ่มเติมหมายความวา ยาที่ไดจากพฤกษาชาติ สัตว แรธาตุ ซ่ึงมิไดผสม ปรุง หรือแปรสภาพ ถาเปนสมุนไพรทีไ่ดจากพืช เรียกพืชนั้นวา พืชสมุนไพร (medicinal plant)

Page 4: 1 คํานําapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00373/C00373-2.pdf · 3 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาความหลากหลายและการใช

4

รายละเอียดการศึกษา ระยะเวลาทําการศึกษา ระยะเวลาทําการศึกษาพรรณพืชสมุนไพร ในพืน้ที่โครงการอนุรักษและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ โครงการพัฒนาสวนพระองค จังหวัดชุมพร ตําบลปากคลองอําเภอปะทวิ จังหวดัชุมพร ตั้งแตเดือนตุลาคม 2549 ถึงเดือน กันยายน 2550 สถานที่ทําการศึกษา โครงการอนุรักษและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ โครงการพัฒนาสวนพระองค จังหวัดชุมพร เร่ิมเขาดําเนินงานสนองแนวพระราชดําริ ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภมูิพลอดุลยเดช เมื่อป พ.ศ. 2543 สังกัดกรมปาไม ปจจุบันสงักัดกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพนัธุพืช ตั้งอยูในพื้นที่โครงการพัฒนาสวนพระองค จังหวัดชมุพร ทองที่บานน้ําพุ หมูที ่ 5 ตําบลปากคลอง อําเภอปะทิว จังหวดัชุมพร มีพื้นที่ดําเนินการ 448 ไรเศษ อยูในพื้นที่เนินสันทรายชายทะเล (Coastal Sand Dune)

Page 5: 1 คํานําapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00373/C00373-2.pdf · 3 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาความหลากหลายและการใช

5 แผนที่แสดงบริเวณพื้นท่ีศึกษา

Page 6: 1 คํานําapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00373/C00373-2.pdf · 3 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาความหลากหลายและการใช

6 ประวัติความเปนมาของพืน้ท่ี

พื้นที่โครงการพัฒนาสวนพระองค จังหวัดชุมพร เปนพืน้ที่ทรัพยสินสวนพระองคของพระบาทสมเดจ็พระเจาอยูหวัภูมิพลอดุลยเดช ตามโฉนดเลขที่ 2255 เลมที่ 23 ตําบลปากคลอง อําเภอปะทิว จังหวัดชุมพร ในป พ.ศ. 2522 สถานบันวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วท) และคณะกรรมการจังหวดัชุมพร ไดเขาดําเนนิการวจิัยและพัฒนารวมกันในโครงการพฒันาเกษตรดนิทรายชายทะเล อันเนื่องมาจากพระราชดําริเพื่อการใชประโยชนจากพื้นที่ดินทรายชายทะเล เมื่อวนัที่ 4 พฤศจิกายน 2532 โครงการไดรับความเสยีหายเปนอยางมาก จากพายุไตฝุนเกย และเงินสนับสนุนในการดําเนนิงานสิ้นสุดลง โครงการนี้จึงไดปดตัวลงเมื่อ 31 ตุลาคม 2538 พรอมทั้งคืนสถานที่ใหกับสํานักงานจดัการทรัพยสินสวนพระองค ในป พ.ศ. 2541 จังหวัดชุมพร ไดรับการประสานจากโครงการพัฒนาสวนพระองคซ่ึงมีแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวัภูมิพลอดุลยเดช ใหหนวยงานในพืน้ที่เขาสนองแนวพระราชดาํริ ปาไมจังหวัดชุมพรสังกดักรมปาไมไดเขาดําเนินงานสนองแนวพระราชดําริในป พ.ศ. 2543 เขารับผิดชอบพื้นที่ดําเนินงานประมาณ 100 ไร จนถึงปจจุบันสงักัดกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช รับผิดชอบพื้นที่เกือบทั้งหมดของโครงการฯ ประมาณ 420 ไรเศษ โดยสนองแนวพระราชดําริ 3 แนวพระราชดําริ ดวยกัน คอื

1. อนุรักษสภาพแวดลอมเดิมของภูมิประเทศ คือ สภาพสันทราย และสภาพปาธรรมชาติไว เพื่อศึกษา พกัผอนหยอนใจ

2. เพื่อเปนแหลงศึกษาวจิัยแหลงสงเสริมอาชีพ แกเกษตรกรบริเวณใกลเคียง และสรางงานใหแกประชาชน

3. เพื่อพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวใหมของจังหวดัชมุพร เนื่องจากมีศักยภาพที่เหมาะสมทุกดาน

จากการดําเนินงานสนองแนวพระราชดําริดังกลาว ในป พ.ศ. 2550 โครงการอนุรักษและพัฒนาทรพัยากรธรรมชาติ โครงการพัฒนาสวนพระองค จังหวัดชมุพร ไดรับเลือกใหเปน 1 ใน 19 โครงการพระราชดําริ จาก 3,000 กวาโครงการทั่วประเทศ ใหเปน 1 ในโครงการเปดทองหลังพระสืบสานโครงการพระราชดําริ จากการคัดเลือกขององคกรเอกชน สภาอุสาหกรรมการทองเที่ยวแหงประเทศไทย สํานักงานสงเสริมการจัดประชุมและสัมมนา (องคการมหาชน) บริษัท การบินไทย จํากัด และการทองเที่ยวแหงประเทศไทย เพื่อใหเปนแหลงศึกษาเรียนรูและแหลงทองเที่ยวในวิถีเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนรอบพื้นที่ บริเวณใกลเคียงและประชาชนที่สนใจทั่วไป จะไดเขาไปศกึษาหาความรูและใชประโยชนดานการศึกษาพรรณพืชสมุนไพร

Page 7: 1 คํานําapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00373/C00373-2.pdf · 3 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาความหลากหลายและการใช

7

ลักษณะภูมิประเทศ พื้นที่โครงการอนุรักษและพฒันาทรัพยากรธรรมชาติ โครงการพัฒนาสวนพระองค

จังหวดัชุมพร เปนพื้นที่เนินสันทรายชายทะเล (Coastal Sand Dune) ที่เชื่อมตอระหวางเขาบางเบดิ เขาถํ้าธง และเขาแหลมใหญ เปนเนินสันทรายที่ขนานไปกับชายฝงทะเลดานอาวไทย รูปพระจันทรเสี้ยว พื้นที่เนนิสันทรายยาวประมาณ 10 กิโลเมตร กวางสุดประมาณ 600 เมตร สูง 15-30 เมตร จากระดับน้ําทะเลเฉลี่ยปานกลาง พื้นที่เนนิสันทรายสูง ๆ ต่ํา ๆ 3-4 เทือก พื้นที่ทั้งหมดประมาณ 2,000 ไร โครงการอนุรักษและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ โครงการพัฒนาสวนพระองค จงัหวัดชุมพร ตั้งอยูกึ่งกลางระหวางเขาบางเบิดและเขาถ้ําธง เนื้อที่ 448 ไรเศษ เปนพืน้ที่เนินสันทราย (Sand Dune) ที่เกิดปรากฏการณขึ้นและลงของน้ําทะเล (Transgression และ Regressiong) ในอดีต 2 คร้ัง การพัดพาตะกอนทรายชายทะเลมาทับถมเปนเนินสูง ๆ ต่ํา ๆ ดวยกระแสลม อันเกิดจากปจจยัที่เอื้ออํานวยใหกอเกิดสันทรายมอีงคประกอบเพิ่มเติมที่บริเวณดานหนาทะเลเปดโลง ไมมีเกาะแกงตาง ๆ มาปดกั้นขวางทิศทางกระแสลมขนาดของเม็ดตะกอนทรายมีขนาดเล็กมาก ซ่ึงเกิดจากสลายตัวของปะการังจึงทําใหเม็ดทรายน้ําหนักเบา เรียกตะกอนทรายเหลานี้วา ทรายแปง ประกอบกบัชายฝงทะเลเปนหาดทรายที่ลาดชันนอย เมื่อน้าํทะเลลดลงจึงทําใหมีหาดทรายกวาง จึงทาํใหตะกอนทรายแหง เมื่อกระแสลมพัดผานมีความเร็วพอโดยเฉพาะในชวงฤดูมรสุมตะวนัออกเฉียงเหนือ พดัผาน ก็จะพัดพาตะกอนทรายเหลานั้นกระดอนขึ้นไปทับถมบนเนินสันทรายเพิ่มขึน้เรื่อย ๆ พรรณพืชที่ขึ้นอยูในบริเวณพื้นทีเ่นินสันทราย จึงเปนพรรณพืชที่มีการปรับตัวไดดี เชน ทนตอความแหงแลง กระแสลมแรงและดนิขาดความอุดมสมบรูณ ซ่ึงจะพบขึ้นอยูในพื้นทีด่านปะทะลม (Windward) แตพรรณไมที่ทนตอไอเคม็ และความรนุแรงของกระแสลมนอยกวา ก็จะอยูดานหลังของเนินสันทราย หรือ ดานอบัลม (Leeward) และดานหลังเนินสันทรายนี้ จะเปนที่สะสมของอินทรียวัตถุ ที่กระแสลมพัดพามาจากดานปะทะลมดวย จึงทําใหพืน้ทรายดานหลังเนินสันทราย มีอินทรียวัตถุที่พรรณไมจะเจริญเติบโตไดดกีวา สภาพทางปฐพีวิทยา พื้นที่ทั้งหมดมีสภาพเปนดนิทรายทะเล ที่มีเม็ดทรายขนาดเล็กมาก กอตัวทับถมกันเปนเนินสันทราย (Sand Dune) ที่มีลักษณะสูง ๆ ต่ํา ๆ ขนานกับชายฝงทะเล จากการเกบ็ตัวอยางชัน้ดนิในการขุดเจาะน้ําบาดาล พบวาความหนาของชั้นทรายหนาประมาณ 30 เมตร ดินมีความอุดมสมบรูณนอยมาก เนื่องจากมีอินทรียวัตถุปะปนอยูนอยมาก

Page 8: 1 คํานําapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00373/C00373-2.pdf · 3 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาความหลากหลายและการใช

8

ลักษณะภูมิอากาศ

เปนแบบมรสมุเขตรอน อุณหภูมิเฉลี่ย 28.05 องศาเซลเซียส ฤดูฝนเริ่มเดือนพฤษภาคม ถึงเดือน พฤศจิกายน มีปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย 1,870.50 มิลลิเมตรตอป สถิติฝนตกมากที่สุดในเดือนสิงหาคม ฤดูหนาวเริ่มเดือนธันวาคม ถึง มกราคม อุณหภูมิต่ําสุดในเดือน มกราคม ประมาณ 25 องศาเซลเซียส ความเร็วลมสูงสุดในชวงฤดหูนาวประมาณ 35 กิโลเมตรตอช่ัวโมง ฤดรูอนเริ่มเดือนมีนาคม ถึงพฤษภาคมอุณหภมูิเฉลี่ยในเดือนเมษายน ประมาณ 33 องศาเซลเซียส

ชนิดปาและพชืพรรณ

ปาดั้งเดิมเปนปาแบบผสมที่ขึ้นอยูบนเนินสันทราย ซ่ึงเปนปาชายหาดในพืน้ที่ที่ติดริมฝงทะเล หางจากชายฝงไมมากนักจะเปนปาผสม ซ่ึงถูกบุกรุกจนสภาพเสื่อมโทรม และไดมีการปลูกฟนฟูและทดลองปลูกพรรณไมโตเร็วและพืชเกษตร ชนิดพรรณไมทีป่ลูก เชน ยูคาลิปตัส , สนทะเล, สนประ-ดิพัทธ, กระถินณรงค, กระถินเทพา, พญาไรใบ , มะมวงหิมพานต, สะเดา, กระทอน, มะมวง , มะพราว,นอยหนา เปนตน

Page 9: 1 คํานําapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00373/C00373-2.pdf · 3 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาความหลากหลายและการใช

9

วิธีการศึกษา

ดําเนินการสํารวจและเก็บขอมูลพืชสมุนไพรและศึกษาใชประโยชนในพื้นที่โครงการอนุรักษและพฒันาทรัพยากรธรรมชาติ โครงการพัฒนาสวนพระองค จังหวดัชุมพร โดยวิธีการศึกษาดังนี ้

1. การปฏิบตัิงานในภาคสนาม 1.1 รวบรวมขอมูลเบื้องตนและบันทกึเกี่ยวกับสมุนไพรและการใชประโยชนโดยการ สัมภาษณหมอยาพื้นบานและประชาชนในชมุชนรอบพื้นที่สํารวจ

1.2 สํารวจพื้นทีแ่ละกําหนดเสนทางสํารวจใหครอบคลุมพื้นที่ ทุกสภาพพืน้ที่และทุก สังคมพืช 1.3 เก็บขอมูลและเก็บตวัอยางพืชสมุนไพรทีพ่บตลอดเสนทางที่กําหนดบันทึกชื่อพื้นเมือง ลักษณะวสัิย การใชประโยชน โดยเก็บตัวอยางใบ ดอก และผล พรอมบันทึก ภาพประกอบ

2. การปฏิบตัิงานในสํานักงาน

2.1 ตรวจเอกสารที่เกีย่วของกับพรรณพืชสมุนไพร และการใชประโยชนทัง้หมด เชน เอกสารงานวิจยั ตําราสมุนไพร ตลอดจนขอมูลพื้นฐานของพื้นที่สํารวจ

2.2 นําตัวอยางพรรณพชืที่ไมทราบชื่อไปตรวจหาชือ่พฤกษศาสตร โดยขอใหนกัพฤกษศาสตรชวยดาํเนินการ ที่หอพรรณไม สํานักวิชาการปาไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

2.3 จัดทาํบัญชีรายช่ือพรรณไม ช่ือสามัญ ช่ือพฤกษศาสตร โดยอางอิงจากหนังสือพรรณไมแหงประเทศไทย (เต็ม สมิตินันทน) พ.ศ. 2544 พรอมระบุสวนที่ใชประโยชนของพืชสมุนไพร โดยมุงเนนชนดิสมุนไพรที่ชุมชนใชประโยชนบอย ๆ ซ่ึงในอนาคตสามารถสงเสริมใหพัฒนาในเชิงเศรษฐกิจชุมชน

2.4 นําขอมูลที่ได เรยีบเรียง วิเคราะห จัดทําสรปุรายละเอียดใหเรียงลําดับและตอเนื่องสอดคลองและเขียนรายงานผลการศึกษาเปนเอกสาร

Page 10: 1 คํานําapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00373/C00373-2.pdf · 3 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาความหลากหลายและการใช

10 ผลและการวิจารณ

การศึกษาความหลากหลายและการใชประโยชนพรรณพชืสมุนไพร ในพื้นที่โครงการอนุรักษและพฒันาทรัพยากรธรรมชาติ โครงการพัฒนาสวนพระองค จังหวดัชุมพร ตั้งแตเดือน ตุลาคม 2549 ถึงเดือน กันยายน 2550 พบพืชสมุนไพร จํานวน 56 ชนิด 39 วงศ วงศที่พบมากที่สุด 5 อันดับแรก ไดแก วงศ APOCYNACEAE จํานวน 4 ชนิด วงศ DIPTEROCARPACEAE จาํนวน 3 ชนิด วงศ EUPHORBIACEAE จํานวน 3 ชนิด วงศ GUTTIFERAE และวงศ MYRTACEAE จาํนวน 3 ชนดิ และเมื่อพิจารณาตามจํานวนลักษณะวิสัยทีพ่บมาก 3 อันดับแรกไดแก ไมพุม กึ่งไมตนขนาดเล็ก (ST,S/ST) จํานวน 20 ชนดิ ไมตน (T) จาํนวน 14 ชนิด และไมเถา ( C ) จํานวน 11 ชนิด มีรายช่ือดังนี ้1. วงศ ANACARDIACEAE : ออยชาง Lannea coromandelica (Houtt.) Merr. 2. วงศ ANNONACEAE : กลึงกลอม Polyalthia suberosa (Roxb.) Thwaites กลวยเตา Polyalthia debilis (Pierre) Finet & Gagnep. 3. วงศ APOCYNACEAE : คุย Willughbeia edulis Roxb. ตีนเปดทราย Cerbera manghas L. ทุงฟา Alstonia macrophylla Wall. ex G. Don โมกเครือ Aganosma marginata (Roxb.) G.Don. 4. วงศ ASPARAGACEAE : สามสิบ Asparagus racemosus Willd. 5.วงศ CELASTRACEAE : กําแพงเจ็ดชั้น Salacia chinensis L. 6. วงศ CONNARACEAE : ถอบแถบเครือ Connarus semidecandrus Jack หงอนไก Cnestis palala (Lour.) Merr. ssp. palala 7. วงศ DAVALLIACEAE : เกล็ดนาคราช Davallia solida (G.Forst.)Sw. 8. วงศ DILLENIACEAE : เถาอรคนธ Tetracera indica (Christm. & Panz.) Merr. รสสุคนธขาว Tetracera loureiri (Finet & Gagnep.) Pirre ex Craib 9.วงศ DIPTEROCARPACEAE : เคี่ยม Cotylelobium lanceolatum Craib ตะเคียนทอง Hopea odorata Roxb.พันจํา Vatica odorata (Griff.) Symington 10. วงศ ERYTHROXYLACEAE : ไกรทอง Erythroxylum cuneatum (Miq.) Kurz 11.วงศ EUPHORBIACEAE : ขันทองพยาบาท Suregada multiflorum (A. Juss.) Baill. ผักหวานตัวผู Breynia vitis-idaea (Burm.f.) C.E.C.Fisch. มะขามปอม Phyllanthus emblica L. 12. วงศ FLACOURTIACEAE : กรวยปา Casearia grewiifolia Vent. var. grewiifolia 13. วงศ GNETACEAE : เมื่อย Gnetum cuspidatum Blume 14. วงศ GOODENIACEAE : รักทะเล Scaevola taccada (Gaertn.) Roxb. 15. วงศ GUTTIFERAE : กระทิง Calophyllum inophyllum L. ชะมวง Garcinia cowa Roxb. ex DC. มังคุดปา Garcinia speciosa Wall.

Page 11: 1 คํานําapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00373/C00373-2.pdf · 3 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาความหลากหลายและการใช

11

16. วงศ LECYTHIDACEAE : กระโดน Careya sphaerica Roxb. 17. วงศ LEGUMINOSAE : มะคาแต Sindora siamensis Teijsm. & Miq. 18. วงศ LILIACEAE : ดองดึง Gloriosa superba L. 19.วงศ MALVACEAE : ปอทะเล Hibiscus tiliaceus L. 20. วงศ MELASTOMATACEAE : โคลงเคลง Melastoma malabathricum L. subsp malabathricum 21.วงศ MENISPERMACEAE : กรุงเขมา Cissampelos pareira L. ยานาง Tiliacora triandra (Colebr.) Diels 22. วงศ MYRTACEAE :พลองแกมอน Rhodamnia dumetorum (DC.) Merr.et Perry, เสม็ด

Melaleuca quinquenervia (Cav.) S.T.Blake เสม็ดชุน Syzygium gratum (Wight) S.N.Mitra var. gratum

23 วงศ. MYRSINACEAE : รามใหญ Ardisia elliptica Thunb. 24.วงศ OCHNACEAE : ชางนาว Ochna integerrima (Lour.) Merr. 25. วงศ OLACACEAE : น้าํใจใคร Olax psittacorum (Willd.) Vahl 26. วงศ OPILIACEAE : ผักพูม Champereia manillana (Blume) Merr. 27. วงศ PANDANACEAE : เตยทะเล Pandanus odoratissimus L.f. 28.วงศ PHORMIACEAE : หญาหนูตน Dianella ensifolia (L.) DC. 29. วงศ POLYPODIACEAE : กระแตไตไม Drynaria quercifolia (L.) Sm. 30. วงศ RUBIACEAE : ยอเถื่อน Morinda elliptica Ridl. หนามเค็ด Catunaregam tomentosa (Blume ex DC.) Tirveng. 31. วงศ RUTACEAE : มะนาวผ ีAtalantia monophylla (DC.) Corr. สันโสก Clausena excavata Burm.f. 32. วงศ SAPINDACEAE : มะหวด Lepisanthes rubiginosa (Roxb.) Leenh. 33. วงศ SAPOTACEAE : ขนุนนก Palaquium obovatum (Griff.) Engl. 34. วงศ SCHIZAEACEAE : ตานซาน Schizaea dichotoma (L.) Sm. 35. วงศ SIMAROUBACEAE : ปลาไหลเผือก Eurycoma longifolia Jack 36. วงศ THEACEAE : มังตาน Schima wallichii (DC.) Korth. 37. วงศ TILIACEAE : ไมลาย Microcos paniculata L. 38. วงศ ULMACEAE : แกงขี้พระรวง Celtis timorensis Span. 39. วงศ ZINGIBERACEAE : กระทือ Zingiber zerumbet Smith.

Page 12: 1 คํานําapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00373/C00373-2.pdf · 3 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาความหลากหลายและการใช

12

จากขอมูลพืชสมุนไพรที่พบในพื้นที่ศกึษา จํานวน 56 ชนิด พบวามี 39 วงศ 53 สกุลโดยแบงเปนสมุนไพร ทีใ่ชรักษากลุมโรค/อาการเจ็บปวยจํานวน 8 กลุม คือ 1.)สมุนไพรที่ใชรักษากลุมโรค/อาการเจ็บปวยในระบบทางเดินอาหาร 2.) สมุนไพรที่ใชรักษากลุมโรค/อาการเจ็บปวยในระบบทางเดินหายใจ 3.) สมุนไพรที่ใชรักษากลุมโรค/อาการเจ็บปวยในระบบทางเดินปสสาวะ 4.)สมุนไพรที่ใชรักษากลุมโรคผิวหนัง 5.) สมุนไพรทีใ่ชรักษากลุมโรค/ลดไข,ลดอาการอักเสบ 6.)สมุนไพรที่ใชรักษากลุมโรค/บํารุงโลหิต,บํารุงกําลัง 7.)สมุนไพรที่ใชรักษากลุมโรค ลดอาการปวดเมื่อย และ 8.) สมุนไพรที่ใชรักษากลุมโรค/อาการเจ็บปวยอ่ืน ๆ

1. สมุนไพรที่ใชรักษากลุมโรค/อาการเจ็บปวยในระบบทางเดินอาหาร กระโดน ( Careya sphaerica Roxb. ), กลวยเตา ( Polyalthia debilis (Pierre) Finet & Gagnep.), เคี่ยม ( Cotylelobium lanceolatum Craib) , โคลงเคลง (Melastoma malabathricum L. subsp malabathricum), ถอบแถบเครือ ( Connarus semidecandrus Jack )

2. สมุนไพรทีใ่ชรักษากลุมโรค/อาการเจ็บปวยในระบบทางเดินหายใจ กระโดน ( Careya sphaerica Roxb. ), กระทิง ( Calophyllum inophyllum L.), ชะมวง ( Garcinia cowa Roxb.), เตยทะเล (Pandanus odoratissimus L.F.), น้ําใจใคร [Olax psittacorum (Willd.) Vahl], พันจํา [Vatica odorata (Griff.) Symington], มะขามปอม (Phyllanthus emblica L.), มะนาวผี [Atalantia monophylla (DC.) Corr.], มะหวด[Lepisanthes rubiginosa (Roxb.) Leenh.], รสสุคนธขาว [Tetracera loureiri (Finet & Gagnep.) Pirre ex Craib]

3. สมุนไพรที่ใชรักษากลุมโรค/อาการเจ็บปวยในระบบทางเดินปสสาวะ กรุงเขมา ( Cissampelos pareira L), ไกรทอง [Erythroxylum cuneatum (Miq.) Kurz], เตยทะเล (Pandanus odoratissimus L.f.), มะขามปอม (Phyllanthus emblica L.), โมกเครือ [ Aganosma marginata (Roxb.) G.Don.]

4. สมุนไพรที่ใชรักษากลุมโรคผิวหนงั กรวยปา (Casearia grewiifolia Vent. var. grewiifolia), กรุงเขมา ( Cissampelos pareira L.), ขันทองพยาบาท [Suregada multiflorum (A. Juss.) Baill. ], ดองดึง (Gloriosa superba L.), มะคาแต (Sindora siamensis Teijsm. & Miq.), มะหวด [Lepisanthes rubiginosa (Roxb.) Leenh.], สันโสก (Clausena excavata Burm.f.), ออยชาง [Lannea coromandelica (Houtt.) Merr.]

5. สมุนไพรที่ใชรักษากลุมโรค/ลดไข,ลดอาการอักเสบ กรวยปา(Casearia grewiifolia Vent. var. grewiifolia), กระโดน ( Careya sphaerica Roxb. ), กลวยเตา ( Polyalthia debilis (Pierre) Finet & Gagnep.), กลึงกลอม [Polyalthia suberosa (Roxb.) Thwaites], . ชะมวง (Garcinia cowa Roxb. ex DC.), ปลาไหลเผอืก (Eurycoma longifolia Jack),

Page 13: 1 คํานําapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00373/C00373-2.pdf · 3 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาความหลากหลายและการใช

13

ผักหวานตัวผู [Breynia vitis-idaea (Burm.f.) C.E.C.Fisch.], พลองแกมอน [Rhodamnia dumetorum (DC.) Merr.et Perry,], มะขามปอม (Phyllanthus emblica L.), มะหวด [Lepisanthes rubiginosa (Roxb.) Leenh.], ยานาง [Tiliacora triandra (Colebr.) ], สามสิบ (Asparagus racemosus Willd.)

6. สมุนไพรที่ใชรักษากลุมโรค/บํารุงโลหติ,บํารุงกําลงั กรวยปา (Casearia grewiifolia Vent. var. grewiifolia), กรุงเขมา ( Cissampelos pareira L.), กระทือ (Zingiber zerumbet Smith.), กระแตไตไม [Drynaria quercifolia (L.) Sm.], กระทิง ( Calophyllum inophyllum L.), กําแพงเจด็ชัน้ (Salacia chinensis L.), โคลงเคลง (Melastoma malabathricum L. subsp malabathricum), ชะมวง (Garcinia cowa Roxb. ex DC.), เตยทะเล [Pandanus odoratissimus L.F.], ถอบแถบเครือ ( Connarus semidecandrus Jack ) , เถาอรคนธ [Tetracera indica (Christm. & Panz.) Merr.], น้ําใจใคร [Olax psittacorum (Willd.) Vahl], มะขามปอม (Phyllanthus emblica L.), โมกเครือ [ Aganosma marginata (Roxb.) G.Don.], ไมลาย (Microcos paniculata L.), ยอเถ่ือน (Morinda elliptica Ridl.), ยานาง [Tiliacora triandra (Colebr.) ], สันโสก (Clausena excavata Burm.f.)

7. สมุนไพรที่ใชรักษากลุมโรค ลดอาการปวดเมื่อย ไกรทอง [Erythroxylum cuneatum (Miq.) Kurz], ดองดึง (Gloriosa superba L.), ผักพูม [Champereia manillana (Blume) Merr.], เมื่อย (Gnetum cuspidatum Blume), สันโสก (Clausena excavata Burm.f.) เสม็ดชุน [Syzygium gratum (Wight) S.N.Mitra ]

8.สมุนไพรที่ใชรักษากลุมโรค/อาการเจ็บปวยอ่ืน ๆ กระทือ (Zingiber zerumbet Smith.), กลึงกลอม [Polyalthia suberosa (Roxb.) Thwaites], กําแพงเจด็ชั้น (Salacia chinensis L.), ขันทองพยาบาท [Suregada multiflorum (A. Juss.) Baill. ], คุย (Willughbeia edulis Roxb. ), เคี่ยม ( Cotylelobium lanceolatum Craib) , ชางนาว [Ochna integerrima (Lour.) Merr.], ดองดึง (Gloriosa superba L.), ตะเคยีนทอง (Hopea odorata Roxb.), ตีนเปดทราย (Cerbera manghas L.), ทุงฟา (Alstonia macrophylla Wall. ex G. Don), ปลาไหลเผือก (Eurycoma longifolia Jack), ปอทะเล (Hibiscus tiliaceus L.), ผักพูม [Champereia manillana (Blume) Merr.], ผักหวานตัวผู [Breynia vitis-idaea (Burm.f.) C.E.C.Fisch.], มังตาน [Schima wallichii (DC.) Korth.], เมื่อย (Gnetum cuspidatum Blume), โมกเครือ [ Aganosma marginata (Roxb.) G.Don.], ยอเถ่ือน (Morinda elliptica Ridl.), รักทะเล [Scaevola taccada (Gaertn.) Roxb.], รามใหญ (Ardisia elliptica Thunb.), เสม็ด [Melaleuca quinquenervia (Cav.) S.T.Blake], หงอนไก [Cnestis palala (Lour.) Merr. ssp. Palala], หญาหนูตน [Dianella ensifolia (L.) DC.], หนามเคด็ [Catunaregam tomentosa (Blume ex DC.) Tirveng.], ตานซาน [Schizaea dichotoma (L.) Sm.], เกล็ดนาคราช [Davallia solida (G.Forst.)Sw.], มังคุดปา (Garcinia specioosa Wall.), แกงขี้พระรวง (Celtis timorensis Span.)

Page 14: 1 คํานําapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00373/C00373-2.pdf · 3 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาความหลากหลายและการใช

14

สรุปผลการศึกษา

การศึกษาความหลากหลายและการใชประโยชนพรรณพชืสมุนไพร ในพื้นที่โครงการอนุรักษและพฒันาทรัพยากรธรรมชาติ โครงการพัฒนาสวนพระองค จังหวดัชุมพรตั้งแตเดือน ตุลาคม 2549 ถึงกันยายน 2550 พบพืชสมุนไพร จํานวน 56 ชนิด 39 วงศ 53 สกุล วงศที่พบมากที่สุด 5 วงศ ไดแกวงศ APOCYNACEAE จํานวน 4 ชนิด วงศ DIPTEROCARPACEAE จํานวน 3 ชนิด วงศ EUPHORBIACEAE จํานวน 3 ชนดิ วงศ GUTTIFERAE จํานวน 3 ชนิด และวงศ MYRTACEAE จํานวน 3 ชนิด และเมื่อพจิารณาตามลักษณะวิสัยที่พบมาก 3 อันดับแรก ไดแก ไมพุมถึงไมตนขนาดเล็ก (ST, S/ST) จํานวน 20 ชนิด ไมตน (T) จํานวน 14 ชนิด และไมเถา (C) จํานวน 11 ชนิด ตามลําดับ

พบพืชสมุนไพรที่หมอยาพืน้บานนํามาใชเปนสวนประกอบของยาสมุนไพรมากที่สุด คือ มะขามปอม (Phyllanthus emblica L.) รองลงมาคือ กรวยปา (Casearia grewiifolia Vent.var.grewiifolia) กรุงเขมา (Cissampelos pareira L.) กระโดน (Careya sphaerica Roxb.) เตยทะเล (Pandanus odoratissimus L.f.) และมะหวด [Lepisanthes rubiginosa (Roxb.) Leenh.] ในการเก็บหาพืชสมุนไพรไปใชประโยชน โดยเฉพาะการนําสวนเนื้อไม อาจมีผลตอการเจริญเติบโต หรือการกระจายพันธุตามธรรมชาติ ผูศึกษาเห็นวาในการนําสวนเนื้อไมมาใชประโยชน ในกรณีที่เปนไมยืนตนควรหลีกเลี่ยงการตัดหรือถาก หรือขุดจากลําตนโดยตรง เพราะอาจเปนสาเหตุใหตนไมไดรับอันตรายหรือมีอัตราการเจริญเติบโตลดลง โดยการนําสวนของเนื้อไมจากกิ่งกานทีเ่หมาะสมมาใชแทน และเปนการชวยลิดกิ่งตนไมประกอบกับพื้นที่ที่ทําการศึกษาเปนพื้นที่ที่ภูมิประเทศไมเอื้ออํานวยใหตนไมเสยีหายได แตหากมกีารจัดการในการเก็บสมุนไพรดังกลาว จะทําใหในปตอ ๆ ไป สามารถเก็บหามาใชประโยชนไดอีก สําหรับการเก็บหาสมุนไพร จากพืชทีเ่ปนไมเถาหรือไมพุมกึ่งเลื้อย โดยตัดไมใหชิดสวนลําตนเกนิไป เพื่อใหเหลือตนพันธุไวใหเจริญเติบโตแตกกิ่งกานขยายพันธุตอไป

Page 15: 1 คํานําapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00373/C00373-2.pdf · 3 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาความหลากหลายและการใช

15 ขอเสนอแนะและปญหาอุปสรรค

เห็นควรศกึษาพืชสมุนไพรและพืชอ่ืน ๆ ในพื้นที่โครงการอนุรักษและพฒันาทรัพยากรธรรมชาติ โครงการพัฒนาสวนพระองค จังหวัดชุมพร เพิ่มเติม เนื่องจากเปนพื้นที่ทีย่ังไมไดรับการศึกษาเหมือนพื้นที่อ่ืน ๆ แลวจดัทําหนังสือพชืสมุนไพรและพืชที่พบในพืน้ที่เผยแพรและเปนคูมือใหแกผูสนใจที่จะเขาศกึษาพรรณพืชสมุนไพรในพืน้ที่ โดยเฉพาะผูที่ไดรับประโยชนโดยตรง เชน หมอยาพืน้บาน นักพฤกษศาสตร นักสงเสริมการเกษตร เจาหนาที่สาธารณสุข นักเรียน นกัศึกษา เปนตน รวมทั้งภาครัฐ และหนวยงานที่เกีย่วของ ควรเรงศึกษาวจิัยเพื่อตอยอดองคความรู นําสารสกัดจากสมุนไพรไปใชประโยชนทางดานเภสัชกรรม และพฒันาผลิตภัณฑสมุนไพรใหมีความกาวหนาและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

อุปสรรคในการสํารวจศึกษาในครั้งนี้ พอสรุปไดดังนี ้1. หมอยาพืน้บานสวนใหญไมเต็มใจที่จะบอกประโยชนของสมุนไพรแตละชนิด พรอมทั้งชื่อ

พื้นเมืองของพชืสมุนไพรไมคอยจะตรงกัน จึงตองใชเวลาในการสืบคนเพิ่มเติม 2. พืชสมุนไพรหลายชนิดไมออกดอกหรือติดผล ในชวงที่ออกไปเก็บขอมูลแตละครั้งจําเปน

ตองออกไปเกบ็หลายครั้งและตองใชระยะเวลาจึงจะไดตวัอยางสมบูรณ 3. พืชสมุนไพรที่ทําการศึกษาเก็บหาตวัอยางไดยาก ตัวอยางไมคอยสมบูรณ และมปีริมาณ

นอย เนื่องจากพื้นที่ที่ทําการศึกษา เปนลักษณะพืน้ที่เฉพาะ มีพื้นที่ตดิริมทะเล มีเนินสันทรายคอนขางสูงใหญมีลมแรง ไอเค็มจากทะเลมาก จึงตองสํารวจพืชสมุนไพรทั่วทั้งพื้นที่เพื่อใหไดตัวอยางที่สมบูรณ

4. การเก็บหาพืชสมุนไพรจากพื้นที่ปาธรรมชาติ อาจเปนสาเหตุใหพืชสมนุไพรมีจํานวนลดลง และอาจสูญพนัธุในที่สุด จึงควรมกีารสงวนพื้นทีใ่นชุมชน เพื่อสรางเปนแหลงอนุรักษพรรณพืชสมุนไพรเพื่อใหชุมชนไดใชประโยชนรวมกัน โดยทางราชการใหการสนับสนนุแนะนําความรูทางวิชาการ

5. ภาครัฐและหนวยงานที่เกี่ยวของควรทําการศึกษาและเรงวิธีขยายพันธุสมุนไพรหายากและ ใกลสูญพันธุ เพื่อใหผูสนใจปลูกขยายพนัธุเพื่อใชประโยชนตอไป เพราะการเก็บหาจากปาธรรมชาติอยางเดยีวจะทาํใหสูญพันธุได

Page 16: 1 คํานําapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00373/C00373-2.pdf · 3 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาความหลากหลายและการใช

(1)

การศึกษาความหลากหลายพรรณพืชสมนุไพร

ในพื้นท่ีโครงการอนุรักษและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ โครงการพฒันาสวนพระองค จังหวัดชุมพร นายชยัรัตน รัตนดาํรงภิญโญ

--------------------------------------------------------------------------

บทคัดยอ

การศึกษาความหลากหลายและการใชประโยชนพรรณพชืสมุนไพร ในพืน้ที่โครงการอนุรักษและพฒันาทรัพยากรธรรมชาติ โครงการพัฒนาสวนพระองค จังหวดัชุมพร ตั้งแตเดือนตุลาคม 2549 ถึงเดือนกันยายน 2550 รวมเวลา 1 ป โดยการออกเดินสํารวจตามทางเดิน และเก็บรวบรวมพรรณพืชสมุนไพร ไดทั้งหมด 56 ชนิด จาก 53 สกุล 39 วงศ วงศที่พบมากที่สุด 5 อันดับแรก ไดแก วงศ APOCYNACEAE พบ 4 ชนิด อีก 4 วงศ คือ DIPTEROCARPACEAE วงศ EUPHORBIACEAE วงศ GUTTIFERAE และ MYRTACEAE พบวงศละ 3 ชนิด และสมุนไพรที่นํามาใชบอย ๆ ในการดูแลสุขภาพ ไดแก มะขามปอม (Phyllanthus emblica L.) กรวยปา (Casearia grewiilolia Vent.var.grewiifolia) กรุงเขมา (Cissampelos pareira L.) กระโดน (Careya sphaearica Roxb.) เตยทะเล (Pandanus odoratissimus L.f.) และมะหวด [Lepisanthes rubiginosa (Roxb.) Leenh.] เปนตน คําสําคัญ : ความหลากหลาย, พืชสมุนไพร, โครงการอนุรักษและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ โครงการพัฒนาสวนพระองค จงัหวัดชมุพร

Page 17: 1 คํานําapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00373/C00373-2.pdf · 3 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาความหลากหลายและการใช

(2)

The Study of Diversity and Utilization of Herbs

in the area of “ The Project of Conservation and Development of Natural Resources in H.M.Private Development Project, Chumphon Province”

Chairat Ratanadomrongpinyo

ABSTRACT

The study of diversity and utilization of herbs in the area of “The Porject of Conservation and Development of Natural Resources in H.M.Private Development Project, Chumphon Province” was made from October 2006 to September 2007. The serveying method used was surveying along the walking trail. The results identified 56 species as herbs, from 53 genera, 39 families. APOCYNACEAE consisted of four species and the other four families, i.e. DIPTEROCARPACEAE, EUPHORBIACEAE, GUTTIFERAE and MYRTACEAE consisted of three species each. The herbs which highly used for health cared are Phyllanthus emblica L. , Casearia grewiifolia Vent. var. grewiifolia, Cissampelos pareira L. , Careya sphaerica Roxb. , Pandanus odoratissimus L.f. and Lepisanthes rubiginosa (Roxb.) Leenh. Key Word : diversity, herbs, “ The Project of Conservation and Development of Natural Resources in H.M. Private Development Project, Chumphon Province”

Page 18: 1 คํานําapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00373/C00373-2.pdf · 3 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาความหลากหลายและการใช

(3)

สารบัญ หนา

บทคัดยอ (1) Abstract (2) สารบัญ (3) สารบัญพรรณไม (4) คํานํา 1-2 วัตถุประสงค 3 รายละเอียดการศึกษา 4 แผนที่แสดงบริเวณพืน้ที่ศึกษา 5 ประวัติความเปนมาของพื้นที่ 6 ลักษณะภูมิประเทศ 7 ลักษณะภูมิอากาศ 8 วิธีการศึกษา 9 ผลและการวิจารณ 10 สรุปผลการศึกษา 14 ขอเสนอแนะและปญหาอุปสรรค 15 เอกสารอางอิง 88

Page 19: 1 คํานําapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00373/C00373-2.pdf · 3 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาความหลากหลายและการใช

(4) สารบัญพรรณไม

1. กรวยปา 32 2. กรุงเขมา 33 3. กระโดน 34 4. กระแตไตไม 35 5. กระทิง 36 6. กระทือ 37 7. แกงขี้พระรวง 38 8. กลวยเตา 39 9. กลึงกลอม 40 10. กําแพงเจ็ดชั้น 41 11. ไกรทอง 42 12. เกล็ดนาคราช 43 13. ขนุนนก 44 14. ขันทองพยาบาท 45 15. คุย 46 16. เคี่ยม 47 17. โคลงเคลง 48 18. ชะมวง 49 19. ชางนาว 50 20. ดองดึง 51 21. ตะเคียนทอง 52

22. ตานซาน 53 23. ตีนเปดทราย 54 24. เตยทะเล 55 25. ถอบแถบเครือ 56 26. เถาอรคนธ 57 27. ทุงฟา 58 28. น้ําใจใคร 59 29. ปลาไหลเผือก 60 30. ปอทะเล 61

Page 20: 1 คํานําapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00373/C00373-2.pdf · 3 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาความหลากหลายและการใช

(5)

31. ผักพูม 62 32. ผักหวานตัวผู 63 33. พลองแกมอน 64 34. พันจํา 65 35. มะขามปอม 66 36. มะคาแต 67 37. มะนาวผี 68 38. มะหวด 69

39. มังคุดปา 70 40. มังตาน 71 41. เมื่อย 72 42. โมกเครือ 73 43. ไมลาย 74 44. ยอเถ่ือน 75 45. ยานาง 76 46. รสสุคนธขาว 77 47. รักทะเล 78 48. รามใหญ 79 49. สันโสก 80 50. สามสิบ 81 51. เสม็ด 82 52. เสม็ดชุน 83 53. หงอนไก 84 54. หญาหนูตน 85 55. หนามเค็ด 86 56. ออยชาง 87

Page 21: 1 คํานําapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00373/C00373-2.pdf · 3 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาความหลากหลายและการใช

88 เอกสารอางอิง

1. ช่ือพรรณไมแหงประเทศไทย เต็ม สมิตินนัท (ฉบับแกไขเพิ่มเติม 2544). 2544; โรงพิมพบริษัทประชาชน จํากัด, กรุงเทพฯ. 810 น.

2. วุฒิ วฒุิธรรมเวศ 2540; รวมอนุรักษมรดกไทย สารานกุรมสมุนไพร รวมหลักเภสชักรรมไทย สํานักพิมพโอเดียนสโตร กรุงเทพฯ. 620 น.

3. นิจศิริ เรืองรังสี และธวัชชัย มังคละคุปต 2547,สมุนไพรไทย เลม 1; บี เฮลทตี้ กรุงเทพฯ.380 น. 4. ธงชัย เปาอินทร และนิวตัร เปาอินทร 2544, ตนไมยานารู สํานักพิมพ ISBN กรุงเทพฯ. 374 น. 5. สวนพฤกษศาสตรปาไม สํานักวิชาการกรมปาไม 2542, พรรณไมตนของประเทศไทย

สํานักพิมพ ISBN กรุงเทพฯ. 215 น. 6. ภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล 2543, สารานุกรมสมุนไพร

เลม 1 สมุนไพรสวนสิริรุกขชาติ, อมรินทรพร้ินติ้งแอนดพับลิชช่ิง กรุงเทพฯ. 220 น. 7. ภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล 2543, สารานุกรมสมุนไพร

เลม 2 สยามไภษัชยพฤกษ, อมรินทรพร้ินติ้งแอนดพบัลิชช่ิง กรุงเทพฯ.255 น. 8. ภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร คณะเภสัชศาสตร มหาวทิยาลัยมหดิล 2539, สมุนไพรพื้นบาน

ลานนา สํานักพิมพ ISBN กรุงเทพฯ. 264 น. 9. “------------------------------------------------------------------------------“ 2546, สมุนไพรพื้นบาน

ภาคอีสาน อมรินทรพร้ินติ้งแอนดพับลิชช่ิง กรุงเทพฯ.192 น. 10. สถาบันการแพทยแผนไทย กรมการแพทย กระทรวงสารธารณสุข 2542, ผักพืน้บานภาคใต

โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก กรุงเทพฯ. 280 น. 11. ไรมอน การดเนอร, พินดา สิทธิสุนทร, วิไลวรรณ อนุสารสุนทร 2543, ตนไมเมืองเหนือ

โครงการจัดพมิพคบไฟ กรุงเทพฯ. 560 น. 12. แอ็ดวานซ เอ็นดูเคชั่นมีเดีย 2544, สมุนไพรในปาฝน 19 อุทยานแหงชาติภาคกลาง เดอะทรูเปอร.

224 น. 13. จารุพันธ ทองแถม, ปยเกษตร สุขสถาน 2550, FERNS สํานักพิมพ โรงพิมพกรุงเทพฯ. 456 น. 14. ชวลิต นิยมธรรม ศูนยวิจยัและศกึษาธรรมชาติปาพรุสิรินธร โครงการศูนยศึกษาการพัฒนา

พิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดนราธิวาส 2540, ไมตนในพืน้ที่ปาพรุ จังหวดันราธิวาส อมรินทรพร้ินติ้งแอนดพับลิชช่ิง กรุงเทพฯ. 174 น.

15. สุทัศน จูงพงศ 2541, สมุนไพรพันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด สวนเพาะชํากลาไม สํานักสงเสริมการปลูกปา กรมปาไม. 176 น.

16. กอนกานดา ชยามฤต, ลีนา ผูพัฒนพงศ 2545, สมุนไพรไทย ตอนที่ 7 โรงพิมพ บริษัทประชาชน จํากัด กรุงเทพฯ. 277 น.

17. สวนพฤกษศาสตรปาไม สํานักวิชาการปาไม กรมปาไม 2542, พรรณไมตนของประเทศไทย บริษัท ไดมอนด พร้ินติ้ง จํากัด กรุงเทพฯ. 215 น.

Page 22: 1 คํานําapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00373/C00373-2.pdf · 3 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาความหลากหลายและการใช

การศึกษาความหลากหลายพรรณพืชสมุนไพร ในพื้นที่โครงการอนุรักษและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ

โครงการพัฒนาสวนพระองค จังหวัดชุมพร

The Study of Diversity and Utilization of Herbs in the area of “The Project of Conservation and Development

of Natural Resorces in H.M. Private Development Project Chumphon Province”

โดย

นายชัยรัตน รัตนดํารงภิญโญ Chairat Ratanadomrongpinyo

สวนควบคุมและปฏิบัติการไฟปา สํานักบริหารพืน้ที่อนุรักษท่ี 4 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

พ.ศ.2551

Page 23: 1 คํานําapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00373/C00373-2.pdf · 3 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาความหลากหลายและการใช

การศึกษาความหลากหลายพรรณพืชสมุนไพร ในพื้นที่โครงการอนุรักษและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ

โครงการพัฒนาสวนพระองค จังหวัดชุมพร

The Study of Diversity and Utilization of Herbs in the area of “The Project of Conservation and Development

of Natural Resorces in H.M. Private Development Project Chumphon Province”

โดย

นายชัยรัตน รัตนดํารงภิญโญ Chairat Ratanadomrongpinyo

สวนควบคุมและปฏิบัติการไฟปา สํานักบริหารพืน้ที่อนุรักษท่ี 4 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

พ.ศ.2551

Page 24: 1 คํานําapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00373/C00373-2.pdf · 3 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาความหลากหลายและการใช