2 magazine

26
การออกแบบนิตยสาร ความหมาย นิตยสาร หมายถึง สิ่งพิมพเย็บเลมที่ออกเปนวาระมีกําหนดเผยแพรที่แนนอนและ ตอเนื่อง โดยทั่วไป นิตยสารมีวัตถุประสงคเพื่อใหความบันเทิงเปนหลัก ดังนั้นในการออกแบบ จึงเนนความสวยงาม มีภาพประกอบมากเพื่อดึงดูดความสนใจ บางฉบับใชกระดาษอยางดี พิมพสี่สีทั้งเลม แตอยางไรก็ตามนิตยสารสวนใหญยังคงมีหนาขาวดํา (สีเดียว) และหนาสองสี ประกอบดวย เพื่อลดคาใชจาย สําหรับปกนั้นนิยมพิมพสี่สีเพราะถือวาเปนหนาตาของนิตยสาร เปนสวนที่ผูอานมองเห็นกอนสวนอื่น ความเปนมา นิตยสาร (Magazine) มาจากคําภาษาฝรั่งเศสวา “Magasin” ซึ่งแปลวา คลังสินคา (Storehouse) ความหมายนี้ตรงกับความเปนจริงตามลักษณะของนิตยสารในสมัยแรกเริ่ม คือ เปนที่รวบรวมของบทกวี บทละคร เรียงความและบทประพันธอื่น แฟรงค ลูเธอร มอทท ไดใหคํานิยามของนิตยสารเมื่อหลายสิบปกอนวา เปน หนังสือเย็บเลม ออกเปนรายประจํา และมีเนื้อหาหลายรสหลายเรื่องใหอานนิตยสารของโลกเลมแรก เชื่อกันวากําเนิดในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศษ เมื่อ ..2208 มีชื่อวายูรนัล เดอ สกาวองส (Journal de Scavans) เนื้อหาภายในเลมสวนใหญ เปนเรื่องเกี่ยวกับความรูทางดานปรัชญา ประวัติศาสตร และวิทยาศาสตร วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2

Upload: janjira-natee

Post on 29-Jul-2016

221 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

Magazine

TRANSCRIPT

การออกแบบนิตยสาร

ความหมาย นิตยสาร หมายถึง ส่ิงพิมพเย็บเลมท่ีออกเปนวาระมีกําหนดเผยแพรที่แนนอนและ

ตอเนื่อง โดยทั่วไป นิตยสารมีวัตถุประสงคเพื่อใหความบันเทิงเปนหลัก ดังนั้นในการออกแบบ

จึงเนนความสวยงาม มีภาพประกอบมากเพ่ือดึงดูดความสนใจ บางฉบับใชกระดาษอยางดี

พิมพส่ีสีทั้งเลม แตอยางไรก็ตามนิตยสารสวนใหญยังคงมีหนาขาวดํา (สีเดียว) และหนาสองสี

ประกอบดวย เพื่อลดคาใชจาย สําหรับปกน้ันนิยมพิมพส่ีสีเพราะถือวาเปนหนาตาของนิตยสาร

เปนสวนที่ผูอานมองเห็นกอนสวนอื่น

ความเปนมา นิตยสาร (Magazine) มาจากคําภาษาฝร่ังเศสวา “Magasin” ซึ่งแปลวา คลังสินคา

(Storehouse) ความหมายน้ีตรงกับความเปนจริงตามลักษณะของนิตยสารในสมัยแรกเร่ิม คือ

เปนที่รวบรวมของบทกวี บทละคร เรียงความและบทประพันธอื่น ๆ

แฟรงค ลูเธอร มอทท ไดใหคํานิยามของนิตยสารเม่ือหลายสิบปกอนวา “เปน

หนังสือเย็บเลม ออกเปนรายประจํา และมีเน้ือหาหลายรสหลายเร่ืองใหอาน”

นิตยสารของโลกเลมแรก เชื่อกันวากําเนิดในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศษ เม่ือ

พ.ศ.2208 มีชื่อวายูรนัล เดอ สกาวองส (Journal de Scavans) เน้ือหาภายในเลมสวนใหญ

เปนเร่ืองเก่ียวกับความรูทางดานปรัชญา ประวัติศาสตร และวิทยาศาสตร

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 2

การออกแบบนิตยสาร 2

สําหรับในประเทศไทยนั้นนิตยสารฉบันแรกเกิดขึ้นเม่ือไหรยังเปนเร่ืองท่ีมีความเห็น

แตกตางกันอยู นักวิชาการบางทานเช่ือวา ส่ิงที่หมอบรัดเลย ริเร่ิมขึ้นใน พ.ศ.2387 มีชื่อวา

บางกอกรีคอรเดอร หรือหนังสือจดหมายเหตุของหมอบรัดเลย

สําหรับนิตยสารฉบับแรกของคนไทยจริง ๆ ไดแก ดรุโณวาท ของพระองคเจาเกษม

สันต โสภาคย ออกระหวางป พ.ศ.2417 – 2418 เปนนิตยสารรายสัปดาห มีเน้ือหาเก่ียวกับ

ราชการเร่ืองตางประเทศ มีสุภาษิตสอนใจ บทกวี โคลง ฉัน กาพย กลอน บทละคร นิทาน

รวมทั้งแจงความโฆษณาสินคาดวย กอนหนาดรุโณวาทก็มีหนังสือภาษาไทย ที่ทําโดยคนไทย

ชื่อ ราชกิจจานุเบกษา ออกในป พ.ศ.2401 แตไมถือวาเปนนิตยสารเพราะไมมีกําหนดเวลาออก

ที่แนนอนและมีลักษณะเปน “หมายประกาศ” ของทางราชการมากกวา

ส่ิงพิมพอีกประเภทหน่ึงที่คลายกับนิตยสาร ไดแก “วารสาร” วารสารเปนส่ิงพิมพที่

ออกเปนรายประจํา มีลักษณะและรูปเลมคลายนิตยสาร แตแตกตางจากนิตยสารตรงที่เน้ือหา

ภายในเปนดานวิชาการมากกวาดานบันเทิง ใชจํานวนสีและภาพประกอบนอยกวา การจัดทํา

วารสารมีขึ้นเพื่อสนองนโยบายและความตองการของหนวยงาน สมาคม องคกร หรือสถาบัน

ตาง ๆ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อการเผยแพรขอมูล ความรู บทความทางวิชาการ ผลงานวิจัย

ความรูทางวิชาการ และความกาวหนาทางวิทยาการมากกวาจัดทําเพื่อธุรกิจการคาแบบ

นิตยสาร

\

ในที่นี้จะกลาวถึงการออกแบบจัดหนานิตยสารเทานั้น สวนการออกแบบจัดหนา

วารสารจะใชหลักการและวิธีการที่คลายคลึงกัน แตเนนความประหยัด ความเรียบงาย และ

ความเปนทางการมากกวา ในขณะที่นิตยสารจะเนนความสะดุดตาและเราอารมณความรูสึก

ของผูอานมากกวา

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 3

การออกแบบนิตยสาร 3

ประเภทของนิตยสาร นิตยสารมีหลายประเภทแลวแตเกณฑที่ใชจําแนก ไดแก

1. กลุมผูอาน ไดแก นิตยสารท่ัวไปสําหรับผูอานทั่วไปทุกเพศ ทุกวัย และนิตยสาร

เฉพาะสําหรับผูอานเฉพาะกลุม เชน นิตยสารสําหรับสตรี บุรุษ นิตยสารสําหรับ

เด็ก เปนตน

2. ระยะเวลาในการจัดจําหนาย จะแบงไดเปน นิตยสารรายสัปดาห นิตยสารราย

ปกษ นิตยสารรายเดือน นิตยสารรายสามเดือน ฯลฯ

3. ลักษณะเนื้อหาที่นําเสนออาจแบงไดเปนนิตยสารขาว นิตยสารธุรกิจ นิตยสาร

บันเทิง และนิตยสารแฟช่ัน เปนตน

การออกแบบและจัดหนาตองคํานึงถึงลักษณะของนิตยสารและกลุมเปาหมายผูอานนิตยสาร

เพื่อใหสามารถออกแบบไดสอดคลองกับนโยบายของผูจัดทําและความตองการของผูอาน

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 3

การออกแบบนิตยสาร 4

รูปแบบของนิตยสาร รูปแบบของนิตยสารเปนปจจัยสําคัญที่จําเปนตองคํานึงถึงในการออกแบบและจัด

หนา และในการนําเสนอเร่ืองราวของเนื้อหาภายในนิตยสารเพื่อใหสอดคลองกับวัตถุประสงค

การจัดทํา

การกําหนดรูปแบบการพิมพของนิตยสารน้ันขึ้นอยูกับนโยบายของนิตยสารแตละ

ฉบับ ซึ่งมีอยู 2 แนวทางดวยกัน ไดแก

1. นิตยสารที่มี รายไดจากคาโฆษณา เปนหลัก นิตยสารในกลุมนี้จะใชหนาที่สี

จํานวนมาก บางฉบับพิมพส่ีสีทั้งเลม ใชกระดาษคุณภาพดีเนนความหรูหรา มีคา เพื่อดึงดูด

ความสนใจและสรางภาพลักษณที่ดีใหกับสินคาท่ีลงโฆษณาอีกทอดหนึ่ง นิตยสารสวนใหญที่

จําหนายอยูในปจจุบันมักจะเปนนิตยสารในแนวนี้ เชน นิตยสารแพรว ดิฉัน ไฮคลาส และ

อิมเมจ เปนตน

2. นิตยสารที่มี รายไดหลักจากยอดจําหนาย นิตยสารในกลุมนี้จะตองพยายาม

ลดตนทุนใหมากท่ีสุด เพื่อใหเหลือกําไรจากการจําหนายมากที่สุด ดังน้ันกระดาษท่ีใชจึงมี

คุณภาพตํ่ากวานิตยสารในพวกแรก จํานวนหนาส่ีสีนอยกวา ไมเนนความหรูหรา และใชเน้ือหา

เปนเครื่องมือในการดึงดูดความสนใจผูอาน ตัวอยางของนิตยสารในกลุมนี้ไดแก นิตยสารมติ

ชนสุดสัปดาห คูสรางคูสม และสรรคสาระ เปนตน

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 3

การออกแบบนิตยสาร 5

ขนาดของนิตยสาร

การกําหนดรูปแบบและขนาดของนิตยสารจะทําเปนมาตราฐานคลายหนังสือเลม

เพื่อใหสอดคลองกับขนาดของเคร่ืองพิมพที่มี และขนาดกระดาษมาตราฐานท่ีจําหนายทั่วไป

โดยเหลือเศษจากการตัดเจียนนอยที่สุด และสะดวกตอการจัดเก็บรวบรวมในช้ันหนังสือ

นิตยสารสวนใหญจึงมีรูปแบบเปนส่ีเหล่ียมผืนผา โดยมีดานสันหนังสือเปนดานยาว และมี

ขนาดตาง ๆ ต้ังแตขนาดใหญจนถึงขนาดเล็กท่ีสะดวกตอการพกพา ดังนี้

1. ขนาดใหญ ไดแก ขนาดส่ีหนายก เชน มติชนสุดสัปดาห สกุลไทย สยามรัฐ

สัปดาหวิจารณ บานและสวน เปนตน 2. ขนาดมาตรฐาน ไดแก ขนาดแปดหนายก ขนาดที่นิยมที่สุด เชน ขวัญเรือน

สตรีสาร หลักไท เปนตน และขนาดเอส่ี เชน ดิฉัน แพรว ผูจัดการ เปนตน

3. ขนาดเล็กฉบับกระเปา (16 หนายก) ไดแก ขนาดสิบหกหนายก และขนาดเอ

หา เชน หนังสือการตูนขายหัวเราะ ตวยตูน นิตยสารเดอะไรเตอร สรรสาระ และ

นิตยสารนักขาย เปนตน

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 3

การออกแบบนิตยสาร 6

ขนาดของนิตยสารที่นิยมมากท่ีสุด ไดแก ขนาดแปดหนายก และเอส่ี การเลือกขนาด

ใดขึ้นอยูกับนโยบายและวัตถุประสงคในการจัดทํา เน้ือหาภายใน ขนาดของเคร่ืองพิมพ ขนาด

ของกระดาษพิมพ และอ่ืน ๆ การออกแบบและจัดหนาตองกระทําใหสอดคลองกับปจจัยตาง ๆ

ดังกลาวดวย

นิตยสารแตละขนาดมีขอดีและขอเสียตางกัน กลาวคือนิตยสารขนาดเล็กให

ความสะดวกตอการหยิบถือ การพกพาและการเปดอานในขณะเดินทางเน่ืองจากขนาดเล็ก

และนํ้าหนักเบา รวมท้ังใหความสะดวกและคุมคาใชจายในการขนสง แตไมเหมาะในการ

นําเสนอเร่ืองราวที่ตองใชภาพประกอบจํานวนมาก หรือตองใชภาพประกอบขนาดใหญอยางไร

ก็ตาม ผูอานนิตยสารในเมืองไทยนิยมซ้ือนิตยสารจากแผงจําหนายมากกวา ผูจัดทําจึงไมคอย

คํานึงถึงคาขนสงมากนัก นอกจากนี้ การจัดทํานิตยสารในเมืองไทยนิยมใชภาพประกอบและ

สีสันจํานวนมากเพื่อดึงดูดผูซื้อ และผูซื้อก็ยินดีซื้อนิตยสารน้ัน แมราคาจําหนายจะคอนขางสูง

การจัดทํานิตยสารขนาดเล็กในเมืองไทยจึงไมเปนท่ีนิยม ตัวอยางนิตยสารขนาดเล็กจึงไดแก

นิตยสารภาษาอังกฤษที่พิมพจากตางประเทศ เชน Reader’s Digest เปนตน

สวนนิตยสารฉบับใหญก็มีขอดี คือ ใชนําเสนอเร่ืองราวที่ใชการบรรยายดวยภาพ

ขนาดใหญไดดี ซึ่งมีขอดีคือ ภาพขนาดใหญใหผลกระทบตออารมณและความรูสึกของผูดี

มากกวาภาพขนาดเล็ก อยางไรก็ตาม นิตยสารใหญมีขอเสียคือ ตองใชตนทุนการผลิตสูง

เน่ืองจากตองใชการดาษจํานวนมากในการจัดทํา และยังไมสะดวกในการพกพาและการขนสง

เนื่องจากขนาดท่ีใหญและน้ําหนักท่ีมากเกินไป การจัดทํานิตยสารขนาดใหญนิยมใน

กลุมเปาหมายเฉพาะ เชน นิตยสารที่ เสนอเ ร่ืองราวเก่ียวกับการจัดและตกแตงบาน

สถาปตยกรรม และศิลปกรรมอื่น ๆ ที่ตองการเนนใหเห็นความใหญโต โออาและหรูหรา ซึ่งจะ

แลเห็นไดชัดจากภาพประกอบขนาดใหญ

สวนประกอบนิตยสาร นิตยสารประกอบดวยสวนสําคัญ 4 สวนคือ หนาปก หนาสารบาญ เนื้อหาภายใน

และหนาโฆษณา ดังรายละเอียดตอไปนี้

1. ปกนิตยสาร ปกนิตยสารเปนสวนสําคัญท่ีสุดของนิตยสารเพราะเปนจุดแรกที่คนพบเห็นและมีผล

ตอยอดขายของนิตยสาร ปกนิตยสารจะมีลักษณะเฉพาะตัวที่ตางจากปกหนังสือเลม เน่ืองจาก

ขอมูลจํานวนมากท่ีบอกลักษณะเฉพาะตัวของนิตยสารแตละฉบับ ต้ังแตชื่อนิตยสาร ตรา

สัญลักษณหรือโลโก คําขวัญประจํานิตยสาร (ถามี) และภาพปก

นอกจากนี้ยังอาจมีขอมูลแสดงปที่ ฉบับที่ วันที่ เดือน ปพุทธศักราช ราคาจําหนาย

และเร่ืองเดนประจําฉบับ รวมทั้งเลขเรียกประจํานิตยสาร (International Standard Serial

Number หรือ ISSN) แตขอมูลดังกลาวอาจปรากฏที่สันปกหรือหนาในของนิตยสารแทนที่จะ

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 3

การออกแบบนิตยสาร 7

2. หนาสารบัญ

หนาสารบัญเปนสวนประกอบสําคัญรองจากหนาปก เพราะเปนหนาที่แสดงขอมูล

ทั้งหมดซ่ึงจําเปนตอการจัดหนานิตยสาร รวมทั้งชื่อคอลัมนและบทความท้ังหมดที่มีในนิตยสาร

นั้น พรอมทั้งระบุเลขหนาเพ่ือสะดวกตอการเปดอาน โดยเฉพาะเม่ือผูอานตองการอานเร่ืองที่

สนใจหรือเร่ืองที่ใหความสําคัญกอน หนาสารบัญตองมี ชื่อนิตยสาร ปที่ ฉบับที่ เดือน ป

พุทธศักราชที่นิตยสารวางจําหนายเหมือนหนาปก รวมทั้งรายช่ือกองบรรณาธิการ และคณะ

ผูจัดทําช่ือบริษัทสํานักพิมพ ระยะเวลาในการออกจําหนาย รายชื่อแผนกหรือคอลัมนทั้งหมด

พรอมระบุเลขหนา

สําหรับนิตยสารซึ่งวางจําหนายมานานจนรูจักกันแพรหลาย อาจเนนจุดเดนน้ีดวย

การแสดงปแรกที่จัดทํานิตยสารนั้น บางคร้ังอาจจะแสดงขนาดยอของภาพปกพรอมคําบรรยาย

ใตภาพยอ สารบัญอาจมีจํานวนหนาหลายหนาหลายหนาดวย อยางกรณีนิตยสารที่ มี

กลุมเปาหมายเฉพาะ เมื่อผูอานคุนเคยกับคอลัมนประจําในนิตยสารและไมตองการความ

รวดเร็วในการเปดหาคอลัมน

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 3

การออกแบบนิตยสาร 8

3. เนื้อหานิตยสาร จุดเดนของนิตยสารคือการเสนอเน้ือในท่ีประกอบดวยเร่ืองราว บทความและคอลัมน

ที่มีความหลากหลาย ทั้งดานความรูและบันเทิงโดยใชผูเขียนจํานวนมาก การเนนเนื้อหาใน

ดานใดขึ้นอยูกับนโนบายและวัตถุประสงคในการจัดทําเปนสําคัญ ถานิตยสารทั่วไป อาจเสนอ

เร่ืองราว คอลัมนและบทความซ่ึงคนท่ัวไปสนใจเชน เร่ืองส้ัน บทวิเคราะหขาวสําคัญทาง

การเมือง เศรษฐกิจและสังคมในขณะน้ัน หรือเร่ืองราวอิงประวัติศาสตร และสัมภาษณบุคคลที่

เดนหรือมีความสําคัญ เปนตน

ถานิตยสารเฉพาะกลุมสตรี เชน แฟช่ัน แบบเส้ือ ทรงผม เคร่ืองประดับ การตกแตง

บาน การทําอาหาร นวนิยาย เปนตน

4. หนาโฆษณา หนาโฆษณาเปนสวนประกอบที่จําเปนของนิตยสาร เพราะทํารายไดหลักใหกับ

นิตยสารมากกวารายไดจากการจัดจําหนาย หนาโฆษณาของนิตยสารมักอยูที่ปกหลัง ปกหนา

ดานใน ปกหลังดานใน สวนตนของนิตยสารกอนสารบัญ และแทรกระหวางบทความหรือ

คอลัมน และหนาแรกแทรกระหวางคอลัมนตามลําดับ หนาโฆษณาที่มีสีจะราคาแพงกวาหนา

ขาวดํา

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 3

การออกแบบนิตยสาร 9

การเลือกใชภาพประกอบในนิตยสาร การเลือกใชภาพประกอบในนิตยสารควรเลือกใชภาพที่สวยงาม คมชัดและให

รายละเอียดของภาพสูงในกรณีที่ตองการเนนความเดนของภาพ นอกจากใชวิธีการทําใหเปน

ภาพตัดตกแลว ยังอาจใชหนาคูใหเปนประโยชน โดยขยายภาพใหมีขนาดใหญพอที่จะ

ครอบคลุมหนาซายและขวาของนิตยสาร การจัดวางภาพประกอบหนาคูใหดูเหมือนเปนหนา

เดียวกัน จะชวยเพิ่มความนาสนใจใหภาพอยางย่ิง อยางไรก็ดี ผูออกแบบจัดหนาจําเปนตอง

คํานึงถึงวิธีการจัดวางภาพโดยหลีกเล่ียงมิใหจุดสําคัญของภาพปรากฏบนบริเวณรอยตอของ

หนา นอกจากนี้ ยังตองคํานึงถึงความหนาของนิตยสาร วิธีการเขาเลมและเย็บเลมอีกดวย เชน

การเขาเลมดวยวิธีไสสันทากาว ตองวางรูปแบบภาพโดยเหลือเน้ือท่ีวางบริเวณสันปกที่ตางจาก

การเขาเลมดวยวิธีเย็บมุงหลังคา เปนตน การจัดวางภาพโดยไมคํานึงถึงเร่ืองดังกลาว อาจทํา

ใหภาพที่ปรากฏบนหนาคูของนิตยสารดูเหล่ือมกัน หรือไมตอเปนภาพเดียวกัน ทําใหขาดความ

สวยงามได

ในกรณีที่มีการใชภาพประกอบหลายภาพในหนาเดียวกันควรใชภาพที่มีขนาดและ

ลักษณะตางกัน โดยใหมีภาพเดนเพียงภาพเดียว การใชภาพที่มีลักษณะและขนาดเทากันใน

หนาเดียวกันจะทําใหแลดูนาเบื่อ ภาพที่ใชควรมีลักษณะที่ส่ือความหมายและสอดคลองกับ

ขอความในหนาน้ัน ๆ และควรเลือกภาพท่ีใหความรูสึกเคล่ือนไหวมีชีวิตชีวาแทนภาพท่ีแลดูนิ่ง

การเลือกใช รูปใดขึ้นอยู กับความตองการของเจาของงานโฆษณาเปนสําคัญ

นอกจากนี้ยังขึ้นอยูกับความเหมาะสม และความประสานกลมกลืนกับนิตยสารทั้งฉบับดวย

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 3

การออกแบบนิตยสาร 10

การออกแบบจัดหนานิตยสาร การออกแบบ – จัดหนา (Design and layout) เปนขั้นตอนสําคัญของการจัดทํา

นิตยสาร เปนภาระหนาที่ของบรรณาธิการหรือหัวหนาฝายศิลป ที่บางแหงเรียกวา Art Director

โดยการนําวัตถุดิบตาง ๆ เชน เนื้อหา รูปภาพและอื่น ๆ มาจัดวางใหไดสัดสวนสวยงามและ

สะดวกแกการอาน ดึงดูดสายตาเวลาวางบนแผงหนังสือ การจัดหนานิตยสารแตกตางจากการ

จัดหนาหนังสือพิมพ เพราะการจัดหนาหนังสือพิมพมุงใหความสะดวกแกผูอาน ในเร่ืองของการ

อานขาวสําคัญ มุงใหความสําคัญแกขาวมากกวา ในขณะที่การจัดหนานิตยสารจะเปนทั้ง

ความสวยงามและศิลปะของการวางหนาและการสรางความสนใจแกผูอานต้ังแตปกไปจนถึง

หนาสุดทาย

วัตถุประสงคหลักของการออกแบบ – จัดหนานิตยสารมีดังนี้

1. เพื่อดึงดูดสายตา สรางความสนใจและเชื้อเชิญใหสนใจอยากจะอาน

2. เพื่อสงความหมายทางดานเนื้อหาอยางรวดเร็ว

3. เพ่ือชวยใหผูอานไดคุนเคยกับนิตยสารของตน หรือเปนการสรางบุคลิกลักษณะ

เฉพาะตัวแกนิตยสาร

การออกแบบจัดหนานิตยสารที่ดีมีความสําคัญตอการเพิ่มความนาสนใจ ความโดด

เดน ความสะดุดตา ความสวยงาม ความประทับใจ และความเปนเอกลักษณใหกับนิตยสาร

การออกแบบและจัดหนานิตยสารจึงตองอาศัยความรูและความชํานาญท้ังดานศาสตรและ

ศิลป ในการเนนความประณีตและพิถีพิถันมากกวาส่ิงพิมพประเภทอื่นเม่ือเทียบกับการจัดทํา

หนังสือพิมพแลว การจัดทํานิตยสารมีระยะเวลาในการเตรียมงานและสามารถจัดทําอยาง

ประณีตมากกวา เนื่องจากจําหนายในราคาท่ีสูงกวามาก และเม่ือเทียบกับการจัดทําหนังสือ

เลมแลว นิตยสารมีการใชภาพประกอบและสีสันมากกวาหนังสือเลมโดยทั่วไป และไมใช

รูปแบบที่เรียบงายอยางหนังสือเลม การออกแบบและจัดหนานิตยสารดวยความประณีต มี

สวนสําคัญในการชวยเพิ่มคุณคาใหกับนิตยสารและสรางความประทับใจใหผูอานในระยะยาว

ซื่งเปนผลใหผูอานเกิดความตองการในการซ้ือและอยากติดตามอานในฉบับตอไป

ปกติการออกแบบจัดหนานิตยสารใหเปนไปในรูปแบบใดข้ึนอยูกับนโนยบายและ

วัตถุประสงคในการจัดทําและความตองการของกลุมเปาหมาย อยางไรก็ดี การออกแบบจัด

หนานิตยสาร ตองคํานึงถึงหลักการออกแบบจัดหนาองคประกอบในหนาส่ิงพิมพอันไดแก การ

จัดวางองคประกอบใหมีความเปนเอกภาพ ความสมดุล ความมีสัดสวน การเนนจุดสนใจ

ความกลมกลืน ความสอดคลอง ฯลฯ รวมท้ังความเปนระเบียบและลําดับในการถายทอด

ความหมายของภาพและขอความจากผูเขียนและผูจัดทําไปสูผูอาน นอกจากนี้ยังมีหลักการอื่น

ที่ผูออกแบบจัดหนานิตยสารควรคํานึงถึง ดังนี้

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 3

การออกแบบนิตยสาร 11

1. การออกแบบปกนิตยสาร ปกเปนสวนที่สําคัญของหนังสือทุกชนิดเปรียบไดกับหนาตาของคน เปนสวนแรกที่จะ

ทักทายและดึงดูดสายตาของผูอาน เราอาจแบงปกออกเปน 2 สวนคือ ปกหนากับปกหลัง ปก

หลังมักจะเปนเนื้อที่ของโฆษณา สวนปกหนานั้นประกอบไปดวยรายละเอียดท่ีสําคัญของ

นิตยสารไดแก ชื่อนิตยสาร ขอมูลประจําฉบับ ราคา ตลอดจนภาพประกอบและตัวโปรยที่จะใช

ดึงดูดความสนใจของผูอานเขาสูภายในเลม ในท่ีนี้จะแยกพิจารณาสวนประกอบของปกดังนี้

1.1 ช่ือนิตยสาร

ชื่อนิตยสารเปนเคร่ืองหมายการคาของนิตยสารเลมนั้น หากใชรูปแบบใดก็ควรใช

รูปแบบนั้นตลอดไป เพื่อใหผูอานจดจําไดงาย เห็นแลวทราบไดทันทีวาเปนนิตยสารฉบับใด

นิตยสารบางฉบับอาจเปล่ียนสีของช่ือตามความเหมาะสมได แตรูปแบบของตัวอักษรจะตอง

คงไวเชนเดิมเสมอ สําหรับตําแหนงการจัดวางช่ือนั้นนิยมวางไวสวนบนสุดของหนาปกนอกจาก

ชื่อของนิตยสารแลวส่ิงที่มักจัดวางไวดวยกันกับชื่อนิตยสารคือ คําขวัญ (Slogan) ของนิตยสาร

และรายละเอียดเก่ียวกับการเผยแพร เชน ปที่ ฉบับที่ ราคาจําหนาย และวันที่เผยแพร เปนตน

1.2 ภาพปก

ภาพเปนองคประกอบสําคัญของปกนิตยสาร โดยเฉพาะนิตยสารในแนวแฟช่ัน และ

นิตยสารสําหรับวัยรุนนั้น ภาพปกมีอิทธิพลตอยอดจําหนายอยางมาก ผูผลิตนิตยสารในแนวน้ี

จึงพิถีพิถันเก่ียวกับภาพปกอยางมาก

การเลือกภาพประกอบเพ่ือขึ้นปกนิตยสาร ควรเปนภาพคุณภาพดี คมชัด ให

รายละเอียดของภาพสูง และมีความเปรียบตาง (Contrast) ที่เหมาะสม ถามีภาพปกที่เดนมาก

ควรขยายภาพใหเต็มหนาเปนภาพตัดตก (Bleed) กลาวคือ เปนภาพที่ลนขอบกระดาษโดยไมมี

กรอบภาพ และควรมีการจัดสวนภาพ (Crop) ที่เหมาะสม

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 3

การออกแบบนิตยสาร 12

ในการถายภาพปกควรมีการวางแผนลวงหนา โดยกําหนดวาจะวางช่ือนิตยสารไว

อยางไร โดยท่ัวไปการถายภาพปกนิตยสารจะตองเหลือพื้นที่ดานบนไวสําหรับวางชื่อนิตยสาร

ดวย โดยเฉพาะถาหนาปกเห็นภาพคน จะตองพิจารณาดวยวา วางช่ือนิตยสารลงไปแลวจะบัง

สวนสําคัญของภาพหรือไม ในบางกรณีอาจออกแบบใหภาพทับชื่อนิตยสารบางสวนได แตตอง

ไมใหบังจนอานไมออก การออกแบบลักษณะน้ีนิตยสารใชภาพแบบไดคัท โดยตัดเอาฉากหลัง

ออกแลวจัดวางใหสวนหัวของแบบทับชื่อนิตยสารบางสวน

หากตองใชภาพทับช่ือนิตยสาร ควรแนใจวาผูอานรูจักและจดจําช่ือ

นิตยสารฉบับนั้นไดเปนอยางดีแลว

ปกนิตยสารอาจไมมีภาพก็ได

1.3 ตัวโปรย

ตัวโปรยเปนขอความส้ัน ๆ ที่ใชแนะนําเน้ือหา เร่ืองเดนประจําวันภายในเลมนิตยสาร

อาจมีหรือไมมีก็ไดถามีจะคัดมาเฉพาะเร่ืองที่นาสนใจประมาณ 1 – 3 เร่ือง เพ่ือดึงดูด

ความสนใจของผูอาน โดยทั่วไปตัวโปรยจะอยูใตชื่อนิตยสารสงมาสวนจะจัดวางไว

ตําแหนงใดนั้นขึ้นอยูกับลักษณะของงานภาพดวย โดยควรจัดวางไวในบริเวณท่ีภาพ

เปนพื้นที่เรียบ มีลวดลายนอยเพื่อใหอานงาย

อยาใชตัวโปรยจํานวนมากเกินไป เพราะจะทําใหปกรุงรังและขาดจุดเดน ควรใช

ขอความส้ันๆแตดึงดูดใจ ชวนใหติดตามอันเปนจุดประสงคหลักของตัวโปรย

1.4 ราคาและบารโคต

ราคาของนิตยสาร เปนขอมูลอีกชนิดหน่ึงที่อาจมีอยูบนปกนิตยสาร แตหากตองการ

ใหปกดูสะอาด เรียบรอย หรือทดลองจัดวางแลว รูสึกวาเลขบอกราคาเปนสวนเกิน ก็อาจจัดวาง

ราคาไวที่สันของนิตยสารแทนได

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 3

การออกแบบนิตยสาร 13

องคประกอบอีกประการหน่ึงท่ีมักจะพิมพไวคูกับราคาของนิตยสารก็คือบารโคต

หนังสือที่ไดมาตรฐานควรมีบารโคดกํากับไวดวยเพ่ือความสะดวกในการจัดเก็บ การชําระเงิน

และเก็บขอมูล 1.5 โฆษณา

โดยท่ัวไปนิตยสารไมควรมีโฆษณาท่ีปกหนา แตปจจุบันธุรกิจการผลิตนิตยสารมีการ

แขงขันกันสูง ผูผลิตตองการใหมีรายรับสูงสุดจึงยอมใหมีโฆษณาบนปกหนาได อยางไรก็ตาม

โฆษณาในหนาปกควรเปนโฆษณาขนาดเล็ก รูปแบบที่นิยมใชกันคือ ไดคัท ภาพตัวสินคาแลว

จัดวางไวชิดขอบหนาดานใดดานหนึ่ง

2. การออกแบบหนาสารบัญ การออกแบบจัดหนาสารบัญของนิตยสาร ตองอาศัยความประณีตและพิถีพิถันมา

กรองจากหนาปก เพราะเปนหนาที่ผูอานเปดอานมากที่สุดหนาหนึ่ง เพราะกอนเปดอานเร่ือง

ตาง ๆ ผูอานจะตองเปดหาท่ีหนาสารบัญเสียกอน การออกแบบควรคํานึงถึงความเปนระเบียบ

ความสวยงาม ความเรียบงาย ความสะอาด และการส่ือความหมาย และที่สําคัญคือควร

คํานึงถึงความงายและความสะดวกตอการคนหาเรื่องราวที่ตองการอาน

หนาสารบัญของนิตยสารควรแสดงรายชื่อบทความและคอลัมนตาง ๆ โดยควรมีการ

จัดกลุมตามแผนกหรือคอลัมน เชน คอลัมนประจํา คอลัมนพิเศษ คอลัมนปกิณกะ ขาวสาร บท

สัมภาษณ นวนิยาย เร่ืองส้ัน บทกวี และสารคดี เปนตน และควรมีชื่อบทความ ชื่อผูเขียน และ

เลขหนาของบทความในแตละคอลัมน นิตยสารบางฉบับ อาจมีสวนโปรยของเร่ืองหรือเร่ืองยอ

ประกอบดวย อยางไรก็ตาม หนาสารบัญไมควรมีตัวอักษรมากเกินไป เพราะจะทําใหหนา

สารบัญแลดูเปนสีเทาหรือเกิดบริเวณสีเทา (Gray area) เปนผลใหการจัดหนาดูนาเบ่ือและไม

นาอานนอกจากนี้ ควรมีรายชื่อเจาของกองบรรณาธิการ คณะผูจัดทํา สถานที่จัดทํา และขอมูล

อื่นท่ีจําเปนตอการจัดทํานิตยสาร โดยใชการตีเสนลอมกรอบไวดวย กรอบน้ีเรียกวามาสทเฮด

(Masthead หรือStaff box)

หนาสารบัญอาจมีหนาเดียวหรือหลายหนาก็ได นิตยสารบางฉบับจะแบงหนาสารบัญ

ออกเปนหลายหนาแลววางสลับกับหนาโฆษณา วิธีนี้จะทําใหไดหนาโฆษณาที่มีราคาสูงหลาย

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 3

การออกแบบนิตยสาร 14

รูปแบบและขนาดตัวอักษรที่เปนชื่อคอลัมนและชื่อบทความควรเปนตัวเนนหรือตัว

ใหญ หรือใชสีที่แตกตาง ออกไปจากชื่อผูเขียนและ/หรือสวนโปรยของเร่ือง

3. การออกแบบหนาเนื้อหาของนิตยสาร หนาเนื้อหาเปนเนื้อท่ีสวนใหญของนิตยสาร เปนหนาที่ผูอานใชเวลาอานมากกวาหนา

อื่น ๆ ดังนั้น นักออกแบบจะตองออกแบบใหอานงายสบายตา มีเสนหดึงดูดใจใหอานไดนานไม

เบ่ืองายหรือรูสึกอึดอัด

การจัดหนาหนาในของนิตยสารควรคํานึงถึงความสมํ่าเสมอของรูปแบบในแตละหนา

และตลอดเลม เชน ตําแหนงของเลขหนา และช่ือนิตยสารควรอยูในตําแหนงเดียวกันตลอด และ

ควรคํานึงถึงความกลมกลืนและความสอดคลองของรูปแบบในหนาซายและหนาขวา เน่ืองจาก

นิตยสารสวนใหญมีขนาดรูปเลมท่ีไมใหญมากนัก การดูนิตยสารจึงเห็นหนาซายและหนาขวา

พรอมกัน

การออกแบบหนาเนื้อหามีสวนประกอบหลักท่ีตองพิจารณา 5 ประการดวยกัน ไดแก

1. หัวเรื่อง (หรือพาดหัว 2. เนื้อเรื่อง 3. ตัวโปรย 4. ภาพ 5. คําอธิบายภาพ

1. หัวเรื่องหรือพาดหัว (Headline) เปนขอความขนาดส้ันที่ใชบอกวาเร่ืองน้ันเปนเร่ืองอะไร และเปนสวนที่ชวยดึงดูดความสนใจเขา

สูเนื้อหา โดยปกติชื่อเร่ืองจะใชอักษรขนาดใหญกวาเนื้อเร่ืองอยางเห็นไดชัด สวนรูปแบบนั้นมี

หลายลักษณะดวยกัน หากหัวเร่ืองส้ันมากก็อาจออกแบบเปนขอความบรรทัดเดียวได แตถาหัว

เร่ืองมีความยาวมากก็จําเปนตองแบงออกเปนหลายบรรทัด ซึ่งสามารถจัดวางไดหลายรูปแบบ

ดวยกัน เราอาจแบงรูปแบบของหัวเร่ืองออกไดหลายประเภทดังนี้

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 3

การออกแบบนิตยสาร 15

หัวเรื่องแบบบรรทัดเดียว หัวเร่ืองแบบบรรทัดเดียว เปนหัวเร่ืองท่ีจัดวางงาย เหมาะกับหัวเร่ืองที่มีขอความส้ัน

หัวเร่ืองประเภทนี้พบไดในนิตยสารทั่วไป

หัวเรื่องแบบเสมอหนา

หัวเร่ืองแบบเสมอหนา เปนหัวเร่ืองที่มีขอความต้ังแต 2 บรรทัดขึ้นไป โดยจัดใหทุก

บรรทัดชิดซาย (Left - Aligned) ซึ่งจะทําใหดานหนาของขอความทุกบรรทัดอยูในแนว

เดียวกัน จึงเรียกแบบเสมอหนา ในการจัดหนาควรวางหัวเร่ืองประเภทน้ีดานซายของ

หนา ไมควรวางชิดของหนาดานขวา เพราะหัวเร่ืองแบบเสมอหนาจะมีดานทายของ

บรรทัดท่ียาวไมเทากัน หากวางชิดขอบหนาดานขวา ซึ่งมีแนวเสนตรงแลวจะดูไม

สวยงาม

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 3

การออกแบบนิตยสาร 16

หัวเรื่องแบบจัดกลาง หัวเร่ืองแบบจัดกลางเปนหัวเร่ืองที่มีขอความต้ังแต 2 บรรทัดขึ้นไป โดยจัดใหจุด

ก่ึงกลางของทุกบรรทัดอยูในแนวเดียวกัน (Center - Aligned) หัวเร่ืองแบบนี้จัดวาง

งาย เหมาะสําหรับเร่ืองทั่วไป นิยมใชในนิตยสารที่มีกลุมผูอานเปนผูใหญ ซึ่งตองการ

ความเรียบรอยไมหวือหวาจนเกินไป เชน นิตยสารดิฉัน บานและสวน และแพรว เปน

ตน หัวเร่ืองแบบ จัดกลางไมจําเปนตองอยูกลางเสมอไป อาจจัดใหอยูก่ึงกลางแนว

ของภาพหรือก่ึงกลางแนวคอลัมนของเนื้อหาก็ได

หัวเรื่องแบบขั้นบันได

หัวเร่ืองแบบข้ันบันไดเปนหัวเร่ืองที่มีขอความต้ังแต 2 บรรทัดขึ้นไป โดยจัดวางให

เหล่ือมกันลดหล่ันลงไปเหมือนขั้นบันได แตละบรรทัดอาจใชอักษรที่มีขนาดไมเทากัน

ก็ได หัวเร่ืองชนิดนี้ไมพบบอยนัก มักใชในกรณีที่เหลือที่วางมากเกินไป

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 3

การออกแบบนิตยสาร 17

หัวเรื่องแบบลูกศร หัวเร่ืองแบบลูกศรเปนหัวเร่ืองที่มีขอความ 3 บรรทัดขึ้นไป โดยจัดวางใหบรรทัดกลาง

ย่ืนออกไปทางดานขวา สวนบรรทัดอื่นจัดวางใหเหล่ือมมาทางดานซาย ทําใหมี

ลักษณะเหมือนหลักลูกศรชี้ไปทางดานขวา หัวเร่ืองชนิดน้ีนิยมใชกันมากในนิตยสาร

ภาษาอังกฤษ ทฤษฎีการออกแบบทางตะวันตก เรียกหัวเร่ืองแบบนี้วาแบบ Tripod

หัวเรื่องแบบสลับ

หัวเร่ืองแบบสลับเปนหัวเร่ืองอีชนิดหนึ่งที่นิยมใชในนิตยสารภาษาอังกฤษ เปนหัวเร่ือง

ที่มีขอความต้ังแต 4 บรรทัดขึ้นไป โดยจัดวางใหแตละบรรทัดย่ืนออกไปทางดานซาย

และขวาสลับกันไป แตทุกบรรทัดยังมีปลายดานหนึ่งที่ซอนกันอยู

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 3

การออกแบบนิตยสาร 18

หัวเรื่องแบบตัวแทรก หัวเร่ืองแบบตัวแทรกเปนหัวเร่ืองที่มีขอความ 2 – 3 บรรทัด โดยออกแบบใหบรรทัดใด

บรรทัดหนึ่งมีขนาดใหญเปนพิเศษ สวนบรรทัดอื่นจัดใหมีขนาดเล็กกวา แลวจัดวาง

แทรกในชองวางระหวางขอความตัวใหญ

2. ตัวโปรย ตัวโปรยหรือโปรยหัว เปรียบไดกับวรรคนํา (Lead) ของขาว เปนขอความที่ใชเกร่ินนําเพื่อดึงดูด

ความสนใจเขาสูเน้ือหา อาจมีหรือไมมีก็ได โดยทั่วไปตัวโปรยจะมีความยาวไมเกิน 1 ยอหนา

และมักจะใชตัวอักษรที่มีขนาดใหญกวาหรือเสนหนากวาอักษรที่ใชในเนื้อเร่ืองในการจัดหนา

นิตยสารนิยมใชตัวโปรย 4 รูปแบบดวยกัน คือ จัดแบบเสมอหลัง (Right - Alignment) จัดกลาง

(Center - Alignment) แบบเสมอทั้งหนาและหลัง (Justify) และแบบเสมอหนา (Left -

Alignment) สวนตําแหนงในการจัดวางนั้นจะวางอยางไรก็ไดแตไมควรใหหางจากหัวเร่ือง

เพราะจุดประสงคในการใชตัวโปรยนั้นตองอานใหอานตอจากหัวเร่ือง

3. เนื้อเรื่อง (Body) เปนเน้ือหาสวนที่มีขอความมากที่สุด ดังน้ันอักษรที่ใชทําเนื้อเร่ืองจึงมีขนาดเล็ก เรียกวา”ตัว

พ้ืน” ในภาษาไทยควรใชอักษรขนาด 14 – 16 พอยต สวนภาษาอังกฤษควรใชขนาด 10 –12

พอยต เน้ือเร่ืองในนิตยสารนิยมแบงออกเปนคอลัมนแคบ ๆ แตละคอลัมนกวางประมาณ 2 – 3

นิ้ว หนาละ 2 – 3 คอลัมน การออกแบบใหคอลัมนแคบจะชวยใหผูอานไมตองการกวาดสายตา

มาก มีจังหวะพักสายตามากขึ้น ลดอาการลาอานไดนานขึ้น

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 3

การออกแบบนิตยสาร 19

4. ภาพประกอบ ภาพประกอบเปนองคประกอบที่สําคัญของนิตยสาร มีหนาท่ีในการดึงดูดความสนใจและชวย

อธิบายเร่ืองราวใหชัดเจนย่ิงขึ้น ภาพที่ใชในนิตยสารอาจแบงได 2 ลักษณะ คือ ภาพที่มีขอบเขต

เปนรูปส่ีเหล่ียมกับภาพที่ขอบเขตเปนรูปอื่น ๆ ภาพที่มีขอบเขตเปนรูปส่ีเหล่ียมคือ ภาพที่ใชกัน

โดยท่ัวไป ขอบท้ัง 4 ดานจะเปนแนวเสนตรง ภาพลักษณะนี้จัดวางงาย เพราะมีขอบภาพเปน

แนวเสนตรง สวนภาพอีกประเภทหนึ่งนั้นมีหลายรูปทรงดวยกัน ไดแก วงกลม วงรี ตลอดจน

รูปทรงอิสระซ่ึงเกิดจากการไดคัท (Di - Cut) ภาพประเภทนี้จะตัดฉากหลังของภาพออกเหลือไว

เฉพาะวัตถุที่ตองการ ซึ่งทําใหรูปทรงของภาพไมแนนอน ขึ้นอยูกับรูปทรงของวัตถุ ภาพลักษณะ

นี้ตองระมัดระวังในการจัดวางเพราะขอบเขตของภาพไมใชเสนตรงหากตองการใชภาพลักษณะ

นี้ควรจัดวางเนื้อเร่ืองใหลอมรอบตามรูปทรงของภาพ วิธีนี้คนอขางยุงยากแตจะชวยใหหนา

นิตยสารนาสนใจย่ิงขึ้น

5. คําอธิบายภาพ คําอธิบายภาพ เปนขอความที่ใชตัวอักษรขนาดเล็กเชนเดียวกับเนื้อเร่ือง อาจมีหรือไมมีก็ได

เร่ืองยางเร่ือง เชน เร่ืองสัมภาษณ ซึ่งมีแตภาพของผูใหสัมภาษณก็ไมจําเปนตองอธิบายเพราะ

ในเน้ือหาไดใหรายละเอียดครบถวนอยูแลว แตหากเปนภาพขาวหรือภาพสารคดีควรมีคํา

บรรยายประกอบดวย เพื่อความชัดเจนของเนื้อหา

สําหรับตําแหนงในการจัดวางคําบรรยายภาพในนิตยสารนิยมจัดวางไวดานขางของภาพซ่ึงอาจ

จัดใหชัดดานบนหรือดานลางของภาพ นอกจากนี้อาจวางทับลงไปในภาพก็ได แตจะไมนิยมวาง

ไวใตภาพ ในกรณีที่หนานิตยสารมีภาพจํานวนมาก นิยมแยกคําบรรยายภาพมารวมกันไว

ตางหาก แลวใสเลขกํากับภาพใหตรงกับคําบรรยาย

รูปแบบการจัดหนาเนื้อหา การจัดหาหนานิตยสาร มีความเปนทางการนอยกวาการจัดหนาหนังสือพิมพ นัก

ออกแบบสามารถพลิกแพลงในการจัดวางองคประกอบองคประกอบไดอยางอิสระ

สําหรับรูปแบบที่นิยมใชจัดหนานิตยสารในปจจุบันมีหลายรูปแบบดวยกัน ดัง

รายละเอียดตอไปนี้

1. การจัดหนาแบบ 1 : 3 การจัดหนาแบบหนึ่งตอสามเปนรูปแบบที่นิยมใชกันมาในนิตยสารตางประเทศ

เหมาะสําหรับหนาเปดเร่ืองที่ตองการจัดแบบหนาคู โดยจะแบงคร่ึงกระดาษแตละใน

แนวต้ัง เม่ือกางหนาออกเปนหนาคูก็จะไดกระดาษ 4 สวน ขนาดเทา ๆ กัน แลวจัดวาง

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 3

การออกแบบนิตยสาร 20

การจัดวางขอความในการจัดหนาแบบหน่ึงตอสามนิยมวางหัวเร่ืองไวดานบน แลวตอ

ลงมาดวยตัวโปรย (ถามี) ซึ่งอาจจะจัดแบบจัดกลางหรือเสมอหลังหรือเสมอท้ังหนา

และหลังก็ไดหากมีที่วางพอที่จะจัดวางเนื้อเร่ืองโดยอาจทําเปนคอลัมนเดียวหรือสอง

คอลัมนก็ได เฉพาะในสวนของเนื้อเร่ืองนี้นิยมจัดขอความแบบเสมอท้ังหนาและหลัง

(Justif)

2. การจัดหนาแบบ 1 : 1 การจัดหนาแบบหนึ่งตอหนึ่งเปนการจัดหนาแบบหนาคู นิยมใชทั้งในหนาเปดเร่ืองและ

หนาเนื้อหาทั่วไป โดยวางภาพขนาดใหญเต็มหนาไวหนาใดหนาหน่ึง แลววางเน้ือหา

ไวอีกหนา ในหนาท่ีจัดวางเน้ือหาอาจจัดวางภาพขนาดเล็กรวมดวยก็ได และหาก

ตองการเช่ือมทั้งสองหนาเขาดวยกัน ก็สามารถใชหัวเร่ืองพาดเช่ือมระหวางทั้งสอง

หนาก็ได

3. การจัดหนาแบบสมมาตร การจัดหนาแบบสมมาตร เปนการจัดวาใหหนาซายและหนาขาวมีองคประกอบ

เหมือนกันหากหนาซายมีภาพหนาขวาก็จะมีภาพขนาดใกลเคียงกันวางไวในตําแหนง

ที่เทาเทียมกัน การจัดหนาแบบนี้ไมเหมาะกับหนาเปดเร่ือง เพราะหากวางหัวเร่ืองไว

หนาใดหนาหนึ่งก็จะหาองคประกอบอื่นมาถวงดุลอีกหนาหนึ่งไดยาก ยกเวนจะวางหัว

เร่ืองคาบเก่ียวระหวางทั้งสองหนาใหมีน้ําหนังเทากัน

4. การจัดหนาแบบตัว U การจัดหนาแบบตัวยู (U - Shape) เปนรูปแบบการจัดหนาแบบหนาเด่ียว เกิดจากการ

จัดวางภาพหรือตัวโปรยไวกลางหนาใตหัวเร่ือง แลวจัดวางเนื้อเร่ืองลงบนดานซาย

ดานลางและดานขวาของหัว – เร่ือง ทําใหสวนเนื้อหามีรูปทรงคลายอักษร U

5. การจัดหนาแบบลอมภาพ การจัดหนาแบบลอมภาพเปนรูปแบบการจัดหนาอีกรูปแบบหนึ่งที่นิยมมาใชใน

นิตยสารตางประเทศ เปนรูปแบบที่มีเสนหแปลกตา ดึงดูดสายตาไดดี การจัดหนา

แบบที่จะดัดแปลงภาพใหมีรูปทรงเปล่ียนไปจากส่ีเหล่ียม เชน วงกลม วงรี และรูปทรง

อิสระอื่น ๆ เทคนิคที่นิยมมาใชกันมากคือการไดคัทภาพโดยตัดฉากหลังออก เหลือไว

เฉพาะวัตถุที่ตองการ ซึ่งทําใหมีรูปทรงเหมือนรูปทรงของวัตถุ จากนั้นจะจัดวาง

ขอความลอมภาพ

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 3

การออกแบบนิตยสาร 21

6. การจัดหนาแบบละครสัตว การจัดหนาแบบละครสัตว เปนการจัดวางภาพขนาดเล็กหลาย ๆ ภาพ กระจายอยูทั่ว

หนากระดาษ ในลักษณะคลายวงกลม แลวจัดวางขอความแทรกในท่ีวางที่เหลือ การ

จัดหนาแบบนี้ใหความรูสึกสนุกสนาน ผอนคลาย เหมาะกับเร่ืองที่มีภาพจํานวนมาก

เชน เร่ืองการเลือกซื้อของแตงบาน และคอลัมนแนะนําผลิตภัณฑ เปนตน

7. การจัดหนาแบบรีเวอรส การจัดหนาแบบรีเวอรส (Reverse) เปนการจัดหนาแบบหนาคูโดยจัดใหทั้งสองหนามี

การจัดวางคลายกัน แตสลับสีกัน เชน หนาซายใชพื้นขาว หนาขวาก็จะมีพื้นดํา เปน

ตน

8. การจัดหนาแบบเนนแนวของขอความ การจัดหนาที่กลาวมาขางตนน้ัน จะมีการจัดแนวของขอความ 4 รูปดวยกันคือ จัด

กลาง ชิดซาย ชิดขวา และชิดท้ังซายและขวา แตนอกจากรูปแบบการจัดแนวตามปกติ

ทั้ง 4 รูปแบบแลว นักออกแบบอาจตองการจัดแนวขอความแบบพิเศษ เพื่อหลีกหนี

ความจําเจ เชน จัดแนวขอความแบบเฉียง แบบโคง เปนตน

รูปแบบการจัดหนาที่กลาวมาทั้งหมดน้ี เปนรูปแบบที่พบไดทั่วไป ซึ่งอาจใชเปน

แนวทางในการจัดหนาได แตนักออกแบบควรคิดคนสรางสรรครูปแบบใหม ๆ อยูเสมอ โดยนํา

หลักการจัดหนามาประยุกตใช และไมวาจะจัดหนาอยางไรจะตองคํานึงถึงจุดประสงคหลักของ

การจัดหนา นั่นคือ “ตองดึงดูดความสนใจและอํานวยความสะดวกในการอาน”

4. การจัดหนาหนาโฆษณาในนิตยสาร หนาโฆษณาของนิตยสารจะมีองคประกอบของหนาคลายกับหนาโฆษณาทั่วไป

กลาวคือ ประกอบดวยพาดหัวโฆษณาเนื้อความโฆษณา ชื่อเจาของผูลงโฆษณาและ

ภาพประกอบ การออกแบบและจัดหนาควรคํานึงถึง หลักการจัดวางองคประกอบท่ีสมดุล

กลมกลืน เปนเอกภาพ มีการยํ้าหรือเนนจุดสนใจ ดูสะอาด เปนระเบียบและที่สําคัญ คือ

สามารถส่ือความหมายจากผูลงโฆษณาไปยังผูอานได ขอความของพาดหัวโฆษณาควรส้ัน

กระชับ ใชอักษรจํานวนนอย การเลือกใชตัวอักษรจํานวนนอย การเลือกใชตัวอักษรขนาดใหญ

เพื่อดึงดูดความสนใจ

สวนเนื้อความโฆษณาเปนสวนขยายพาดหัวโฆษณา การใชแบบตัวพิมพหรือแบบ

ตัวอักษรควรเลือกประเภทท่ีอานงาย และเปนตัวขนาดเล็กกวาตัวพาดหัว โดยอาจใชแบบท่ีตาง

จากพาดหัวโฆษณาได เพื่อมิใหเกิดความซ้ําซากมากเกินไป แตไมควรใชแบบตัวพิมพที่มาก

เกินไป เพราะจะทําใหดูสับสน ยากตอการอานและส่ือความ สวนช่ือเจาของโฆษณานั้น อาจจัด

วางใหอยูในตําแหนงใดก็ได โดยใชตัวอักษรที่ตางจากตัวพาดหัวและเนื้อความ ทั้งน้ีขึ้นอยูกับ

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 3

การออกแบบนิตยสาร

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 3

22

การจัดหนาโฆษณาในนิตยสาร หนาโฆษณาในนิตยสาร สามารถจัดหนาโฆษณาต้ังแตหนาแรกจนกระท่ังหนาสุดทาย

การโฆษณาในหนาแรกจะมีอัตราคาโฆษณาสูงเพราะอยูในตําแหนงที่คนเห็นไดงาย การ

โฆษณาหนาหลังหรือปกหลังก็จะมีอัตราคาโฆษณาสูงเชนกัน ตําแหนงเนื้อท่ีโฆษณาของ

นิตยสารที่มีอัตราคาโฆษณาสูงจะเปนตําแหนงดังนี้ ปกหนา ปกหลัง ปกหนาดานใน ปกหลัง

ดานใน หนา 1 – 6 เนื้อที่โฆษณาในนิตยสาร

เต็มหนา คร่ึงหนาแนวต้ัง คร่ึงหนาแนวนอน ¼

คร่ึงหนา 2 หนาติดกันแนวต้ัง

หนา

เกาะก่ึงกลางหนา

1 2 หนา ( 1 หนาใน 1 หนาตอพิเศษ) หนาตอพิเศษ

นอกจากนี้แลวยังอาจจัดเนื้อที่โฆษณาที่แตกตางไปจากนี้ไดตามความเหมาะสม

คร่ึงหนา 2 หนาติดกันแนวนอน

การออกแบบนิตยสาร 23

รูปแบบการจัดหนาหนาโฆษณาในนิตยสาร รูปแบบการจัดหนาหนาโฆษณาในนิตยสารท่ีเปนที่นิยมไดแก

1. แบบหนาตางภาพ (Picture - window)

การจัดหนาโฆษณาแบบหนาตางภาพเปนรูปแบบการจัดวางหนาที่เนนภาพขนาด

ใหญที่ใชเน้ือที่คร่ึงหนาหรือมากกวา โดยมีเน้ือความโฆษณาเปนสวนประกอบ

2. แบบเนนเนื้อความโฆษณา

การจัดหนาโฆษณาแบบเนนเน้ือความโฆษณาเปฯรูปแบบการจัดวางหนาที่ใชเนื้อที่

สวนท่ีใหญสําหรับขอความโฆษณา ซึ่งมักจะเปนขอความที่บรรยายรายละเอียดของ

สินคาที่ยากตอการส่ือความดวยภาพ ถามีภาพ จะเปนภาพขนาดเล็กซึ่งใชเปน

สวนประกอบของหนาเทาน้ัน

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 3

การออกแบบนิตยสาร 24

3. แบบมอนเดรียน

การจัดหนาโฆษณาแบบมอนเดรียนเปนการจัดหนาโดยการจัดกลุมเนื้อที่โฆษณาท้ัง

ภาพและขอความใหอยูภายในรูปแบบของกรอบส่ีเหล่ียมหลายกรอบ โดยอาจมีเสน

กรอบหรือไมก็ได การจัดหนารูปแบบนี้มักใชในกรณีที่ตองการแสดงภาพโฆษณา

หลายภาพ

4. แบบเนนกรอบภาพ

การจัดหนาโฆษณาแบบเนนกรอบภาพเปฯรูปแบบการจัดวางองคประกอบท้ังหมด

ของหนาใหอยูภายในกรอบเดียวกันโดยใชสี เสน ลวดลายตาง ๆ ตกแตงเปนกรอบ

เพื่อดึงดูดความสนใจ เพิ่มความเลน และความงามใหกับหนาโฆษณา

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 3

การออกแบบนิตยสาร 25

5. แบบชองภาพการตูน

การจัดหนาโฆษณาแบบชองภาพการตูนเปนรูปแบบการจัดวางภาพโฆษณาหลาย ๆ

ภาพไวในกรอบส่ีเหล่ียมในแนวต้ังโดยมีเน้ือความโฆษณาบรรจุในเนื้อที่วางนอกกรอบ

สิ่งที่ควรคํานึงในการจัดหนานิตยสาร 1) ใหความสนใจและความสําคัญแกเน้ือท่ีวางของกรอบกระดาษ เน้ือท่ีวารอบนอก

(Margins) ของคอลัมนนี้เปรียบเสมือนหนึ่ง “กรอบ” ของภาพตัวอักษรท่ีเปน

เน้ือหา โดยทั่ว ๆ ไปแลว การเวนกรอบวางดานลางของการดาษจะกวางมากกวา

ที่วางดานขาง และสวนบนจะเปนสวนท่ีแคบลงมา สวนท่ีแคบที่สุดก็คือสวน

ระหวางคอลัมนหรือสวนท่ีเย็บสันการท่ีสวนวางดานลางกวางกวาสวนบนก็ดวย

เหตุผลของจุดตกของสายตาบนหนากระดาษ ซึ่งมักจะลํ้ามาทางสวนบนมากกวา

2) สวนที่วาง ซึ่งเปนกรอบกระดาษ (Margins) อาจจะสามารถเหล่ือมลํ้าไดโดยการ

จัดวางภาพของหนากระดาษ แตในสวนของตัวอักษรที่เปนเน้ือหาควรจะอยูใน

ระเบียบตามขนาดคอลัมนที่กําหนดไวเทานั้น

3) สวนที่ควรไดรับความพิถีพิถันเปนพิเศษในการจัดหนาก็คือ สวนบนดานซายมือ

ซึ่งเปนจุดที่ผูอานจะเคยชินกับการเร่ิมตนสายตาที่จุดบน นอกจากผูจัดหนาจะ

เจตนาออกแบบใหดึงดูดความสนใจไปที่จุดอื่น

4) รูปภาพ ภาพถาย การใชสี และศิลปะการออกแบบตัวอักษร หัวเร่ือง มักเปนสวน

ที่สามารถดึงดูดความสนใจจากผูอานไดเปนอยางดี จึงนาจะใชเปนประโยชนใน

การสรางความสนใจในสวนอื่น ๆ ของหนากระดาษได

5) การออกแบบจัดหนานิตยสารไมควรจะเปนสาเหตุทําใหเกิดความสับสนเขาใจ

ยากในเนื้อหา กลาวคือ การจัดหนาที่ดีควรจะชวยใหผูอานสามารถอานเนื้อหาได

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 3

การออกแบบนิตยสาร 26

6) การออกแบบหัวเร่ือง (Titles) ควรใหความสําคัญกับเนื้อที่วางรอบ ๆ ตัวอักษรท่ี

เปนหัวเร่ืองดวย เพื่อใหเกิดคามแตกตาง (Contrast) ซึ่งเปนสวนหน่ึงของ

องคประกอบในการสรางความสนใจ

7) ไมควรจัดหนานิตยสารทีละหนาโดยไมคํานึงถึงหนาตรงขาม เพราะโดยปกติแลว

ผูอ านนิตยสารจะกาวหนานิตยสารอานพรอมกันในเวลาเ ดียวกัน ซึ่ ง

เปรียบเสมือนทั้ง 2 หนานั้นเปนหนาเดียวกัน จึงควรถือวาหนาซายและหนาขวา

เปนหนาเดียวกันในเวลาจัดหนา

8) ถาตองการใหหนาตรงขามมีความเปนเอกภาพสัมพันธกัน ก็ควรจัดหนาโดยลดท่ี

วางระหวางหนาสัน (Margins) ใหเล็กลง เพื่อไมใหเกิดความแตกแยกเปน 2 สวน

9) ถาตองการใหหนาตรงขามแยกสวนกันโดยเด็ดขาด ก็ควรจัดหนาใหเห็นที่วาง

ระหวางหนาสัน (Margins) ใหกวางขึ้น ใหเห็นชัด เพื่อปองกันความสับสนในการ

ติดตามเน้ือหาจากหนาหนึ่ง (ซาย) ไปสูอีกหนาหน่ึง (ขาว) ได

10) ควรจัดคําบรรยายภาพใหอยูตัดกับภาพท่ีตองการบรรยายไวมากที่สุด เพื่อใหดู

เปนอันหนึ่งอันเดียวกับภาพ

11) โดยปกติแลว จุดสนใจของผูอานมักจะเร่ิมจากสวนบนของหนากระดาษลงสู

สวนลางของหนากระดาษ ดังน้ัน จึงควรจะคํานึงถึงขอนี้ไวเปนประโยชนในการ

จัดหนาและออกแบบดวย

12) หลักการออกแบบและจัดหนานิตยสารท่ีดีประกอบดวย ความสมดุล (Balance)

ความแตกตาง (Contrast) ความกลมกลืน (Harmony) ความเปนเอกภาพ

(Unity) และความเคล่ือนไหว (Motion) ส่ิงเหลานี้ควรไดรับการพิจารณาใหไป

ดวยกนไดในการจัดหนานิตยสารทุกหนา

วิชาออกแบบนิเทศศิลป 3