การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

119
รายงานการวิจัย การพัฒนาการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เรื่อง การอานโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที2 ศรีรันทรัตน กันทะวัง กลุมนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สํานักงานเขตพื้นทีการศึกษาลําปาง เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ธันวาคม 2548

Upload: kruthai40

Post on 02-Nov-2014

45 views

Category:

Education


8 download

DESCRIPTION

การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

TRANSCRIPT

Page 1: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

รายงานการวิจัย

การพัฒนาการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เรื่อง การอานโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา ระดับชัน้มัธยมศึกษาปที่ 2

ศรีรันทรัตน กันทะวัง

กลุมนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลํ าปาง เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

ธันวาคม 2548

Page 2: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

บทคัดยอ

การวิจยัคร้ังนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อสรางแผนการจัดการเรยีนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เร่ือง การอานโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามาและศึกษาผลสัมฤทธิ์ความเขาใจในการอานของนักเรียนทีเ่รียนโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา กลุมตัวอยางทีใ่ชในการวิจยั เปนนักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2548 โรงเรียนกิ่วลมวิทยา อําเภอเมืองลําปาง จังหวดัลําปาง จํานวน 40 คน ดําเนินการทดลองโดยใชแผนการจัดการเรียนรูกลุมสาระภาษาไทยเรื่องการอาน โดยใชเทคนิคการอานพาโนรามาที่ผูวิจยัสรางขึ้น จํานวน 9 แผน 12 คาบ ผูวิจัยใหครูผูสอนทําการทดสอบกอนการทดลองและหลังการทดลองโดยใชแบบทดสอบวัดความเขาใจในการอานที่ผูวิจัยสรางขึ้น จากนั้นเปรยีบเทียบคะแนนกอนและหลังการทดลองโดยใชการทดสอบที(t-test) ผลการวิจัย พบวา นักเรียนที่เรียนโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา มีความเขาใจในการอานหลังการทดลองสูงกวากอนการทดลองอยางมีนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับ .001

Page 3: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

สารบัญ เร่ือง หนา บทท่ี 1 การอาน 1 - 13 - ความหมายของการอาน - จุดมุงหมายของการอาน - ประเภทของการอาน - ความเขาใจในการอาน - ระดับความเขาใจในการอาน - ความสนใจในการอานของเด็กวัย 11-14 ป บทท่ี 2 การสอนอาน 14 - 19 - ทฤษฎีเกี่ยวกับการสอนอาน - การสอนทักษะการอาน - ความสําคัญของการสอนอานวิชาภาษาไทย - ความมุงหมายในการสอนอานภาษาไทย บทท่ี 3 เทคนิคการอานแบบ พาโนรามา 20 -27 ภาคผนวก

1. ก แผนการจัดการเรียนรูเร่ืองการอาน โดยใชเทคนิคการอานพาโนรามา 2. ข แบบทดสอบกอน –หลังเรียน

Page 4: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

บทที่ 1

บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

การอานมีบทบาทสําคัญตอชีวิตประจําวันเปนอยางมาก และเปนกระบวนการที่สําคัญในการแสวงหาความรู การอานเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งสําหรับนักเรียน นักศึกษา โดยเฉพาะนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 เพราะถานักเรียนระดับนี้อานหนังสือเปนก็จะเปนแนวทางในการศึกษาคนควาในระดับที่สูงขึ้นตอไป การอานเปนปจจัยสําคัญในการศึกษาหาความรูดวยตนเอง ในทุกสาขาวิชา นอกจากการอานจะใหประโยชนโดยตรงแกผูอานแลว ยังสามารถนําความรูความคิดที่ไดจากการอานไปพัฒนาสังคมไดอีกดวย ดังที่ ฉวีลักษณ บุญยะกาญจน (2524, หนา 1-3) ไดกลาวถึง ความสําคัญของการอานไดวาการอานมีความจําเปนตอชีวิตของคนในปจจุบันยิ่งกวาทุกยุคที่ผานมา เนื่องจากโลกปจจุบันเปลี่ยนแปลงทั้งทางวัตถุ วิทยาการ เทคโนโลยี และความนึกคิด ฯลฯ จึงจําเปนอยางยิ่งที่มนุษยตองสนใจการอาน และตองอานเพื่อสามารถติดตามความเคลื่อนไหว ความกาวหนาตาง ๆ ใหทันตอเหตุการณ เพราะการอานเปนประโยชนแกมนุษยดานความรูในการประกอบอาชีพและการพักผอนหยอนใจ ทั้งยังชวยสงเสริมความรูความคิดของคนเราใหเพิ่มพูนขึ้น จะเห็นไดวา การอานมีความสําคัญตอชีวิตประจําวันของผูใฝศึกษาหาความรูอยูเสมอเพราะการอานชวยพัฒนาสติปญญาของคนเราใหสูงขึ้น ใหรูจักเลือกอานอยางถูกวิธี สามารถแปลความ ตีความเรื่องราวตาง ๆ ไดถูกตองมีเหตุผล การอานชวยขยายความคิดใหมีความคิดริเริ่ม ประสบการณจากการอานสามารถนํามาแกปญหาชีวิตได ดังนั้น ครูควรฝกฝนใหนักเรียนมีความสามารถในการอาน คือ สามารถจับใจความสําคญัของเรื่อง สามารถถายทอดความเขาใจ สามารถนําความรูไปใชไดถูกตอง สามารถในการวิเคราะหขอเท็จจริงและมีวิจารณญาณในการอาน ดังที่ นฤนาท ดวงมุสิทธิ์ (2532, หนา 2) กลาววา การสอนอานควรเนนความเขาใจในการอานใหมาก แตตามสภาพที่เปนจริงการสอนอานในโรงเรียนทั่วไปไมคอยไดรับความสนใจเทาใดนัก จึงทําใหเด็กขาดประสิทธิภาพทางการอาน ดวยเหตุนี้ ครูจึงควรฝกฝนการอานใหแกนักเรียนอยางสม่ําเสมอ และควรสงเสริมใหนักเรียนรักการอานหนังสือ โดยเฉพาะในระดับชวงชั้นที่ 3 ครูควรสอนใหนักเรียนอานจับใจความสําคัญใหไดสามารถตีความที่อานได และเขาใจความคิดเห็นที่ผูเขียนสอดแทรกไว จากสภาพการสอนอานในโรงเรียน พบวา นักเรียนจํานวนมากอานหนังสือไมเปน คืออานแลวไมสามารถจับใจความสําคัญของเรื่องที่อานได ไมเขาใจเนื้อเร่ือง ไมสามารถวิเคราะห

Page 5: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

เร่ืองที่อานได การที่นักเรียนมีปญหาการอานเชนนี้ อาจเปนเพราะครูยังสอนอาน โดยใหอานจากหนังสือแบบเรียนแลวถามเนื้อเรื่องที่อาน หรือบางครั้งครูนําเรื่องที่ครูเปนฝายพอใจมาใหนักเรียนอาน จากนั้นครูก็ตั้งคําถามในเรื่องนั้น ๆ ถาใจจําเรื่องไดดี ก็ถือวาผูนั้นอานไดดี จากผลการวิจัยของกรมวิชาการ (2534, หนา 43) พบวา สมรรถภาพทางภาษาดานาหนึ่งในรายวิชาภาษาไทย ที่นักเรียนทําคะแนนไดเกณฑต่ํา คือ สมรรถภาพเกี่ยวกับการอานไดแก ความเขาใจและความเร็วในการอาน นอกจากนั้น สมาคมการอานแหงประเทศไทยซึ่งไดจัดประชุมทางวิชาการระดับนานาชาติ เร่ืองการรูหนังสือและการพัฒนาเชิงเทคโนโลยี เมื่อวันที่ 20 – 24 สิงหาคม 2530 ( อางใน กัญญา มั่งคั่ง , 2530 ) การสอนอานในปจจุบันยังมิไดชวยใหนักเรียนมีทักษะการอานระดับสูง โดยเฉพาะอยางยิ่งการอานเชิงวิเคราะห และเชิงวิเคราะห ซ่ึงขอบกพรองนี้มีสาเหตุหลายประการกลาวคือ การสอนอานมีลักษณะการสอนเนื้อหามากกวาทักษะการสอนมิไดกําหนดจุดมุงหมายที่ชัดเจน ทั้งยังใชหนังสือเปนเครื่องมือสอนคําศัพทและโครงสรางเทานั้น โดยยังเขาใจผิดวาการสอนอานคือการใหนักเรียนอานในใจและตอบคําถามเทานั้น และสาเหตุสําคัญอีกประการหนึ่งก็คือ หนังสือที่ใชอานไมมีองคประกอบของเนื้อเร่ืองที่ทําใหเกิดการพัฒนาทักษะการอาน นักการศึกษาและผูเชี่ยวชาญดานการสอนภาษาทั้งในและตางประเทศ ไดพยายามศึกษาเกี่ยวกับเทคนิคการสอนและการจัดกิจกรรมเพื่อชวยพัฒนาการอานของนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาใหดีขึ้น เพราะเล็งเห็นถึงความจําเปนที่นักเรียนควรไดรับการสงเสริม มีผูเสนอแนวทางการสอนมากมาย เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในการอาน ซ่ึงอาจแบงไดเปน 3 ประเภท คือ ประเภทแรก เปนแนวการสอนโดยใชหลักประยุกตจากภาษาศาสตร (สวนมากนํามาจากการสอนภาษาตางประเทศ) ประเภทที่สอง เปนแนวการจัดกิจกรรมการสอนอานดวยกระบวนการของการส่ือสาร ซ่ึงเนนเกี่ยวกับความสนใจและความตองการในการอานของนักเรียน และประเภทที่สาม เปนแนวการสอนอานแบบตรง โดยใชหลักทฤษฎีการรับขาวสาร จากแนวการสอนโดยใชหลักประยุกตภาษาศาสตร ไดมีผูคิดคนกิจกรรมสงเสริมการอานในหลายรูปแบบ รูปแบบหนึ่งที่นาสนใจคือ การสอนอานโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา ซ่ึง ปเตอร เอดเวิรดส ( Edwards, 1973,pp. 132-135) ไดคิดคนโดยพัฒนามาจากเทคนิคการอานแบบ SQ3R OK4R PQRST และ OARWET ( อางใน กัญญา มั่งคั่ง , 2530 , หนา 25 ) ความมุงหวังของการพัฒนาเทคนิคดังกลาวขึ้นก็เพื่อนํามาใชในการสอนอานแกนักเรียนระดับมัธยมศึกษา เพื่อใหนักเรียนสามารถอานขอความจํานวนมาก เก็บขอความตาง ๆ อยางมีระเบียบและนําไปใชอยางมีประสิทธิภาพโดยเอดเวิรดสไดทดลองใชกับนักเรียนมัธยมศึกษา ในมหาวิทยาลัยบริติช โคลัมเบีย ( University of British Columbia ) ปรากฏวา นักเรียนมีทักษะการอานดีขึ้นตามจุดมุงหมาย นอกจากนั้น กัญญา มั่งคั่ง (2530, หนา 76 ) ไดนําเทคนิคการอานแบบพานรามามาทดลองใชสอนภาษาอังกฤษกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปรากฏวา นักเรียนมี

Page 6: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ความเขาใจในการอานสูงขึ้น อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ดังนั้น จึงทําใหผูวิจัยสนใจที่จะพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยตอไป

วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อสรางแผนการจัดการเรยีนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เร่ือง การอานโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา

2. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธ์ิความเขาใจในการอานของนักเรียนที่เรียนโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา

ขอบเขตของการวิจัย

1. ประชากรกลุมตัวอยาง นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนกิ่วลมวิทยา อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง

ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2548 2. เนื้อหาท่ีใชในการทดลอง ผูวิจัยไดคัดเลือกเนื้อหาที่เหมาะสมกับระดับชั้นและความสนใจของผูเรียน

ประกอบไปดวยเรื่องทั้งที่เปนรอยแกวและรอยกรอง ดังนี้ 1) ความดีไมรูจักส้ินสุด 2) นิทานชาดกมหานิลวานร 3) บทรอยกรอง 4) ขอคิดเรื่องการบวช 3. ระยะเวลาที่ใชในการทดลอง ดําเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2548 กับกลุมตัวอยาง จํานวน

12 คาบ คาบละ 50 นาที เปนเวลา 3 สัปดาห 4. ตัวแปรที่จะศึกษา 1. ตัวแปรอิสระ ไดแก การสอนอานโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา 2. ตัวแปรตาม ไดแก ความเขาใจในการอาน 5. สมมุติฐานการวิจัย ผลสัมฤทธิ์ความเขาใจในการอานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 หลังจากไดรับการสอนอานโดยใชเทคนิค พาโนรามา สูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

Page 7: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

นิยามศัพทเฉพาะ

1. แผนการจัดการเรียนรู หมายถึง กระบวนการจัดการเรียนการสอนเรื่องการอานโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา 2. เทคนิคการอานแบบพาโนรามา เปนเทคนิคที่ใชฝกฝนทักษะทางการอานโดยใหผูอานมองเห็นภาพรวมกวาง ๆ ทั้งหมดกอนแลวจึงแยกแยะไปสูรายละเอียด 3. ความเขาใจในการอาน หมายถึง การอานที่ ผูอานสามารถแปลความ ตีความ ขยายความ จับใจความสําคัญ สรุปเรื่องราวจากการอานได

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1. ครูผูสอนกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย มีแผนการจัดการเรียนรู เร่ือง การอานโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา 2. ผูเรียนมีทักษะการอานในชีวิตประจําวัน ในการแสวงหาความรูเพื่อพัฒนาตนเอง 3. เปนแนวทางในการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เร่ือง การอานสําหรับครูผูสอนในระดับชั้นอื่น ๆ ตอไป

Page 8: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

บทท่ี 2

เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ

1. เอกสารที่เก่ียวกับการอาน - ความหมายของการอาน - จุดมุงหมายของการอาน - ประเภทของการอาน - ความเขาใจในการอาน - ระดับความเขาใจในการอาน - ความสนใจในการอานของเด็กวัย 11-14 ป 2. เอกสารที่เก่ียวของกับการสอนอาน - ทฤษฎีเกี่ยวกับการสอนอาน - การสอนทักษะการอาน - ความสําคัญของการสอนอานวิชาภาษาไทย - ความมุงหมายในการสอนอานภาษาไทย 3. เอกสารที่เก่ียวของกับการสอนอาน 4. งานวิจัยท่ีเก่ียวของกับความเขาใจในการอาน 1. เอกสารท่ีเก่ียวของกับการอาน

ความหมายของการอาน

การอานเปนสิ่งจําเปนและสําคัญอยางยิ่งสําหรับมนุษย โดยเฉพาะปจจุบันวิทยาการ ตาง ๆ เจริญกาวหนาไปอยางรวดเร็ว นักการศึกษาจึงไดคนควาเรื่องการอานในรูปแบบตาง ๆ กันอยางกวางขวาง และไดใหความหมายของการอานไวดังนี้ เปล้ือง ณ นคร ( 2511 , หนา 12 ) ไดอธิบายความหมายของการอานวา คือการถายทอดความคิดจากหนังสือของผูประพันธไปยังผูอาน ดวยผูประพันธตองการใหผูอานไดเห็นความคิด

Page 9: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ความรูสึกของตน ถาผูอานสามารถตีความหมายของหนังสือได ลามารถรูจุดมุงหมายของผูประพันธไดก็จะเชื่อไดวา “อานหนังสือเปน” ฉวีลักษณ บุญยะกาญจน ( 2524 , หนา 2-3 ) กลาววา การอาน หมายถึง การแปลความหมายของตัวอักษรออกมาเปนถอยคําแลวนําความคิดนั้นไปใชใหเกิดประโยชน ตัวอักษรเปนเพียงเครื่องหมายแทนของจริงอีกทอดหนึ่ง เพราะฉะนั้นหัวใจของการอานจึงอยูที่การเขาใจความหมายของคําที่ปรากฏอยูในขอความนั้น จุฑามาศ สุวรรณโครธ ( 2519 , หนา 27-36 ) กลาววา การอานคือการรับรูขอความในส่ิงพิมพ หรือในสิ่งที่เขียนขึ้น หรือการับรูเครื่องหมายสื่อสารซึ่งมีความหมายและสามารถสรางความเขาใจแกผูอานโดยอาศัยประสบการณที่ผานมาของผูอานประกอบดวย ประทิน มหาขันธ ( 2523 , หนา 17 ) กลาววา การอาน หมายถึง กระบวนการในการแปลความหมายของตัวอักษรหรือสัญลักษณที่มีการจดบันทึกไว กระบวนการอานเปนกระบวนการที่ซับซอน เมื่อเด็กเปลงเสียงตัวอักษรหรือสัญลักษณออกมาเปนคําพูด ถาหากไมเขาใจคําพูดนั้นจัดวาไมใชการอานที่สมบูรณ แตเปนเพียงสวนหนึ่งของการอานเทานั้น ลักษณะของการอานที่แทจริงไดแกการทําความเขาใจความหมายของเรื่องที่อาน ความหมายของเรื่องที่กลาวนี้มิใชเกิดจากตัวอักษร หรือสัญลักษณเทานั้น หากขึ้นอยูกับการกระตุนใหเกิดความคิดรวบยอดหรือจินตนาการของผูอานเปนสําคัญ การเขาใจความหมายของตัวอักษรหรือสัญลักษณที่อานขึ้นอยูกับความหมายที่ผูอานตองทําความเขาใจโดยอาศัยประสบการณเดิมของผูอานเปนพื้นฐาน การอานจึงเปนกระบวนการที่ประกอบดวยการแปลความ การตอบสนอง การกําหนดความมุงหมาย และการลําดับภาพของตัวอักษรหรือสัญลักษณที่ผูอานเห็นมากระตุนการทํางานของสมองซึ่งขึ้นอยูกับคุณธรรม และปริมาณของประสบการณที่ผูอานมีอยูกอนแลว จะเห็นวาการอานที่แทจริงไมใชการออกเสียงไดถูกตองตามอักขรวิธีเทานั้น แตตองเขาใจในสิ่งที่อานหรือที่เรียกวา อานเปนดวย ดังที่มีผูกลาวไวดังนี้ ดุษฎี ลีหละเมียร ( 2521 , หนา 67-76 ) กลาววา การอานหนังสือไดกับการอานหนังสือเปนนั้นตางกันมาก ผูอานหนังสือเปนยอมสามารถอานและเขาใจเรื่องราวไดอยางรวดเร็วสามารถจับใจความไดอยางถูกตองครบถวน ทั้งยังแยกไดวาใจความใดเปนใจความสําคัญและใจความใดเปนใจความรอง นอกจากนี้ควรจะเขาใจและเขาถึงความตั้งใจ อารมณ และทัศนคติของผูเขียนซ่ึงถายทอดออกมาเปนตัวหนังสือไดอยางลึกซ้ึง และในขั้นสุดทายก็อาจชี้ใหเห็นกลวิธีการเขียน และประเมินคุณคาของการเขียนหรือหนังสือเลมหนึ่ง ๆ ไดอยางนาสนใจ จุฑามาศ สุวรรณโครธ ( 2519 , หนา 27-28 ) กลาววา การอานเปน หรือผูที่อานเปนตองมีคุณสมบัติดังนี้ 1. รูจักเลือกอานไดตรงตามตองการ 2. จับใจความได

Page 10: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

3. รูจักบันทึกการอาน 4. มีวิจารญาณในการอาน 5. มีนิสัยรักการอาน ทํานอง สิงคาลวนิช ( 2515 , หนา 17 ) กลาววา การอานเปน มิใชหมายความแตเพียงวาอานออกเขียนไดเทานั้น ไดมีนักการศึกษาบางทานกลาววา ความหมายที่แทจริงของการอานหนังสือออก ตองประกอบดวย R3 ตัว คือ Reading Writing และ Arithmetic นอกจากนั้น ยังตองมีความสามารถในการติดตามขอความในหนังสือท่ีอานแลวนําไปพิจารณาเพื่อกอใหเกิดการพัฒนาตนเองทุก ๆ ดานอีกดวย ชุติมา สัจจานันท ( 2526, หนา 28 ) กลาววา การอานมิไดเปนเพียงทอดสายตาผานตัวอักษรเทานั้น แตตองเขาใจความหมายของขอความ นัยของคําแตละคํา เขาใจวัตถุประสงคของผูเขียน สามารถสังเกตอคติ หรือการโฆษณาชวนเชื่อ ตลอดจนแสดงทัศนคติของตนเองและใหขอวินิจฉัยได บุญเสริม ฤทธาภิรมย ( 2519 , หนา 32-34 ) กลาววา การอานเปนทักษะที่ตองอาศัยทักษะยอยหลายประการเกี่ยวโยงกัน ทักษะตาง ๆ จะเปนไปไดอยางคลองตัวก็ตองอาศัยกลไกระบบประสาท ตลอดจนความสามารถทางสมองที่มีความพรอมและสามารถทําหนาที่ไดอยางฉับพลันตอเนื่องกันเปนจังหวะ ตลอดเวลา เชน การกวาดสายตาดูตัวอักษร สมองก็ตองสั่งงานจะตองสื่อความหมาย แปลความหมาย และสรางสังกัป ( Concept ) วา ที่อานไดแลวนั้นเขาใจวาอะไรสมองหรือสติปญญาตองนําไปใชในความจํา ซ่ึงผูเปนนักอานที่ดีก็จะมีการนําความสัมพันธ การวิเคราะห สังเคราะห และประเมินคามาใชแปลความ ซ่ึงเปนความสามารถทางสมองที่สูงขึ้นไปอีกชั้นหนึ่ง การอานหนังสือเปนทักษะที่ตองปลูกฝงมาตั้งแตเด็ก และผูที่เปนนักอานที่ดีตองไดรับการฝกฝนอยางถูกวิธี เขาใจหลักการอานที่ถูกตอง ตลอดจนรูจักเลือกเฟนหนังสือท่ีมีคุณคามาอานดวย วลี พันธมณี ( 2529 , หนา 24 ) ไดกลาวถึงการอานวาขึ้นอยูกับความมุงหมายในการอานแตละครั้งซ่ึงอาจแบงได 3 ประการคือ 1. อานเพื่อความเพลิดเพลิน เปนการอานเพื่อฆาเวลาเพื่อความพอใจ เพื่อแสวงหาความรู และการศึกษาคนควา 2. อานเพื่อการศึกษา ซ่ึงตองอาศัยทักษะความสามารถในการอานสูง เพื่อแสวงหาความรูและการศึกษาคนควา 3. อานเพื่อขาวสารหรือเพื่อความจําเปนในการดํารงชีวิต มิลเลอร ( Miller , 1972 . p.15 ) ไดแบงจุดมุงหมายของการอานไว 6 ประการคือ

Page 11: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

1. อานเพื่อจับใจความคราว ๆ 2. อานเพื่อจับใจความสําคัญ 3. อานเพื่อสํารวจรายละเอียดและจับใจความสําคัญทั่วไป 4. อานเพื่อความเขาใจอยางถองแท 5. อานเพื่อใชวิจารณญาณติดตามขอความที่อาน 6. อานเพื่อการวิเคราะหขอความหรือแนวความคิดในเรื่องที่อาน สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย ( 2527 , หนา 125 , อางใน Murcica and Meiutash n.d. ) สรุปการอานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาไวดังนี้ 1. การอานในระดับมัธยมศึกษา เปนการมุงใหผูอานไดรูจักคํากวางขวางมากขึ้นและสามารถนําคําเหลานี้มาใชในการพูด การเขียน ตลอดจนการเรียนวิชาอ่ืน ๆ ไดอยางถูกตอง 2. การอานนอกจากผูอานจะเขาใจเรื่องราวที่ตนอานแลว ยังตองสามารถเรียงลําดับเหตุการณใหผูอ่ืนเขาใจไดดวย 3. การอานมุงใหผูอานนําไปใชในชีวิตประจําวัน ดังนั้นจึงตองรูจักพิจารณาตัดสินแยกความจริงและขอคิดเห็นได และการตัดสินขอคิดเห็นของผูเขียนไปสูผูอาน ซ่ึงการติดตอส่ือสารนี้จะเกิดขึ้นเมื่อผูอานสามารถหาความหมายจากสิ่งที่อานได สายใจ เกตุชาญวิทย ( 2527 , หนา 36 , อางใน Dechaut , 1964 , pp 1-2 ) กลาววา การอานคือกระบวนการติดตอส่ือสาร การอานเปนกระบวนการที่เคล่ือนไหวอยูเสมอ เปนการติดตอจากผูเขียนไปสูผูอาน ซ่ึงการติดตอส่ือสารนี้จะเกิดขึ้นเมื่อผูอานสามารถหาความหมายจากสิง่ที่ อานได บุช และเฮิบเนอร ( Bush and Hueber , 1970 , p 4 ) ใหความหมายของการอานวาเปนกระบวนการคิด การอานเพียงออกเสียงตามตัวอักษรไดนั้นยังไมถือวาเปนการอานที่แทจริง แตเปนเพียงทักษะหนึ่งของการอานเทานั้น หัวใจของการอานคือตองเขาใจความหมายของสิ่งที่ ตนอาน แอรโรสมิส ( Arrowsmith , 1972 , p.84 ) ใหความหมายการอานวา การอาน คือ ความคิด ความรูสึกหรือสภาพทางจิตใจที่เกิดขึ้นดวยความเขาใจขอความที่เขียนหรือตีพิมพขึ้นมา ความเขาใจในการอานที่สมบูรณจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อความรูสึกของผูอานตรงกับความรูสึกของผูเขียนกอนจะเขียนออกมาเปนถอยคํา แฮรรีส และสมิธ ( Harris and Smith, 1976 , p.14 ) ใหความหมายวา การอานเปนกระบวนการคิดที่ใชความรู ประสบการณเดิม ทัศนคติของผูอาน เพื่อคนหาความหมายความคิด ขาวสารที่ตองการจากสิ่งที่ตนอาน

Page 12: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

จากความหมายของการอานที่กลาวมาแลว จึงสรุปไดวาการอานเปนกระบวนการติดตอส่ือสารความคิดจากผูเขียนไปยังผูอาน ซ่ึงผูอานจะตองแปลความหมายตัวอักษรหรือสัญลักษณโดยใชประสบการณเดิมใหไดความหมายชัดเจนสมบูรณ และสิ่งสําคัญที่สุดในการอาน คือ ผูอานจะตองเขาใจความหมายของสิ่งที่อานใหใกลเคียงกับความเขาใจของผูเขียน

จุดมุงหมายของการอาน

การอานหนังสือของแตละคนมีจุดมุงหมายที่แตกตางกัน ไดมีผูกลาวถึงจุดมุงหมายของการอานไวดังนี้ ดุษฎี ลีหละเมียร (2521, หนา 18) กลาววา ความมุงหมายของการอานแบงไดเปนลําดับคือ ขั้นแรก อานเพื่อรู และความเพลิดเพลิน ขั้นที่สอง อานเพื่อการศึกษาและทําความเขาใจ ซ่ึงมีผลเนื่องถึงขั้นสาม ขั้นที่สาม อานเพื่อทองจําการทดสอบ ขั้นที่ส่ี อานเพื่อใหเขาถึงรสของหนังสือ ซ่ึงประกอบดวยภาพ เสียง จินตนาการ

อารมณ ทัศนคติ จุดมุงหมาย และศิลปะการประพันธ ขั้นที่หา อานเพื่อแสดงความคิดเห็นที่มีตอหนังสือ ตอเร่ืองราวนั้น ๆ สนิท ตั้งทวี ( 2526 , หนา 1-2 ) กลาวถึง จุดมุงหมายของการอานไววา 1. เพื่อศึกษาหาความรูเร่ืองราวตาง ๆ โดยละเอียด 2. เพื่อศึกษาหาความรูในเรื่องราวตาง ๆ โดยยอ 3. เพื่อสนองความอยากรูอยากเห็น หรือความสงสัย 4. เพื่อตองการทราบขาวสารขอเท็จจริง 5. เพื่อการศึกษาคนควา 6. เพื่อตองการเปนที่ยอมรับในวงสังคม และสามารถปรับตัว วางตัวเขากับคนอื่นได 7. เพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลิน สนิท ตั้งทวี ( 2526 , หนา 2-3 ) กลาววาการอานมีความสําคัญตอชีวิตมนุษย ดังนั้น เราตองอานเพื่อจุดมุงหมายดังนี้ 1. เพื่อชวยแกปญหาตาง ๆ ใหตนเอง 2. เพื่อสงเสริมบุคลิกภาพ 3. เพื่อความรู ชุติมา สัจจานันท (2525 , หนา 8-15 ) กลาววา วัตถุประสงคอันเปนพื้นฐานการอาน ไดแก 1. เพื่อฆาเวลา

Page 13: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

2. เพื่อปฏิบัติตามหนาที่ 3. เพื่อใหทันตอเหตุการณ 4. เพื่อสนองความพอใจสวนตัว 5. เพื่อนําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน 6. เพื่อขยายความรอบรูในแขนงชีวิต 7. เพื่อสงเสริมความสนใจในทางวิชาการ 8. เพื่อความเปนพลเมืองดี 9. เพื่อปรับปรุง หรือพัฒนาตน อัมพร สุขเกษม ( 2520 , หนา 5-6 ) ไดสรุปจุดมุงหมายในการอานวา 1. อานเพื่อบันเทิงใจหรือพักผอน 2. อานเพื่อหาความรู ผูอานตองมีพื้นฐานการอานพอสมควร ตองรูจักจับใจความสําคัญของเรื่อง บันทึกขอความสําคัญหรือใชการทองจําดวย 3. อานเพื่อเสริมสรางความคิด ผูอานตองมีความรูในเรื่องที่อานเปนอยางดี อานแลวสามารถไตรตรองเพื่อประเมินความคิดนั้น เพื่อใหเกิดปญญาและแนวทางใหม ๆ ดังนั้นจึงสรุปไดวา จุดมุงหมายที่สําคัญของการอานคือ เพื่อเพิ่มพูนความรู ความคิด และความเพลิดเพลิน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความมุงหมาย ความสนใจของผูอาน เพื่อจะนําไปใชใหเปนประโยชนในชีวิตประจําวัน

ประเภทของการอาน

วาสนา เกตุนาค ( 2521, หนา 1-2 ) ในการสอนอานเราแยกประเภทของการอานได 2 ประเภทคือ 1. การอานออกเสียงคือ การอานตามตัวหนังสือใหผูอ่ืนฟง ผูอานจะตองอานไดชัดเจนถูกตอง ตามหลักภาษาและความนิยม 2. การอานในใจ คือ การทําความเขาใจกับตัวอักษร เปนการอานเพื่อตัวผูอานเองซึ่งจะไดรับประโยชนมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับความสามารถของผูอานแตละคน วิจิตรา แสงพลสิทธิ์ และคนอื่น ๆ (2522, หนา 135 ) ไดแบงประเภทของการอานไว 2 ชนิดคือ 1. การอานในใจ เปนการอานเพื่อขวนขวายหาความรูและความเพลิดเพลินใหแกตนเอง การอานประเภทนี้มุงฝกอัตราเร็วและจับใจความสําคัญ ซ่ึงเปนการอานนับวันแตจะมีความสําคัญเพิ่มขึ้น การอานประเภทนี้ไมเพียงแตอานไดออกเทานั้น แตจะตองมีความสามารถในการสรุปความแปลความ ขยายความ วิเคราะหคํา วิเคราะหความหรือเนื้อหา และวิจารณเร่ืองได

Page 14: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

2. การอานออกเสียงไดแก 2.1 อานออกเสียงแบบรอยแกวเพื่อส่ือสารใหผูอ่ืนรูเร่ืองและเขาใจ 2.2 อานออกเสียงรอยกรองประเภทตาง ๆ เพื่อความไพเราะใหผูฟงเกิดความซาบซึ้ง พวา พันธุเมธา ( 25185 , หนา 38 ) ไดแบงประเภทของการอานออกเปน 3 ชนิดตามลักษณะของการอานดังนี้ 1. การอานออกเสียง ใชเมื่อตองการใหตัวเราหรือผูอ่ืนไดยินขอความที่อาน หรือใชเมื่อตองการฝกออกเสียงใหถูกตองชัดเจน หรือเพื่อซาบซึ้งในขอความที่อาน อัตราเร็วทั่วไปในการอานชนิดนี้ 120-150 คําตอนาที 2. การอานออกเสียงเงียบ เปนการอานปากขมุบขมิบไปตามจังหวะอานเหมือนออกเสียง การอานแบบนี้ไมมีประโยชนอยางใดแกผูอาน เพราะไมมีเจตนาตองการใหผูอ่ืนไดยินหรือฝกออกเสียงแตอยางใด ทําใหเปลืองเวลาในการอาน ซ่ึงอัตราความเร็วจะเทากับการอานออกเสียงเทานั้น 3. การอานในใจ การอานแบบนี้อวัยวะที่ออกเสียงตาง ๆ ไมเคล่ือนไหวเลย ใชเฉพาะสายตากวาดไปบนหนังสือ ตารับภาพแลวสงสายตา ไปยังปราสาทสมองใหรับเพื่อจดจําตีความตาง ๆ เหมาะสําหรับในการอานคนควา ซ่ึงการอานแบบนี้มุงใหอานไดเร็ว และมีความพรอมทั้งสามารถเก็บความที่อานไดมาก

ความเขาใจในการอาน

ชวาล แพรัตกุล ( 2520 , หนา 134 ) ไดใหความหมายของความเขาใจวาเปนความสามารถในการผสมแลวขยายความีรูความจําใหไดไปไกลจากเดิม อยางสมเหตุสมผล ซ่ึงจะตองมีคุณสมบัติ 4 ประการ คือ 1. รูความหมาย และรายละเอียดยอย ๆ ของเรื่องนั้นมากอนแลว 2. รูความเกี่ยวของความสัมพันธระหวางขั้นความรูยอย ๆ เหลานั้น 3. สามารถอธิบายสิ่งเหลานั้นไดดวยภาษาของตนเอง 4. เมื่อพบสิ่งอ่ืนใดที่สภาพทํานองเดียวกับที่เคยเรียนรูมาแลวก็สามารถอธิบายได

การเขาใจสามารถแสดงออกไดดังนี ้

1. การแปลความ ( Translation ) คือสามารถแปลความหมายของสิ่งตาง ๆ ไดโดยแปลตามลักษณะและนัยของเรื่องราวซึ่งเปนความหมายที่ถูกตอง และใชไดดีสําหรับเรื่องราวนั้น ๆ โดยเฉพาะ

Page 15: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

2. การตีความ ( Tntepretation ) คือสามารถจับความสัมพันธระหวางชิ้นสวนยอย ๆ ของเร่ืองนั้น จนสามารถนํามากลาวแบบนัยหนึ่งได 3. การขยายความ ( Extrapolation ) คือสามารถขยายความหมาย และนัยของเรื่องนั้นใหกวางไกลไปจาสภาพขอเท็จจริงเดิมได สมบูรณ ซิตพงค ( 2511ล หนา 27 ) กลาววา ความเขาใจ ( Comprehension ) เปนความสามารถทางดานสมองในการคิดเกี่ยวกับสิ่งตาง ๆ ในดานการแปลความ ตีความ และขยายความในเรื่องราวเหตุตาง ๆ ในชีวิต เบอรตัน ( Burton , 1956 , p 321 ) ไดใหความเห็นเกี่ยวกับเรื่องความเขาใจในการอานวาตองอาศัยความสามารถหลายดานประกอบกันคือ 1. การเขาใจความหมายของศัพท 2. การเรียงลําดับความได 3. การจับใจความสําคัญได 4. การสังเกตความสัมพันธของขอความที่อาน 5. การแยกแยะประเภทได สรุปความได และคาดการลวงหนาได บอนด และทิงเคอร ( Bond and Tinker , 1957 , p.235 ) กลาววา ความสามารถในการอานขึ้นอยูกับทักษะพื้นฐานดังตอไปนี้ 1. การเขาใจความหมายของคํา ( Word meanings ) การเขาใจความหมายของคําเปนทักษะพื้นฐานของการอาน ถาหากนักเรียนรูความหมายของคําไมเพียงพอ นักเรียนจะไมสามารถเขาใจประโยค ( Sentence ) อนุเฉท ( Paragraph ) ทําใหไมสามารถที่จะพูดหรืออานได 2. การเขาใจความหมายของกลุมคํา ( Thought units ) นักเรียนจะเขาใจความหมายของประโยคไดก็ตอเมื่อนักเรียนรูจักอานเปนกลุมคํา การอานทีละคําทําใหไมเขาใจในเรื่องที่อาน 3. การเขาใจประโยค ( Sentence comprehension ) นอกจากนักเรียนจะตองเขาใจความหมายเปนรายคําและเปนรายกลุมคําแลว นักเรียนจะตองมองเห็นความสัมพันธระหวางคําและความสัมพันธระหวางกลุมคําในประโยคดวย นักเรียนที่ไมสามารถมองเห็นความสัมพันธระหวางคําและระหวางกลุมคําในประโยคไมเขาใจเรื่องที่อาน 4. การเขาใจในอนุเฉท ( Paragraph comprehesion ) นักเรียนจะเขาใจอนุเฉทไดก็ตอเมื่อนักเรียนมองเห็นความสัมพันธระหวางประโยคกับอนุเฉท การเขาใจความสัมพันธระหวางประโยคคอนขางจะยาก แตถานักเรียนขาดความสามารถทางดานนี้แลว นักเรียนจะไมสามารถเขาใจเรื่อง ที่อาน 5. การเขาใจความสัมพันธระหวางอนุเฉท ( Comprehension of larger units ) นักเรยีนจะสามารถเขาใจเนื้อเรื่องที่ยาวขึ้นได ก็ตอเมื่อนักเรียนสามารถจัดลําดับความคิดของเรื่องที่อานได และจะมองเห็นความสัมพันธระหวางอนุเฉทดวย

Page 16: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ทักษะพื้นฐานทั้งหมดที่กลาวมาแลวนี้จะมีความสัมพันธซ่ึงกันและกัน กลาวคือ ผูอานจะเขาใจเนื้อเร่ืองที่อานไดก็ตอเมื่อผูอานเขาใจความหมายของคํา รูจักอานเปนกลุมคํา ซ่ึงเปน องคประกอบสําคัญของการเขาใจประโยค การเขาใจความสัมพันธระหวางประโยคจะทําใหเขาใจอนุเฉท และการเขาใจความสัมพันธระหวางอนุเฉพาะทําใหเขาใจเรื่องที่อานทั้งหมด เซฟเพิรด (Shepherd, 1973, p.79) ไดสรุปวา ความเขาใจในการอานเปนความสามารถของผูอานที่ใชความคิด คิดตามขอเขียนที่ผูเขียนไดเขียนไว ผูอานจะตองเขาใจภาษาของผูเขียน และตีความหมายใหตรงกับความตั้งใจของผูเขียน คารและคนอื่นๆ (Carr and other, 1983, pp. 1-2) กลาวา จากงานวิจัยเกี่ยวกับการอานนั้นสรุปไดวา ความเขาใจในการอาน คือ การตีความหมายจากเรื่องที่อานและจากปฏิสัมพันธระหวางเร่ืองที่อานกับความรูเดิมของผูอาน ซ่ึงผูอานใชความรูเดิมนั้นในการตีความหมาย (Interpretation) และตัดสินความนั้นอยางมีเหตุผล และผูอานใชความรูเดิมนั้นในการตัดสินใจเลือกสิ่งที่ผูอานคิดวาจําเปนจะตองเขาใจและเลือกความรูเดิมกับความรูใหมใหเหมาะสมกัน คารเรลล (Carrell, 1984, p.87) กลาววา ความเขาใจในการอานนั้นคือความเขาใจในประโยคหรือนุเฉท (Paragraph) และโดยเฉพาะอยางยิ่งความเขาใจในรูปแบบการจัดหรือเรียบเรียงเร่ือง (Rhetorical organization) ซ่ึงสอดคลองกับความเห็นของ คินติซและยารโบ (Kintseh and Abrough, p.828) ที่วาความเขาใจในการอานมี 2 ระดับ คือ ความเขาใจในระดับแคบ (Microprocesses in comprehension) คือเขาใจคํา วลี และประโยคกับความเขาใจระดับกวาง (Macro recesses in comprehension) คือความเขาใจเรื่องทั้งหมดที่อาน สรุปไดวา ความเขาใจวาการอาน คือ ความสามารถในการเขาใจคํา วลี ประโยคอนุเฉท ตลอดจนเรื่องราวทั้งหมดที่อานมีความสําพันธกันอยางไร สามารถจับใจความสําคัญและรายละเอียดของเรื่องได เรียงลําดับความและสรุปความได ระดับความเขาใจในการอาน

สําหรับการอานนั้นยอมขึ้นอยูกับจุดประสงคของผูอาน ซ่ึงแตกตางออกไปเชน อานเพื่อความบันเทิง อานเพื่อแสวงหาความรู เปนตน ดังนั้น ลักษณะการอานของแตละคนจึงไมเหมือนกันรวมทั้งยังทําใหระดับความเขาใจเรื่องที่อานตางกันดวย เชน การอานเพื่อแสวงหาความรู อาจตองใชความสามารถในการอานขั้นตีความประกอบดวย สวนการอานเพื่อความบันเทิง อาจจะเขาใจตามตัวอักษรก็ใชไดแลว

Page 17: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

นักการศึกษาหลายทานไดแบงระดับความเขาใจในการอานที่แตกตางกนัออกไปดังนี ้

นพรัตน สรวยสุวรรณ (2527, หนา 23) ไดอางถึงระดับความเขาใจในการอานตามแนวคิดของ Burmiste โดยอาศัยแนวคิดพื้นฐานของ Sanders ซ่ึงไดดัดแปลงมาจาก Bloom’s Taxomomy อีกทีหนึ่ง เขาไดกลาวถึงระดับตาง ๆ ของความเขาใจในการอาน ดังนี้ 1. ระดับความจํา (Memory) เปนระดับของการจําในสิ่งที่ผูเขียนไดกลาวไว ไดแกการจํา หรือการเขาใจเกี่ยวกับขอเท็จจริง วันที่ คําจํากัดความ ใจความสําคัญ ของเรื่อง และลําดับเหตุการณของเรื่อง 2. ระดับแปลความ (Translation) เปนการนําขอความหรือส่ิงที่เขาใจไปแปลเปนรูปอ่ืน เชน การแปลภาษาหนึ่งเปนอีกภาษาหนึ่ง การถอดความ การนําความสําคัญของเรื่องไปแปลเปนแผนภูมิ เปนตน 3. ระดับการตีความ (Interpretation) คือการเขาใจและมองเห็นความสัมพันธของสิ่งที่ผูเขียนไมไดบอกไว เชน หาเหตุเมื่อกําหนดผลมาให ใหคาดการณวาอะไรจะเกิดขึ้นตอไป การจับใจความของเรื่อง โดยที่ผูเขียนไมไดบอกไว 4. ระดับการประยุกตใช (Application) เปนการเขาใจหรือมองเห็นหลักการแลวนําหลักการไปประยุกตใช จนประสบความสําเร็จ 5. ระดับการวิเคราะห (Analysis) คือความเขาใจและรูในแงของการตรวจตราสวนยอยที่ประกอบเขาเปนสวนเต็ม เชน การวิเคราะหโฆษณาชวนเชื่อ การแยกแยะวิเคราะหคําประพันธ การรูถึงการใหเหตุผลที่ผิด ๆ ของผูเรียน 6. ระดับการสังเคราะห (Synthesis) เปนการนําความคิดเห็นที่ไดจากการอานมาผสมผสานกันแลวจัดเรียบเรียงใหม 7. การประเมินผล (Evaluation) เปนการวางเกณฑแลวตัดสินสิ่งที่อาน โดยอาศัยหลักเกณฑตั้งไว เปนบรรทัดฐาน เชน เ ร่ืองราวที่อานอะไรบางที่ เปนจริง (Facts) และอะไรบางที่ เปนจินตนาการ (Fantasy) อะไรบางที่เปนความคิดเห็น (Opinion) และอะไรบางที่เปนความเชื่อของเร่ืองที่อาน เปนตน เพ็ญศรี รังสิยากุล (2528, หนา 123) ไดแบงความเขาใจออกเปน 3 ระดับ คือ 1. ความเขาใจตามตัวอักษร หมายถึง การที่ผูอานมีความเขาใจตามตัวอักษรที่ปรากฏอยูบนแตละวรรคเปนความเขาใจถึงคําพูดที่ผูเขียนใชนั่นเอง 2. ความเขาใจที่เกิดขึ้นจากการตีความหมาย หมายถึง การที่ผูอานมีความเขาใจวาผูเขียนหมายถึงส่ิงใด 3. ความเขาใจที่นําไปสูการสรุป เปนความเขาใจที่เกิดขึ้นภายหลังการอานเรื่องราวทั้งหมดแลวนําส่ิงตางๆ ที่ไดจากการอานมารวบรวมทําเปนสรุป

Page 18: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

นอกจากนี้ สมุทร เซ็นเชาวนิจ (2526, หนา 88) ไดแบงประเภทของความเขาใจออกเปน 2 ประเภท คือ 1. ความเขาใจแบบทันที (Receptive Comprehension) เปนความเขาใจที่ตองอาศัยความรู ความหมายของศัพท สํานวนในประโยคตาง ๆ และตองอานอยางมีสมาธิ 2. ความเขาใจแบบไตรตรอง (Reflective Comprehension)

สําหรับนักการศึกษาตางประเทศนั้น ก็มีหลายทานที่ไดแสดงทรรศนะเรื่องระดับความเขาใจในการอาน อยางเชน สมิธ และวารเร็ตต (Smith and Barrett Citing Harris and Sipay, 1979, p.317) กลาววา ระดับความเขาใจในการอานมี 4 ระดับ

1. Literal Comprehension เปนความเขาใจในระดับตน เขาใจตามตัวอักษรวาผูเขียน เขียนวาอยางไร สวนใหญ

เปนเรื่องการระลึกถึงรายละเอียด (details) ใจความสําคัญ (Main Ideas) ลําดับเรื่อง (Cause-Effect) และเขาใจคุณลักษณะของตัวละคร หรือของเรื่อง (Character traite)

2. Interference เขาใจขอบขายที่เกี่ยวโยงเขากับเหตุการณอ่ืนได

3. Evaluation เขาใจเนื้อเร่ืองแลวประเมินผลเกี่ยวกับเรื่องที่อานไดวาผูเขียนมีเปาหมายอยางไร

อารมณของเรื่องเปนอยางไร เจตคติของผูเขียนเปนอยางไร เปนตน 4. Appreciation

เกิดความซาบซึ้ง เปลี่ยนแปลงความเชื่อ ความรูสึกนึกคิด สมิธ (Smith, 1972 ; Citing Harris and Sipay, 1979, p.318) แบงระดับความเขาใจออกเปน 4 ระดับคือ

1. Literal Comprehension เขาใจและไดความหมายจากสิ่งที่อานตามตัวอักษร

2. Interpretation เปนการตีความหมายสิ่งที่อาน เชน ความหมายที่แทจริงของผูเขียนคืออะไรกันแน

ผูอานตองใชวิจารณญาณมากขึ้น เปนการเขาใจที่สําคัญวาแบบแรก 3. Critical Reading

คือ อานแลวสามารถวิพากษวิจารณได 4. Creative Reading

คือ อานแลวเขาใจมากกวาหรือนอกเหนือจากผูที่เขียนเขียนบอกไว

Page 19: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

จะเห็นไดวา ระดับความเขาใจในการอาน เปนองคประกอบสําคัญที่ผูสอนควรนําไปพิจารณากับปจจัยอ่ืน ๆ ดวย สําหรับการวิจัยคร้ังนี้ จะศึกษาเฉพาะความสามารถในการอานระดับแปลความ ตีความ ขยายความและจับใจความสําคัญ

ความสนใจในการอานของเด็กวัย 11-14 ป

รัญจวน อินทรกําแหง (2519, หนา 96-97) ไดจําแนกความสนใจการอานของวัยรุนตามลําดับ ดังตอไปนี้ อายุ 11 ป เด็กชายยังคงชอบเรื่องผจญภัยลึกลับ และเพิ่มความสนใจในการคนควาประดิษฐ และวิทยาศาสตรมากขึ้น หนังสือเกี่ยวกับเครื่องยนตกลไกล หนังสือการตูนยังคงเปนที่ถูกใจอยู แตบางคนจะลดความสนใจในเรื่องสัตวไปบาง สวนเด็กหญิงชอบเรื่องเกี่ยวกับชีวิตในบานสัตวเล้ียง เร่ืองเกี่ยวกับธรรมชาติ และเริ่มชอบเรื่องเกี่ยวกับรักๆ ใครๆ บางทีก็ชอบอานนิยายผจญภัยอยางเด็กชายเหมือนกัน อายุ 12 ป เด็กชายชอบเรื่องที่มีการจบขมวดปมไวใหคิด ชอบอานหนังสือเกือบทุกชนิดผจญภัย ประวัติศาสตร ชีวประวัติ กีฬา ฯลฯ สวนเด็กหญิงสวนมากยังคงชอบเรื่องเกี่ยวกับชีวิตในบาน ในโรงเรียน ชอบเรื่องรักๆ ใครๆ มากขึ้น เรื่องผจญภัยยังคงชอบอยู และเริ่มอานนวนิยายสําหรับผูใหญและบางทีก็ชอบเรื่องเกี่ยวกับอาชีพดวย ในวันนี้เด็กหญิงเริ่มอานเกือบทุกอยางเหมือนกัน อายุ 13 ป เด็กชายยังคงชอบเรื่องเครื่องยนตกลไก แตใหยุงยากซับซอนมากขึ้น ชอบเรื่องเกี่ยวกับงานอดิเรก การเพาะปลูก ความงามของรางกาย เปนตน สวนเด็กหญิงคงอานนวนิยายของผูใหญตอไป ไมชอบหนังสือที่เปนหลักวิชาจนเกินไป เร่ิมชอบหนังสือคําประพันธบทละคร เรื่องเกี่ยวกับสัตวเล้ียงก็ยังคงชอบอยู อายุ 14 ป เปนวัยเขาสูวัยรุนเต็มที่ ระยะนี้จะอานหนังสือนอยลง แตชอบนิตยสารมากขึ้นเด็กชายชอบอานชีวประวัติ ประวัติศาสตร การเดินทาง เครื่องยนตกลไกตางๆ ชอบอานหนังสือท่ีมีแผนผังแบบแปลน เด็กหญิงชอบเร่ืองรักๆ ใครๆ ที่สะเทือนอารมณ มักสนใจเรื่องราวที่แตงเกินความจริงแตงายๆ บางคนอาจสนใจหนังสือเกี่ยวกับอาชีพมากขึ้น และยังสนใจคําประพันธดวย วรณี สุนทรเวช (2510, หนา 110-118) ไดสํารวจความสนใจ และความตองการในการอานของนักเรียนอายุ 11-16 ป โดยแบงออกเปน 2 กลุม คือ อายุ 11-13 ป และอายุ 14-16 ป กอนอายุ 11-13 ป ซ่ึงเปนชวงอายุใกลเคียงกับระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 นั้น วรณี สุนทรเวช ไดสรุปไววา ชอบอานหนังสือประเภทตางๆ จากมากไปหานอย ตามลําดับดังนี้ 1. หนังสือเกี่ยวกับวิทยาศาสตร นิทาน นิยาย

Page 20: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

- วิทยาศาสตร ชอบอานเรื่องสัตว รองลงไป ไดแก การประดิษฐตางๆ อวกาศ การสํารวจทะเล มหาสมุทร ดวงดาว เครื่องจักรกล ลมฟาอากาศ พืช ดิน หิน แร และอ่ืน ๆ - นิทาน นิยาย เด็กหญิงชอบนิทานพื้นเมือง และนิทานมีคติสอนใจ เด็กชายชอบนิทานโบราณคดีและนิทานที่แปลมาจากภาษาตางประเทศ 2. หนังสือพิมพ และหนังสือตางประเทศ 3. วรรณคดี ชอบอานสังขทอง ขุนชาง-ขุนแผน มากที่สุด รองลงไป ไดแก พระอภัยมณี รามเกียรติ์ พระรวง เปนตน 4. สารคดี ชอบเรื่องประวัติบุคคลสําคัญรองลงไป คือ ประวัติศาสตร 5. นิตยสาร 6. เร่ืองแปล จะเห็นไดวาความสนใจในการอานของเด็กแตละวัยนั้น มีความสนใจที่แตกตางกัน การเลือกเรื่องที่จะนํามาใหนักเรียนอานเพื่อฝกทักษะในการอาน จึงตองเลือกใหเหมาะสมกับวัย และความสนใจของนักเรียน

เอกสารที่เกี่ยวกับการสอนอาน ทฤษฎีท่ีเก่ียวกับการสอนอาน ประเทิน มหาขันธ (2523, หนา 47) กลาวถึงทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญาของเปยเจท (Piaget) วาเด็กมีพัฒนาการทางสติปญญาเปน 4 ขั้น ดังนี้ ระยะตั้งแตเกิดถึง 2 ขวบ (sensorimotor period) ระยะนี้เปนระยะที่เด็กจดจําส่ิงของตางๆ โดยจับตอง ระยะตั้งแต 2-4 ขวบ (preoperational thought period) ระยะนี้เปนระยะที่การจําแนกขึ้นอยูกับดานใดดานหนึ่งเพียงดานเดียวและระยะตั้งแต 4-7 ขวบ (intuitive phase) เปนระยะที่ความคิดเปนไปโดยการหาความสัมพันธของสิ่งตาง ๆ ระยะตั้งแต 7-11 ขวบ (concrete operation period) ระยะนี้เปนระยะที่การคิดอยางมีเหตุผล ระยะตั้งแต 11-15 ขวบ (formal operation period) ระยะนี้เปนระยะที่การคิดอยางนามธรรมและการสรางความคิดรวบยอดเกิดขึ้นอยางมั่นคง จากทฤษฎีของเปยเจท เกี่ยวกับทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญาของเด็ก สามารถนํามาเปนหลักในการสอนอานไดเปนอยางดี โดยในระยะแรกๆ ของพัฒนาการ เด็กจะคิดไดโดยอาศัยรูปธรรมเปนสําคัญ ดังนั้น ในระยะแรก ๆ ของการสอนอานจึงจําเปนตองใชรูปธรรมเปนอันมากเชน ในการทําความเขาใจความหมายของคํา เปนตน ตอมาเมื่อเด็กพัฒนาขึ้น การสอนอานจึงเปนไปในลักษณะของนามธรรม การทําความเขาใจความหมายของคํา ใชวิธีอธิบายใหเด็กเขาใจและใหเด็ก

Page 21: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

คิดดวยตนเอง เมื่อเด็กรูวิธีทําความเขาใจความหมายของคําในการอานแลว ครูจึงสอนใหเด็กอานอยางอนุมาน และการอานเพื่อประเมิน กิลฟอรด (Guilford, 1966, p.125) ไดกลาวถึงเรื่องการอาน ที่เกี่ยวของกับเรื่องความรูและระดับสติปญญาวาสติปญญานั้นประกอบดวยระบบปฏิบัติการ ซ่ึงประกอบดวยลักษณะตางๆ ไดแกปฏิบัติการดานความรูความจํา ความคิดอยางจําแนก คิดอยางรวม และการประเมินกิลฟอรด ไดใหคําแนะนําวาเนื้อหาที่เกี่ยวกับความรูก็ดี ความจําก็ดี ความคิดก็ดี จะตองประกอบกันเปนหนวยหรือเปนระบบที่ใหญพอสมควร แนวคิดดังกลาวของกิลฟอรด สามารถนํามาใชเปนหลักในการสอนอานได เชน การสอนอยางเปนคํา การสอนอานอยางวิพากษวิจารณ การสอนอานอยางอนุมาน เปนตน นอกจากนี้ยังมีนักการศึกษาอีกหลายทานไดศึกษาเกี่ยวกับการสอนอานและไดเขียนเปนทฤษฎีไวดังนี้ ดอรสัน (Dowson, 1959, p.7) กลาวถึงการสอนอานวามีจุดมุงหมาย ดังนี้

1. เราใหนักเรียนสนใจทั้งเพื่อความบันเทิงและเพื่อเสริมสรางปญญา 2. เพื่อสรางความพรอมในการอานแตละระดับ 3. เพื่อใหมีประสบการณในการอานมากขึ้น 4. เพื่อใหมีรสนิยมดี ทั้งการอานและการฟง 5. ใหสามารถเลือกหนังสือ และอุปกรณการเรียน ที่เหมาะสมตรงกับจุดมุงหมายในการ

เรียนได แฮรีส (Harris, 1983, p.487) มีความเห็นวา วิธีที่จะสงเสริมใหนักเรียนรักการอานควรจะ

ชักจูงและแนะนําใหอานดวยวิธีที่เหมาะสม คือ ขึ้นแรกควรใหนักเรียนอานหนังสือที่งาย ส้ัน และตรงกับความสนใจ เมื่อนักเรียนเกิดทัศนคติตอการอานแลวนักเรียนจะหาหนังสือตางๆ มาอานเอง

โอลม (Holm, 1962, p.64) ไดสรุปทฤษฎีที่นํามาอธิบายการอานวา การอานตองอาศัยองคประกอบตางๆ ดังนี้ องคประกอบที่ 1 เปนองคประกอบที่มีความสําคัญที่สุดกับความสามารถในการอาน มี องคประกอบยอย ดังนี้ คือ ความเขาใจในการฟง ความเขาใจความหมายของคําที่มีอยูในเนื้อหาของเรื่อง ความเขาใจความหมายของคําที่เห็นโดยตา ความเขาใจความหมายของศัพทแตละตัว การเขาใจความหมายของคําอุปมาอุปไมย องคประกอบที่ 2 ความสามารถในการใชเหตุผล องคประกอบที่ 3 ความสามารถในการรับรู

Page 22: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

การสอนทักษะการอาน สมถวิล วิเศษสมบัติ (2525, หนา 73-74) กลาวถึงการสอนทักษะการอาน สรุปไดวาทักษะการอานเปนทักษะที่สําคัญและใชมากในชีวิตประจําวัน เพราะเปนทักษะที่นักเรียนใชแสวงหาสรรพวิทยาการตางๆ เพื่อความบันเทิงและการพักผอนหยอนใจ ผูมีนิสัยการอาน มีอัตราเร็วใจการอานสูง ยอมแสวงหาความรูและการศึกษาเลาเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถนําความรูที่ไดจากการอานไปใชในการพูดและการเขียนไดอยางมีประสิทธิภาพ ในตางประเทศปจจุบันไดมี การสงเสริมทักษะการอานเปนอยางมากทั้งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา เพราะถือวาหากนักเรียนมีพื้นฐานทักษะการอานดีแลว ยอมสามารถนําไปใชเปนเครื่องมือในการศึกษาหาความรูในสาขาวิชาอ่ืน ๆ ไดเปนอยางดี

การสอนอานครูควรเพงเล็งในสิ่งตอไปน้ี

ก. ความเขาใจ คือ ความสามารถที่จะเขาใจในลายลักษณะอักษรหรือขอความที่อานอยางครบถวน คืออานรูเร่ืองนั่นเอง การอานนั้นความเขาใจเปนส่ิงสําคัญเปนอันดับหนึ่ง จึงไมควรอานเร็วจนเกินไปจนไมรูเร่ือง คนเราจะอานหนังสือไดเขาใจเพียงใดนั้น ยอมแลวแตประสบการณและการศึกษาที่ไดรับมา เมื่อไดเห็นไดอานและไดฟงมากขึ้นยอมจะเขาใจโลกดีขึ้น และมีผลใหอานหนังสือเขาใจไดรวดเร็วและลึกซึ้งยิ่งขึ้นดวย ข. ความเร็ว ความเร็วในการอานมีความสําคัญรองลงมาจากความเขาใจ ผูอานที่อานเร็วและอานมาก ยอมไดเปรียบทั้งในเรื่องการเรียน การทํางาน นักเรียนจะอานไดเร็วข้ึน ถาครูไดเห็นถึงประโยชนของความเร็ว แนะนําวิธีอานที่ถูกตองให และใหฝกหัดโดยมีครูควบคุมบาง หรือฝกหัดดวยตัวเองตามลําพังบาง ค. วิจารณญาณ วิจารณญาณในการอานนี้ อันที่จริงเปนสวนหนึ่งในความเขาใจเรื่องวิจารณญาณเปนเรื่องสําคัญ เพราะในปจจุบันนี้การโฆษณามีอยูรอบตัว ถาผูอานไมสามารถเขาใจใหลึกซึ้งถึงความหมายหรือความมุงหมายของผูเขียนแลว ยอมจะตกเปนเหยื่อของการโฆษณาเหลานั้นไดงาย นอกจากนี้การอานอยางมีวิจารณญาณจะชวยใหผูอานไดประโยชนอยางแทจริงมิใชเพียงแตรับทราบคําบอกเลาของผูเขียนที่ตรงตามตัวอักษรเทานั้น ผูอานจะนําเอาความคิดของผูเขียนมาประสมกับความคิดของตนเอง ทําใหเกิดความคิดใหม และนําไปใชใหเปนประโยชนได ประเทิน มหาขันธ (2523, หนา 200-210) กลาวถึงการอานเพื่อความเขาใจ พรอมทั้งขอเสนอแนะในการสอนสรุปไดดังนี้ การอาน คือ การทําความเขาใจ ถาผูอานปราศจากความเขาใจในเรื่องที่อานตรงความหมายของตัวอักษรนั่นถือวาไมใชการอานที่แทจริง ความเขาใจในการอาน

Page 23: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

โดยทั่วไปถือวาการอาน คือ การสะกดคําที่เปนตัวอักษรออกมาเปนคําพูด ความเขาใจเชนนี้จัดวาไมเปนการถูกตองตามนัยของการอานในโรงเรียน จุดประสงคหลักของการสอนอานก็คือใหผูอานสามารถทําความเขาใจสิ่งที่อานไดถูกตองในโรงเรียน จุดประสงคหลักของการสอนอานก็คือใหผูอานสามารถทําความเขาใจสิ่งที่อานไดถูกตองตรงกับจุดประสงคหลักของการสอนอานก็คือใหผูอานสามารถทําความเขาใจสิ่งที่อานไดถูกตองตรงกับจุดประสงคของผูเขียน การอานเพื่อความเขาใจจัดเปนดานหนึ่งของทักษะ ในการทําความเขาใจในการอานใหแกเด็ก ชวยใหเด็กสามารถนําเอาประสบการณเดิมมาใชในการทําความเขาใจเรื่องราวที่อานไดเปนอยางดีแลว ยังชวยใหเด็กเขาใจความสัมพันธของแนวคิดและการปรับความมุงหมายของการอานใหเหมาะสมกับความตองการในการอานดวย

อุทัย ภิรมยร่ืน (2531, หนา 17-18) ไดใหแนวการฝกการอานเพื่อความเขาใจไวดังนี้ 1. ใหรูจักกําหนดเปาประสงคในการอาน กอนที่จะอานไวอยางกวางๆ วาตองการทราบ

อะไร 2. พยายามทําความเขาใจโดยอาศัยเชิงแนะจากขอความที่อาน เชน พิจารณาโครงสราง

ประโยค และคนหาความหมายของคําศัพท จะชวยใหเขาใจเรื่องที่อานไดดีขึ้น 3. ทําความเขาใจโดยอาศัยเชิงแนะจากขอความ ไดแก การสังเกตขอความตอเนื่องกอน-

หลัง คําที่มีความหมายคลายคลึงกัน(Synonym) และการสรุปความ (Summary) 4. สอนใหนักเรียนรูจักคาดการณลวงหนาในเวลาอาน เพราะจะทําใหเขาใจเรื่องไดดีขึ้น 5. ทดสอบยืนยันวา ส่ิงที่คาดการณไวถูกตองหรือไมเพียงใด อาจตรวจจากพจนานุกรม

หรือจากคําเฉลยก็ได 6. หลอมความคิดเขาเปนความเขาใจ คือ การรวบรวมความจําจากที่อานและหลอมความ

เขาใจทั้งหมด 7. ฝกใหอานเพื่อสังเกตรายละเอียดที่เกี่ยวของกัน โดยกําหนดใหอานและวิจารณส่ิงที่

อาน

ศิริพร ลิมตระการ (2527, หนา 22๗ กลาววา การอานประกอบดวยลักษณะตอไปน้ี

1. การเคลื่อนไหวสายตา 2. รูความแตกตางของภาพจากคําสูคํา กลุมคําไปสูกลุมคํา 3. การนําส่ิงเหลานี้มารวมกัน คือ คํา เสียง และความหมาย 4. การตีความ

แฮริส (Harris, 1983, p.255) กลาวถึงการฝกใหผูเรียนเกิดความเขาใจในเรื่องที่อานดีขึ้นดังนี้

1. ใหผูอานรูจักโยงความรูใหมไปสูความรูเดิมที่มีอยู

Page 24: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

2. ใหตั้งจุดมุงหมายในการอานวาตองการทราบอะไร 3. ปลอยใหนักเรียนมีเวลาอานเปนของตนเองนานๆ ในแตละครั้ง 4. เปดใหมีการอภิปรายรวมกันหลังการอานทุกครั้ง 5. ใหทํากิจกรรมเพิ่มเติมหลังการอาน เชน การเลนบทบาทสมมุติ จะเห็นวาการสอนอานที่ดีนั้นครูผูสอนควรจะไดฝกฝนใหนักเรียนไดรูจักจับใจความสําคัญ

ที่ไดอานใหอานไดรวดเร็วดวยการใชสายตาที่แมนตรง ใหรูจักวิเคราะห และวิจารณเร่ืองที่อานไดจดบันทึกเรื่องราวที่อานไดอยางมีขั้นตอน ถานักเรียนอานไดอยางมีประสิทธิภาพดังที่กลาวมานี้เขาก็จะสามารถนําความรูจากการอานไปใชใหเปนประโยชนตอการพูด และการเขียนไดดีในโอกาสตอไป

ความสําคัญของการสอนอานวิชาภาษาไทย สนม ครุฑเมือง (2523, หนา 3) ไดสรุปความสําคัญของการสอนอานวิชาภาษาไทยไวดังนี้

1. ชวยใหเกิดความเขาใจการติดตอส่ือสารระหวางคนในชาติ 2. ชวยในดานความเจริญงอกงามของนักเรียน ทําใหนักเรียนไดรับความรู ความเขาใจมี

ความเจริญงอกงามดานจิตใจ ดวยความสามารถนําความรูที่ไดจากการอานไปเปนเครื่องมือในการแสวงหาความรูในสาขาวิทยาการอื่น ๆ

3. ชวยใหผูอานไมตกเปนเหยื่อบุคคลซึ่งแสวงหาผลประโยชนจากการโฆษณาชวนเชื่อ นอกจากนี้ประสบการณที่ไดจากการอาน สามารถนํามาแกปญหาชีวิตไดโดยทําใหเปนผูที่

สามารถเขาใจสภาพการณที่เผชิญไดอยางรวดเร็ว และสามารถแกไขเหตุการณไดทันทวงที เพราะปญหาบางประเภทอาจนําประสบการณที่เคยอานพบมาดัดแปลงแกปญหาได

ความมุงหมายในการสอนอานวิชาภาษาไทย สนิท ตั้งทวี (2526, หนา 30) มีความเห็นวาการสอนอานภาษาไทยในชั้นมัธยมศึกษาครูควรฝกใหนักเรียนไดรูจักจับใจความสําคัญของเรื่องที่อานไดอานรวดเร็ว ดวยการใชสายตาที่แมนตรง ใหรูจักวิเคราะหแลววิจารณเร่ืองที่อานได จดบันทึกเรื่องราวที่อานไดอยางมีขั้นตอน และสามารถนําความรูจากากรอานนั้นไปใชใหเกิดประโยชนตอการพูดและการเขียนไดดีในโอกาส ตอไป ประภาศรี สีหอําไพ (2524, หนา 331) กลาวถึงจุดมุงหมายของการสอนอานวิชาภาษาไทยไวดังนี้ คือ จุดมุงหมายของการอานในใจ เพื่อรับรูเรื่องที่อาน สามารถสรุปใจความไดถูกตองรวดเร็ว เขาใจในทัศนหรือความคิดรวบยอดโดยการเขียนหรือบอกได ตีความหมายคําและขอความไดตาม

Page 25: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

วัตถุประสงคของผูเขียน อภิปรายความรูสึก ความคิดเห็นของตนตอเร่ืองที่อานวิจารณเรื่องอยางมีเหตุผลตามเกณฑการวิจารณหนังสือ เพิ่มพูนความสามารถในการอาน และสรางอุปนิสัยและทัศนคติตอการอาน จุดมุงหมายของการอานออกเสียง เพื่อประโยชนในการฝกการใชเสียงสื่อสารที่อานใหแกผูฟงทําใหขยายความรูไดทั่วถึง และกอใหเกิดคามเพลิดเพลินทั้งผูรับสารและผูสงสารการเขาใจและการจําความหมายในดานของผูสงสารจะไดรับนอยกวาการอานในใจ เพราะตองคํานึงถึงการออกเสียงไปดวยการสอนศัพททุกคําอยางละเอียด อาจทําใหเบื่อหนายและขัดจังหวะในการอาน ทําใหรสของคําและความลดนอยลงไปได จุดมุงหมายของการอานทํานองเสนาะ เพื่อไดรับรสไพเราะของวรรณคดี ฝกการเอื้อนทํานองดวยเสียงไพเราะ มีทวงทํานองลีลาถูกตองทําใหผูฟงซาบซึ้ง เอกสารที่เก่ียวของกับเทคนิคการอานแบบพาโนรามา (PANORAMA) ความเปนมาและวิวัฒนาการของเทคนิคการอานแบบพาโนรามา (PANORAMA) เอดเวิรดส (Edwards, 1973, pp. 132-135) ไดกลาวถึงการฝกทักษะการอานใหกับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาวาควรจะไดรับการสงเสริมเปนอยางยิ่ง เพราะตอไปนักเรียนเหลานั้นจะตองอาศัยการอานเพื่อแสวงหาความรูดวยตนเองเปนสวนใหญตลอดเวลา ดวยเหตุนี้นักการศึกษาและผูเชี่ยวชาญในตางประเทศหลายทานจึงไดคิดคนวิธีการสอนอานดวยเทคนิคในรูปแบบตางๆ กันแตสําหรับการสอนอานโดยใชเทคนิค พาโนรามา (PANORAMA) นี้ ไดพัฒนามาจากเทคนิคการสอนอานหลายแบบ โดยเริ่มจาก SQ3R ของโรบินสัน (Robinson, 1961) ซ่ึงประกอบดวยข้ันตอนดังนี้ Survey คือ การสํารวจจุดมุงหมายของการเขียนนั้น Question คือ การตั้งคําถามตนเองวาส่ิงที่ตองการรูคืออะไร Read คือ การอานเพื่อตอบคําถามที่ตั้งไว Recite คือ การจดบันทึกไวเพื่อเตรียมความจํา Review คือ การทบทวนเรื่องที่อานใหม สําหรับขั้นสํารวจ จะใหนักเรียนคนหาขอยอยสรุปทายเรื่องได สวนขั้นตั้งคําถามเปนการเปลี่ยนหัวเร่ืองใหเปนคําถาม ซ่ึงทั้งสองขั้นดังกลาวอาศัยหลักจิตวิทยาการเรียนรูประกอบเพราะเปนการเตรียมนักเรียนใหมีความพรอมในการอานกอน ดังเชน ออซูเบล (Ausubel, 1960, pp. 267-272) ไดกลาวถึงขอไดเปรียบของเทคนิค SQ3R วาจะชวยใหนักเรียนดําเนินการในขั้นการอาน (Read) ไดอยางดี และเมื่อถึงขั้นการจํา (Rectic) จะตองฝกใหผูอานไดตอบคําถามที่ตั้งไวโดยใชคําพูดของตนเองที่กะทัดรัด หรืออาจจะใชการบันทึกยอส้ันๆ ก็ไดสําหรับขั้นสุดทายคือข้ันทบทวน (Review) เปนลักษณะเหมือนการซอมใหญเกี่ยวกับการอานวาตนเองไดรับความเขาใจมากนอยเพียงไร

Page 26: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ตอมา พอก (Pauk, 1962) ไดคิดเทคนิคการสอนอานซึ่งคลายกับเทคนิค SQ3R คือเทคนิค OK4R ซ่ึงมีขั้นตอนดังนี้ Overview คือ การอานอยางคราวๆ คลายขั้นสํารวจของ SQ3R Key idea คือ การหาใจความสําคัญแลวตั้งคําถามไปดวย คลายกับขั้นคําถามของ

SQ3R Read คือ การอานเพื่อตอบคําถาม Recall คือ การระลึกวาส่ิงที่อานไปแลวไดมากนอยเพียงไร Reflect คือ การสะทอนความคิด หรือ ขยายความคิดจากเดิม Review คือ การทบทวนเรื่องที่อานใหม ในป 1966 สปาเช และเบริ์ก (Spache and Berg, 1966) ไดศึกษาวิธีการสอนโดยใชเทคนิค SQ3R และ OK4R แลวจึงไดแนวความคิดใหมขึ้น เปนการสอนโดยใชเทคนิค 5 ขั้นที่เรียกวา PQRST ซ่ึงมีขั้นตอนดังนี้ Preview คือ การฝกใหผูอานอานชื่อเร่ือง (Title) หัวเรื่อง (Heading) และหัวขอยอย (Sub-heading) แลวอานประโยคแรกและประโยคสุดทายของเรื่อง Question คือ การตั้งคําถามตนเอง Read คือ การลงมืออาน Summarize คือ การสรุปเรื่องที่อานดวยวิธีตางๆ Test คือ การทดสอบหลังการอาน ตอมาในป 1968 นอรแมน (Norman, 1968) ไดคิดคนพัฒนาเทคนิคใหมจากเทคนิค SQ3R, OK4R มาเปนเทคนิคการอานแบบ OARWET ซ่ึงมีขั้นตอนดังนี้ Overview คือ การอานอยางคราวๆ เพื่อสํารวจ Ask คือ การตั้งคําถามตนเองกอนอาน Read คือ การลงมืออาน Write คือ การเขียนคําตอบหลังการอาน Evaluation คือ การประเมินผลดวยตนเอง โดยการทําแบบฝกหัด Test คือ การทดสอบหลังการอาน จากเทคนิคดังกลาวขางตน เอดเวิรดส (Edwards, 1973, pp. 132-135) ไดพัฒนามาเปนเทคนิคการสอนอีกรูปแบบหนึ่งที่มีช่ือวา “พาโนรามา” (PANORAMA) เพื่อนํามาใชสอนอานกับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในมหาวิทยาลัยบริทิส โคลัมเบีย (British columpia) ขั้นตอนการสอนอานโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา (PANORAMA)

Page 27: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

เทคนิคพาโนรามา (PANORAMA) เปนเทคนิคการสอนอาน ซ่ึง เอดเวิรดส (Edwards, 1973, pp. 132-135) เปนผูคิดพัฒนาขึ้นมาจากเทคนิคการสอนอานหลายๆ แบบ เพื่อใชกับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา โดยมุงหวังใหนักเรียนสามารถอานขอความจํานวนมาก เก็บขอคามตางๆ อยางมีระบบและนําไปใชไดอยางมีประสิทธิภาพโดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ขั้นเตรียม (Preparation Stage) 1.1 การกําหนดจุดมุงหมาย (P = Purpose) ครูและนักเรียนชวยกันกําหนดจุดมุงหมายในการอานโดยตอบคําถามที่วา “ฉันกําลังอานเรื่องนี้เพื่ออะไร” อานเพื่อหารายละเอียดหรืออานเพื่อหารายละเอียดหรืออานเพื่อหาขอมูลบางจุดสําหรับอางอิง 1.2 การปรับความเร็ว (A = Adapting rate to material) ครูแนะนําใหนักเรียนปรับความเร็วในการอาน โดยดูจากจุดมุงหมายที่กําหนดไว ซ่ึงยืดหยุนตามความยากงายของเรื่องที่อาน 1.3 ความจําเปนในการตั้งคําถาม (N = Need to pose questions) ครูและนักเรียนชวยกันตั้งคําถาม โดยเปลี่ยนชื่อเร่ือง หัวเร่ือง หรือบางขอความใหเปนรูปคําถามและพยายามอานเพื่อตอบคําถามเหลานี้ 2. ขั้นอาน (Intermediate stage) 2.1 การสํารวจ (O = Overview) ครูใหนักเรียนเริ่มการอานโดยสังเกตลักษณะขอความที่อาน ผูแตง คุณวุฒิ ปที่พิมพ หัวขอแตละบท บทสรุป ฯลฯ เพื่อทราบแนวคิดของผูแตง 2.2 การคิดตาม (R = Read and Relate) นักเรียนอานดวยการพยายามตอบคําถามที่ตั้งไว จับความคิดหลักและเรื่องราวตางๆ โดยเชื่อมโยงกับประสบการณเดิมของตนเพื่อใหเขาใจดียิ่งขึ้น 2.3 การจดบันทึก (A = Annotate) นักเรียนบันทึกสิ่งที่นาสนใจในหนังสือหรือสมุดบันทึก ซ่ึงอาจเปนการใชเครื่องหมายหรือขอความก็ไดเพื่อเปนการชวยความจํา 3. ขั้นสรุป (Concluding Stage) 3.1 การจํา (M = Memorize) ครูเนนใหนักเรียนทบทวนความจําจากการบันทึกโดยแยกแยะจุดสําคัญของเรื่องใหเปนระบบ เพื่อสะดวกในการนํามาใชใหมเมื่อตองการ 3.2 การประเมินผล (A = Assess) ครูและนักเรียนชวยกันพิจารณาเรื่องราวที่อาน เพื่อเปนการประเมินวานักเรียนอานไดตรงตามจุดมุงหมายที่ตั้งไวในตอนตนหรือไม นอกจากนัน้ยงัสามารถเก็บขอมูลที่สําคัญเพื่อแปลความ ตีความ ขยายความ และสรุปความไดหรือไม สําหรับขั้นสรุปนี้อาจไมจําเปนตองใชกับบทเรียนบางบทก็ได เมื่อวิเคราะหขั้นตอนของการสอนดวยเทคนิคพาโนรามา (PANORAMA) แลว จะเห็นวาขั้นตั้งจุดมุงหมายในการอาน (Purpose) และขั้นการปรับอัตราความเร็วในการอานเพื่อใหสอดคลอง

Page 28: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

กับจุดมุงหมายที่ตั้งไวจะมีสวนคลายกับขั้นการสํารวจ (Survey) ของเทคนิค SQ3R คลายกับขั้น Overview ของเทคนิค OK3R คลายกับขั้น Preview ของเทคนิค RQRST และคลายกับขั้น Overview ของเทคนิค OARWET ในการตั้งคําถามกอนการอานจะมีลักษณะเหมือนกันทุกเทคนิคที่กลาวมา แตในขั้นการสํารวจ (Overview) ของเทคนิคพาโนรามา (PANORAMA) เปนขั้นที่แตกตางจากเทคนิคการสอนดังกลาว คือ มีการสํารวจรายละเอียดกอนการอานอีกครั้งหนึ่งหลังจากการตั้งจุดมุงหมาย มีการปรับอัตราความเร็วในการอานและการตั้งคําถาม สําหรับขั้นการอานก็เหมือนกันวิธีอ่ืนดังกลาวมาแลว แตในขันการจดบันทึกและเตือนความจําจะคลายกับขั้นการเขียน (Write) ในเทคนิค OARWET ขั้น Summarize ของเทคนิค PQRST ขั้น Recall และ Review ของเทคนิค OK4R และขั้น Recite ของเทคนิค SQ3R สวนขั้นประเมินผลของเทคนิค PANORAMA จะคลายกับขั้น Evaluation และ Test ของเทคนิค PQRST จึงจะเห็นไดวา วิธีการสอนโดยใชเทคนิคพาโนรามา (PANORAMA) พยายามนําจุดเดนของเทคนิคการสอนแบบตางๆ มาผสมผสานกัน เพื่อจะชวยใหนักเรียนเกิดความเขาใจในการอานไดดีขึ้น เบทที้ (Betty, 1983 pp. 106-117) กลาวถึงการสอนอานโดยใชเทคนิคพาโนรามา (PANORAMA) วาขอสําคัญคือครูสามารถจะแบงใหนักเรียนทุกคนมีสวนรวมในกิจกรรม มีโอกาสไดฝกฝนทุกคนกอนที่นักเรียนจะอานดวยตนเองตามลําพัง ครูจะเปนผูฝกขั้นตอนตางๆ ให และจะเปนผูแนะนํารายละเอียดทุกขั้นตอนตลอดคาบเรียน จากนั้นนักเรียนจะฝกอานดวยตนเอง จากการคนควาเอกสารและงานวิจัยที่สอดคลอง สนับสนุนวิธีการและขั้นตอนของการสอนอานดวยเทคนิคพาโนรามา (PANORAMA) พอสรุปไดดังนี้ การกําหนดจุดมุงหมาย (P = Purpose) จากงานวิจัยของ กลอก (Glock, 1985) ไดใหขอเสนอแนะวา แรงจูงใจของผูเรียนจะไดรับการเสริมแรงมากขึ้น ถาเขาเหลานั้นมีความกระจางชัดในจุดหมายเฉพาะกอนที่จะเริ่มตนการอานของเขา แลแรงจูงใจที่กลาวนั้นจะเกิดขึ้นไดตอเมื่อมีความตองการอยากรู อยากเห็นเปนพิเศษ แครซเซน (Krashen, 1983, pp. 132-133) ไดกลาววา ในการอานนั้นผูอานตองทราบเปาหมายในการอานวาตนเองอานเพื่ออะไร เชน

1. อานเพื่อหารายละเอียดขอมูลหรือขาวสาร 2. อานเพื่อหาใจความสําคัญ 3. อานเพื่อหาขอมูลที่เฉพาะเจาะจง 4. อานเพื่อความเพลิดเพลิน

ซ่ึงผูอานเรื่องตางๆ ไดอยางคลองแคลว และเลือกใชเทคนิคในการอานอยางเหมาะสมนั้น เขาจะตองมีเปาหมายในสิ่งที่เขาอานเสมอ (Goodman, 1917, p.135)

Page 29: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

นอกจากนี้ แมคแอลดาวนี (Mceldowney, 1982) กลาววา ในการอานเนื้อเรื่องใดๆ ผูอานควรจะทราบวา เขาอานเนื้อเร่ืองประเภทใด เพื่อกําหนดจุดมุงหมายในการอาน จากนั้นเขาจึงจะปรับเทคนิคการอานใหเหมาะสม ซ่ึงจุดมุงหมายของผูเขียนโดยทั่วๆ ไปมักมีอยู 3 ชนิด คือ 1. แบบการพรรณนา หรือการอธิบาย ไดแก อธิบาย รายละเอียด ความสวยงามความสัมพันธเชื่อมโยงสลับซับซอน ซ่ึงงานเขียนประเภทนี้จะมีการใชภาษามากกวาแบบการเลาเร่ือง 2. แบบการเลาเรื่อง (Narrative) จะเปนการเลาเรื่องตามลําดับเหตุการณที่เกิดขึ้นกอนและหลังตามลําดับ 3. แบบคําชี้แจง หรือบรรยาย (Illstration) ผูเขียนเขียนเพื่อจะใหความรูหรือคําอธิบายใหผูอานทําส่ิงหนึ่งส่ิงใดอยางมีกระบวนการขั้นตอน วาจะทําอะไรกอนหลัง ดังจะเห็นไดวาในขั้นการตั้งจุดมุงหมายนี้ เนนความจําเปนในการรวบรวมความคิดเพื่อจะตอบตัวเองวาทําไมเราตองอานเรื่องดังกลาว มีจุดประสงคหรือมีเบื้องหลังเกี่ยวของกับเรื่องที่อานอยางไร เกี่ยวของกับการสอบหรือไม อานเพื่อบันทึกยอเตรียมไวดูกอนสอบ หรือเตรียมไวพูดในการสัมมนาหรือนําขอมูลไปอางอิงในรายงานตางๆ การปรับความเร็ง (A = Adapting rate to material) ฉวีลักษณ บุณยะกาญจน (2524, หนา 1) กลาววา การอานที่มีประสิทธิภาพ หมายถึงการอานดวยความเร็วและเขาใจสิ่งที่อานอยางถูกตอง ซ่ึง สมุทร เซ็นเชาวนิจ (2526, หนา 5) กลาววา คนที่จะอานไดอยางมีประสิทธิภาพตามธรรมดาแลวจะรูจักปรับอัตราการอานไดอยางเหมาะสมถูกตองตามกาลเทศะตรงตามจุดหมายและแนวคิดที่วางไว คือ จะเปลี่ยนจากความเร็วหนึ่งไปสูอีกความเร็วหนึ่ง พรอมทั้งจัดแนวคิดใหสอดคลองจุดมุงหมายในการอานแตละครั้งดวย ในขณะเดียวกันตองพยายามเขาใจขอความที่อานใหไดผล ฉะนั้นการปรับอัตราความเร็วใหเหมาะสมกับจุดมุงหมายและเนื้อหาที่ตนอาน จึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองเรียนรู ผูใดก็ตามที่อานไดในอัตราเดียวกันหมด ไมวาขอความที่อานจะยากหรืองายก็ตามถือวาผูนั้นยังดวยพัฒนาอยู ดังนั้นการปรับความเร็วในการอานแตละเร่ือง จะตองเตรียมยืดหยุนอัตราเร็วไวตามจุดมุงหมายที่ตั้งไว อยาอานเรื่องที่มีรูปแบบโครงสรางยากๆ ในเวลาที่เร็วเกินไป จะไมกอใหเกิดความเขาใจในการอาน ควรนําเสนอการอานแบบคราวๆ และใชความรูเดิมมาประกอบในการอาน ความจําเปนในการตั้งคําถาม (N = Need to pose question) เพ็ญศรี รังสิยากุล (2528, หนา 124) กลาวถึง การอานเพื่อเกิดความเขาใจวาตองตั้งจุดมุงหมายในการอานกอน แลวปรับอัตราเร็วในการอานใหเหมาะสมกับจุดมุงหมายที่ตั้งไวตอมา

Page 30: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ควรพยายามตั้งคําถามที่ขึ้นตนดวย W ทั้ง 5 และ H นั้นก็คือ Who, What, When, Where, Why และ How คําถามที่ขึ้นตนดวย 4 ตัวแรก จะชวยใหผูอานเขาใจในสิ่งที่เปนจริงตามเนื้อเร่ืองสวนคําถาม Why และ How เปนคําถามที่ชวยใหผูอานมีความหมายขอเท็จจริงใหกระจาง เพื่อจะไดสรุปหาคําตอบ ตอไป ความจําเปนอยางยิ่งในการตั้งคําถามคือการทําชื่อเร่ือง หัวขอยอยตางๆ ประโยคบอกเลาใหเปลี่ยนเปนคําถามใหหมด จากนั้นจึงเริ่มอานเรื่องจริงจังเพื่อหาคําตอบที่ตัวตั้งคําถามไวในขั้นการฝกเบื้องตน ระยะแรกๆ อาจเริ่มใหคําถาม Yes/No Question Or-Questions ก็ไดเพื่อจะไดดําเนินเร่ืองไดรวดเร็วยิ่งขึ้น นักอานที่ดีจะไมเปนนักอานที่อยูนิ่งเฉยหรืออานไปเรื่อยๆหากไมพยายามตั้งคําถามตัวเองแลวจะทําใหขาดความตั้งใจในการอานได การสํารวจ (O = Overview) สนิท ตั้งทวี (2526, หนา 7) กลาววา ผูอานจะตองสนใจขอมูลอันเปนความรูเกี่ยวกับการเขียน พยายามคนหาใหพบวาประวัติของผูแตงเปนอยางไร สถานที่พิมพ จํานวนครั้งพิมพ ปที่พิมพ มีตารางประกอบเรื่องหรือไม ดูหัวขอยอยและแผนภูมิตางๆ ที่มีประกอบ ดูบทสรุป ถามีขอทดสอบก็ดูดวย ตลอดจนถึงดัชนีของเรื่อง ขอมูลเหลานี้นับวาเปนภูมิหลังของหนังสือที่มีสวนชวยรองรับใหผูอานมีความรูความเขาใจในเรื่องที่อาน วอลเตอร (Walter, 1962, p.6) สรุปวา การสํารวจอยางคราวๆ ในแตละเรื่องที่อานนั้นควรอานคํานําและบทสรุปดวย เพื่อพิจารณาวาอะไรคือหัวใจสําคัญของเนื้อหาที่อาน ซ่ึงสอดคลองกับแนวคิดของ รินสัน (Robinson, 1961) ที่วา การสํารวจนั้นอาจดูที่สารบาญ คํานํา หรือช่ือผูแตง ตลอดจนสํารวจแนวคิดที่ผูเขียนตั้งจุดมุงหมายในการเขียนไว การคิดตามสิ่งท่ีอาน (R = Read and relate) ลี (Lee, 1978, p.60) กลาววา เมื่อผูอานทราบจุดประสงคของเรื่องที่จะอานแลวผูอานควรอานประโยคแรกและประโยคสุดทายของทุกๆ ยอหนา เพราะใจความสําคัญมักจะอยูบรรทัดแรกหรือบรรทัดสุดทาย ถายอหนาสุดทายมีลักษณะเปนการสรุปความก็ควรอานทุกประโยคอยางระมัดระวัง และแครซเซน (Krashen, 1983, p.135) กลาววา การอานเพื่อจับใจความสําคัญของเรื่อง หรือเคาโครงที่มีความหมายของเรื่องผูอานไมจําเปนตองอานรายละเอียดทุกบรรทัด หรือทุกหนา แตคลาก และซิลเบอรสไตน (Clarke and siberstein, 1979, p.55) กลาววาถาผูอานมีจุดประสงคที่จะมุงหาคําตอบเฉพาะเจาะจง เชน ตองการทราบป พ.ศ. วันที่ หมายเลขโทรศัพท หาคําศัพทจากพจนานุกรม หาวันเวลาจากตารางเวลา กราฟปฏิทิน หาสถานที่จากแผนที่ ผูอานอาจใชกระดาษสี

Page 31: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ขาวแผนเล็กๆ หรือ นิ้วมือของผูอานชี้เพื่อหาหัวขอยอย ช่ือเร่ืองตัวพิมพ ตัวใหญ ตัวเอนตามที่ผูอานตองการ ดังนั้น ถาผูอานอานเร่ืองโดยตั้งจุดประสงคในการอาน ปรับอัตราความเร็วในการอานและพยายามตั้งคําถามเกี่ยวกับคําศัพทที่ไมรูในแตละเรื่องเพื่อชวยในการหาขอมูลตอไป จากนั้นก็สํารวจเนื้อหาอยางคราวๆ เพื่อที่จะดําเนินการอานและคิดหาคําตอบที่ตั้งคําถามไวแลว ผูอานจะอานเร่ืองไดเขาใจโดยตลอดก็สามารถตอบคําถามตางๆ ไดถูกตองและชัดเจน สามารถศึกษาใจความสําคัญ แปลความและขยายความไดโดยนําเรื่องที่อานมาเชื่อมโยงกับประสบการณเดิมของตนได การจดบันทึก (A = Annotate) เมื่อผูอานมีความเชี่ยวชาญในการอานดังกลาวแลวหากไมมีการจดบันทึก อาจจะไดขอมูลท่ีผิดพลาดหรือตกหลนได ดังนั้น เบทที้ (Betty, 1983, pp.111-112) จึงเสนอใหมีการเขียนเคาโครงเรื่องหลังการอาน โดยครูจะเปนผูชวยเหลือแนะนํา เพื่อชวยใหเห็นความสัมพันธอยางเดนชัดระหวางใจความสําคัญและรายละเอียดปลีกยอย เบอรมิสเตอร (Bermeister, 1974, p.314) กลาววา ถาผูอานพบคําตอบจากเรื่องที่อานแลว ควรจดขอความที่สําคัญไวเพื่อเตือนความจําของตนเอง อาจจะใชในรูปแบบการขีดเสนใตของความสําคัญหรือรายละเอียดปลีกยอยดวยหมึกสีตางๆ กัน ดังที่ เอดเวรดส (Edwards, 1973, pp.132-135) กลาวไว เชน กําหนดใหสีแดงแทนขอความสําคัญ สีน้ําเงินแทนวันที่ตัวเลข สีเหลืองใชแทนขอเท็จจริงตางๆ ที่กําลังคนหาอยู หรืออาจทําเครื่องหมายตางๆ ลงในเรื่องที่อานนั้นเลย ถาไมตองการเขียนขอความใดๆ ลงในเรื่องนั้นๆ ก็ควรมีสมุดจดบันทึกไวเพื่อจดบันทึกพรอมทําเครื่องหมายตางๆ เชน วงกลม ดอกจัน กากบาท หรือเครื่องหมายหนาขอความที่แสดงวาเปนใจความสําคัญของเรื่องที่อาน การใชความจํา (M = Memorize) มิลเลอร (Miller, 1972, p.332) กลาววา การทบทวนความจํา ควรทบทวนจากบันทึกยอ จากเคาโครงเรื่อง หรือจากบทสรุปที่ผูอานบันทึกไวหลังการอาน หรือสังเกตจากเครื่องหมายตางๆ ที่ทําไวในขณะที่อาน ในขั้นนี้จะทบทวนความคิดสําคัญๆ ของเรื่อง ในขั้นการใชความจํานี้ วอลเตอร (Walter, 1962, p.6) กลาววาจะเปนการชวยใหความรูอยูในสมองจึงควรทบทวนความจําโดยอาจจะดูเพียงอักษรยอตางๆ แลวคอยๆ นึกเรื่องตามตัวอักษรยอนั้นๆ จะทําใหเขาใจไดดีขึ้น ในขั้นทบทวนความจํานี้ จะเปนประโยชนอยางยิ่งกับผูอานที่สามารถใชกลวิธีดังกลาวชวยเตือนความจําในรูปของการเขียนบันทึกยอ ดังที่งานวิจัยของ นอรมัน (Norman, 1968) พบวา การที่จะชวยใหผูอานเกิดความจําไดในระยะสั้น และความจําในระยะยาว ผูอานจะตองไดรับการพัฒนาการอาน โดยรูจักถอดความจากสัญลักษณตางๆ ได และ เซอรแมค (Cermak, 1972) มี

Page 32: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ความเห็นวา ขั้นทบทวนความสําคัญตอนักเรียนในระดับมัธยมศึกษามาก ดังนั้นจึงควรไดรับการฝกฝน การประเมินผล (A = Assess) เปนขั้นสุดทายของการสอนอานดวยเทคนิคพาโนรามา (PANORAMA) ซ่ึง เบทที้ (Betty, 1983, pp.106-117) กลาววา การอานในขั้นนี้จะทําใหผูอานทราบวาตนไดอานบรรลุจุดประสงคทีต่ัง้ไวในขั้นแรกหรือไม ไดขอมูลเพียงพอในการที่จะตอบคําถามหรือไม ผูอานทราบถึงใจความสําคัญของเรื่องที่อานหรือไมเขาใจความสัมพันธของเรื่องและรูเคาโครงเรื่องที่ถูกตองหรือไม และเอดเวรดส (Edwards, 1973, pp.132-135) กลาววา สําหรับในขั้นตอนการประเมินผลดวยตนเองได โดยการทําแบบฝกหัดหลังการอาน หรือโดยการตอบคําถามที่ครูตั้งคําถามผูอานแลวผูอานอาจตรวจและแกไขขอบกพรองหลังการอาน หรือโดยการตอบคําถามที่ครูตั้งคําถามผูอานแลวผูอานอาจตรวจและแกไขขอบกพรองหลังการอานดวยตนเองได เพราะจะทําใหผูอานทราบวาตนเองอานเร่ืองนั้นๆ ไดเขาใจมากนอยเพียงไร การอธิปรายกันหลังจากการอานเพื่อสรุปหาใจความสําคัญของเร่ืองหรือเคาโครงเรื่องที่ถูกตองรวมกัน ก็จัดวาอยูในขั้นการประเมินผลนี้ดวย ซ่ึง วิลเลียมส (Williams, 1982, pp. 1-2) ไดสนับสนุนใหผูอานไดอภิปรายหลังการอานรวมกันเพื่อตรวจสอบวาตนเองมีความคิดเห็นหรือความเขาใจตรงกับผูอ่ืนมากนอยเพียงไร ดังนั้นขั้นตอนนี้จึงจัดวาเปนขั้นตอนที่สําคัญมากขั้นตอนหนึ่งซึ่งครูควรจะคํานึงถึงเปนอยางมาก เพราะหลังจากที่นักเรียนไดประเมินผลดวยตนเองแลว ครูจะตองเปนผูทดสอบความเขาใจในการอานของนักเรียนแตละคนดวย

งานวิจัยที่เกี่ยวกับความเขาใจในการอาน

กัญญา มั่งคั่ง (2530) ไดนําเทคนิคการอานแบบพาโนรามา (PANORAMA) มาใชในประเทศไทย โดยไดนํามาทดลองเปรียบเทียบความเขาใจในการอานภาษาอังกฤษ และความสนใจในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ที่เรียนอานภาษาอังกฤษโดยใชกิจกรรมพาโนรามา (PANORAMA) กับกิจกรรมตามคูมือครู ผลการวิจัยปรากฏวา ความเขาใจในการอานและพัฒนาการความสนใจในการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนในกลุมทดลองและกลุมควบคุมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สุวัฒน จันทรลอย (2527, หนา 336) ไดศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิดานความเขาใจในการอานภาษาอังกฤษ และสมรรถภาพการอานเร็วช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 จํานวน 75 คน กลุมทดลองที่ 1 ฝกจากชุดการอานที่มีคําถามประกอบการอานกอนการอาน กลุมทดลองที่ 2 ฝกจากชุดการอานที่มีคําถามประกอบระหวางการอานและกลุมควบคุมฝกจากชุดการอานที่มีคําถามประกอบการอานใชเวลา 4 สัปดาห ผลการวิจัยปรากฏวา ผลสัมฤทธิ์ดานความเขาใจในการอานของกลุมทดลอง และ

Page 33: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

กลุมควบคุมแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ แตในดานสมรรถภาพการอานเร็วนั้นพบวา กลุมควบคุมมีสมรรถภาพการอานเร็วสูงกวากลุมทดลองทั้ง 2 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ นอกจากนี้ยังพบอีกวาสมรรถภาพการอานเร็วของกลุมควบคุมและกลุมทดลองมีพัฒนาการสูงขึ้นกวาเดิมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติเชนกัน

สดุดีพันธ หวังสุริยะ (2530, หนา 168) ไดเปรียบเทียบความเขาใจในการอานและความสามารถในการอานเร็วของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โดยบทเรียนที่มีบทสรุปกอนบทสรุปหลังและไมมีบทสรุป จํานวน 120 คน กลุมทดลองที่ 1 ไดรับการสอนอาน โดยมีบทสรุปหลังเนื้อเรื่อง และกลุมควบคุมไดรับการสอนอานโดยไมมีบทสรุป ผลการวิจัยปรากฏความเขาใจในการอานของกลุมทดลอง และกลุมควบคุมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แตความสามารถในการอานเร็วนั้นพบวา กลุมทดลองและกลุมควบคุมไมแตกตางกัน

เกษม บํารุงเวช (2530, หนา 85) ไดเปรียบเทียบความเขาใจในการอานและความสามารถในการเรียนภาษาอังกฤษ ดวยวิธีสอนแบบ MIA กับวิธีการสอนตามคูมือครูกับกลุมตัวอยางที่เปนนักเรียนที่เรียนการอานดวยวิธีการสอนแบบ MIA และวิธีสอนตามคูมือครู มีความเขาใจในการอานและความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษ แตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ แตพบวานักเรียนที่เรียนการอานดวยวิธีสอนแบบ MIA และวิธีสอนตามคูมือครู มีความเขาใจในการอาน เจตคติ และการระลึกส่ิงที่อานไดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ที่ไดรับการสอนอานตามวิธี MIA และการสอนตามคูมือครู ผลปรากฏวานักเรียนทั้ง 2 กลุม มีความเขาใจในการอานและระลึกส่ิงที่อานไดแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สวนเจตคติแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ

Page 34: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

บทท่ี 3

วิธีดําเนินการวิจัย

การพัฒนาการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เรื่อง การอานโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา มีวิธีการดําเนินการศึกษาดังนี้ กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ เปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2549 โรงเรียนกิ่วลมวิทยา อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง จํานวน 40 คน 1 หองเรียน โดยวิธีสุมแบบกลุม ( Cluster ) เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดสรางเครื่องมือสําหรับศึกษาดังนี้ 1. การสรางแบบทดสอบวัดความเขาใจในการอาน เพื่อใชทดสอบกอนและหลังการทดลองไดดําเนินการดังตอไปนี้ 1.1 ศึกษาเอกสาร 1.1.1 ศึกษาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 ที่เกี่ยวกับการอานโดยพิจารณามาตรฐานการเรียนรู , ผลการเรียนรูที่คาดหวัง , สาระการเรียนรู 1.1.2 ศึกษาการวัดผลประเมินผล 1.1.3 ศึกษาเทคนิคการเขียนขอสอบของ ชวาล แพรัตกุล (2522) 1.1.4 ศึกษานิตยสารและวารสาร แลวคัดเลือกเรื่องที่เหมาะสมกับระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 1.2 สรางแบบทดสอบวัดความเขาใจในการอานครั้งแรกจํานวน 80 ขอ 1.3 ปรับปรุงแบบทดสอบวัดความเขาใจในการอานตามผูเชี่ยวชาญตรวจแกไขและใหคําแนะนํา 1.4 นําแบบทดสอบวัดความเขาใจในการอานไปทดลองใชกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนเสด็จวนชยางคกูลวิทยา จังหวัดลําปาง จํานวน 120 คน 1.5 นําผลการทดสอบมาวิเคราะหหาคาความยากงายและคาอํานาจจําแนกของขอสอบโดยใชเทคนิค 27 % ของชวาล แพรัตกุล ( 2520 ) แลวนําไปเปดตารางของ จุง เต ฟาน

Page 35: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

( Chung – The Fan , 1952 ) เพื่อคัดเลือกขอสอบที่มีความยากงายระหวาง .20 - .80 และคาอํานาจจําแนกตั้งแต .20 ขึ้นไป จํานวน 30 ขอ 1.6 นําแบบทดสอบวัดความเขาใจในการอานที่วิเคราะหแลวไปจัดพิมพเพื่อเตรียมนําไปใชกับกลุมตัวอยางตอไป 2. การสรางแผนการจัดการเรียนการสอนกลุมสารภาษาไทยเรื่อง การอานโดยการใชเทคนิคการอานแบบมโนรามาที่ใชกับกลุมตัวอยาง ผูศึกษาไดดําเนินการสรางแผนการการจัดการเรียนรูที่ใชกับกลุมตัวอยางดังนี้ 2.1 ศึกษาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 โดยศึกษามาตรฐานการเรียนรู, ผลการเรียนรูที่คาดหวัง, สาระการเรียนรู และการวัดผลประเมินผล 2.2 คัดเลือกเรื่องที่เหมาะสมกับวัยและความสนใจของผูเรียน จํานวน 3 เร่ือง ไดแก - ความดีที่ไมรูจักส้ินสูญ - ขอคิดเรื่องการบวช - มหากบิลวานร - บทรอยกรอง 2.3 เขียนแผนการจัดการเรียนรู เร่ืองการอาน จํานวน 9 แผน 12 คาบ โดยทุกแผนจะมีผลการเรียนรูที่คาดหวัง สาระสําคัญ เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามาและการวัดผลประเมินผล 2.4 นําแผนการสอนไปใหผูเชี่ยวชาญตรวจ และนํามาแกไขแลวจึงนําไปใชกับกลุมตัวอยาง วิธีดําเนินการวิจัย

การศึกษาครั้งนี้ ผูวิจัยไดมอบหมายใหครูผูสอนกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2 เปนผูดําเนินการทดลองและเก็บรวบรวมขอมูล ดังรายละเอียดตอไปนี้ 1. ทดสอบกลุมตัวอยางกอนการทดลองดวยแบบทดสอบวัดความเขาใจในการอาน 2. ครูผูสอนดําเนินการทดลองสอนกลุมตัวอยาง ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2548 ตั้งแตวันที่ 1 พศจิกายน 2548 – 30 พฤศจิกายน โดยใชแผนการสอนที่ผูวิจัยไดสรางขึ้น 3. หลังจากดําเนินการทดลองครบ 12 คาบแลว ใหกลุมตัวอยางทําแบบทดสอบวัดความเขาใจในการอาน

Page 36: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

4. นําคะแนนที่ไดจากการทําแบบทดสอบกอนและหลังการทดลองของกลุมตัวอยางมาศึกษาเพื่อเปรียบเทียบคะแนนความเขาใจในการอานของนักเรียน โดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามากอนและหลังการทดลอง โดยใชการทดสอบที แบบกลุมสัมพันธ ( Paired t – test ) การวิเคราะหขอมูล

ในการวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจัยไดใชสถิติเพื่อวิเคราะหขอมูลดังนี้ 1. การวิเคราะหขอมูลเพื่อหาคุณภาพของแบบทดสอบกอนและหลังการทดลอง มี 2 ขั้นตอนดังนี้ 1.1 การวิเคราะหขอสอบเปนรายขอนั้น ผูศึกษาไดนําคะแนนนักเรียนกลุมตัวอยางที่ใชในการสรางเครื่องมือวิจัย มาคํานวณหาคาความยากงายและคาอํานาจจําแนก โดยใชเทคนิค 27 % ของชวาล แพรัตกุล ( 2520 ) สูตร PH = จํานวนผูตอบถูกในกลุมสูง จํานวนนักเรียนในกลุมสูง

X 100

สูตร PL = จํานวนผูตอบถูกในกลุมต่ํา จํานวนนกเรียนในกลุมต่ํา

X 100

เมื่อไดคา PH และ PL แลว จึงนําคานั้นไปเปดตารางวิเคราะหขอสอบของ จุง เต ฟาน ( Chung – The Fan ) เพื่อหาคาความยากงายของขอสอบและอํานาจจําแนกของขอสอบเปนรายขอ 1.2 วิเคราะหคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบกอนและหลังการทดลองทั้งฉบับ โดยใชสูตร KR -20

สูตร rtt = n pq

1 -

n – 1 S2X

rtt คือ คาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ p คือ สัดสวนของผูตอบถูกในแตละขอ q คือ สัดสวนของผูตอบผิดในแตละขอ

Page 37: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

pq คือ ผลรวมของผลคูณระหวางสัดสวนของผูที่ตอบถูกและตอบผิดแตละขอ n คือ จํานวนขอของแบบทดสอบ

S2X คือ คาความแปรปรวนของคะแนนรวมของขอสอบทั้งฉบับ

2. วิเคราะหผลการรวบรวมขอมูล โดยใชสถิติพื้นฐาน ไดแก คาเฉลี่ยเลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3. เปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉล่ียของคะแนนความเขาใจในการอานกอนและหลังการทดลองของนักเรียนที่เรียนโดยใชเทคนิคการอาน พาโนรามา โดยการทดสอบที แบบกลุมไมอิสระ ( Dependent ) D สูตร =

)1N(

)D(DN 22

−Σ−Σ

D คือ ความแตกตางของคะแนนแตละคู N คือ จํานวนคู

Page 38: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

บทท่ี 4

ผลการวิเคราะหขอมูล

การวิเคราะหขอมูลในการศึกษาครั้งนี้ ผูวิจัยจะเสนอตามลําดับขั้นตอนดังนี้ 1. การวิเคราะหหาคาความยากงายและคาอํานาจจําแนกของแบบทดสอบวัดความเขาใจในการอาน 2. การวิเคราะหหาคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบวัดความเขาใจในการอาน 3. การเปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนความเขาใจในการอานกอนและหลังการทดลองของกลุมตัวอยาง

การวิเคราะหหาคาความยากงายและคาอํานาจจําแนกของแบบทดสอบวัดความเขาใจในการอาน

ผูวิจัยไดนําแบบทดสอบวัดความเขาใจในการอาน จํานวน 80 ขอ ไปทดลองกับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนเสด็จวนชยางคกูลวิทยา จังหวัดลําปาง ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2548 จํานวน 120 คน การทดลองครั้งนี้ เพื่อคัดเลือกแบบทดสอบที่อยูในเกณฑคาระดับความยากงายอยูระหวาง .20-.80 และคาอํานาจจําแนกตั้งแต .20 ขึ้นไป โดยใชเทคนิค 27 % และใชตารางวิเคราะหขอสอบของ จุง เต ฟาน ( Chung – The Fan ) คัดเลือกแบบทดสอบได 50 ขอ ผลการวิเคราะหปรากฏวา ระดับความยากงายของแบบทดสอบอยูระหวาง .22-.79 และ คาอํานาจจําแนกของแบบทดสอบอยูระหวาง .20 - .91 ( แสดงในภาคผนวก ) แสดงวาแบบทดสอบมีความยากงายพอเหมาะและสามารถจําแนกนักเรียนได จากแบบทดสอบทั้งหมด 50 ขอ ผูวิจัยไดจัดพิมพไวเพื่อใชกับกลุมตัวอยางตอไป การวิเคราะหคาความเชื่อม่ันของแบบทดสอบวัดความเขาใจในการอาน ผูวิจัยนําแบบทดสอบวัดความเขาใจในการอานที่คัดเลือกแลวจํานวน 50 ขอ ไปทดลองกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนกิ่วลมวิทยา จังหวัดลําปาง จํานวน 80 คน เพื่อหาความเชื่อมั่น โดยใชสูตร KR-20 ผลการวิเคราะหปรากฏวาระดับความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ คือ .90 แสดงวาแบบทดสอบมีความเชื่อมั่นสูง ( ตาย เซ่ียงฉี่, 2526, หนา 47 ) การเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉล่ียของคะแนนความเขาใจในการอานกอนและหลังการทดลองของนกัเรียนโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา

Page 39: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ตารางที่ 1 แสดงคาเฉลี่ยสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบทีของคะแนนความเขาใจในการ อานกอนและหลังการทดลองของนักเรียนที่เรียนโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา

คะแนน X S.D. t กอนการทดลอง หลังการทดลอง

39.6 44.10

3.20 2.40

7.537***

*** P < .001 จากตารางที่ 1 แสดงวาหลังจากทําการทดลองอานโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามาแลว ความเขาใจในการอานกอนและหลังการทดลองของนักเรียนที่เรียนโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยคาเฉลี่ยของคะแนนความเขาใจในการอานหลังการทดลองสูงกวากอนการทดลอง

Page 40: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

บทท่ี 5

สรุป อภิปราย และขอเสนอแนะ การวิจัยคร้ังนี้ เปนการศึกษาการพัฒนาการจัดการเรียนรูภาษาไทย เร่ือง การอานโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา ซ่ึงผูวิจัยขอสรุปผลดังนี้

วัตถุประสงคของการวิจยั

1. เพื่อสรางแผนการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เรื่อง การอานโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา 2. เพื่อศึกษาผลสมฤทธิ์การอานเพื่อความเขาใจของนักเรียน ที่ใชเทคนิคการอานแบบ พาโนรามา

ขอบเขตของการวิจัย

1. ประชากรกลุมตัวอยาง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนกิ่วลมวิทยา อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2548 2. เนื้อหาที่ใชในการทดลอง เนื้อหาในรายวิชาภาษาไทย ทั้งที่เปนรอยแกวและรอยกรอง จํานวน 4 เร่ือง คือ 2.1 ความดีไมรูจักสิ้นสูญ 2.2 ขอคิดเรื่องการบวช 2.3 นิทานชาดกมหาบิลวานร 2.4 บทรอยกรอง 3. ระยะเวลาที่ใชในการทดลอง ดําเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2548 กับกลุมทดลอง จํานวน 12 คาบ คาบละ 50 นาที เปนเวลา 3 สัปดาห 4. ตัวแปรที่จะศึกษา 4.1 ตัวแปรอิสระ ไดแก การสอนอานโดยการใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา 4.2 ตัวแปรตาม ไดแก ความเขาใจในการอาน

Page 41: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

สมมติฐานการวิจยั

ผลสัมฤทธิ์ความเขาใจในการอานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปที่ 2 หลังจากไดรับการสอนอานโดยการใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา สูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

วิธีดําเนินการวิจัย

1. กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยคร้ังนี้ เปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปที่ 2 ปการศึกษา 2548 โรงเรียนกิ่วลมวิทยา อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง จํานวน 40 คน 2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 2.1 แบบทดสอบกอนและหลังการทดลอง เปนแบบทดสอบวัดความเขาใจในการอานจํานวน 50 ขอ ที่ผูวิจัยสรางขึ้น โดยวัดพฤติกรรมการจับใจความสําคัญ การแปลความ การตีความ และการขยายความ แบบทดสอบนี้ไดผานการหาคุณภาพของเครื่องมือแลว โดยแตละขอมีคาความยากงาย ตั้งแต .20 - .79 มีคาอํานาจจําแนกอยูระหวาง .20 - .91 และมีคาความเชื่อมั่นของขอสอบทั้งฉบับ 0.90 2.2 แผนการจัดการเรียนรูที่ใชกับกลุมทดลอง ประกอบดวย สาระสําคัญ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอนอานโดยการใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา ส่ือการเรียนการสอน และการวัดผล จํานวน 9 แผน คาบเรียนละ 50 นาที รวม 12 คาบ โดยแบงไดดังนี้ 2.2.1 แผนการสอนที่ 1 เ ร่ือง หลักการอานจับใจความสําคัญและหลักการอานเร็ว ใชเวลา 1 คาบเรียน 2.2.2 แผนการสอนที่ 2 เร่ือง ความดีไมรูจักสิ้นสูญ ใชเวลา 2 คาบเรียน 2.2.3 แผนการสอนที่ 3 เร่ือง ขอคิดเรื่องการบวช ใชเวลา 2 คาบเรียน 2.3.4 แผนการสอนที่ 4 เรื่อง นิทานชาดกมหากบิลวานร ใชเวลา 2 คาบเรียน 2.3.5 แผนการสอนที่ 5 เรื่อง บทรอยกรอง พันทายนรสิงหถวายชีวิตใชเวลา 1 คาบเรียน 2.3.6 แผนการสอนที่ 6 เร่ือง บทรอยกรอง พระสุริโยทัยขาดคอชาง ใชเวลา 1 คาบเรียน 2.3.7 แผนการสอนที่ 7 เร่ือง บทรอยกรอง เสภาสามัคคีเสวก ใชเวลา 1 คาบเรียน

Page 42: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

2.3.8 แผนการสอนที่ 8 เร่ือง บทรอยกรอง วัฒนธรรม ใชเวลา 1 คาบเรียน 2.3.9 แผนการสอนที่ 9 เร่ือง บทรอยกรอง ทะเลบา ใชเวลา 1 คาบเรียน

3. วิธีดําเนินการวิจัย 3.1 ทําการทดสอบกอนการเรียนโดยใชแบบทดสอบวัดความเขาใจในการอานที่ผูวิจัยสรางขึ้น เพื่อเปนการทดสอบกอนการทดลอง และเก็บผลการทดสอบไวเปรียบเทียบกับการทดสอบหลังการทดลอง 3.2 ผูวิจัยใหครูผูสอนดําเนินการสอนกลุมการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2548 ตั้งแตวันที่ 10-30 พฤศจิกายน 2548 ในการดําเนินการสอน ครูผูสอนใชแผนการสอนที่ผูวิจัยสรางขึ้น 3.3 หลังทําการทดลองครบ 12 คาบแลว ครูผูสอนทําการทดสอบหลังการทดลองดวยแบบทดสอบที่ผูวิจัยสรางขึ้น 3.4 นําผลสัมฤทธ์ิที่ไดจากการทดสอบกอนและหลังการทดลองของกลุมตัวอยางไปวิเคราะห โดยใชวิธีทางสถิติ 4. การวิเคราะหขอมูล 4.1 คํานวณหาคาความยากงายและคาอํานาจจําแนกของแบบทดสอบวัดความเขาใจในการอาน โดยใชเทคนิค 27 % 4.2 คํานวณหาคาความเชื่อมั่นในแบบทดสอบวัดความเขาใจในการอาน โดยใชสูตร KR-20 4.3 คํานวณคาสถิติพื้นฐาน ไดแก คะแนนเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และความแปรปรวน 4.4 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ความเขาใจในการอาน กอนและหลังการทดลองของนักเรียนที่เรียนโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา โดยการทดสอบที ( Paired t-test )

Page 43: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

สรุปผลการวจิัย

หลังจากการทดลองสอนแลวพบวา นักเรียนที่ไดรับการสอนอานโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา มีผลสัมฤทธิ์ในการอานหลังการทดลองสูงขึ้น และแตกตางกับผลสัมฤทธ์ิในการอานกอนการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ที่เปนเชนนี้อาจเปนเพราะนักเรียนที่ไดรับการสอนอานโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา ไดรับการฝกตามขั้นตอนตาง ๆของเทคนิคพาโนรามา เร่ิมตั้งแต ขั้นการกําหนดจุดมุงหมายโดยครูและนักเรียนชวยกันกําหนดจุดมุงหมายในการอานโดยตอบคําถามที่วา “ฉันกําลังอานเรื่องนี้เพื่ออะไร” อานเพื่อหารายละเอียดหรืออานเพื่อหาขอมูลบางจุดสําหรับอางอิง ขั้นการปรับความเร็วครูแนะนําใหนักเรียนปรับความเร็วในการอาน โดยดูจากจุดมุงหมายที่กําหนดไวซ่ึงยืดหยุนตามความยากงายของเรื่องที่อาน ขั้นความจําเปนในการตั้งคําถามครูและนักเรียนชวยกันตั้งคําถาม โดยเปลี่ยนชื่อเร่ือง หัวเรื่อง หรือบางขอความใหเปนรูปคําถามและนักเรียนชวยกันตั้งคําถามและพยายามอานเพื่อตอบคําถามเหลานั้น ขั้นการสํารวจ ครูใหนักเรียนเริ่มการอาน โดยสังเกตลักษณะของขอความที่อาน ผูแตง คุณวุฒิ ปที่พิมพ หัวขอแตละบท บทสรุป เปนตน เพื่อทราบแนวคิดของผูแตง ขั้นการติดตาม นักเรียนอานดวยการพยายามตอบคําถามที่ตั้งไว จับความคิดหลักและเรื่องราวตาง ๆ โดยเชื่อมโยงกับประสบการณเดิมของตนเพื่อใหเขาใจดียิ่งขึ้น ขั้นการจดบันทึก นักเรียนบันทึกสิ่งที่นาสนใจลงในหนังสือหรือสมุดบันทึก ซ่ึงอาจเปนการใชเครื่องหมายหรือขอความก็ไดเพื่อเปนการชวยความจํา ขั้นการจําครูเนนใหนักเรียนทบทวนความจําจากการบันทึก โดยแยกแยะจุดสําคัญของเรื่องใหเปนระบบ เพื่อสะดวกในการนํามาใชใหมเมื่อตองการ ขั้นประเมินผล ครูและนักเรียนชวยกันอภิปรายเรื่องราวที่อาน เพื่อเปนการประเมินวา นักเรียนอานไดตรงตามจุดมุงหมายที่ตั้งไวในตอนตนหรือไม จากขั้นตอนการอานโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามาดังกลาว ทําใหนักเรียนมีโอกาสในการพัฒนาทักษะการอานเพื่อความเขาใจ เมื่อนักเรียนไดฝกอานแลวนักเรียนมีโอกาสไดประเมินผลและปรับปรุงทักษะการอานของตนเองอยางสม่ําเสมอ จึงสงผลใหความเขาใจในการอานของนักเรียนสูงขึ้น จากที่กลาวมาแลวขางตนจะเห็นวานักเรียนที่ไดรับการสอนอานโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา ไดฝกทักษะการอานเปนไปตามขั้นตอน จึงทําใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ความเขาใจในการอานหลังการทดลองสูง ผลการวิจัยครั้งนี้สอดคลองกับการวิจัยของ กัญญา มั่งคั่ง (2530) ที่นําเทคนิคการอานแบบพาโนรามา มาเปรียบเทียบความเขาใจในการอานภาษาอังกฤษและความสนใจในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ที่เรียนอานภาษอังกฤษ โดยใชกิจกรรม พาโนรามา กับกิจกรรมตามคูมือครู ผลการวิจัยปรากฏวา ความเขาใจในการอานและพัฒนาความ สนใจในการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนในกลุมทดลองและกลุมควบคมุมคีวามแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ช้ีใหเห็นวาการสอนทักษะการอานนั้นเปนส่ิงที่สอนและ

Page 44: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ฝกฝนใหเกิดขึ้นได ดังความเห็นของ ประเทิน มหาขันธ ( 2523 , หนา 30 ) ที่กลาวไววา สมรรถนะในการอานเปนทักษะที่สามารถปรับปรุงและฝกฝนใหดีขึ้นได ถาจัดการฝกอยางมีระบบ ผูรับการฝกจะสามารถเกิดความเขาใจเรื่องที่อานไดภายใน 4 ถึง 7 สัปดาห อนึ่งจากการสังเกตลักษณะพฤติกรรมของนักเรียนที่ไดรับการสอนอานโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา พบวา ระยะแรกของการทดลองสอน นักเรียนยังไมคุนเคยกับการอานเทคนิคพาโนรามา ในขั้นกําหนดจุดมุงหมาย ตั้งคําถาม สํารวจ อานและติดตาม รวมทั้งประเมินผลซึ่งนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมในขั้นดังกลาวไมคอยได แตหลังการทดลองสอนถึงคาบที่ 4 ผูวิจัยสังเกตเห็นวา พฤติกรรมของนักเรียนเริ่มเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น กลาวคือ สามารถปฏิบัติกิจกรรมในขั้นตาง ๆ ของโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามาได นอกจากนั้นนักเรียนยังมีความกระตือรือรนในการทํากิจกรรมมากขึ้น นอกจากนี้เทคนิคการอานแบบพาโนรามา ยังชวยใหนักเรียนอานไดเร็วขึ้นใชเวลานอยลงในคาบตอ ๆ ไปดวย สรุปไดวานักเรียนที่ไดรับการสอนการอานโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา หลังการทดลองมีผลสัมฤทธิ์ทางการอานสูงกวากอนการทดลอง

ขอเสนอแนะ

ผูวิจัยมีขอเสนอแนะในดานการเรียนการสอนและการวิจัยในครั้งตอไปดังนี้ 1. จากผลการวิจัยคร้ังนี้ พบวา การนําเทคนิคการสอนมาใชในการเรียนการสอนทักษะการอาน ทําใหนักเรียนมีพัฒนาการดานการอานดีขึ้น จึงสมควรใหมีการนําเทคนิคการสอนอานอ่ืน ๆ มาใชในการเรียนการสอนมากขึ้น 2. ควรมีการนําเทคนิคการอานแบบพาโนรามา มาทดลองใชกับนักเรียนในระดับชั้นอื่น 3. ควรมีการนําเทคนิคการอานแบบพาโนรามา มาเปรียบเทียบกับการสอนอานเทคนิคอ่ืน 4. เวลาในการสอน ควรสอน 2 คาบติดตอกัน เพื่อที่จะใชขั้นตอนการอานแบบ พาโนรามาไดครบ 5. ควรมีการนําเนื้อหาท่ีไมนาสนใจ มาทดลองใชกับเทคนิคการอานแบบพาโนรามา เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการอานโดยเปรียบเทียบกับเนื้อหาที่นาสนใจ 6. เทคนิคการอานแบบพาโนรามา เหมาะสมกับเนื้อหาที่เปนบทรอยแกว มากกวาบท รอยกรอง ถาจะนําบทรอยกรองมาสอน ผูเรียนควรมีพื้นฐานของการอานรอยกรองมากอน

Page 45: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

บรรณานุกรม กนกทิพย พัฒนพัวพันธ. (2529). การวิเคราะหขอมูลเพื่อการวิจัยทางการศึกษา. คณะศึกษาศาสตร

มหาวิทยาลัยเชียงใหม. กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2516). คูมือครูช้ันมัธยมศึกษาตอนตน วิชาภาษาไทย.

กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภา. กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ :

โรงพิมพคุรุสภา. _______. (2534). หนังสือกับการสงเสริมการอาน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพการศาสนา. กัญญา มั่งคั่ง. (2530). การเปรียบเทียบความเขาใจในการอานภาษาอังกฤษ และความเขาใจใน

การเรียนของนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 ที่ เ รียนภาษาอังกฤษโดยใชกิจกรรมPANORAMA กับกิจกรรมตามคูมือครู. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

โกชัย สาริกบุตร. (2519). การสรางความสามารถ. เชียงใหม : วิทยาลัยครูเชียงใหม. _______. (2520). การอานภาคปฏิบัติ. เชียงใหม : กลางเวียง. จรัล พรมคําตน. (2515). ความคิดเห็นเกี่ยวกับตนและความเขาใจในการอานของเด็กวัยรุนชนบท. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาไทย) บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. จันทร จันทรกระจาง. (2528). การทดลองเพื่อการศึกษาเปรียบเทียบการสอนอานภาษาไทยชั้น

ประถมปที่ 5 โดยใชแบบฝกหัดเสริมทักษะกับการสอนแบบเดิม. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

จินตนา ใบกาซูยี. (2534). หนังสือกับการสงเสริมการอาน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพการศาสนา. จินตนา ใบกาซูยี, อุษณี วัฒนพันธ และสุพรรณ แสงอากาศ. (บรรณาธิการ). (2529) การรณรงคเพื่อสงเสริมนิสัยรักการอาน : ตุลาคม-ธันวาคม 2528. (เอกสารวิชาการ) กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาการ. จุฑามาศ สุวรรณโครธ. (2519). การอานเปน. สามัญศึกษา, 13(12). 27-30. ฉวีลักษณ บุญยะกาญจน. (2524). จิตวิทยาการอาน. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. ฉวีลักษณ คูหาภินันท. (2527). การทําหนังสือสําหรับเด็ก. กรุงเทพฯ : ศิลปาบรรณาคาร. ชวน เพชรแกว, และคนอื่น ๆ . (2521). การใชภาษา. สงขลา : มงคลกรพิมพ ชวาล แพรัตกุล. (2520). เทคนิคการเขียนขอสอบ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภา. ชาญ ธัญพิทยากุล. (2527). คูมือฝกสอน. กรุงเทพฯ : กรุงสยามการพิมพ. ชุติมา สัจจานันท. (2526). “การสงเสริมการอานแกเด็ก.” ประชาศึกษา. 34(2), 8-5 พฤศจิกายน. ชูศรี วงศรัตนะ. (2535). สถิติเพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ : เจริญผล.

Page 46: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ฐาปะนีย นาครทรรพ. (2520). ภาษาไทยสําหรับคร.ู กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ดุษฎี สีหละเมียร. (2521). “อานหนังสืออานอยางไร.” วารสารราชบัณฑิตยสถาน. 4, 67-76. กรกฎาคม-กันยายน. ตาย เซ่ียงฉี. (2526). สถิติเบื้องตนทางดานการศึกษา. เชียงใหม : คณะศึกษาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ถนอมวงศ ลํ้ายอดมรรคผล. (2529). การใชภาษาไทย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรร

มาธิราช. ทํานอง สิงคาลวนิช. (2515). การประชุมศึกษาเรื่องหนังสือสําหรับผูเร่ิมอาน. กรุงเทพฯ :

อักษรสยาม. นงเยาว แขงเพ็ญแข, ประภาพันธ นิลอรุณ, และสมศักดิ์ ศรีมาโนช. (2522). ความพรอมในการ

อาน.กรุงเทพฯ : สําหนักพิมพโอเดียนสโตร. นพคุณ คุณาชีวะ. (2524). ระเบียบวิธีการสอนภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย รามคําแหง. บรรเทา กิตติศักดิ์. (2526). การสอนอานหนังสือนอกเวลาและหนังสืออานประกอบ หนวยที่ 13. เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาไทย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. บันลือ พฤษะวัน. (2521). วรรณกรรมเด็ก. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. _______. (2534). ยุทธศาสตรการสอนตามแนวหลักสูตรใหม. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช บุญนํา บุญเสริฐ. (2521). ศิลปะการสอนภาษา. กรุงเทพฯ : จันทรเกษม. บุญเสริม ฤทธาภรมย. (2519). “การสอนเพื่อพัฒนาการอาน.” วิทยาสาร. 23, 32-34. กรกฎาคม. มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ประเทิน มหาขันธ. (2523). การสอนอานเบื้องตน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน. ประภาศรี สีหอําไพ. (2524). วิธีสอนภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช. ประสาท อิศรปรีดา. (2522). จิตวิทยาศึกษา. กรุงเทพฯ : กราฟฟคอารค. เปลื้อง ณ นคร. (2511). “ภาษาภิรมย.” ชัยพฤกษ. 12, 19. ตุลาคม. ผอบ โปษะกฤษณะ. (2526). ลักษณะเฉพาะของภาษาไทย การเขียน การอาน การพูด การฟง และราชาศัพท. กรุงเทพฯ : โรงพิมพพีระพัธนา. พวา พันธเมฆา. (2518). “ทําอยางไรจึงจะอานหนังสือไดดี.” วิทยาสาร. 26(21, 39-39. มิถุนายน. พรทิพย สุทธิพันธ. (2529). การเปรียบเทยีบสัมฤทธิผลการอานจับใจความของนักเรียนชั้น

ประถมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนอนุบาลระนอง จังหวดัระนอง ที่เรียนโดยใชและไมใชแบบ

Page 47: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ฝกการอาน. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต บณัฑติวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

เพ็ญศรี รังสิยากุล. (2528). การอานภาษาอังกฤษ 1. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง. มารศรี ชวลิต. (2518). การทดลองเพื่อศึกษาเปรียบเทียบการสอนอานอภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โดยใชแบบฝกเสริมทักษะกับการสอนแบบเดิม. ปริญญานิพนธการศึกษา มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. แมนมาศ ชวลิต. (2529). การรณรงคเพื่อสงเสริมนิสัยรักการอาน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพการ

ศาสนา. รัญจวน อิทรกําแหง และคนอื่น ๆ. (2519). การอานและการพิจารณาหนังสือ. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน. ราชบัณฑิตยสถาน. (2525). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตวิทยาลัย. วรณี สุนทรเวช. (2510). “ความสนใจและความตองการในการอานของเด็กอายุ 11-16 ป.” การ

สัมมนา เร่ือง หนังสืออานสําหรับเด็กกลุมอายุ 11-16 ป. กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.

วาสนา เกตนาค. (2521). การสอน. คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทวิโรฒ บางเขน. วิจิตรา แสงพลสิทธิ์ และคนอื่น ๆ. (2522). การใชภาษาไทย ท. 101. กรุงเทพฯ : พีระพัธนา. ศิริพร ลิมตระการ. (2527). อานเร็วอยางเขาใจ. กรุงเทพฯ : สมาคมการอานแหงประเทศไทย. สดุดีพันธ หวังสุริยะ. (2530). การเปรียบเทียบความเขาใจในการอานภาษาไทย ความสามารถใน

การอานเร็วของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โดยบทเรียนที่มีบทสรุปกอนบทสรุปหลัง และไมมีบทสรุป. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

สนม ครุฑเมือง. (2535). เอกสารประกอบการเรียนวิชาภาษาไทย. พิษณุโลก : ภาควิชาภาษาไทย และภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร มหาวิยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก. สนิท ตั้งทวี. (2526). เปรียบเทียบความสามารถในการอานภาษาไทยโดยการใชและไมใชบทเสริม ทักษะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม. ปริญญานิพนธ การศึกษามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. สมถวิล วิเศษสมบัติ. (2525). วิธีสอนภาษาไทยระดับชั้นมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ : อักษร เจริญทัศน สมบูรณ ชิตพงษ. (2523). สมรรถภาพสมองที่สงผลตอความสามารถในการเขียนเรียงความ. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต วิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร, อัดสําเนา. สมนึก พวงกลิ่น. (2530). การศึกษาเปรียบเทียบความสามารถในการอานอยางมีวิจารณญาณและ

Page 48: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

สมรรถภาพการอานเร็วของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โดยวิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวนกับการสอนตามคูมือครู. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

สมพร มันตะสูตร. (2526). การสอนภาษาไทย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร. สมุทร เซ็นเชาวนิจ . (2526). เทคนิคการอานภาษาอังกฤษเพื่อความเขาใจ . กรุงเทพฯ :

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. สายใจ เกตุชาญวิทย. (2527). การนําเสนอผลงานการสอนซอมเสริมทักษะภาษาไทยระดับชั้น

มัธยมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธคุรุศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สิริวรรณ สุวรรณอาภา. (2535). “การวางแผนกิจกรรมการเรียนการสอน.” เอกสารประกอบชุดวิชาระบบการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : บริษัทมวลชนจํากัด.

สุจริต เพียรชอบ และสบายใจ อินทรัมพรรย. (2523). วิธีสอนภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย. (2527). การวิเคราะหความสามารถในการอานของนักเรียนมัธยม, หนวย

ที่ 3. เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาไทย การอานหนวยท่ี 11-15. กรุงเทพฯ : สํานักวิชาการมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, บริษัทประชาชนจํากัด.

สุวัฒน จันทรลอย. (2527). การศึกษาเปรียบเทียบดานความเขาใจในการอาน สมรรถภาพการอานเร็วและเจตคติตอการอานภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 จากชุดการอานที่มีคําถาม กอนการอาน ระหวางการอาน และหลังการอาน. ปริญญานิพนธ การศึกษามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

อรุณศรี แสงแกว. (2523). การศึกษาความสามารถในการอานและเจตคติตอการอานของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 โดยการสอนซึ่งใชแบบฝกอานที่ใชคําถามระดับตางๆ กับการสอนตามปกติ.ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย

ศรีนครินทรวิโรฒ . ประสานมิตร. อัมพร สุขเกษม. (2526). การอานหนังสือ. ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสาราคาม. อุทัย ภิรมยร่ืน. (2531). เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการประจําป. 2531. อัดสําเนา

Page 49: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ภาคผนวก

Page 50: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

(ก) แผนการจัดการเรียนรู

เรื่อง การอานโดยใชเทคนิค พาโนรามา

แผนการสอนที่ 1 วิชา ภาษาไทย ชั้นมธัยมศึกษาปท่ี 2

การอานเพื่อจับใจความสําคญัและการอานเร็ว เวลา 1 คาบ

สาระสําคัญ การอานเพื่อจับใจความสําคัญและฝกทักษะการอานเร็ว เปนพื้นฐานที่สําคัญสําหรับการอาน เพื่อศึกษาหาความรู เปนประโยชนสําหรับการจดจําและทําความเขาใจเนื้อหาสาระของเรื่องที่อาน จึงควรฝกฝนใหเกิดความชํานาญ สามารถจับใจความสําคัญจากเรื่องที่อานทุกประเภท ทั้งรอยแกว รอยกรอง สารคดี และบันเทิงคดี

ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง เมื่อกําหนดใหอานหนังสือและงานเขียนตาง ๆ ทั้งบันเทิงและสารคดีแลว สามารถจับใจความสําคัญและใจความรองได และมีทักษะการอานเร็ว

จุดประสงค 1. บอกลักษณะของใจความสําคัญและใจความรองได 2. บอกหลักการอานเร็วได 3. จําแนกใจความสําคัญและใจความรองได

เนื้อหา หลักการอานจับใจความสําคญั การอานจับใจความสําคัญ มีจุดมุงหมายเพื่อใหสามารถจับใจความสําคัญในแตละยอหนาหรือหลาย ๆ ยอหนาไดอยางรวดเร็วและแมนยํา

Page 51: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ใจความสําคัญ ไดแก ขอความที่ทําหนาที่ครอบคลุมใจความของขอความอื่น ๆ ในตอนนั้นไวหมด ขอความที่เหลือเปนเพียงรายละเอียดหรือสวนขยายใจความสําคัญเทานั้น ใจความสําคัญสวนมากมีลักษณะเปนประโยค อาจเปนประโยคเดี่ยวหรือซอนก็ได แลว แตกรณี และมักปรากฏอยูตอนตนของขอความ สวนที่เหลือเปนใจความแฝงหรือรายละเอียด เปนที่นาสังเกตวาในหนึ่งขอความ หรือยอหนาหนึ่ง ๆ จะมีใจความสําคัญเพียงประการเดียว การพิจารณาใจความสําคัญ ผูอานจะตองเขาใจอยางถองแทเสียกอนวาใจความสําคัญอยูตรงไหน ความเขาใจจะชวยบอกเองวาใจความสําคัญนั้นจะเปนขอความตอนที่ทําใหเร่ืองตาง ๆ ดําเนินไปได ถาขาดใจความสําคัญแลว เร่ืองอื่น ๆ ก็จะไมเกิดตามมา มีขอสังเกตวา ใจความสําคัญ นอกจากปรากฏอยูในแตละยอหนาแลว อาจสังเกตไดอีกวาบางครั้งอยูตอนตน (ซ่ึงมีสวนมาก) บางทีอยูตอนทาย บางครั้งอยูตอนกลาง และบางครั้งอยูตอนตนและตอนทาย นอกนั้นเปนใจความรอง และรายละเอียด

หลักการอานเร็ว 1. วางแผนในการอาน โดยกําหนดเวลาที่แนนอน ใชเวลาฝกวันละ 15 นาที 2. เลือกหนังสือที่ใชฝกตรงกับความสนใจของผูฝก ความยากงายของภาษาและเนื้อหา

สาระที่จะไดจากการอานตองเหมาะสมกับผูฝก 3. เมื่ออานจบ ตองทดสอบความเขาใจในเนื้อเรื่องที่อานดวยการตอบคําถามเกี่ยวกับ

เร่ืองนั้น 4. จับเวลาในการอานแตละเรื่องวามีอัตราเร็วในการอานกี่คําตอนาที 5. ใหผูฝกบันทึกความกาวหนาของตน

กิจการการเรียนการสอน 1. กําหนดมุงหมาย (P) ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาถึงความสําคัญในการอานในชีวิตประจําวัน หลักการ

อานใจความสําคัญ จุดมุงหมายในการอาน 2. การปรับความเร็ว (A) ใหนักเรียนอานแบบฝกจับใจความสําคัญชุดที่ 1 โดยครุกําหนดเวลาให 3 นาที 3. การตั้งคําถาม (N) ใหนักเรียนนําความรูที่ไดจากการอานมาตั้งเปนคําถาม ตัวอยางคําถาม 1. ใจความสําคัญของเรื่องคืออะไร.............................................. 2. เร่ืองราว เหตุการณในเรื่องเกิดขึ้นที่ใด.................................

Page 52: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

4. การสํารวจ (O) - แบงกลุมนักเรียนกลุมละ 5 คน ใหอภิปรายกลุมถึง แนวคิด จุดมุงหมายของ

ผูเขียน กําหนดจุดประสงคในการอาน ประโยชนที่ไดรับ - ตัวแทนแตละกลุมนําเสนอผลงานกลุมหนาชั้นเรียน - ครูและนักเรียนชวยกันสรุป 5. การติดตาม (R) - ใหนักเรียนอานเนื้อเรื่องในแบบฝกการอานจับใจความสําคัญอยางละเอียด โดย

พยายามตอบคําถามที่ตั้งไว - สุมตัวอยางนักเรียนใหนําเสนอผลงาน - ครูเฉลยแบบฝกการอานเพื่อจับใจความสําคัญชุดที่ 1 6. การจดบันทึก (A) - ใหนักเรียนแตละคนเขียนยอความสรุปใจความสําคัญของเรื่องที่อาน 7. การใชความจํา (M) - ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 คน โดยใหนําความรูที่ไดจากการอานมาเขียนเปน

บทละคร 8. ประเมินผล (A)

- ครูคัดเลือกผลงานที่ดี ในกิจกรรมขอที่ 6 จัดปายนิเทศหนาหองเรียน สื่อการเรียนการสอน - ใบความรูเร่ืองหลักการจับใจความสําคัญ และหลักการอานเร็ว - แบบฝกหัดการอานเพื่อจับใจความสําคัญ ชุดที่ 1 การวัดผลประเมินผล

1. สังเกตการทํากิจกรรม 2. ตรวจผลงาน

Page 53: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

แบบฝกการอานเพื่อจับใจความสําคัญ ชุดที่ 1

คําชี้แจง ใหนักเรียนอานเรื่องตอไปนี ้

อนุสรณแหงความรัก

(1) ใครไปอินเดียแลวไมไดไปชมทัชมาฮาล นั้นก็หมายความวาไมไดไปเห็นอินเดียเลย หลายคนบอกขาพเจาอยางนี้กอนการออกเดินทางไปยังประเทศนั้น ดังนั้น ขาพเจาจึงมุงไปอินเดียดวยความหวังที่จะไดไปชมอนุสรณแหงความรักที่โลกลือแหงนั้น และก็นับวาเปนโชคดีอยางยิ่งที่รายการพาไปชมสถานที่แหงนั้นไดบรรจุอยูในโปรแกรม อันเต็มไปดวยการงานของเราดวย (2) ขาพเจาจะไมกลาวถึงภาพที่ไดเห็นในระยะทาง 4 – 5 ช่ัวโมง จากเดลีมายังเมืองอักราอันเปนสถานที่ตั้งอนุสรณแหงนั้นใหมากจนเกินไป เพราะชางเปนภาพตรงกันขามกับความสงาของทัชมาฮาล ผูคนแตงตัวสกปรก บานชองรกรุงรัง และกระตอบแคบ ๆ เหลานั้นมีฝาคือ ดินและขี้วัว หมูตัวผอมโซ ผิดรูปราง วัวตัวเล็กลีบ หญิงคนหนึ่งกําลังเอาจอบโกยขี้วัวใสตะกราเพื่อนําไปใชประโยชน (3) อยางไรก็ตาม เราก็ผานภาพชีวิตลําเค็ญเหลานั้นไปถึงเมืองอักราเมื่อใกลค่ํา เราคอยอยูจนถึงเวลา 21.00 น. ซ่ึงเปนเวลาที่ดวงจันทรขางแรมจะขึ้นสูฟา สาดแสงมายังทัชมาฮาล และเมื่อเวลานั้นมาถึงเราก็ไดไปไดเห็น และไดซาบซึ้งในความงามอยางวิจิตรบรรจงของสถาปตยกรรมชั้นเลิศนั้นไดหวนระลึกถึงที่มาแหงอนุสาวรีย ซ่ึงอุบัติเมื่อ 300 ป เศษมาแลว (4) มัม ทัช มาฮาล เปนพระมเหสีองคที่ 2 ของ ซาห เยฮัน ความงามสงานารักและความฉลาดเฉลียวรวมทั้งคุณสมบัติของกุลสตรี ดึงดูดพระทัยของพระสวามีใหหลงใหลในตัวเธอไมเสื่อมคลาย แตคนดียอมเปนที่รักของพระเจาเชนเดียวกัน มัมทัชส้ินพระชนมเมื่อใหกําเนิดแกพระธิดา กอนที่จะจากไปอยางไมมีวันกลับ ซาร เยฮัน พระสวามีรํ่าไหดวยความสุดแสนอาลัย รับส่ังถามพระนางวาจะทําอยางไร จะทําอยางไรจึงจะใหโลกรูวาพระองครักเธออยางแทจริง กลาวกันวา พระนางขอรองใหพระสวามีเอาพระทัยใสเล้ียงดูพระโอรสและพระธิดาใหดี และขออยาทําการอภิเษกสมรสอีก และนอกจากนั้นพระนางขอรองใหสรางที่ฝงศพอันงามสวาไมซํ้าแบบใคร เพือ่เปนอนุสรณแกเธอ (5) ความปรารถนาของพระนางเปนไปตามนั้นทุกประการ ณ ริมฝงแมน้ํายมนา ทัชมาฮาล ที่ฝงศพอันเลื่องลือของมัมทัช ประดิษฐานเปนศรีสงาแกนครอักรา ประกาศเรื่องรักอันซาบซึ้งตรึงใจของกษัตริยที่มีตอมเหสีนั้นใหแกโลกไดช่ืนชมสืบตอกันมาจนปจจุบัน

5

Page 54: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

แผนการจัดการเรียนรู เรื่อง การอานโดยใชเทคนิค พาโนรามา

แผนการสอนที่ 2

วิชา ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 เร่ือง ความดีท่ีไมรูจักสิ้นสูญ เวลา 2 คาบ

สาระสําคัญ ความดีที่ไมรูจักสิ้นสูญ เปนเรื่องที่เตือนใจใหนึกถึงวีรสตรี ตลอดจนผูคิดสรางสิ่งของอันเปนเครื่องอํานวยความสะดวกใหแกอนุชนรุนหลัง เราควรระลึกถึงบุญคุณของบุคคลเหลานั้นและยึดเปนตัวอยางประพฤติปฏิบัติตาม โดยพิจารณาใหเหมาะสมกับโอกาสอันควร ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง เมื่อกําหนดเรื่องใหอาน นักเรียนสามารถแปลความ ตีความ ขยายความ จับใจความสาํคญั สรุปเรื่องราวได จุดประสงค

1. บอกประวัติผูแตงและที่มาของเรื่องได 2. ตอบคําถามเกี่ยวกับเนื้อเร่ืองได 3. จับใจความสําคัญจากเรื่องที่อานได 4. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อเร่ืองได

เนื้อหา ท่ีมาของเรื่อง เร่ืองความดีไมรูจักสิ้นสูญ เปนตอนหนึ่งในหนังสือธรรมจริยาเลม 4 ของมหาอํามาตยเอก เจาพระยาธรรมศักดิ์มนตรี ความมุงหมาย เพื่อเตือนใจใหนักถึงวีรบุรุษวีรสตรี ตลอดจนผูคิดสรางสิ่งตาง ๆ ใหแกชนรุนหลัง เราควรระลึกถึงบุญคุณของบุคคลเหลานั้น และยึดเปนตัวอยางประพฤติปฏิบัติงาน โดยพิจารณาใหเหมาะสมกับโอกาสอันควร

6

Page 55: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ลักษณะคําประพันธ บทความนี้มีลักษณะเปนความเรียงแบบเทศนาโวหาร โดยยกกลอนสุภาษิตมาอางในคํานํา ซ่ึงเปนกลวิธีหนึ่งของการเริ่มตนบทความ เร่ืองยอ ความดีที่เราทําไวยอมแผกระจายเลื่องลือไปทั่วโลกอยูช่ัวกาลนาน เหมือนกับวงน้ําที่เกิดจากการโยนกอนหินลงในสระ วงน้ําจะคอย ๆ กระเพื่อมออกไปจนกวาง เตาตางไดรับประโยชนจากผูคิดคนประดิษฐส่ิงตาง ๆ ขึ้น หรือแมแตวีรบุรุษผูองอาจ กลาหาญ ในสงครามอีกดวย เราจึงควรระลึกถึงบุญคุณของบุคคลเหลานี้ใหมาก ๆ ซ่ึงเด็กจะรูจักบุญคุณเหลานี้ไดจากการอานหนังสือ การทําความดีดวยการชวยกูบานเมืองหรือชวยชีวิตผูอ่ืนก็นับวาเปนความดีอยางหนึ่ง เชน วีรกรรมของคุณหญิงจันและนางมุกนองสาว หรือเกรซ ดาล่ิง ชาวอังกฤษบุตรสาวคนเฝาประภาคารบนเกาะลองสโตน หมูเกาะฟารัน ไดเสี่ยงชีวิตนําเรือลําเล็กฝาพายุออกไปชวยผูประสบภัยจากเรืออับปางไวได เปนตน เราควรระลึกถึงบุคคลผูมีบุญคุณแกโลก ดวยความนับถือและความกตัญู และควรตอบแทนบุญคุณบุคคลเหลานั้นดวยการทําความดีตามความสามารถของตนเอง ถึงแมจะเปนความดีเล็กๆ นอย ๆ แตก็อาจกอใหเกิดความดีอันยิ่งใหญไดเหมือนกัน ถาทําส่ิงใดจงตั้งใจทําจริง ๆ ถาสําเร็จก็เปนการดี ถาไมสําเร็จก็ไมสูญเปลา เพราะสิ่งที่ไดคือความชํานาญ กิจการการเรียนการสอน

1. กําหนดมุงหมาย (P) - ครูแจงจุดประสงคการอานเรื่อง ความดีที่ไมรูจักส้ินบุญ วาเปนการอานเพื่อจับ

ใจความสําคัญและฝกการอานเร็ว - ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาถึงคุณธรรมที่ใชในการดําเนินชีวิตของคนเรา 2. การปรับความเร็ว (A) - ใหนักเรียนอานเรื่องอยางคราว ๆ เพื่อตั้งคําถาม โดยครูกําหนดเวลาในการอาน

7 นาที

Page 56: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

3. การตั้งคําถาม (N) - ใหนักเรียนนําใจความสําคัญของแตละยอหนามาตั้งเปนคําถาม ตัวอยางคําถาม

1) ผูเขียนเปรียบน้ําที่กระเพื่อมเปนวงกับผลของการทําความดีอยางไร 2) วีรสตรีไทยที่นักเรียนรูจักมีใครบาง ทานประกอบวีรกรรมอยางไร 3) เกรซ ดาลิ่ง ทําความดีอยางไร

4. การสํารวจ (O) - ใหนักเรียนอานใบความรูประกอบเรื่อง ความดีที่ไมรูจักส้ินสูญ 5. การติดตาม (R) - ครูเร่ิมจับเวลาในการอานของนักเรียนโดยดูเวลาเฉลี่ยของทั้งหอง - ใหนักเรียนอานเรื่องทั้งหมดอยางละเอียด โดยพยายามตอบคําถามที่ตั้งไว 6. การจดบันทึก (A) - ใหนักเรียนเขียนสรุปใจความสําคัญของเรื่องลงในสมุดสงครู 7. การใชความจํา (M) - แบงกลุมนักเรียนออกเปน 4 กลุม อภิปรายในหัวขอตอไปนี้ ก. วีรกรรมของนักรบไทย ข. องคการเยาวชนที่บําเพ็ญประโยชนแกชาติ ค. เรามาบําเพ็ญประโยชนกันเถิด ง. โคควายวายชีพได เขาหนัง 8. ประเมินผล (A) - ใหนักเรียนแตงกลอนหรือบทรอยแกวที่ไพเราะ กลาวถึงการทําความดีที่ประทับใจ

สื่อการเรียนการสอน - ใบความรูประกอบเรื่อง ความดีที่ไมรูจักส้ินสูญ การวัดผลประเมินผล

- สังเกตความสนใจ ความตั้งใจในการปฏิบัติกิจกรรม - ตรวจผลงาน

Page 57: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ใบความรูประกอบเรื่อง ความดีที่ไมรูจักสิ้นสูญ ผูแตง เจาพระยาธรรมศักดิ์มนตรี ลักษณะคําประพันธ รอยแกว (สวนใหญใชเทศนา โวหารและสาธกโวหาร) ความรูประกอบ โวหาร จําแนกออกเปน 4 ชนิด 1. บรรยายโวหาร หมายถึง การเลาและบรรยายโดยละเอียด ใหความรูอยางแจมแจง เชน การเขียนประวัติศาสตร ตํานาน บันทึก เปนตน 2. พรรณนาโวหาร หมายถึง การเลือกเฟนถอยคํารําพันตามความรูสึกนึกคิดของผูเขียน เชน การเขียนชมธรรมชาติ ความรัก ความคิดถึง เปนตน 3. เทศนาโวหาร หมายถึง การกลาวชี้แจง ส่ังสอนอยางมีเหตุผล ช้ีใหเห็นคุณและโทษของสิ่งตาง ๆ 4. อุปมาโวหาร หมายถึง การกลาวเปรียบเทียบวาสิ่งหนึ่งเหมือนหรือคลายกับอีกสิ่งหนึ่ง มักมีคําวาเหมือน ดุจ คลาย ราว เปนตน

Page 58: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

แผนการจัดการเรียนรู เรื่อง การอานโดยใชเทคนิค พาโนรามา

แผนการสอนที่ 3

วิชา ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 เร่ือง นิทานชาดกมหากบลิวานร เวลา 2 คาบ

สาระสําคัญ นิทานชาดกมหากบิลวานร เปนเรื่องที่ช้ีใหเห็นคุณธรรมของผูเปนหัวหนา ซ่ึงจะตองประกอบดวยความเฉลียวฉลาดและความเสียสละ เพื่อประโยชนสุขของผูอยูในปกครอง ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง เพื่อใหนักเรียนอานคําประพันธประเภทรอยแกว แลวสามารถแปลความ ตีความ ขยายความ และสรุปใจความสําคัญ รวมทั้งรูจักกลวิธีเพิ่มอัตราเร็วในการอาน จุดประสงค

1. นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของคําหรือขอความในเรื่องได 2. นักเรียนสามารถบอกลักษณะนิสัยตัวละครสําคัญในเรื่องได 3. นักเรียนสามารถวิเคราะหประโยชนและขอคิดจากเรื่องมหากบิลวานรได 4. นักเรียนเขียนเรื่องความเกี่ยวกับคุณธรรมของผูนําได

เนื้อหา ท่ีมาของเรื่อง มหากบิลชาดก เร่ือง มหากบิลวานร เปนตอนหนึ่งในหนังสือสัมโมหนิทาน ซ่ึงนาคะประทีป (พระสารประเสริฐ – ตรี นาคะประทีป) เรียบเรียง ความมุงหมาย เพื่อใหเห็นคุณธรรมของผูเปนหัวหนา ซ่ึงจะตองประกอบดวยความเฉลียวฉลาด ความเสียสละเพื่อประโยชนสุขของผูอยูในปกครอง

Page 59: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ลักษณะคําประพันธ แตงเปนความเรียงรอยแกว เร่ืองยอ พระเจาพรหมทัตครองราชยในเมืองพาราณสี พระโพธิสัตวเสวยพระชาติเปนพญาวานรช่ือ มหากบิลวานร อาศัยอยูในปาหิมพานต บริเวณนั้นมีตนมะมวงใหญขึ้นอยูริมน้ํา มีผลใหญและรสหวานอรอย มหากบิลวานรสั่งใหบริวารเก็บผลมะมวงที่กิ่งทางแมน้ํากินใหหมดกอน เผอิญมีมะมวงผลหนึ่ง มดแดงทํารังหอไว คร้ันสุกงอมก็รวงลงน้ําลอยไปถึงที่กั้นสําหรับสรงน้ําของพระเจาพรหมทัต พนักงานเห็นเขาก็เก็บไปถวายพระเจาพรหมทัต พระองคถามพรานปาไดความวาเปนผลมะมวงพระองคพอพระทัยในรสชาติของมะมวง จึงเสด็จไปตั้งพลับพลาอยูใกลตนมะมวงนั้น และใหเก็บผลมะมวงมาเสวยเปนประจํา ตกกลางคืนพระเจาพรหมทัตทอดพระเนตรเห็นวานรมาเก็บผลมะมวงกิน ก็รับส่ังใหยิงฝูงวานรนั้น มหากบิลวานรจึงเสียสละตนเองทอดตนเปนสะพานตอกับเถาวัลยแลว ใหบริวารวานรไตไปยังตนไมอีกตนจนพนภัย เทวทัตซ่ึงเปนวานรอยูในฝูงไดแกลงกระโดดจากที่สูงลงบนตัวมหากบิลวานร จนไดรับบาดเจ็บสาหัส พระเจาพรหมทัตทรง ช่ืนชมในการกระทําของมหากบิลวานรมาก จึงมีรับส่ังใหนําพระโพธิสัตวลงมาพยาบาลใหอาหารอยางดี มหากบิลวานรไดส่ังสอนพระเจาพรหมทัตใหดํารงอยูในราชธรรม พอสิ้นคําสอนมหากบิลวานรก็ไดส้ินชีวิต กิจกรรมการเรียนการสอน

1. กําหนดมุงหมาย (P) - ครูแจงใหนักเรียนทราบจุดมุงหมายในการอานเร่ืองมหากบิลวานร วาเปนการอาน

เพื่อจับใจความสําคัญ และความเขาใจในเนื้อเร่ือง 2. การปรับความเร็ว (A) - ใหนักเรียนอานเรื่องอยางคราว ๆ เพื่อตั้งคําถาม โดยครูกําหนดเวลาในการอาน

5 นาที 3. การตั้งคําถาม (N) - ใหนักเรียนนําใจความสําคัญของแตละยอหนามาตั้งเปนคําถาม โดยใชหลัก ใครทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร อยางไร ตัวอยางคําถาม

1) พญาวานรมีช่ือวาอะไร อาศัยอยูที่ไหน

Page 60: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

2) พญาวานรมีพละกําลังเปนอยางไรบาง 3) มีเหตุการณสําคัญอะไรเกิดขึ้นในเรื่องบาง

4. การสํารวจ (O) - ครุแจกใบความรู เร่ือง ชาดก ใหนักเรียนศึกษา - ใหนักเรียนอานบทนําเรื่อง มหากบิลวานร เพื่อตั้งคําถามที่จําเปนกอนอาน ตัวอยางคําถาม (1) ผูแตงเรื่องมหากบิลวานรคือใคร (2) เร่ืองมหากบิลวานรคัดมาจากหนังสืออะไร (3) คําวา ชาดก หมายถึงอะไร 5. การติดตาม (R) - ครูเร่ิมจับเวลาในการอานของนักเรียนโดยดูเวลาเฉลี่ยของทั้งหอง - ใหนักเรียนอานเรื่องทั้งหมดอยางละเอียด โดยพยายามตอบคําถามที่ตั้งไว 6. การจดบันทึก (A) - ใหนักเรียนทําบันทึกยอใจความสําคัญของเรื่อง 7. การใชความจํา (M) - แบงกลุมนักเรียนออกเปน 6 กลุม อภิปรายในหัวขอตอไปนี้ ก. ลักษณะของหัวหนาที่ดี ข. ลักษณะของมิตรที่ดีและไมดี ค. ทาํอยางไรจึงจะผูกมิตรไดยั่งยืน ง. ศึกษาสํานวนภาษาในเรื่องมหากบิลวานร จ. ลักษณะนิสัยตัวละครสําคัญในเรื่องมหากบิลวานร ฉ. ประโยชนและขอคิดที่ไดจากเรื่องมหากบิลวานร แลวสงตัวแทนมารายงานหนาชั้นเรียน 8. ประเมินผล (A) - ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัดวัดความเขาใจในการอานเรื่องมหากบิลวานร - ครูและนักเรียนชวยกันสรุป เกี่ยวกับลักษณะของผูนํา แลวใหนักเรียนเขียน

เรียงความเกี่ยวกับคุณธรรมของผูนํา

Page 61: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

- ครูคัดเลือกผลงานเรียงความที่ดีจัดปายนิเทศหนาหอง

สื่อการเรียนการสอน - ใบความรูเกี่ยวกับนิทานชาดก - แบบทดสอบวัดความเขาใจในการอาน เร่ือง มหากบิลวานร การวัดผลประเมินผล

- สังเกตความสนใจ ความตั้งใจในการปฏิบัติกิจกรรม - ประเมินจากการทําแบบทดสอบวัดความเขาใจในการอานเรื่องมหากบิลวานร

Page 62: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ใบความรูประกอบเรื่อง ชาดก

ชาดก เปนเรื่องราวของพระโพธิสัตวกอนที่จะเสวยพระชาติเปนพระสมัมาสัมพุทธเจา มีจุดมุงหมายที่จะใชหลักธรรมในพระพุทธศาสนามาสอนประชาชน ชาดกมี 2 ประเภท คือ 1. นิบาตชาดก เปนชาดกในพระไตรปฎก มี 500 เร่ือง แบงออกเปนหมวด ๆ ตามจํานวนคาถา เชน 1 คาถา - เอกนิบาตชาดก 2 คาถา - ทุกนิบาตชาดก 3 คาถา - ติกนิบาตรชาดก 4 คาถา - จตุกนิบาตชาดก 5 คาถา - ปจกนิบาตรชาดก เกนิ 80 คาถา - มหานิบาตชาดก มี 10 เร่ือง เรียก ทศชาติชาดก หรือพระเจาสิบชาติ 2. ปญญาสชาดก เปนชาดกที่แตงจากนิทานพื้นเมือง เรียกชาดกนอกนิบาต มี 50 เร่ือง พระภิกษุชาวเชียงใหมแตงขึ้นประมาณ พ.ศ. 2000 – 2008 พระเจาบรมวงศเธอกรมพระสมมตอมรพันธองคสภานายกหอพระสมุดไดทรงแปลเปนภาษาไทย จึงทําใหรูจักกันแพรหลาย องคประกอบของชาดก ชาดกทุกเรื่องจะตองมีองคประกอบ 3 ประการ คือ 1. ปรารถนาเรื่อง คือ บทนําจะกลาวถึงมูลเหตุหรือที่มาของชาดก 2. อดีตนิทานหรือ ชาดก (มาจากภาษาบาลีวา ชาตะ แปลวา การเกิด ลงปจจัย ก เปนชาดก) 3. ประชุมชาดก หรือประมวลชาดก เปนใจความตอนสุดทาย กลาวถึงการกลับชาติมาเกิดของบุคคลในชาดก

Page 63: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

แบบทดสอบวดัความเขาใจในการอาน

เร่ือง มหากบิลวานร

คําชี้แจง ใหนักเรียนกากบาทคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียวลงในกระดาษคําตอบ 1. ขอใดคือจดุมุงหมายสําคญัของงานประพันธประเภทชาดก ก. เพื่อเลาถึงประวัติพระพทุธเจา ข. เพื่อแสดงสภาพความเปนมาในพุทธประวัต ิ ค. เพื่อแสดงคุณธรรมสําคัญของผูที่ไดเปนพระพุทธเจา ง. เพื่อแสดงบารมีในการเสวยชาติแตละชาติของพระพุทธเจา

อานขอความตอไปนี้แลวตอบคําถามขอ 2 – 4 “ผูซ่ึงเปนหัวหนาคือ ผูเปนใหญในบริษัทบริวานของตนจึงตองมีวจิารณญาณ ปญญา และมีความสามารถ คิดบําบัดทุกขภัยอันเกดิแกบริษัทของตน จึงสมควรแกความเปนผูใหญ” 2. ขอใดเปนใจความสําคัญของขอความนี ้ ก. ลักษณะของผูเปนหัวหนา ข. ผูเปนใหญตองมีความเสยีสละ ค. ผูเปนใหญตองคิดบําบัดทุกขใหทกุคน ง. ผูเปนใหญตองรูจักแกปญหาที่เกิดขึน้ได 3. คําวา “บริษทับริวาร” หมายถึง ก. ลูกนองจํานวนมาก ข. พรรคพวกจํานวนมาก ค. ที่นัดหมายชุมนุมของบริวาร ง. บริวารและผูที่เกี่ยวของทัง้หมด 4. ขอความดังกลาวมีลักษณะการเขียนอยางไร ก. ยกอุทาหรณ ข. ใหขอคติเตอืนใจ ค. มีการเปรียบเทียบ ง. ใชการบรรยายตรงไปตรงมา

Page 64: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

5. สาเหตุสําคัญทําใหพระโพธิสัตวตองสิ้นชีวิตคือขอใด ก. พระเจาพาราณสี ข. บริวารวานรชื่อเทวทัต ค. บริวารวานรทั้งหมด ง. การเสียสละของพระองค 6. “พระเจาพาราณสีจึงทรงเชือดผลมะมวงประทานใหพรานปากินกอน” ขอใดมีความหมายใกลเคียงกับคําที่ขีดเสนใต ก. ฟน ข. ตัด ค. หั่น ง. ปาด 7. ใหเรียงลําดับเหตกุารณตอไปนี ้ 1. มหากบิลวานรสั่งใหบริวารเก็บผลมะมวงกิ่งที่ทอดยืน่ไปทางแมน้าํกินกอน 2. คร้ังนั้นพระโพธิสัตวไดเสวยทุกขเวทนาสําหัสจนดวงหทัยแตกสลาย 3. มหากบิลวานรก็ปลุกใจบริวารวา ทานทัง้หลายอยาตกใจไมเปนไร 4. เวลาเชาก็รับสั่งใหราชบุรุษผูกพระองคทําแครขึ้นรับพระโพธิสัตวลงมา ก. 1 2 3 4 ข. 1 3 4 2 ค. 3 1 4 2 ง. 4 3 2 1 8. การที่มหากบิลวานรสั่งใหบริวารเก็บผลมะมวงที่ทอดยื่นไปทางแมน้ํากินกอน แสดงถึง

คุณสมบัติดานใด ก. เปนผูหยั่งเหตุการณขางหนา ข. เปนผูเสียสละเพื่อสวนรวม ค. เปนผูมีความคิดรอบคอบ ง. เปนผูฉลาดเกินผูอ่ืน

Page 65: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

9. “เมื่อฝูงวานรเปนมนษุยจะมาทําราย มคีวามหวาดกลวัมาก มหากบลิวานรก็ปลูกใจวานรวา ทานทั้งหลายอยาตกใจไมเปนไร เราจะคิดอุบายใหทานทั้งปวงพนจากอันตรายทั้งปวงได” ใจความสําคัญของขอความนี้คืออะไร

ก. กําลังใจจากผูนํา ข. การอยูในความไมประมาท ค. การมีอุบายในการเอาตวัรอด ง. ความเมตตาของมหากบิลวานร 10. “วานรบริวารขอสมาโทษแลวก็ไตไปบนหลังพระโพธิสัตว” ขอความนี้แสดงใหเห็นวาฝูง

วานร มีลักษณะอยางไร ก. มีความกตญัู ข. มีสัมมาคารวะ ค. มีความออนนอมถอมตน ง. เปนผูเห็นแกผูอ่ืนมากกวาตน 11. เร่ืองมหากบิลวานรเนนเรื่องใดมากทีสุ่ด ก. คุณสมบัตขิองผูนํา ข. ความโหดรายของมนุษย ค. ความกลาหาญไมเกรงกลัวภัย ง. ความมีเมตตาของพระโพธิสัตว 12. คุณสมบัติขอใดที่ควรมสํีาหรับผูเปนผูนํา ก. มีความกลาหาญ เฉลียวฉลาด ข. มีความซื่อสัตย รูจักเลือกคน ค. มีความพากเพียรพยายาม อดทน ง. มีปญญาสามารถบําบัดทุกขที่เกิดกับบริวาร อานขอความตอไปนี้แลวตอบคําถามขอ 13 – 17 “ฝายพระเจาพาราณสีไดทอดพระเนตรเห็นพระโพธิสัตวมีความฉลาดและมีความอุตสาหะ ชวยใหบริวารพนอันตรายไดอยางนั้น จึงทรงดําริวา เราไมควรที่จะฆาวานรพิเศษอยางนี้เลย คร้ังเวลาเชาก็ส่ังใหราชบุรุษผูกพระองคทําแครขึ้นไปรับพระโพธิสัตวลงมาใหนําไปอาบน้ําในคงคาใหคลุมกายพระโพธิสัตวดวยผาที่ยอมน้ําฝาด ใหดื่มน้ําหวานอันมีรสโอชา และใหทาน้ํามันที่เคี่ยวได

Page 66: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

พันหนใหนอนบนหลังชุมพา แลวทรงตรัสสรรเสริญปญญาและความสามารถของพระโพธิสัตวฝายพระโพธิสัตวก็ส่ังสอนพระเจาพาราณสีใหดํารงอยูในราชธรรม

13. พระเจาพาราณสีไมทรงฆามหากบิลวานรเพราะเหตุใด ก. ทรงทราบวามหากบิลวรนรเปนพระโพธิสัตว ข. เพื่อทรงสดับธรรมมะจากมหากบิลวานร ค. เพราะเหน็วาเปนลิงหวัหนาฝูงและมีกําลังมาก ง. เพราะเหน็วาเปนลิงหวัหนาฝูงและพยายามปกปองอนัตรายแกลูกฝูง 14. มหากบิลวานรทรงมีคณุธรรมขอใด ก. หิริโอตตัปปะ ข. ความเมตตากรุณา ค. สติปญญา ง. ความสํานกึตัว 15. ขอใดที่พระเจาพาราณสมีิไดทรงปฏิบัติตอมหากบลิวานร ก. ทาน้ํามัน ข. หมผา ค. ดื่มน้ําหวาน ง. เขาเฝอก 16. พระเจาพาราณสีรับส่ังใหใครพยาบาลมหากบิลวานร ก. แพทยหลวง ข. พรานปา ค. หัวหนาขาราชการที่ตามเสด็จ ง. ขาราชการที่ตามเสด็จ 17. พระเจาพาราณสไีมไดทรงยกยองมหากบิลวานรในดานใด ก. ความฉลาด ข. ความบากบั่น ค. ความเสียสละ ง. ความตั้งใจจริง

Page 67: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

18. คําวาราชบุรุษไดแกบุคคลประเภทใด ก. พระเจาแผนดิน ข. ขุนนาง ค. ทหารรักษาพระองค ง. คนรับใชของพระเจาแผนดิน 19. คําวาชุมพา ในที่นีห้มายถึงอะไร ก. แกะ ข. แพะ ค. สัตวส่ีเทาคลายแกะ ง. เครื่องปูลาดทําดวยหนังสัตวส่ีเทาคลายแกะ 20. คําวาราชธรรม หมายถงึอะไร ก. ธรรมเทศนาที่แสดงถวายพระเจาแผนดิน ข. พระเจาแผนดินผูทรงคุณธรรม ค. คุณธรรมที่ทําใหบุคคลเปนพระเจาแผนดิน ง. กิจวัตรที่พระเจาแผนดินควรปฏิบัติ

Page 68: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

แผนการจัดการเรียนรู เรื่อง การอานโดยใชเทคนิค พาโนรามา

แผนการสอนที่ 4

วิชา ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 เร่ือง ขอคิดเรื่องการบวช เวลา 2 คาบ

สาระสําคัญ การเตรียมตัวเตรียมใจตลอดจนการทําขวัญนาค อันถูกทํานองคลองธรรม เปนสิ่งที่มีความสําคัญอยางยิ่งสําหรับผูที่จะบวชเปนพระภิกษุ ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง เมื่อกําหนดเรื่องใหอาน นักเรียนสามารถแปลความ ตีความ ขยายความ จับใจความสาํคญั สรุปเรื่องราวได จุดประสงค 1. นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของคําหรือขอความในเรื่องได 2. นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อานได 3. นักเรียนสามารถจับประเด็นสําคัญของเรื่องได 4. นักเรียนสามารถระบุแงคิดของเรื่องที่อานได เนื้อหา ท่ีมาของเรื่อง บทความนี้ นางสาวกิ่งแกว อัตถากร เรียบเรียงบรรยายออกอากาศทางวิทยุศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ความมุงหมาย เพื่อช้ีใหเห็นความสาํคัญของการเตรียมตัวเตรียมใจตลอดจนการทําขวัญนาคที่ถูกตอง ลักษณะคําประพันธ แตงเปนความเรียงรอยแกว เปนบทความทางวิทยุและใชภาษาพูด

Page 69: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

เร่ืองยอ พอใกลเขาพรรษาจะมีการทํา พิธีบวชนาคตามวัดทั่วไป เพื่อนบานจะมารวมอนุโมทนา เนื่องจากความคุนเคยตอกันและศรัทธาในพุทธศาสนา ผูเขาไปอนุโมทนาดวยความสงบเสงี่ยม ในโบสถมักเปนญาติสนิทผูสูงอายุ สวนเด็กและหนุมสาวผูมีวัยและประสบการณนอยขาดความยั้งคิดมักเลนสนุกสนานอื้ออึงอยูภายนอก วัยหนุมสาวเปนวัยที่มีความรุนแรงทั้งรางกายและจิตใจ จึงพลาดพลั้งไดงาย คนโบราณมีวิธีควบคุมวิถีชีวิตแหงวัยหนุมสาว โดยใหอยูในกรอบของระเบียบแบบแผนการบวชเปนวิธีการที่นิยมที่สุด เพราะวินัยและธรรมะจะชวยกลอมเกลาจิตใจไดมาก ความพรอมของผูบวชมีความสําคัญ ผูบวชที่สมบูรณจะตองเขาใจหนาที่และบทบาทของการเปนนักบวชอยางลึกซ้ึง การเตรียมบวชโดยการทําขวัญและเลี้ยงฉลองอยางเอิกเกริกเปนการไรสาระ การดื่มสุรากอนบวชทําใหเกิดความประมาทขาดความสํารวม การไมสามารถกลาวคําขออุปสมบทไดถูกตอง แสดงถึงความไมใสใจและขาดความเคารพ การทําขวัญนาคสมัยโบราณมุงเตือนสติใหรูจักหนาที่และบทบาทใหมที่พึงจะมี แตตอมากลายเปนเรื่องที่เห็นแกสนุกสนานและเห็นแกตัวไป ผูบวชเปนพระโดยขาดสติทําใหเกิดนักบวชจอมปลอม แกปญหาชีวิตตามแบบฆราวาส ไมไดใชความสงบเปนวิธีทางแกปญหา ผูบวชควรจะกลอมเกลาและเตรียมใจใหดีที่สุด ศึกษาหนังสือนวโกวาท ซ่ึงเปนคูมือสําหรับพระบวชใหมไวลวงหนา ผูจะบวชหรือผูเกี่ยวของกับผูบวชควรทําความเขาใจเรื่องการบวชใหถูกตอง ระเบียบวินัยและธรรมปฏิบัติ ชวยใหเกิดความมั่นคงและสงบสุขแกชีวิต กิจกรรมการเรียนการสอน

1. กําหนดมุงหมาย (P) - ครูแจงจุดมุงหมายในการอานเรื่องขอคิดเรื่องการบวช วาเปนการอานเพื่อจับ

ใจความสําคัญ และความเขาใจในเนื้อเร่ือง รวมทั้งฝกฝนความสามารถในการอานเร็ว - ครูและนักเรียนสนทนารวมกันถึงประเพณีการบวชและตัวอยางการบวชที่นักเรียน

เคยพบ 2. การปรับความเร็ว (A) - ใหนักเรียนอานเรื่องอยางคราว ๆ เพื่อตั้งคําถาม โดยครูกําหนดเวลาในการอาน

5 นาที

Page 70: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

3. การตั้งคําถาม (N) - ใหนักเรียนนําใจความสําคัญของแตละยอหนามาตั้งเปนคําถาม ตัวอยางคําถาม

1) ผูที่จะอุปสมบทเปนพระภิกษุในพุทธศาสนาไดตองมีอายุเทาไร 2) เหตุใดเด็กหนุมเด็กสาวจึงไมคอยรูวาเมื่อไรควรสํารวมและเมื่อไรปลอยตาม

สบายได 3) คนโบราณหาวิธีชะลอจังหวะชีวิตในวัยหนุมสาวดวยวิธีใด 4) ประเพณีทําขวัญมีไวเพื่ออะไร

4. การสํารวจ (O) - ครูใหนักเรียนอานนําเรื่องเพื่อตั้งคําถามที่จําเปนสําหรับเรื่องกนการอาน ตัวอยางคําถาม

1) ผูเขียนเรื่องขอคิดเรื่องการบวชคือใคร 2) เร่ืองขอคิดเรื่องการบวช เปนงานเขียนประเภทใด

5. การติดตาม (R) - ครูเร่ิมจับเวลาในการอานของนักเรียน แลวบันทึกไวโดยดูเวลาเฉลี่ยของนักเรียนทั้ง

หอง - ใหนักเรียนอานเรื่องทั้งหมดอยางละเอียด ดวยการพยายามตอบคําถามที่ตั้งไว - ใหนักเรียนตั้งขอสังเกตเกี่ยวกับพื้นฐานความรูเดิมที่จําเปนเกี่ยวกับเรื่องที่อาน เชน

ความรูเกี่ยวกับพิธีบวช 6. การจดบันทึก (A) - ใหนักเรียนขีดเสนใตใจความสําคัญของเรื่องในหนังสือท่ีอาน เพื่อจับใจความสําคัญ

หรือความคิดหลักของเรื่อง - ใหนักเรียนทําบันทึกยอใจความสําคัญของเรื่องลงในสมุด

7. การใชความจํา (M) - ใหนกัเรียนบงกลุมอภิปรายแสดงความคิดเห็นในหวัขอตอไปนี้ แลวตวัแทนกลุมนํา

เสนอผลงานหนาชั้นเรียน ก. การประพฤตปิฏิบัติตนของคนวัยหนุมสาว ข. ความมุงหมายที่แทจริงของการบวช ค. การเตรียมตวับวชที่เหมาะสม

Page 71: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ง. ความมุงหมายที่แทจริง จ. ฆราวาสในคราบของการแตงเหลือง ฉ. ขอคิดที่ไดจากเรื่อง

8. ประเมินผล (A) - ครูใหนักเรียนสงสมุดเพื่อดบูันทึกยอใจความสําคัญ - ใหนกัเรียนทําแบบฝกหัดเพือ่ทบทวนเนื้อเร่ือง

สื่อการเรียนการสอน

แบบฝกหัดเรื่องขอคิดเรื่องการบวช

การวัดผลประเมินผล

1. สังเกตความสนใจ ความตั้งใจในการปฏิบัติกิจกรรม 2. ตรวจผลงานจากการทําแบบฝกหัด

Page 72: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

แบบฝกหัด เรื่อง ขอคิดจากการบวช

ใหตอบคําถามในขอตอไปนี้

1. ผูเขียนเรื่องขอคิดจากการบวชคือใคร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2. ใหอธิบายความหมายของขอความตอไปนี ้ 2.1เด็กหนุมสาวนั้นมกัจะเถดิเทิงเอ็ดตะโรกันอยูนอกพิธี……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.2 มีแตครึกครื้นตื่นเตน หยดุยั้งไมสูเปน ฉะนั้นการหกลมเจ็บตัวเจ็บใจจึงเกดิขึ้นไดงาย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2.3 การบวชมิใชการเปนหุนยนตใหใครนําผาเหลืองมาหอหุม หากแตตองเขาใจถึงความ หมายอันลํ้าลึกของหนาทีแ่ละบทบาทที่ใหมและแตกตางจากการเปนฆราวาส…………………….. ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 2.4 แมเรายงัไมบวชกายกอ็าจบวชใจ เพื่อใหกาลเวลาปจจุบันและอนาคตมีคุณคานาภูมิใจไมเสื่อมคลาย…………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 73: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

แผนการจัดการเรียนรู

เรื่อง การอานโดยใชเทคนิค พาโนรามา

แผนการสอนที่ 5

วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2

เร่ือง บทรอยกรองเรื่องพระสุริโยทัยขาดคอชาง เวลา 1 คาบ

สาระสําคัญ

บทรอยกรองเรื่องพระสุริโยทัยขาดคอชาง เปนเรื่องที่สดุดีวีรกรรมของสมเด็จพระสุริโยทัยที่ทรงมี ความกตญัูและมีความเสียสละแมพระชนมชีพ ชวยปกปองสมเด็จพระมหาจักรพรรดิใหรอดพนจากอาวธุของขาศึก

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

เมื่อกําหนดเรือ่งใหอาน นักเรียนสามารถแปลความ ตีความ ขยายความ และสรุปใจความสําคัญได จุดประสงค

1. บอกที่มาของเรื่องและประวตัิผูแตงได 2. บอกลักษณะคาํประพันธของเรื่องได 3. จับใจความสําคัญของเรื่องได 4. อธิบายความหมายของคําที่กาํหนดใหได 5. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรือ่งที่อานได

เนื้อหา ท่ีมาของเรื่อง คําประพันธตอนนี้คัดมาจากหนังสือโคลงภาพพระราชพงศาวดาร เปนโคลงบรรยายภาพที่ 10 แผนดินสมเด็จพระมหาจักรพรรด ิ โคลงพระราชพงศาวดารชุดนี้ พระบาทสมเด็จพระ

Page 74: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

จุลจอมเกลาเจาอยูหวัทรงพระราชนิพนธขึน้เองบาง โปรดเกลาฯ ใหกวอ่ืีนๆ นิพนธขึน้บาง สําหรับคําประพันธตอนนี้ เปนพระราชนิพนธในพระบาทสมเดจ็พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว

ความมุงหมาย

เพื่อสดุดีวีรกรรมของสมเด็จพระสุริโยทัยที่ทรงมีความกตัญูและความเสียสละแมพระชนมชีพชวยปกปองสมเด็จพระมหาจกัรพรรดิใหรอดพนจากอาวุธของขาศึก ลักษณะคําประพันธ แตงดวยโลงสี่สุภาพ

เรื่องยอ

เมื่อสมเด็จพระชัยราชาธิราชเสด็จสวรรคต มีการแยงชิงราชสมบัติกันจนบานเมืองระส่ําระสาย ตอเมือ่สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ์ไดครองราชย บานเมืองจึงเปนปกติสุข ฝายพระเจาตะเบงชะเวตี ้ กษัตริยพมา ผูกพยาบาทไทยมาแตคร้ังศึกเมืองเชียงกราน ซ่ึงพมาแพไทยในรัชกาลสมเดจ็พระชัยราชาธริาช คร้ันปรากฏขาวออกไปวาทางกรุงศรอียุธยาเกดิแยงชิงราชสมบัติกันเหน็โอกาสที่จะแกแคนไทย จึงใหเกณฑกองทัพพมา มอญ และไทยใหญ ยกกองทพัทั้งปวงเขามาตีกรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ.ศ. 2091 นับเปนศกึใหญครั้งแรกระหวางไทยกับพมา คร้ังนั้นพระเจาหงสาวดีตะเบงชะเวตี้ไดบุเรงนองเปนแมทัพสําคัญผูหนึ่ง คร้ันศกึยกเขามาใกลพระนครสมเดจ็พระมหาจักรพรรดิจะใครทราบกําลังขาศึกจึงเสด็จยกกองทัพหลวงไปพังกําลังขาศึก และครั้งนัน้สมเด็จพระสุริโยทัยพระอคัรมเหสีขอตามเสด็จออกไปชวยรบพุงดวย โดยแตงพระองคอยางพระมหาอุปราชตางก็ทรงชางไปดวยกันกับพระราเมศวรและพระมหินทร ราชโอรส กองทัพสมเด็จพระมหาจกัรพรรดิไปปะทะทัพพระเจาแปร ซ่ึงชางพระที่นัง่เสียทีขาศึก พระเจาแปรไสชางไลตามมาสมเด็จพระสริุโยทัยเกรงวาสมเด็จพระมหาจักรพรรดิจะเปนอันตราย ก็ขับชางทรงถลันเขากันพระสวามใีหพนอันตรายดวยความกลาหาญ ถูกขาศึกฟนทิวงคตซบอยูกับคอชาง แตขณะนั้นพระราเมศวรกับพระมหินทรขบัชางทรงเขาชวยชนจนขาศึกถอยไป จึงกันพระศพสมเด็จพระราชชนนีไวได สมเด็จพระมหาจักรพรรดิก็ถอยกองทัพกลับคืนสูพระนคร เมื่อกองทัพพมาเลิกกลับไปแลว สมเด็จพระมหาจกัรพรรดิไดสรางพระเมรุมาศพระราชทานเพลิงศพสมเด็จพระสุริโยทัยที่บริเวณสวนหลวงใกลพระราชวังหลวง แลวสรางพระสถูปบรรจุพระอัฐิธาตุไวเปนที่ระลึก พระสถูปนั้นยังปรากฏอยูและไดรับการบูรณะครั้งใหญ และสรางพระราชานุสาวรียของสมเด็จพระสุริโยทัยเพิ่มขึน้ มีการเฉลิมฉลองเมื่อ พ.ศ. 2535 ในมงคลวาระที่สมเดจ็พระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถมีพระชนมายุครบ 5 รอบ

Page 75: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

กิจกรรมการเรียนการสอน

1. กําหนดจุดมุงหมาย (P) - ครูแจงใหนักเรียนทราบจุดมุงหมายในการอานเรื่องพระสุริโยทัยขาดคอชาง วาเปน

เร่ืองที่อานเพื่อความเขาใจในเนื้อเร่ือง รวมทั้งฝกฝนความสามารถในการอานเร็ว - ครูใหนักเรียนดูภาพอนุสาวรียพระสุริโยทัย และรวมกันอภิปรายซักถามถึงประวัต ิ

ความเปนมาของอนุสาวรียดงักลาว 2. การปรับความเร็ว (A) - ใหนกัเรียนอานเรื่องคราวๆ เพื่อตั้งคําถาม โดยครูกําหนดเวลาในการอานประมาณ 3

นาที ตัวอยางการตั้งคําถาม เชน 1) เร่ืองที่อานเปนเรื่องเกี่ยวกับใคร 2) มีเหตุการณอะไรเกิดขึ้นในเรือ่งบาง 3) ตัวละครสําคัญในเรื่องมีใครบางและมีพฤติกรรมสําคัญอยางไร

3. การตั้งคาํถาม (N) - ใหนกัเรียนนําใจความสําคัญของโคลงแตละบทมาตั้งเปนคําถาม ตัวอยางคําถาม เชน

1) จอมทัพฝายพมาที่ยกมาตไีทยครั้งนั้นคอืใคร ในรัชสมัยของพระเจาแผนดิน ไทยพระองคใด

2) พระเจาแผนดนิไทยเตรยีมรับศึกครั้งนี้อยางไร 3) สมเด็จพระสุริโยทัยคือใคร มีสวนรวมในการรับศึกอยางไร

4. การสํารวจ (O) - ใหนกัเรียนอานบทนําเรื่อง เพื่อตั้งคําถามที่จําเปนกอนการอาน ตัวอยางคําถาม เชน

1) ผูแตงเรื่องพระสุริโยทัยขาดคอชางคือใคร 2) เร่ืองพระสุริโยทัยขาดคอชางแตงดวยคําประพันธชนิดใด

5. การติดตาม (R) - ครูเร่ิมจับเวลาในการอานของนักเรียนแลวจดบันทึกไวโดยดูเวลาเฉลี่ยของนักเรียน

ทั้งหอง - ใหนกัเรียนอานเรื่องทั้งหมดอยางละเอียด ดวยการพยายามตอบคําถามที่ตั้งไว - ใหนกัเรียนตั้งขอสังเกตถึงพื้นความรูเดิมเกีย่วกับเรื่องที่อาน เชน สภาพบานเมือง

และชีวิตความเปนอยูของคนในสมัยกอน

Page 76: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

6. การจดบันทึก (A) - ใหนกัเรียนทําบันทึกยอเกี่ยวกับความหมายของศัพทและใจความสําคัญของเรื่องลง

ในสมุดแบบฝกหัด

7. การใชความจํา (M) - ใหนกัเรียนแบงกลุมแสดงบทบาทสมมติในหัวขอตอไปนี้

1) พระเจาบุเรงนองยกทัพมากรุงศรีอยุธยา 2) การเตรียมรับศึกของพระมหาจักรพรรด ิ3) การรบระหวางไทยกับพมา

8. ประเมินผล (A) - ใหนกัเรียนทําแบบทดสอบวดัความเขาใจในการอานเรื่อง พระสุริโยทัยขาดคอชาง - ครูและนักเรยีนรวมกนัเฉลยแบบทดสอบ

สื่อการเรียนการสอน

1. รูปภาพอนุสาวรียพระสุริโยทัย 2. แบบทดสอบวดัความเขาใจในการอานเรื่อง พระสุริโยทัยขาดคอชาง

การวัดผลประเมินผล

1. สังเกตการทํากิจกรรม 2. วัดจากคะแนนการทําแบบทดสอบ

Page 77: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

แบบทดสอบเรื่อง พระสุริโยทัยขาดคอชาง

คําชี้แจง ใหนักเรียนกากบาทขอที่ถกูที่สุดเพยีงขอเดียวลงในกระดาษคําตอบ

1. บทรอยกรองเรื่อง พระสุริโยทัยขาดคอชางคัดมาจากหนงัสืออะไร ? ก. หนังสือโคลงภาพพระราชพงศาวดาร ข. หนังสือพงศาวดารโบราณ ค. หนังสือเกร็ดพงศาวดาร ง. หนังสือพงศาวดารเกา

2. ผูแตเรื่อง พระสุริโยทัยขาดคอชางคือใคร ?

ก. พระยาอุปกิตศลิปสาร ข. พระบาทสมเดจ็พระมงกุฎเกลาเจาอยูหวั ค. พระบาทสมเดจ็พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ง. พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระนราธิปประพันธพงศ

3. เร่ือง พระสุริโยทัยขาดคอชาง แตงดวยคําประพันธชนิดใด ?

ก. กาพยยาน ีข. กลอนเสภา ค. กลอนสุภาพ ง. โคลงสี่สุภาพ

4. เร่ืองพระสุริโยทัยขาดคอชางใชโวหารใดเดนชัดที่สุด ?

ก. อุปมาโวหาร ข. เทศนาโวหาร ค. บรรยายโวหาร ง. พรรณนาโวหาร

Page 78: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

5. เหตุการณในเรื่อง พระสุริโยทัยขาดคอชาง ตรงกับกษัตริยไทยในรชักาลใด ?

ก. สมเด็จพระชยัราชาธิราช ข. สมเด็จพระมหาจักรพรรด ิค. สมเด็จพระมหาธรรมราชา ง. สมเด็จพระมหนิทราธิเบศ

6. ใครเปนจอมทัพขาศึกตามบทรอยกรองนี้ ?

ก. พระเจาตะเบงชะเวตี ้ข. พระเจานันทบเุรง ค. พระเจาบุเรงนอง ง. พระเจาแปร

7. จากเรื่องพระสุริโยทยัขาดคอชาง กองทัพที่ยกมาตกีรุงศรีอยุธยา เปนกองทัพชาติใด ?

ก. มอญ ข. พมา ค. พมาและมอญ ง. พมา มอญ และ ไทยใหญ

8. กองทัพขาศึกยกมาถึงทีใ่ด ?

ก. กาญจนบุรี ข. สุพรรณบุรี ค. อางทอง ง. ชานกรุงศรีอยธุยา

9. กษัตริยกรุงศรีอยุธยายกทพัออกไปนอกเมือง เพื่อความประสงคอะไร ?

ก. กันขาศึกมใิหเขาตีกรุงศรีอยธุยา ข. สังเกตการเคลื่อนไหวของขาศึก ค. ดูกําลังขาศึก ง. ขับไลกองทัพขาศึก

10. ในเนื้อเร่ือง สมเด็จพระสุริโยทัยทรงดาํรงตําแหนงอะไร ?

Page 79: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ก. พระขนิษฐา ข. พระอัครมเหส ีค. พระเชษฐภคิน ีง. พระมหาอุปราช

11. สมเด็จพระสุริโยทัยทรงแตงพระองคอยางไร ในการออกรบ ?

ก. อยางนางกษัตริย ข. อยางหญิงสามญัออกศึก ค. อยางชายสามญัออกศึก ง. อยางพระมหาอุปราชออกศึก

12. กษัตริยกรุงศรีอยุธยาทรงชนชางกับใคร ? ก. พระเจาตะเบงชะเวตี ้ข. พระเจาบุเรงนอง ค. พระเจาแปร ง. พระเจานันทบเุรง

13. เกิดเหตุการณอะไรกับกษัตริยกรุงศรีอยุธยา ?

ก. ชางทรงถูกอาวุธขาศึกบาดเจ็บ ข. ชางทรงถูกชางขาศึกทํารายบาดเจ็บ ค. ชางทรงเสียทีขาศึกแตตอสูตอไป ง. ชางทรงเสียทีขาศึกและวิ่งหนีไป

14. สมเด็จพระสุริโยทัยทรงแสดงวีรกรรมอยางไร ?

ก. ทรงชนชางกับขาศึก ข. ทรงไลชางไลตามขาศึก ค. ทรงไลชางเขาชนชางขาศึกรวมกับกษัตริย ง. ทรงไสชางเขากันกษัตริยมิใหเปนอันตราย

15. เกิดเหตุการณอะไรกับสมเดจ็พระสุริโยทัย ?

ก. ถูกอาวุธขาศึกบาดเจ็บสิ้นพระชนมในตอมา

Page 80: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ข. ถูกอาวุธขาศึกสิ้นพระชนมทนัที และกนัพระศพไวได ค. ถูกอาวุธขาศึกสิ้นพระชนมทนัที และชิงพระศพมาไดภายหลัง ง. ถูกอาวุธขาศึกบาดเจ็บขาศึกคุมพระองคไปเปนประกนัและสิ้นพระชนมในตอมา

16. ขอแสดงการเคลื่อนไหวรวดเร็วมากที่สุด ?

ก. เถลิงคชาธารควาง ควบเขาขบวนไคล ข. สารทรงซวดเซผัน หลังแลน เตลิดแฮ ค. ตะเลงขับคชไลใกล หวดิทายคชาธาร ง. ขุนมอญรอนงาวฟาด ฉาดฉะ

17. สมเด็จพระสุริโยทัยทรงประกอบวีรกรรมอนัแสดงถึงคุณธรรมในขอใด ?

ก. ความกตัญู ความเสียสละ ข. ความอดทน ความกลาหาญ ค. ความกลาหาญ ความเสียสละ ง. ความอุตสาหะ ความกตัญ ู

18. ขอใดแสดงภาพพจนชัดเจนที่สุด ?

ก. ยกพยุหแสนยา ยิ่งแกลว มอญมานประมวลมา สามสิบ หมื่นแฮ

ข. พระมหาจกัรพรรดิเฝา ภูวดล สยามเฮย วางคายรายร้ีพล เพียบหลา

ค. สารทรงซวดเซผัน หลังแลน เตลิดแฮ ตะเลงขับคชไลใกล หวดิทายคชาธาร

ง. ขุนมอญรอนงาวฟาด ฉาดฉะ ขาดแลงตราบอุระ หรุบดิ้น

19. คําศัพทที่ขีดเสนใตในขอใดมีความหมายตางจากพวก ?

ก. ขับคเชนทรเขนค้ํา ข. สารทรงซวดเซผัน ค. สะอึกสูดัสกร

Page 81: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ง. เถลิงคชาธารควาง 20. คําศัพทในขอใดไมไดหมายถึงพมา ?

ก. เถลิง ข. เตลง ค. มอญ ง. มาน

ตอนที่ 2 ใหเติมขอความลงในชองวาง

1. ใหนกัเรียนเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคําประพนัธตอนที่ชอบที่สุด ในดานใจความและกล วิธีในการแตง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 82: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

แผนการจัดการเรียนรู เรื่อง การอานโดยใชเทคนิค พาโนรามา

แผนการสอนที่ 6

วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 เร่ือง บทรอยกรองพันทายนรสิงหถวายชวีิต เวลา 1 คาบ

สาระสําคัญ เร่ืองพันทายนรสิงหถวายชีวติเปนเรื่องที่แสดงตัวอยางของขาราชการที่มีความรับผิดชอบสูง และสละชีวิตเพื่อรักษาความศักดิ์สิทธิ์ของกฎหมาย

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

เพื่อใหนักเรยีนอานคําประพันธประเภทรอยกรอง แลวสามารถแปลความ ตีความ ขยายความ และสรปุใจความสําคญัได จุดประสงค

1. บอกที่มาของเรื่องและประวตัิผูแตงได 2. บอกลักษณะคาํประพันธของเรื่องได 3. จับใจความสําคัญของเรื่องได 4. ทองจําและอานทํานองเสนาะบทประพนัธที่กําหนดใหได 5. ถอดคําประพันธที่กําหนดใหได

เนื้อหา

Page 83: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ที่มาของเรื่อง

บทรอยกรองตอนนี้คัดมาจากหนังสือโคลงภาพพระราชพงศาวดาร เปนโคลงบรรยายภาพที่ 56 แผนดินสมเดจ็พระเจาเสือ โคลงพระราชพงศาวดารชุดนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหวัโปรดเกลาฯ ใหพระเจาบรมวงศเธอกรมพระนราธิปประพันธพงศนิพนธขึน้ขณะดํารงพระยศเปนพระเจานองยาเธอ พระองคเจาวรรณากร ตนสกุลวรวรรณ

ความมุงหมาย

เพื่อแสดงตวัอยางของขาราชการที่มีความรบัผิดชอบสูงและสละชีวิตเพือ่รักษาความศักดิ์สิทธิ์ของกฎหมาย

ลักษณะคําประพันธ

แตงดวยโคลงสี่สุภาพ

เรื่องยอ

สมเด็จพระเจาแผนดินแหงกรุงศรีอยุธยา เสด็จประพาสทรงเบ็ดที่ปากน้ําเมืองสาครบุรี โดยเรือพระทีน่ั่งเอกชัย เมือ่เรือพระที่นั่งไปถึงตําบลโคกขามซึ่งคดเคี้ยวมาก พนัทายนรสิงหซ่ึงถือทายเรือพระทีน่ั่งคิดแกไขไมทัน หวัเรือพระที่นั่งชนกบักิ่งไมทําใหหัวเรือหกั พนัทายนรสิงหตกใจมาก กระโดดขึ้นฝงแลวกราบทูลใหประหารชีวิตตนเอง แตขอจงทรงพระกรุณาโปรดเกลาใหทาํศาลเพียงตา แลวนําศีรษะของตนเองกับหัวโขนเรือเปนเครื่องเซน แตพระเจาแผนดินทรงอภัยโทษให ซ่ึงพันทายนรสิงหกราบทูลคัดคานวาจะเสียขนบธรรมเนียมในพระราชกําหนด และทูลวา “ขอพระองคทรงพระกรุณาโปรดเกลาตัดศีรษะขาพระพุทธเจาเถอะ” พระเจาแผนดินก็ดํารัสวิงวอนเปนหลายครั้ง แตพันทายนรสิงหไมยอม จนในที่สุดพระเจาแผนดนิจึงตรัสส่ังใหเพชฌฆาตประหารชีวิตพันทายนรสิงหเสีย

กิจกรรมการเรียนการสอน

1. การกําหนดจุดมุงหมาย (P) - ครูแจงใหนักเรียนทราบจุดมุงหมายในการอานพันทายนรสิงหถวายชวีิตวาเปนการ

อานเพื่อจับใจความสําคัญ - ครูและนักเรยีนสนทนาถึงเรื่องคุณธรรมที่จําเปนในการทํางาน โดยเฉพาะคุณธรรม

เกี่ยวกับความซื่อสัตยในหนาที่

Page 84: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

2. การปรับความเร็ว (A) - ใหนกัเรียนอานเรื่องคราวๆ เพื่อตั้งคําถาม โดยครูกําหนดเวลาในการอาน 3 นาท ี 3. การตั้งคาํถาม (N) - ใหนกัเรียนนําใจความสําคัญของเรื่องมาตั้งเปนคําถาม ตัวอยางคําถาม

1) คําประพันธในบทที่ 1 กลาวถึงเหตุการณอะไรบาง 2) คําประพันธในบทที่ 2 กลาวถึงพันทายนรสิงหวาอยางไร 3) คําประพันธในบทที่ 3 เปนการโตตอบระหวางใครกับใครโตตอบกันวาอยางไร

4. การสํารวจ (O) - ครูแจกใบความรูประกอบเรือ่ง พันทายนรสิงหถวายชวีิตใหนกัเรียนศึกษา - ใหนกัเรียนอานบทนําเรื่อง เพื่อนําความรูที่ไดมาตั้งเปนคําถามกอนการอาน ตัวอยางคําถาม

1) เร่ืองพันทายนรสิงหถวายชีวติแตงดวยคําประพันธประเภทใด 2) ผูแตงเรื่องพันทายนรสิงหถวายชวีิต คือใคร 3) เร่ืองพันทายนรสิงหถวายชีวติคัดมาจากหนังสืออะไร

5. การติดตาม (R) - ครูเร่ิมจับเวลาในการอานของนักเรียน แลวจดบันทึกไวโดยดูเวลาเฉลี่ยของนักเรียน

ทั้งหอง - ใหนกัเรียนอานเรื่องทั้งหมดอยางละเอียด ดวยการพยายามตอบคําถามที่ตั้งไว 6. การจดบันทึก (A) - ใหนกัเรียนทําบันทึกยอความหมายของศพัทยาก และใจความสําคัญของเรื่องลงใน

สมุด แลวสงครู 7. การใชความจํา (M) - ใหนกัเรียนทองจําบทประพนัธที่ชอบ โดยฝกอานเปนทํานองเสนาะ 8. ประเมินผล (A)

Page 85: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

- ใหนกัเรียนเขยีนเรียงความ เร่ืองสดุดีคุณธรรมความดีของพันทายนรสิงหสงครู ครูคัดเลือกผลงานที่ดีของนักเรียนติดปายนิเทศหนาหองเรยีน

สื่อการเรียนการสอน

1. ใบความรูประกอบเรื่องพันทายนรสิงหถวายชีวิต

การวัดผลประเมินผล

1. สังเกตการทํากิจกรรม 2. ตรวจผลงาน

ใบความรูประกอบเรื่อง พันทายนรสงิหถวายชีวิต

ผูแตง เจาบรมวงศเธอ กรมพระนราธิปประพันธพงศ ลักษณะคําประพันธ โคลงสี่สุภาพ

ความรูประกอบ

1. เร่ือง “พันทายนรสิงหถวายชวีิต” นี้มีการใชคําที่ส้ัน กระชบั และกินความหมายมาก เชน “พันทายนรสงิหผิด บทฆา เสียเทอญ” “บท” หมายถึง บทลงโทษตามกฎหมาย “ฆา เสียเทอญ” หมายความวา ใหประหารชีวิตเสียเถิด รวมทัง้วรรคหมายความวา ใหประหารชีวิตของตนตามบทลงโทษทางกฎหมายเสียเถิด “หัวกับโขนเรือตอง คูเสนทําศาล” “หัว” หมายถงึ ศรีษะของพนัทายนรสิงห “โขน” หมายถึง หัวเรือพระที่นั่ง “คู” หมายถึง ทั้งสอง “เสน” หรือ เชน หมายถึง เครื่องบวงสรวง รวมทั้งวรรคหมายความวาความเมื่อตั้งศาลเพียงตาก็จะใชศรีษะของพันทายนรสิงคกับหัวเรือพระที่นั่งเปนเครื่องเชนตั้งอยูคูกัน

2. “ปากน้ํา” ที่กลาวถึงในเรื่องนี้ อยูที่เมืองสาครบุรี ซ่ึงปจจุบันคือจังหวัดสมุทรสาคร “โคกขาม” เปนชื่อตําบลหนึ่ง ปจจุบนัอยูในอําเภอเมือง จังหวดัสมุทรสาคร

Page 86: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

แผนการจัดการเรียนรู เรื่อง การอานโดยใชเทคนิค พาโนรามา

แผนการสอนที่ 7

วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2

เร่ือง บทรอยกรอง บทเสภาสามัคคีเสวก เวลา 1 คาบ

สาระสําคัญ

บทเสภาสามัคคีเสวก พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกลาเจาอยูหวัทรงพระราชนิพนธ แตงดวยกลอนเสภา ซ่ึงมีลักษณะคลายกลอนสุภาพหรือกลอนแปด แตไมบังคับจํานวนและตําแหนงของสัมผัสเครงครัดอยางกลอนสุภาพ

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

เมื่อกําหนดบทรอยกรองใหอาน นักเรียนสามารถแปลความ ตีความ ขยายความ และ สรุปใจความสําคัญได จุดประสงค

1. บอกที่มาของเรื่องและประวตัิผูแตงได 2. บอกลักษณะคาํประพันธและความมุงหมายของเรื่องได 3. บอกลักษณะของขอความที่กาํหนดใหได 4. วิจารณการใชอุปมาในคําประพันธได 5. บอกความสําคัญของศิลปะได 6. ถอดคําประพันธที่กําหนดใหได 7. จบัใจความสําคัญของเรื่องได

Page 87: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

เนื้อเร่ือง

ท่ีมาของเรื่อง คําประพันธนี้เปนตอนหนึ่งในบทเสภาขับระหวางชุดระบําสามัคคีเสวก ซ่ึงพรตะบาทสมเด็จพระมงกุฏเกลาเจาอยูหัวทรงพระราชนิพนธ ขณะเสด็จประทับที่พระราชวังสนามจันทร จังหวัด นครปฐม เมื่อ พ.ศ. 2457

ความมุงหมาย

ใชสําหรับขับเสภา

ลักษณะคําประพันธ

แตงดวยกลอนเสภา ซ่ึงมีลักษณะคลายกลอนสุภาพหรือกลอนแปด แตไมบังคับจํานวนคําและตําแหนงของสัมผัสเครงครัดอยางกลอนสุภาพ

เรื่องยอ

ชาติใดปราศจากความสงบสุขมีแตศึกสงคราม คนในชาตินั้นยอมไมมีโอกาสใหความสนใจในศิลปะ ชนชาติใดมีความสงบสุขวางศึกสงครามชนชาตินั้นยอมฝกใฝในศิลปะอันงดงาม ชนชาติที่ขาดชางศิลปะ เมื่อถึงคราวทุกขยากจะเดือดรอนใจสาหัส เพราะขาดสิ่งชวยระงับดับทุกขนานาประเทศยกยองศิลปะวาเปนศรีสงาของบานเมือง ผูที่ดูถูกชางศิลปะเปรียบเหมือนคนปาลาหลัง เมืองไทยเจริญรุงเรืองทัดเทียมเพื่อนบานจึงอุดมดวยชางชํานาญศิลปะสาขาตาง ๆ คนไทยควรชวยกันบํารุงรักษาศิลปะไทยใหคงอยูสืบไป มิฉะนั้นจะเปนที่อับอาย

กิจกรรมการเรียนการสอน

1. กําหนดจุดหมาย (P) - ครูแจงใหนักเรียนทราบจุดมุงหมายของการอานเรื่องบทเสภาสามัคคีเสวก วา

เปนการอานเพื่อจับใจความสําคัญในการอาน และความเขาใจเนื่องเร่ือง และความเขาใจเนื้อเรื่อง รวมทั้งฝกความสามารถในการอานเร็ว

- ครูแจกใบความรูเร่ืองเกี่ยวกบัศิลปะใหนักเรียนศึกษา

2. การปรับความเร็ว (A)

Page 88: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

- ใหนกัเรียนอานอยางคราว ๆ เพื่อตั้งคําถาม และฝกการจบัเวลาในการอานดวย ตัวเอง

3. การตั้งคาํถาม (N) - ใหนกัเรียนนําใจความสําคัญมาตั้งเปนคําถาม

4. การสํารวจ (O)

- ใหนกัเรียนอานนําเรื่อง เพื่อตั้งคําถามที่จําเปนในการอานเนื้อเร่ือง 5. การคิดตาม (R)

- ครูเร่ิมจับเวลาในการอานของนักเรียน แลวบันทึกไว - ใหนกัเรียนอานเรื่องทั้งหมดอยางละเอียด ดวยการพยายามตอบคําถามที่ตั้งไว - ใหนกัเรียนนําความรูเดิมเกี่ยวกับเรื่องที่อานมาเชื่อมโยงกับความรูใหม

6. การจดบันทึก (A)

- ใหนกัเรียนทําบันทึกยอเกี่ยวกับความหมายของคําศัพท และใจความสําคัญของ เร่ือง

7. การใชความจํา (M)

- ใหนกัเรียนทองจําบทประพนัธที่ชอบ โดยฝกทองเปนทํานองเสนาะ

8. ประเมินผล (A) - ใหนกัเรียนทําแบบฝกหัดเรื่องบทเสภาสามัคคีเสวก

สื่อการเรียนการสอน

1. ใบความรูเกีย่วกับเรื่อง ศิลปะ 2. แบบฝกหัดเรื่องบทเสภาสามัคคีเสวก

Page 89: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

การวัดผลประเมินผล

1. ตรวจผลงาน 2. สังเกตการทํากิจกรรม

แบบฝกหดั เรือ่ง บท เสภาสามัคคีเสวก

1. ใหนกัเรียน เขยีนบรรยายความสําคัญของศิลปะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. 2. ใหนกัเรียนถอดคําประพันธตอไปนี ้ อันชาติใดไรชางชํานาญศิลป เหมือนนารินไรโฉมบรรโลมสงา ใคร ๆ เห็นไมเปนจําเริญตา เขาจะพากันเยยใหอับอาย ศิลปกรรมนําใจใหสรางโศก ชวยบรรเทาทกุขในโลกใหเหือดหาย จําเริญตาพาใจใหสบาย อีกรางกายก็พลอยสุขสราญ …………………………….. ……………………………….. ใครดูถูกผูชํานาญในการชาง ความคิดขวางเฉไฉไมเขาร่ือง เหมือนคนปาคนไพรไมรุงเรื่อง จะพดูนั้นก็เปลืองซึ่งวาจา แตกรุงไทยศรีวิไลทันเพื่อนบาน จึงมีชางชํานาญวิเลขา ทั้งชางปนชางเขียนเพยีรวิชา อีกชางสถาปนาถูกทํานอง …………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………….

Page 90: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

แผนการจัดการเรียนรู เรื่อง การอานโดยใชเทคนิค พาโนรามา

แผนการสอนที่ 8

วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศกึษาปท่ี 2 เร่ือง บทรอยกรองทะเลบา เวลา 1 คาบ

สาระสําคัญ

ความโกรธนั้นเหมือนทะเลบา บุคคลควรใชสติควบคุมจิตใจไวใหรูจกัระงับความโกรธจึงจะไดช่ือวาผูชนะ

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

เมื่อกําหนดเรือ่งใหอาน นักเรียนสามารถแปลความ ตีความ ขยายความ และสรุปใจความสําคัญได จุดประสงค

1. บอกชื่อและประวัติของผูแตงได 2. บอกที่มาและลักษณะคําประพันธของเรื่องได 3. บอกโวหารอปุมาได 4. หาคําอุปมาสําหรับขอความที่กําหนดใหได 5. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคาํประพันธเร่ืองนี้ได 6. จับใจความสําคัญของเรื่องได

เนื้อเร่ือง

Page 91: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ที่มาของเรื่อง

รอยกรองบทนี้ คัดมาจากหนังสือรอยรสพจมาน ซ่ึงมีบทรอยกรองสั้นๆ รวมอยูประมาณ 100 เร่ือง นายเจือ สตะเวทนิ แตงระหวาง พ.ศ. 2480 – 2505

ความมุงหมาย

เร่ืองทะเลบาชี้ใหเห็นความโกรธเหมือนทะเลบา บุคคลควรใชสติควบคุมจิตใจไวใหรูจักระงับความโกรธจึงจะเชื่อวาเปนผูชนะ

ลักษณะคําประพันธ

แตงดวยกลอนสุภาพ

เรื่องยอ

เร่ืองทะเลบา กลาวเปรียบเทยีบความโกรธเหมือนทะเลบา ยามทะเลบาเต็มไปดวยคล่ืนลมแรงกลา ยามโกรธแสดงกริิยาอาการนาเกลียด จิตใจปนปวน ผูมีปญญาควรรูจักระงับความโกรธไวมิฉะนั้นจะเกิดโทษราย ควรควบคุมใจไวใหปกติเหมือนทะเลสงบ จงึจะประสบผลดี การนิ่งทําใหชนะไดเหมอืนกัน

กิจกรรมการเรียนการสอน

1. กําหนดจุดมุงหมาย (P) - ครูแจงใหนักเรียนทราบจุดมุงหมายในการอานเรื่องทะเลบา วาเปนการอานเพื่อจับ

ใจความสําคัญ และความเขาใจในการอาน - ใหนกัเรียนดูรูปภาพคนขณะที่กําลังโกรธ พรอมทั้งใหนกัเรียนรวมกันอภิปรายแสดง

ความคิดเหน็

2. การปรับความเร็ว (A) - ใหนกัเรียนอานเรื่องอยางคราวๆ เพื่อตั้งคําถาม โดยครูกําหนดเวลาในการอาน 3

นาที 3. การตั้งคาํถาม (N) - ใหนกัเรียนนําใจความสําคัญมาตั้งเปนคําถาม

Page 92: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ตัวอยางคําถาม 1) ผูเขียนเปรียบเทียบความโกรธเหมือนอะไร 2) คนโกรธมีลักษณะทาทางอยางไร 3) วิธีการเอาชนะความโกรธทําไดอยางไร

4. การสํารวจ (O) - ใหนกัเรียนอานบทนําเรื่องและประวัติผูแตง เพื่อตั้งคําถามที่จําเปนสําหรับการอาน ตัวอยางคําถาม

1) ผูแตงเรื่องทะเลบาคือใคร 2) เร่ืองทะเลบาแตงดวยคําประพันธประเภทใด

5. การคิดตาม (R) - ครูเร่ิมจับเวลาในการอานของนักเรียนแลวบันทึกไวโดยดูเวลาเฉลี่ยของนักเรียนทั้ง

หอง - ใหนกัเรียนอานเรื่องทั้งหมดอยางละเอียดดวยการพยายามตอบคําถามที่ตั้งไว

6. การจดบันทึก (A) - ใหนกัเรียนยอความเรื่อง ทะเลบา ลงในสมุดแบบฝกหดัแลวสงครู

7. การใชความจํา (M) - แบงกลุมนักเรียนใหอภิปรายกลุมในหวัขอตอไปนี้ จากนัน้ใหตวัแทนกลุมนําเสนอ

ผลงานหนาชัน้เรียน ก. การใชคําอุปมาในเรื่องนี้เหมาะสมหรือไม เพราะเหตใุด ข. กลอนในเรื่องนี้ตอนใดใชถอยคําไพเราะและไดใจความดีเดน ตอนใดใชคําไม

เหมาะสม ค. ขอคิดสําคัญที่ไดจากเรื่องทะเลบา

8. ประเมินผล (A) - ใหนกัเรียนทําแบบฝกหัดเรื่องทะเลบา

สื่อการเรียนการสอน

1. แบบฝกหัดเรื่องทะเลบา 2. รูปภาพคนกําลังโกรธ

Page 93: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

การวัดผลประเมินผล

1. สังเกตการรวมกิจกรรม 2. ตรวจแบบฝกหัด

แบบฝกหดัเรือ่งทะเลบา

1. คนที่กําลังโกรธมีลักษณะอยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ทะเลบามีลักษณะอยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. เหตุใดคนจึงโกรธ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 4. ความโกรธใหโทษแกตนเองและผูอ่ืนอยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. ผูประพันธแนะนําวิธีระงับโกรธอยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

Page 94: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

6. จงเติมคําอุปมาลงในชองวางตอไปนี ้

6.1 โกรธเปน……………………………………………………………………………. 6.2 รอนใจเหมือน………………………………………………………………………. 6.3 ดีใจเหมือน………………………………………………………………………….. 6.4 หนาบานเปน………………………………………………………………………… 6.5 หนาซีดเหมือน……………………………………………………………………… 6.6 เสียงดังเหมือน………………………………………………………………………. 6.7 เสียงแหบเหมอืน……………………………………………………………………. 6.8 ตัวส่ันเปน…………………………………………………………………………… 6.9 ใจหนักแนนเหมือน………………………………………………………………… 6.10 ใจเตนเหมือน……………………………………………………………………… 6.11 หนางอเปน………………………………………………………………………... 6.12 เงียบเหมือน………………………………………………………………………..

Page 95: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

แผนการจัดการเรียนรู เรื่อง การอานโดยใชเทคนิค พาโนรามา

แผนการสอนที่ 9

วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศกึษาปท่ี 2

เร่ือง บทรอยกรอง วัฒนธรรม เวลา 1 คาบ

สาระสําคัญ

วัฒนธรรมเปนสิ่งที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเปนระเบยีบเรยีบรอย ความกลมเกลียวกาวหนาของชาติ และศีลธรรมอันดีงามของประชาชน

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

เมื่อกําหนดเรือ่งใหอาน นกัเรียนสามารถแปลความ ตีความ ขยายความ สรุปใจความสําคัญของเรื่องได รวมทั้งรูจกักลวิธีเพิ่มอัตราเร็วในการอาน จุดประสงค

1. บอกที่มาและลักษณะคําประพันธของเรื่องได 2. บอกความหมายของคําหรือขอความในเรือ่งได 3. ถอดคําประพันธที่กําหนดใหได 4. บอกความหมายและความสําคัญของวัฒนธรรมได 5. จับใจความสําคัญของเรื่องได 6. แตงกลอนสุภาพพรรณนาความดีเดนของวัฒนธรรมได

เนื้อเรื่อง

ท่ีมาของเรื่อง กลอนเรื่องนี้คดัมาจากหนังสือคําประพันธรอยเร่ือง ของหมอมหลวงปน มาลากุล พ.ศ. 2496

Page 96: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ความมุงหมาย

ช้ีใหเห็นถึงความสําคัญของวัฒนธรรมไทย

ลักษณะคําประพันธ

แตงดวยกลอนสุภาพ

เรื่องยอ

วัฒนธรรมไทย ไดแก ภาษา วรรณคดี ศิลปะอันงอกงามที่ปรากฏในงานสถาปตยกรรม ดนตรี นาฏศิลป ลายเขียน จริยธรรม ระเบียบประเพณี ส่ิงเหลานี้ลวนเปนลักษณะประจําชาติโดยเฉพาะ สามารถรวมน้ําใจคนไทยใหมั่นคงเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน

กิจกรรมการเรียนการสอน

1. กําหนดจุดมุงหมาย (P) - ครูแจงใหนักเรียนทราบจุดมุงหมายในการอานเรื่องวัฒนธรรม วาเปนการอานเพื่อ

จับใจความสําคัญ และความเขาใจในเนื้อเร่ือง รวมทั้งฝกฝนความสามารถในการอานเร็ว 2. การปรับความเร็ว (A) - ใหนกัเรียนอานคราวๆ เพื่อตั้งคําถาม โดยครูกําหนดเวลาให 3 นาที 3. การตั้งคาํถาม (N) - ใหนกัเรียนนําใจความสําคัญของเรื่อง มาตั้งเปนคําถาม ตัวอยางคําถาม

1) จิตใจแบบไทยแทไดแกอะไร 2) ประโยชนของวัฒนธรรมมีอะไรบาง

4. การสํารวจ (O) - ครูแจกใบความรูประกอบเรือ่ง วัฒนธรรม ใหนกัเรียนศกึษา - ใหนกัเรียนอานบทนําเรื่องประวัติผูแตง เพือ่ตั้งคําถามที่จําเปนในการอาน ตัวอยางคําถาม

1) ผูแตงเรื่องวัฒนธรรมคือใคร 2) เร่ืองวัฒนธรรมคัดมาจากหนังสืออะไร 3) เร่ืองวัฒนธรรมแตงดวยคําประพันธประเภทใด

Page 97: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

5. การคิดตาม (R) - ครูเร่ิมจับเวลาในการอานของนักเรียน โดยดูเวลาเฉลี่ยของนักเรียนทั้งหอง - ใหนกัเรียนอานเนื้อเร่ืองอยางละเอียด ดวยการพยายามตอบคําถามที่ตั้งไว 6. การจดบันทึก (A) - ใหนกัเรียนหาความหมายของศัพทยากและสรุปใจความสําคัญลงในสมุดแบบฝกหดั 7. การใชความจํา (M) - ใหนกัเรียนถอดคําประพันธจากเรื่องวัฒนธรรม

8. การประเมินผล (A) - ใหนกัเรียนทําแบบทดสอบเรื่องวัฒนธรรม - ใหนกัเรียนแตงกลอนสุภาพพรรณนาความดีเดนของวัฒนธรรม ความยาว 4 บท

สงครู

สื่อการเรียนการสอน

1. ใบความรูประกอบเรื่อง วัฒนธรรม 2. แบบทดสอบเรื่อง วัฒนธรรม

การวัดประเมินผล

1. สังเกตการทํากิจกรรม 2. ตรวจแบบทดสอบ 3. ตรวจผลงานการแตงกลอนสุภาพ

Page 98: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ใบความรูประกอบเรื่อง วัฒนธรรม

ผูแตง หมอมหลวงปน มาลากลุ

ท่ีมาของเรื่อง คัดจากหนังสือ คําประพันธรอยเร่ือง ลักษณะคําประพันธ กลอนสุภาพ

อธิบายเพิ่มเติม

1. วัฒนธรรม หมายถึง ส่ิงที่ทําใหเจริญงอกงามแกหมูคณะในพระราชบญัญัติวัฒน ธรรม พุทธศักราช 2485 ใหความหมายวา วัฒนธรรมหมายถึง ลักษณะที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเปนระเบียบเรียบรอย ความกลมเกลียวกาวหนาของชาติและศีลธรรมอันดีของประชาชน ทางวิทยาการ หมายถึง พฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมูผลิตหรือสรางขึ้น ดวยการเรียนรูจากกนัและกนัและรวมใชอยูในหมูพวกของตน

2. ประเพณี หมายถึง ส่ิงที่นิยมนับถือปฏิบัติสืบๆ กันมาจนเปนแบบแผนขนบธรรม เนียมหรือจารีตประเพณ ี

( ความหมายจากพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 )

Page 99: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

แบบทดสอบเรื่อง วัฒนธรรม

คําชี้แจง ตอนที่ 1 ใหนักเรียนกากบาทคําตอบที่ถูกท่ีสุดเพียงขอเดียวลงในกระดาษคาํตอบ 1. ใครแตงเรื่องวฒันธรรม

ก. หมอมหลวงปน มาลากุล ข. เจือ สตะเวทิน ค. พระยาอุปกิตศลิปสาร ง. เจาพระยาธรรมศักดิ์มนตร ี

2. ผูแตงเรื่องวัฒนธรรมมีผลงานการประพนัธดานใดเปนสวนใหญ

ก. นวนยิาย ข. เร่ืองสั้น ค. บทละคร ง. บทความวิชาการ

3. เร่ืองวัฒนธรรมคัดมาจากไหน

ก. คําประพันธบางเรื่อง ข. โคลงกลอนของครูเทพ ค. รอยรสพจมาน ง. คําประพันธรอยเร่ือง

4. เร่ืองวัฒนธรรมแตงดวยคําประพันธชนิดใด

ก. กาพยยาน ีข. กลอนเสภา ค. กลอนดอกสรอย ง. กลอนสุภาพ

5. ขอใดเปนลักษณะบังคับที่สําคัญที่สุดของกลอนสุภาพ

ก. จํานวนคํา ข. สัมผัสใน ค. คําเปนคําตาย

Page 100: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ง. สัมผัสนอก

6. ขอใดเปนลักษณะไพเราะที่สําคัญที่สุดของกลอนสุภาพ ก. สัมผัสใน ข. สัมผัสนอก ค. คําเปน คําตาย ง. เสียงสูง เสียงกลาง เสียงต่ํา

7. อะไรเปนสิ่งสําคัญที่สุดที่บอกความเปนชนชาติใดชาตหินึง่

ก. ภาษา ข. ขนบธรรมเนียมประเพณ ีค. วัฒนธรรม ง. ศาสนา

8. ขอใดเปนความหมายของวฒันธรรมที่เหมาะสมที่สุด

ก. ส่ิงตางๆ ที่เปนมรดกตกทอดมาแตบรรพบุรุษ ข. ส่ิงของและความประพฤติปฏิบัติที่ดีงาม ค. ความเจริญกาวหนาในทางวชิาความรู ง. ส่ิงอันเปนวิถีชีวิตของสังคมที่มนุษยสรางสรรคขึ้น ทั้งที่เปนวัตถุ ความประพฤติ

ปฏิบัติและความรูสึกนึกคิด 9. อะไรที่จัดเปนวัฒนธรรม

ก. ภาษาและวรรณคด ีข. ศิลปกรรม ค. ดนตร ีง. ถูกทุกขอ

10. อะไรเปนองคประกอบที่สําคัญที่สุดของวัฒนธรรม

ก. ภาษา ข. ขนบธรรมเนียมประเพณ ีค. ศาสนา ง. ศิลปกรรม

Page 101: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

11. อะไรเปนผลการพัฒนาขั้นสุดยอดของภาษา ก. ราชาศัพท ข. สุภาษิต ค. รอยกรอง ง. วรรณคด ี

12. อะไรเปนความสําคัญสูงสุดของวัฒนธรรม

ก. แสดงความเปนชาติ ข. คงความเปนชาติไวได ค. เปนศักดิ์ศรีของชาติ ง. ทําใหเกิดความสามัคคีภายในชาติ

อานขอตอไปนี้แลวตอบคําถามขอ 13 – 14 “ในโลกนี้มีอะไรเปนไทยแท ของไทยแนนัน้หรือคือภาษา ซ่ึงผลิดอกออกผลแตตนมา รวมเรียกวาวรรณคดีไทย” 13. องคประกอบที่สําคัญของวรรณคดีไดแกอะไร

ก. ดนตร ีข. ขนบธรรมเนียมประเพณ ีค. ธรรมจริยา ง. ภาษา

14. ขอใดเปนศิลปะการใชภาษาสูงสุด

ก. การขับรอง ข. การละคร ค. วรรณคด ีง. การโตวาท ี

Page 102: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

อานขอตอไปนี้แลวตอบคําถามขอ 15 – 17 “อนึ่งศิลปงามเดนเปนของชาต ิ เชนปราสาทปรางคทองอันผองใส อีกดนตรีรายราํลวดลายไทย อวดโลกไดไทยแทอยางแนนอน” 15. ปราสาทและปรางคจัดเปนศลิปกรรมดานใดเปนสวนใหญ

ก. สถาปตยกรรม ข. จิตรกรรม ค. ประติมากรรม ง. มัณฑนศิลป

16. การรายรําเปนศิลปกรรมดานใด

ก. สังคีตศิลป ข. นาฏศิลป ค. ศิลปการแสดง ง. ทัศนศิลป

17. ลวดลาย เปนศลิปกรรมดานใด

ก. สถาปตยกรรม ข. มัณฑนศิลป ค. จิตรกรรม ง. ประติมากรรม

ใหอานขอความตอไปนี้แลวตอบคําถามขอ 18 –20 “และอยาลืมจิตใจแบบไทยแท เชื่อพอแมฟงธรรมคําสั่งสอน กําเนิดธรรมจริยาเปนอาภรณ ประชากรโลกเห็นเราเปนไทย แลวยังมีประเพณีมีระเบียบ ซ่ึงไมมีท่ีเปรียบในชาติไหน เปนของรวมรวมไทยใหเปนไทย นี่แหละประโยชนในประเพณี”

Page 103: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

18. จิตใจแบบไทยแท ในทีน่ี้ไดแกอะไร

ก. การยิ้มแยมแจมใส ข. ความโอบออมอารี ค. การเคารพเชื่อฟงผูใหญ ง. ความสุภาพออนนอม

19. ขอความนี้เนนความเปนไทยในดานใด

ก. ระบบครอบครัว ข. ศาสนา ค. จริยธรรม ง. การแตงกาย

20. ขนบประเพณมีีความสําคัญอยางไร

ก. ทําใหเกิดความเปนระเบยีบ ข. ทําใหเกิดความสามัคคีกลมเกลียวกัน ค. ทําใหเปนที่รูจกัของชาติอ่ืน ง. ทําใหรักษาความเปนชาติไวได

ตอนที่ 2 จงถอดคําประพันธตอไปนี ้

1. ในโลกนี้มีอะไรเปนไทยแท ของไทยแนนัน้หรือคือภาษา ซ่ึงผลิดอกออกผลแตตนมา รวมเรียกวาวรรณคดีไทย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2 และอยาลืมจิตใจแบบไทยแท เชื่อพอแมฟงธรรมคําสั่งสอน กําเนิดธรรมจริยาเปนอาภรณ ประชากรโลกเห็นเราเปนไทย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 104: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

(ข) แบบทดสอบวดัความเขาใจในการอาน

**************************************************** คําสั่ง ใหนักเรียนกากบาทขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว 1. การจับใจความสําคัญจากเรื่องที่อานวามีความสําคัญอยางไร ก. ทําใหเขาใจจุดประสงคของผูแตง ข. ทําใหเขาใจตัวละครไดครบทุกตัว ค. ทําใหเขาใจเรื่องราวตาง ๆ

ง. ทําใหเขาใจสารที่อานไดถูกตองและครบถวนตามตามที่ผูแตงเสนอ 2. นกัเรียนมีวิธีการในการอานเพื่อจับใจความสําคัญอยางไร ก. พิจารณาวาผูเขียนมีจุดประสงคหรือเจตนาอะไรบาง ข. พิจารณาวาขอความนั้นเปนขอเท็จจริงหรือขอคิดเห็น ค. พิจารณาวาขอความนั้นใหขอคิดอะไรแกผูอานบาง ง. พิจารณาวาขอความนั้นวาเปนเรื่องเกี่ยวกับใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร อยางไร 3. ส่ิงที่ควรปฏิบัติมากที่สุดในขณะที่กําลังอานเพื่อจับใจความสําคัญคือขอใด ก. ศึกษาศัพทยากใหเขาใจ ข. คาดคะเนเหตุการณลวงหนา ค. พิจารณาหาใจความหลักและใจความขยาย ง. อานหลาย ๆ รอบเพื่อทําความเขาใจเหตุการณทั้งหมด 4. ขอใดกลาวถึงประโยชนของการรูความหมายของคํายากไดดีที่สุด ก. ทําใหเขาใจผูแตงไดดีขึ้น ข. ทําใหเขาใจคํายากไดลึกซึ้ง ค. ทําใหเขาใจเรื่องที่อานไดเร็วขึ้น ง. ทําใหเขาใจขอความที่มีคํายากไดดีขึ้น 5. การตีความจากเรื่องที่อานความสําคัญอยางไร ก. ชวยใหเขาใจในเรื่องอานไดลึกซึ้งขึ้น ข. ชวยใหเขาใจลักษณะนิสัยตัวละครไดชัดเจน

Page 105: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ค. ชวยใหเขาใจคํายากในเรื่องไดดียิ่งขึ้น ง. ชวยใหคาดคะเนหรือทํานายเหตุการณเพิ่มเติมจากเรื่องได 6. ขอใดกลาวถุงประโยชนของการรูจุดประสงค จุดมุงหมาย ความคิดเห็นหรือเจตนารมณของผู เขียนไดถูกตองที่สุด ก. ทําใหผูอานรูจักลักษณะนิสัยของผูเขียนไดละเอียดยิ่งขึ้น ข. ทําใหผูอานปฏิบัติตามความตองการของผูแตงงายขึ้น ค. ทําใหผูอานเขาใจประวัติความเปนมาของผูเขียนไดมากยิ่งขึ้น ง. ทําใหผูอานเกิดความเขาใจเรื่องที่อานไดตรงตามความตองการของผูเขียน 7. ขอใดไมใชประโยชนของการขยายความจากเรื่องที่อาน ก. เปนการเพิ่มพูนความรูจากเนื้อเร่ือง ข. เปนการชวยใหผูอานอานเรื่องไดรวดเร็วขึ้น ค. เปนการแสดงถึงความเขาใจในการอานอยางลึกซึ้ง ง. เปนการแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมจากเรื่องที่อานอยางมีเหตุผล ใหอานเรื่องตอไปนี้แลวตอบคําถามขอ 8 – 10

ประเพณีลอยกระทง ประเพณีลอยกระทง เปนที่รูจักกันอยางดีกระทําสืบตอกันมาตั้งแตครั้งกรุงสุโขทัยเปนราชธานีของไทยในวันนั้นจะมีการประดิษฐกระทงเปนรูปตาง ๆ มากมาย เชน ดอกบัวบาน จีบพลับพลึง เปนตน หรืออาจจะใชหยวกกลวย กระดาษสีมาทําเปนกระทง ในกระทงที่ประดิษฐเรียบรอยแลวจะเสียบดอกไมและธูปเทียนเพื่อนําไปขอขมาลาโทษพระแมคงคาที่นํามาบริโภคและอุปโภคในสิ่งตาง ๆ ที่สมควรและไมสมควร อันเปนที่เชื่อมาแตโบราณ ประเพณีลอยกระทงสมัยกอนนั้นมีการรองเพลงเรือเพื่อความสนุกสนานรื่นเริง โดยพอจเสร็จจากลอยกระทงแลวก็ลงเรือทั้งชายหญิงไปรองเพลงเรือโตกัน เปนบทสักวาหรือกลอนสด หากฝายไหนโตไมไดก็ถือวาแพ สวนใหญเรือแตละลําจะมีคนแตงกายสวยงามและเหมือนกันดวย เชนเรือลํานั้นมีผูหญิงแตงชุดสีแดงก็ตองแตงชุดสีแดงเหมือนกันในลํานั้น เปนตน ในปจจุบนันีแ้ทบจะไมเห็นการเลนเพลงเรือเพราะไมมผูีนิยมเลนกนั แตเมื่อ 20-30 ป กอนยังหาไดบางในชนบทบางแหง เชน ที่ตําบลสีกุก อําเภอบางประหัน จังหวดั

Page 106: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

พระนครศรีอยธุยา เปนตน ก็คงเหลือแตประเพณีลอยกระทงอยางเดยีวเทานั้น สวนการรองเพลงเรือไมมีแลว ( นิรนาม สงวนชื่อ สยามรัฐ 2528 ) 8. ประเพณีลอยกระทงกระทําสืบตอกันมาตั้งแตเมื่อใด

ก. กรุงเทพมหานคร ข. กรุงธนบุรี ค. กรุงศรีอยุธยา ง. กรุงสุโขทัย

9. คนลอยกระทงทําไม

ก. เพื่อความสนุกรื่นเริง ข. เพื่อขอขมาตอแมคงคา ค. เพื่อสืบทอดประเพณีดั้งเดิม ง. เพื่อประกวดความสวยงามของกระทง

10. เสร็จจากลอยกระทงแลวคนสมัยกอนมีการเลนอะไรบาง

ก. ลําตัด ข. รองเพลง ค. เพลงเรือ ง. ขอ ข และ ค

ใหอานเรื่องตอไปนี้แลวตอบคําถามขอ 11 – 14 อัครมหาเสนาบดีจางชอบเขียนหนังสือหวัด และหวัดผิดแบแผนของอักษรหวัดที่ถูกตองอยูเสมอ ผูคนพากันหัวเราะเยาะแตเขาไมแยแส

วันหนึ่งเขาแตงกวีนิพนธบทหนึ่ง พอตวัดพูกันเขียนเสร็จก็เรียกหลายชายใหเอาไปคัดเปนตัวบรรจง แมหลายชายจะคุนกับลายมือแตก็ยังอานอักษรบางตัวไมออก จึงตองไปถามอัครมหาเสนาบดี เพงพินิจอยูเปนนานก็ยังอานลายมือตัวเองไมออก จึงอารมณเสียตําหนิหลานชายวา “ทําไมไมมาถามเสียแตแรก”

(ยั่วยิ้ม ปญญาจีน ของ ถาวร วิกขโกศล)

Page 107: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

11. นักเรียนคิดวาผูเขียนเรื่องนี้มีเจตนาอยางไร ก. ตําหนิคนเขียนหนังสือหวัด ข. ลอเลียนขุนนางจีนสมัยกอน ค. ลอเลียนคนเขียนหนังสือหวัด ง. ลอเลียนการเขียนหนังสือแบบจีน

12. การที่เสนาบดีจางตําหนิหลานชายวามาถามชานั้น นักเรียนคิดวาเปนการกระทําเพื่ออะไร

ก. ระบายอารมณโกรธของตน ข. โยนความผิดใหหลานชาย ค. อบรมใหหลานทํางานเสร็จโดยเร็ว ง. กลบเกลื่อนความขายหนาของตน

13. นักเรียนคิดวาการเขียนหนังสือหวัดเปนเรื่องเสียหายหรือไม ก. เสียหาย เพราะเปนการดูถูกคนอาน ข. เสียหาย เพราะทําใหการสื่อสารเสียหาย ค. ไมเสียหาย เพราะปจจุบันมีเครื่องพิมพ ง. ไมเสียหาย เพราะคนใกลชิดจะชินลายมือ 14. การกระทําของอัครมหาเสนาบดีจาง ตรงกับสํานวนไทยในขอใด

ก. เสนผมบังภูเขา ข. วัวสันหลังหวะ ค. รําไมดีโทษปโทษกลอง ง. วาแตเขาอิเหนาเปนเอง

ใหอานเรื่องตอไปนี้แลวตอบคําถามขอ 15 – 19 ยังมีกวางตัวใหญอยูไพรเขียว มันทองเที่ยวไปถึงบึงน้ําใส นึกกระหายหมายจะดื่มใหปล้ืมใจ มองลงไปเห็นแตเงาเขาของตัว ก็ชอบจิตพิศดูเพิ่งรูจัก มันนารักทั้งคูอยูบนหัว เปนกิ่งกานงามผองไมหมองมัว เปรียบของวัวของควายแลวอายเรา ยิ่งมองตัวยิ่งเห็นเปนสงา คร้ันดูขาหมดดีไมมีเขา ไมมีกิ่งกานเหมือนกานเกลา ทั้งส่ีเทาทูทูอดสูทราม

Page 108: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

มันชอบเขาไมนิยมไมชมขา เห็นเสือมาแตไกลหัวใจหวาม ตองใชเขาวิ่งกระโจนเสียงโครมคราม เสือก็ตามอยูหางหนทางไกล แตเขางามไมพนเถาวัลยเกี่ยว ขาที่เรียวหยุดนิ่งวิ่งไมไหว ตกเปนเหยื่อเสือหิวจะฉิวใคร นี่แหละภัยอาภรณที่งอนงาม

(คนวัด) 15. “มันนารักทั้งคูอยูบนหัว” คําวา “มัน” ในที่นี้คืออะไร

ก. จมูก ข. ตา ค. ขา ง. เขา

16. “……ทูทูอดสูทราม” คําวา “ทูทู” เปนคําอธิบายลักษณะของอะไร

ก. ขาวัว ข. เขาวัว ค. ขากวาง ง. เขากวาง

17. “เปรียบของวัวของควายแลวอายเรา” ผูพูดตองการเปรียบอะไรกับอะไร

ก. เขาวัวกับเขาควาย ข. เขากวางกับเขาวัว ค. ขากวางกับขาวัว ง. ขากวางกับขาควาย

18. “นี่แหละภัยจากอาภรณ…” คําวา “อาภรณ” ในที่นี้มีความหมายแทนสิ่งใด

ก. เสื้อผา ข. เขากวาง ค. เขาวัวควาย ง. เครื่องประดับ

19. ควรตั้งชื่อคําประพันธขางตนวาอยางไร

ก. เขา

Page 109: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ข. ทะนง ค. อาภรณ ง. ความหลง

ใหอานเรื่องตอไปนี้แลวตอบคําถามขอ 20 – 28

ผูทดแทนคุณบุพการี เมื่อเดือนที่แลวขาพเจาเขาโรงพยาบาลเปนครั้งที่ 2 คราวนี้หองที่อยูเปนหองคู คนไขอยูคนละมุม ขาพเจาอยูดานในไกลหนาตาง อีกฝายหนึ่งจึงไดลมอากาศดีกวาขาพเจา คนไขนี้ปวยอยูนานแลว ปวยเนื่องดวยอุบัติเหตุหกลมแลวตูหลนทับมาอีกที เมื่อไปเอกซเรยดูพบกอนเลือดขนาดใหญที่ในสมองทําใหเกิดอาการเปนอัมพาตและจิตใจกลายเปนเด็กทารกไป คนไขนี้เปนคนจีนมีลูกมากถึง 10 คน มีผูหญิงเพียง 2 คน ลูกผูหญิงคนเล็กอยูเฝาแมตอนกลางคืนเพราะคนไขหญิงญาติผูชายจะอยูคางดวยไมได ทุก ๆ เชามืด ลูกชายคนหนึ่งนําอาหาร โจกบาง ขาวตมบาง มาใหแมแลวลงมือปอนใหโดยทําความสะอาดตัวแมเสียกอน เพราะแมถายอุจจาระปสสาวะไววันละประมาณ 10 ครั้ง ทุกวันลูกชายจะปฏิบัติแมลางเช็ดที่สกปรกทั่วตัว เปลี่ยนเสื้อผาใหแมทําอยางกระฉับกระเฉงราวกับพยาบาล แลวก็พยุงแมมานั่งที่เกาอี้ปอนขาว ออ… ตอนเชาทุกครั้งแลวลูกชายคนอื่น ๆ ก็ทยอยตามมาเอาผานุงที่เปอนอุจจาระ ปสสาวะของแมเต็มตะกราใบโตมาซักตากมากมายเพราะไดบอกแลววาแมถายอุจจาระปสสาวะวันละ 10 คร้ัง ผาจึงกองโตแบบนั้น ซักเสร็จไปกองหนึ่งแลว อีกคนมีซักอีกกอง เรียกวาซักกันทั้งวันเลย ทุกเย็นเขาจะพาแมนั่งรถเข็นออกไปขางลางเพื่อไดรับอากาศบริสุทธิ์ ระหวางนั้นลูกที่เหลือก็ทําความสะอาดหองและเตียงของแมไปดวย ขาพเจาเฝามองดูลูก ๆ ปฏิบัติแมอยางนาชื่นใจ ที่พวกเขามีความกตัญูไมมีความรังเกียจผาเปอนของแม ทั้ง ๆ ที่พวกเขาเปนหนุมแนนทุกคนซึ่ง พวกผูชายไทยเราไมคอยทํา รังเกียจผานุงผูหญิง รังเกียจอุจจาระตาง ๆ นานา ขาพเจาไดคุยกับพวกเขาบางจึงไดความวา พวกเขาหลายคนยังเปนนักเรียนนักศึกษาอยู ผูหญิงทํางานแลว ระหวางนี้มหาวิทยาลัยปดจึงมีเวลามาปฏิบัติแมไดเต็มที่ทุกคน ถามหาวิทยาลัยเปดบางคนจะไมมีเวลามาทําอยางนี้ ขาพเจาชมเขาวาทํางานไดคลองแคลวราวกับพยาบาล เขาก็ตอบวาพวกผมไมใชคนร่ํารวย ใหม ๆ ก็จางพยาบาลแลวผมสังเกตดูพยาบาลพอพยาบาลทําจึงจดจําไว ทําไดแลวก็เลิกจางพยาบาลโดยชวยกันทําเองจะไดทุนเงิน แลวขาพเจาก็ยังชมเขาวาชางไมรังเกียจผาเปอนของแมอยางผูชายอ่ืน ๆ ที่เห็นเลย เขาตอบวาพอของผมเสียไปนานแลว พวกผมไดทําทุกอยางเพื่อแมเพราะคาใชจายในโรงพยาบาลนี้ก็แพงมาก ๆ เราตองทํางานเพิ่มขึ้นอีกเพื่อมาเปนคาใชจายเพื่อแมที่เคารพ พี่ชายคนหนึ่งของผมสอบเขามหาวิทยาลัยไดจะยอมสละสิทธิ์เพื่อมาทํางานหาเงินเสียคาใชจาย เลิกเรียนตอแลวเพราะเราไมมี

Page 110: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

เงินที่พี่ ๆ ที่ทํางานแลวชวยกันออกคาใชจายในการนี้ใหทั้งหญิงและชาย ขาพเจาบอกวาสอบเขากวาจะไดยากแทบเลือดตากระเด็น อยาสละสิทธิ์เลยเรียนตอเถอะ แลวปลีกเวลาไปหางานพิเศษทําจะไดรายไดเพิ่ม เพราะอยางไรอาการคุณแมคุณโอกาสหายไดยากทีเดียว สมองเสียเกือบหมดแลวจะตองเปนเด็กเล็ก ๆ ตอไป ขาพเจารูสึกวาเด็กพวกนี้มีความกตัญูจริง ๆ หายากมากในเด็กสมัยนี้ ซ่ึงมักจะคิดวาพอแมเล้ียงดูเรามาเพราะเปนหนาที่ที่ตองเลี้ยง โตขึ้นมาทํางานที่มีหลักฐาน ไมเลียวแลพอแมที่ทํางานดวยความเหนื่อยยาก บางคนอายที่พอแมยากจนดวยซํ้าไป คนอยางนี้โบราณทานวาไมมีความเจริญ คนที่มีความกตัญูพอแมมีแตคนอวยพรใหมีความสุขความเจริญทั้งนั้น จึงขอใหพวกเราคิดถึงเรื่องนี้ใหมาก ๆ (ผูทดแทนคุณบุพการี ของทิพยวาณี สนิทวงศ) 20. ผูเขียนพบผูปวยชาวจีนไดอยางไร

ก. ผูเขียนไปเยี่ยมเพื่อนที่โรงพยาบาล ข. ไปพักรักษาตัวที่โรงพยาบาลแหงเดียวกัน ค. ผูปวยเปนเพื่อนของผูเขียนจึงไปเยี่ยมที่โรงพยาบาล ง. ผูปวยไปขอความชวยเหลือผูเขียนขณะอยูโรงพยาบาล

21. คนปวยชาวจีนนั้นปวยดวยโรคอะไร

ก. มะเร็ง ข. อัมพาต ค. เนื้องอกในสมอง ง. ไขสมองอักเสบ

22. ผูเขียนประทับใจอะไรมากที่สุด

ก. ความกตัญูของลูกผูปวย ข. ความขยันของลูกผูปวย ค. ความมีน้ําใจของลูกผูปวย ง. ความเอาใจใสของหมอและพยาบาล

23. ผูเขียนมีเจตนาอยางไรในการเลาเรื่องนี้

ก. ใหผูอานกตัญูตอพอแม ข. ใหผูที่อยูในวัยศึกษาขยันเลาเรียน

Page 111: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ค. เพื่อสรางความสงบสุขในครอบครัว ง. เพื่อใหผูอานตระหนักในหนาที่ของตน

24. ลูก ๆ ผูปวยปฏิบัติตอแมอยางไร

ก. ทุกคนไมดูแลแม ข. ดูแลเอาใจใสแมอยางดีทุกคน ค. ลูกผูหญิงดูแลแม ลูกผูชายไมเอาใจใส ง. ลูกผูชายดูแลแม ลูกผูหญิงไมเอาใจใส

25. ผูที่นาจะไดรับการยกยองสรรเสริญมากที่สุดคือใคร

ก. ผูปวย ข. ผูเขียน ค. หมด นางพยาบาล ง. ลูก ๆ ของผูปวย

26. “คนอยางนี้โบราณทานวาไมเจริญ” คนอยางนี้ คือคนประเภทไหน

ก. คนเห็นแกตัว ข. คนทรยศผูอ่ืน ค. คนที่ไมมีความกตัญู ง. คนที่ชอบเอารัดเอาเปรียบคนอื่น

27. สาระสําคัญของเรื่อง “ผูทดแทนบุพการี” กลาวถึงเรื่องใด

ก. ความกตัญูของลูกผูปวย ข. ความขยันหมั่นเพียรของลูกผูปวย ค. การดูแลเอาใจใสของหมอและพยาบาล ง. ความมีน้ําใจของลูกผูปวยที่มีตอแมและผูเขียน

28. ถานักเรียนปฏิบัติตนเหมือนลูก ๆ ผูปวย นักเรียนจะไดรับผลตามขอใด

ก. มีเกียรติและการศึกษาที่ดี ข. เปนที่เคารพของคนทั่วไป ค. มีความเจริญกาวหนาในชีวิต ง. ไดรับความไววางใจจากบุคคลอื่น

Page 112: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ใหอานเรื่องตอไปนี้แลวตอบคําถามขอ 29 – 34 แตกอนนานมาแลว ยังมีชายชราคนหนึ่ง แกมากจนตัวเองจําไมไดเชนกันวาตัวเองอายุเทาไรแลว ใบหนาของแกอ่ิมเอิบเปลงประกายเลือดฝาด เคราสีเงินยวงสะอาด เคราของแกยาวปกคลุมมาถึงหนาอก รางกายของแกแข็งแรงมาก ตายังไมฝาฟาง หูยังหนวก แกมีลูกเต็มบานหลานเต็มเมือง แตแกก็ยังเปนคนจัดการทุกสิ่งทุกอยางภายในครอบครัว ปนี้แกตัดสินใจวาจะเลือกใครคนหนึ่งจากลูกชาย 15 คนของแก มาสืบทอดภารกิจนี้เสียที แตวาจะเลือกใครดีละ วันนี้ แกคิดวิธีที่ดีที่สุดแลวจึงส่ังใหลูกชายทั้ง 15 คน มาพบแลวแจกเมล็ดดอกไมใหลูก ๆ คนละ 1 เมล็ด หากใครสามารถปลูกเมล็ดพืชเมล็ดนี้ใหงอกงามจนออกดอกบานสะพรั่ง คนนั้นก็จะไดเปนผูสืบทอดมรดกของแก ลูก ๆ ไดเมล็ดพันธมาแลวตางก็นําเอาไปปลูกและดูแลเอาใจใส ลูกชายคนเล็กของชายชราผูนี้ เมื่อไดเมล็ดดอกไมแลว ก็นําไปปลูกในกระถาง รดน้ําเอาใจใสอยางดีทุกวันทุกคืน แตเมล็ดพืชนั้นก็ยังไมแตกกลาเสียที เขารูสึกเศราโศกเสียใจมากเวลาผานพนไปอยางรวดเร็ว ฤดูรอนยางกรายมาถึง ชายชราผูเปนพอกําหนดวันนี้จะเปนวันคัดเลือกกระถางของลูก ๆ ลูกทุกคนตางอุมกระถางดอกไมที่ออกดอกบานสะพรั่งอยางสวยสดงดงามมาใหผูเปนพอชมเพื่อคัดเลือก ชายชราเดินตรวจดอกไมที่สวยงามในมือของลูก ๆ ดวยสีหนาที่ไมมีแววยินดีเลยแมแตนอยแกเดินตรวจจากบุตรชายคนโตจนถึงบุตรชายคนที่ 14 โดยมิไดหยุดเลย เมื่อเดินมาถึงบุตรชายคนสุดทอง ซ่ึงยืนถือกระถางเปลาที่ไมมีทั้งตนและดอกไม ชายชราจึงหยุดกึกอยูตรงนั้น บุตรชายคนเล็กน้ําตาไหลพราก กลาวกับบิดาอยางสํานึกผิดวา พอครับ ผมไมมีดอกไมสดที่จะมอบใหพอ…… ชายชรากลับพูดอยางยินดีปรีดาวา ลูกเอยส่ิงที่เจามอบใหพอนั้นมีคามากกวาดอกไมสดมากมายนัก อะไรครับ

ความซื่อสัตยไงละ….. เร่ืองราวมันเปนอยางไรกันแน ชายชราจึงเปดเผยความลับตอลูก ๆ วาที่แทเมล็ดที่ตนแจกแกลูก ๆ นั้น เปนเมล็ดพืชที่

นําไปคั่วจนสุกแลว ดังนั้นมันจะงอกเปนตนไม ผลิดอกสดสวยไดอยางไร พวกที่ถือกระถางตนไมซ่ึงผลิดอกสวยงามนั้น ลวนเปนเมล็ดพืชจากที่อ่ืน ไมใชเมล็ดพืชที่ผูเปนพอแจกให ดอกไมพวกนั้นเปนสักขีพยานความไมซ่ือตรงของพวกเขา

Page 113: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

สุดทาย ชายชราจึงกลาวอบรมลูก ๆ ขึ้นวา ขอใหลูก ๆ จงเปนคนซื่อตรงเถิด ความซื่อตรงเปนคุณสมบัติอันลํ้าคาของคนเรา

( มังกรสอนลูก ของ รัถยา สารธรรม ) 29. ควรตั้งชื่อเร่ืองขางตนวาอยางไร

ก. ความซื่อสัตย ข. ชายชรากับลูกชาย ค. เมล็ดพืชเมล็ดหนึ่ง ง. บทเรียนราคาแพง

30. ผูที่สมควรไดรับการยกยองสรรเสริญมากที่สุดในเรื่องนี้คือใคร

ก. ลูกชายคนโต ข. ลูกชายคนเล็ก ค. ลูกชายทุก ๆ คน ง. ชายชราผูเปนพอ

31. ผูเขียนมีเจตนาอยางไรในการเขียนเรื่องนี้

ก. แนะนําวิธีการอบรมสั่งสอนลูก ข. ใหผูอานเกิดความรักดอกไม ค. ใหรูจักชีวิตชายชราคนหนึ่งกับลูกชาย ง. ตองการสอนคุณธรรมความซื่อสัตย

32. “ลูกเอย ส่ิงที่เจามอบใหพอนั้นมีคามากกวาดอกไมสดมากมายนัก” คําที่ขีดเสนใตมีความ หมายตรงกับขอใด

ก. ความรัก ข. ความซื่อสัตย ค. ความกตัญู ง. ความเอาใจใส

33. เร่ืองราวขางตนตรงกับสํานวนในขอใด

ก. ขายผาเอาหนารอด ข. เสียชีพอยางเสียสัตย

Page 114: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ค. ซ่ือกินไมหมด คดกินไมนาน ง. น้ํามาปลากินมด น้ําลดมดกินปลา

34. สาระสําคัญที่สุดของขอความนี้คือขอใด

ก. บุคคลพึงมีความจริงใจตอผูมีอุปการะแกตน ข. ความซื่อสัตวเปนคุณสมบัติอันลํ้าคาของคน ค. คนเราควรมีความตั้งใจในการปฏิบัติหนาที่ ง. การกตัญูรูคุณเปนคุณธรรมสูงสุดของคน

ใหนักเรียนอานเรื่องตอไปนี้แลวตอบคําถามขอ 35 – 37 มดเอยมดแดง เล็กเล็กเรี่ยวแรงแข็งขยัน ใครกล้ํากลายทํารายถึงรังมัน ก็วิ่งพลูกรูกันมาทันที สูไดหรือไมไดใจสาหัส ปากกัดกนตอยไมถอยหนี ถารังเราใครมาราวี ตองตอยตีทรหดเหมือนมดเอย 35. ผูเขียนยกยองมดแดงในดานใด

ก. ใจสู ข. ทรหด ค. รักพวกพอง ง. ความสามัคคี

36. นักเรียนไดแนวคิดจากเรื่องมดแดงอยางไรบาง

ก. คนเราตองรักศักดิ์ศรีของตน ข. ยกยองพฤติกรรมของมดแดง ค. คนเราตองมีใจสูและทรหด ง. ความสามัคคีกอใหเกิดพลัง

37. ผูเขียนมีจุดมุงหมายอะไรในการเขียนเรื่องนี้

ก. เปรียบเทียบมดแดงกับคน ข. ยกยองพฤติกรรมของมดแดง ค. มุงใหเห็นความสําคัญของความสามัคคี ง. มุงใหเห็นความสําคัญของการตอสู ไมยอมแพศัตรู

Page 115: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ใหอานคําประพันธตอไปนี้แลวตอบคําถามขอ 38 – 40

เสียงหัวเราะเราใจใหเริงร่ืน เสียงสะอื้นพาใจใหหมนหมอง ชีวิตนี้มีสุขและทุกขครอง ใครไมตองรองไหที่ไหนมี 38. คําประพันธนี้ใหขอคิดเกี่ยวกับอะไร

ก. ชีวิตนี้มีสุขและทุกข ข. ไมมีใครที่ไมเคยรองไห ค. ชีวิตนี้มีทั้งเสียงหัวเราะและรองไห ง. เสียงหัวเราะทําใหใจเปนสุข เสียงรองไหทําใหใจเศราหมอง

39. คําประพันธดังกลาวมีลักษณะเชนใด

ก. เตือน ข. ช้ีแจง ค. แนะนํา ง. ใหขอคิด

40. คําประพันธดังกลาวตรงกับสํานวนในขอใด

ก. กรรมเกา ข. สุขทุกขอยูที่ใจ ค. ช่ัวเจ็ดทีดีเจ็ดหน ง. ไมเห็นโลงศพไมหล่ังน้ําตา

41. “ธรรมดาผูมีปญญาอันพิสดาร แมจะคิดการสิ่งใดก็ลึกซึ้ง ผูมีปญญานอยหาหยั่งรูตลอดไม อุปมาเหมือนพระยาครุฑ แมจะไปทิศใดก็ยอมบินโดยอากาศอันสูงสุดสายเมฆ มิไดบินต่ํา เหมือนสกุณชาติซ่ึงมีกําลังนอย อันผูมีสติปญญานอยนั้นก็เหมือนนกทั้งปวงที่มีกําลังอันนอย มิอาจบินเสมอพระยาครุฑได” ขอความดังกลาวเขียนดวยโวหารชนิดใด

ก. บรรยายโวหาร ข. พรรณนาโวหาร ค. สาธกโวหาร

Page 116: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ง. อุปมาโวหาร 42. “เนื้อเตายําเตา” มีความหมายตรงกับสํานวนใด

ก. จับงูขางหาง ข. ปดทองหลังพระ ค. อัฐยายซื้อขนมยาย ง. ตําน้ําพริกละลายแมน้ํา

ใหนักเรียนอานคําประพันธตอไปนี้แลวตอบคําถามขอ 43 – 45 ผิเราคิดโกรธแคน เคืองใคร ใครนา

จะพูดจะทําใด เมื่อนั้น ลวนแตทุจริตไป เปนโทษ ทุกจะตามบีบคั้น ช่ัวสิ้นสงสาร ปานดังจักรเตา ตามรอย โคฤา โคจะเดินไปถอย หยุดยั้ง จักรเกวียนยอมจะคอย หมุนเคลื่อน ตามแฮ โคหยุดจักรก็ตั้ง แตตอยตามเสมอ ผิเรามีจิตแผว ผองใส จักประกอบการใด ใหญนอย ลวนแตสุจริตไพ บูลยเลิศ เหลือแล ผลสุขจักรเคลื่อนคลอย ติดเคาตามสนอง เปรียบเงาซึ่งติดตอย ตามตนนั้นฤา คราวนั่งหรือยืนดล กอนนั้น คราวนอนออกเดินหน ไปแหงใดนา เงายอมตามกระชั้น ชิดแททันเรา

( โคลงแปลคาถาธรรมบท คัดจากหนังสือรัชฏาภิเษก ) 43. คําประพันธดังกลาวเปนสารประเภทใด

ก. แสดงขอเท็จจริง ข. แสดงความคิดเห็น ค. แสดงอารมณความรูสึก ง. แสดงความคิดเห็นและใหขอคิด

Page 117: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

44. ขอความนี้ใหขอคิดเกี่ยวกับอะไร ก. วิธีทําตนใหมีสุข ข. โทษของความโกรธ ค. การทําส่ิงที่มีประโยชน ง. การรักษาชีวิตใหยืนนาน

45. คําประพันธดังกลาวใชโวหารชนิดใด ก. อุปมา ข. เทศนา ค. บรรยาย ง. พรรณนา

46. “บริษท เอ ซี ตองการับสมัครบุคลากรที่มีความมั่นใจในความสามารถของตนเอง มารวมงาน ในตําแหนงเจาหนาที่สงเสริมการขาย - เพศชาย หรือหญิง อายุ 20 ป ขึ้นไป - การศึกษาขั้นต่ํา ปวส. - ปริญญาตรี - มีบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธที่ดี - ถามีประสบการณดานการขยาย จะไดรับการพิจารณา

เปนพิเศษ สมัครดวยตนเองหรือสงจดหมายสมัครงานมาที่ บริษัท เอ ซี …” จากขอความขางตน ผูสมัครงานตองมีคุณสมบัติกี่ประการ

ก. 5 ประการ ข. 4 ประการ ค. 3 ประการ ง. 2 ประการ

Page 118: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

ใหอานตารางตอไปนี้และตอบคําถามขอ 47 – 50 ตารางแสดงจํานวนนักเรียนทีล่าในสัปดาหที่แลวของโรงเรียนแหงหนึ่ง

ชั้น จันทร อังคาร พุธ พฤหัส ศุกร รวม ม. 1 / 1 2 1 0 3 2 8 ม. 1 / 2 1 1 2 1 3 8 ม. 1 / 3 1 0 0 2 2 5 ม. 1 / 4 2 0 0 3 1 6 ม. 1 / 5 3 2 0 0 2 7 ม. 1 / 6 4 3 1 4 4 16 รวม 13 7 3 13 14 50

47. สัปดาหที่แลววันใดที่นักเรียนลามากที่สุด ก. จันทร ข. อังคาร ค. พฤหัสบดี ง. ศุกร

48. จากตารางแสดงวาเมื่อสัปดาหที่แลว นักเรียนหองใดลามากที่สุด

ก. ม. 1 / 6 ข. ม. 1 / 5 ค. ม. 1 / 3 ง. ม. 1 / 1

49. เมื่อสัปดาหที่แลววันใดที่นักเรียนหอง ม. 1 / 3 ไมมีคนลาเลย

ก. จันทร อังคาร ข. อังคาร พุธ ค. พุธ พฤหัสบดี ง. พฤหัสบดี ศุกร

50. จากตารางวันใดที่นักเรียนลานอยที่สุด ก. จันทร ข. อังคาร ค. พุธ ง. พฤหัสบดี

Page 119: การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา