ยีนและโครโมโซม

46
Page 1

Post on 02-Nov-2014

69 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

Page 1: ยีนและโครโมโซม

Page 1

Page 2: ยีนและโครโมโซม

Page 2

โครโมโซม : องค์ประกอบหนึ่งของเซลล์ มีลักษณะเป็นท่อนอยู่ในนิวเคลียประกอบด้วย DNA และโปรตีนมีความส าคัญในการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

Page 3: ยีนและโครโมโซม

Page 3

โครโมโซมเป็นท่ีอยู่ของดีเอ็นเอและอยู่ในนิวเคลียส

ของเซลล์โดยทั่วไปของมนุษย์มีโครโมโซม 46 โครโมโซม แบ่งออกเป็น 2 ชุด ได้ชุดละ 23 โครโมโซม คือมาจากพ่อชุดหนึ่งและมาจากแม่ชุดหนึ่ง ในแต่ละชุดมี โครโมโซมเพศ (sex chromosome) อยู่ 1 โครโมโซม ที่เหลือเป็น โครโมโซมร่างกาย (autosome) โครโมโซมเพศของผู้หญิงเป็นโครโมโซม X ทั้งคู่ ส่วนในผู้ชายจะมีโครโมโซม X และ Y ในเซลล์สืบพันธุ์มีโครโมโซมเพียงครึ่งหนึ่งของจ านวนปกติ คือมีเพียง 23 โครโมโซมเท่านั้น เมื่อมีการผสมกับเซลล์สืบพันธุ์จากอีกเพศหนึ่งแล้วก็จะกลับมาเป็น 46 โครโมโซมเท่าเดิม

Page 4: ยีนและโครโมโซม

Page 4

โครโมโซมมีขนาดใหญ่พอที่จะเห็นได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์ที่ ใช้แสงธรรมดา ไม่ต้องใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน เม่ือใช้การย้อม สีช่วยก็จะท าให้เห็นแถบสีสว่างมืดเปลี่ยนแปลงไปตามจ านวนของคู่ A - T และคู่ G - C เนื่องจากขนาดของแถบสีมีความแตกต่างกันไป จึงช่วยให้เราสามารถแยกแยะเห็นความแตกต่างของโครโมโซมได้ ซึ่งเป็นโครโมโซมร่างกาย 22 แบบ โครโมโซม X 1 แบบ และ โครโมโซม Y อีก 1 แบบ จึงมีทั้งหมด 24 แบบ เมื่อน าโครโมโซม ทั้งหมดมาเรียงกันจากขนาดใหญ่ไปหาขนาดเล็ก จะได้แผนผัง โครโมโซมที่มีชื่อเรียกว่า คาริโอไทป์ (Karyotype) ในผังคารีโอไทป์มีหมายเลขก ากับโครโมโซมแต่ละขนาดไว้ด้วยซึ่งใช้อ้างอิงได้ เช่น เมื่อกล่าวถึง chromosome 1 ของมนุษย์ ก็จะหมายถึงโครโมโซมที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในเซลมนุษย์

Page 5: ยีนและโครโมโซม

Page 5 5

Page 6: ยีนและโครโมโซม

Page 6

รูปร่าง ลักษณะของโครโมโซม โดยทั่วไปโครโมโซมมีการเปลี่ยนแปลงรปูร่างได้ตามระยะต่าง ๆ ในวัฏจักรของเซลล ์(cell cycle) โดยโครโมโซมในระยะอินเตอร์เฟสจะมีลักษณะยืดยาวและเมื่อเซลลเ์ข้าสู่ระยะการแบ่งตัว ระยะ (M-phase) โครโมโซมจะหดตัวสั้นเข้าและหด ตัวมากที่สุดในระยะเมตาเฟส จะเรียกโครโมโซมระยะนี้ว่า โครโมโซมเมตาเฟส โครโมโซมแตล่ะโครโมโซมที่จ าลองตัวเอง แล้วในระยะอินเตอร์เฟส จะประกอบด้วย โครมาทิด (chromatid) 2 โครมาทิดที่เหมือนกันโดยโครมาทิดทั้งสองมีส่วนทีต่ิดกันอยู่เรียกวเ่ซนโทรเมียร์(centromere)หรือไคนีโทคอร์ (kinetochore)

ดังนั้นเราจะจ าแนกโครโมโซมตามรูปร่าง ลักษณะ ขนาด และต าแหน่งของเซนโทรเมียร์ ที่แตกต่างกันเป็น 4 แบบ ดังนี้

Page 7: ยีนและโครโมโซม

Page 7

1. Metacentric chromosome

หมายถึง โครโมโซมที่มีเซนโทรเมียร์ อยู่ตรงต าแหน่งกึ่งกลางพอดีท าให้แขน (arm) ทั้งสองข้างของโครโมโซมมีความยาวเท่ากัน

Page 8: ยีนและโครโมโซม

Page 8

2. Submetacentric chomosome หมายถึง โครโมโซมที่มีเซนโทรเมียร ์อยูใ่กล้กลางแท่งโครโมโซม ท าให้แขน ทั้งสองข้างของโครโมโซมมีความยาวไม่เท่ากัน จึงมีแขนเป็นแขนข้างสั้นและแขนขา้งยาว

8

Page 9: ยีนและโครโมโซม

Page 9

3. Acrocentric chromosome หมายถึง โครโมโซมที่มีเซนโทรเมียร์ อยูเ่กือบ ปลายสุดจึงท าให้แขนข้างสั้นมีความสั้นมากจนแทบไม่ ปรากฏ

9

Page 10: ยีนและโครโมโซม

Page 10

4. Telocentric chromosome หมายถึง โครโมโซมที่มีเซนโทรเมียร ์ อยู่ตอนปลายสุดของโครโมโซม มีผลท าให้โครโมโซมมีแขนเพียงข้างเดียว

10

Page 11: ยีนและโครโมโซม

Page 11 11

Page 12: ยีนและโครโมโซม

Page 12 12

โครโมโซมของคนศึกษาได้จากเซลล์ไขกระดูกและเซลล์เม็ดเลอืดขาว ชนิดลิมโฟโซต ์( lymphocyte ) ท าได้โดยเจาะเลือดแล้วแยกเซลล์ลิมโฟโซตอ์อกเพราะเลี้ยงในอาหารทีใ่ส่สารกระตุ้นให้เซลล์ลิมโฟโซต์แบ่งตัวหลังจากบ่มท่ีอุณหภูมิ 37องศาเซลเซียส เป็นเวลา 2-3 วัน เซลล์จะเเบ่งตัวและอยู่ในระยะเมทาเฟสจ านวนมากการท าให้เซลล์อยู่ในระเมทาเฟสมากๆท าได้โดยใส่สารยับยั้ง โมโทซิส เช่น โคลชิซิน( colchicine ) ลงไปเส้นใย สปิลเดิลจะถูกทลายท าให้โครโมโซมไม่แยกออกจากกันและจะอยู่ในระยะเมทาเฟส มากๆ เมื่อใส่สารละลายทีเ่จือจาง เช่น น้ ากลั่นท าให้เซลลลก์ระจายไม่ทับซ้อนกันท าให้เห็นโครโมโซมชัดเจน ต่อจากนั้นยอมด้วยสีจิมซา ( giemsa ) จะได้แถบขวางของโครโมโซมซึ่งติดสีย้อมไม่เท่ากัน เมื่อกระทบกับแสง

Page 13: ยีนและโครโมโซม

Page 13 13

อัลตราไวโอเลตจะเรืองแสงจึงปรากฏให้เห็นเป็นแทบติดสีเข้มจางต่างกันบนโครโมโซม เรียกแทบนี้ว่าแถบสี ( G-band ) ดั้งนั้นโครโมโซมที่เป็นคู่กันหรือโฮโมโลกัส โครโมโซมก็จะจัดคู่ได้ง่ายขึ้นนอกจากนี้ยังมีการย้อมสีแบบแถบคิว ( Q-band ) แถบสีซี ( C band ) แถบสีอาร์ ( R band ) ด้วย โครโมโซมของเซลล์ร่างกายของคนมี 46 โครโมโซม ได้ 23 คู่โดยมี 22 คู่แรกเป็นโครโมโซมที่เหมือนกันท้ังเพศหญิงและเพศชาย ท าหน้าที่ควบคุมลักษณะต่างๆ ของร่างกายเรียกว่า ออโตโซม(autosome )

Page 14: ยีนและโครโมโซม

Page 14

โครโมโซมเป็นโครงสร้างที่อิสระที่อยู่ภายในนิวเคลยีสซึ่งเห็นได้ชัดในช่วงทีม่ีการแบ่งเซลล์ โครโมโซมประกอบด้วยหน่วยพันธุกรรม หรือยีน โครโมโซมเป็นแหล่งที่มียีนมากมาย ซึ่งเมื่อมีการแบ่งเซลล์แบบไมโตซิส หรือ ไมโอซิส ความผิด พลาดอาจเกิดขึ้นได้โดยอาจมีผลท าให้จ านวนโครโมโซมเพิ่ม ขึ้น หรือลดน้อยลงหรือ ชิ้นส่วนของโครโมโซมเพิ่มขึ้นมาหรือขาดหายไป ปรากฏการณ์เหลา่นี้ยังสง่ผลต่อลักษณะฟโีนไทป์ของคนได้หลายรูปแบบ ดังนั้นพอจะจัดแบ่งความผิดพลาดของโครโมโซมได้ 2 ประเภทใหญ่ คือ

Page 15: ยีนและโครโมโซม

Page 15

1. ความผิดปกติของโครงสร้างของโครโมโซม เช่น การที่เนื้อโครโมโซมขาดหายไป เพิ่มขึ้นมาหรือสลับที่จากเดิม จึงมีผลท าให้รูปร่างของโครโมโซมผิดไปจากเดิม

2. ความผิดพลาดของจ านวนโครโมโซมซึ่งอาจจะมีจ านวนโครโมโซมเพิ่มมากขึ้นหรือลดจ านวนไปจากเดิมที่มีอยู ่

Page 16: ยีนและโครโมโซม

Page 16

ความผิดปกติของออโตโซม 1 กลุ่มอาการคริดซูาต ์ ( Cri – du – chat Syndrome)สาเหตุ โครโมโซม คู่ที่ 5 ( ลุกศรชี้ ) เส้นหนึ่งมีบางส่วนของแขนข้างสั้นหายไป โดยจ านวนท่อนโครโมโซม ในเซลล์ร่างกายยังคงเป็น 46 ท่อนเท่าเดิม 2 กลุ่มอาการพาโต ( Patau’s Syndrome ) สาเหตุ โครโมโซม คู่ที่ 13 เกินมา 1 ท่อน โครโมโซมในเซลล์ร่างกายเป็น 47 ท่อน 3 กลุ่มอาการเอ็ดวาดส์ ( Edward’s Syndrome ) สาเหตุ โคร โมโซมคู่ที่ 18 เกินมา 1 ท่อน โครโมโซมในเซลล์ร่างกายจึงเป็น 47 ท่อน 4 กลุ่มอาการดาวส์ ( Down ’s Syndrome ) สาเหตุ โครโมโซม คู่ที่ 21 เกินมา 1 ท่อน โครโมโซมในเซลล์ร่างกายจึงเป็น 47 ท่อน เกิดกับแม่ที่มีอายุมาก สร้างไข่ผิดปกติ ( 23 + x)

Page 17: ยีนและโครโมโซม

Page 17

ความผิดปกติของโครโมโซมเพศ 1. อาการของผู้หญิงที่เป็นเทอร์เนอร์ซนิโดรม (Turner ’s Syndrome)โครโมโซมเพศเปน็ XO โครโมโซมในเซลล์ร่างกายเป็น 44 + XO 2. อาการของผู้หญิงที่เป็นเอก–ไตรโซเมีย(x-trisomer) โครโมโซมเพศเป็น XXX โครโมโซมในเซลล์ร่างกายเปน็ 44 + XXX 3. อาการของผู้ชายที่เป็นไคลท์เฟลเตอร์ ( Kline – felter’s Syndrome) เป็นชายที่มี x เกินโครโมโซมเพศเป็น XXY โครโมโซมในเซลล์ร่างกายเป็น 44 + XXY 4. อาการของผู้ชายที่เป็นดับเบิลวายซนิโดรม ( Double y - Syndrome)เป็นชายที่มี y เกิน โครโมโซมเพศเป็น XYY โครโมโซมในเซลล์ร่างกายเป็น 44 + XYY)

Page 18: ยีนและโครโมโซม

Page 18

กลุ่มอาการ Cri-du-chat syndrome หรือ

cat-cry syndrome

18

Page 19: ยีนและโครโมโซม

สาเหตุของโรค

• เกิดจากโครโมโซมคู่ที่ 5 ขาดหายไป 1 โครโมโซม ดังคารีโอไทป์ในภาพ ความผิดปกตินี้พบได้น้อยมาก คือประมาณ 1 ต่อ 50,000 ของเด็กแรกเกิด พบได้ในเด็กหญิงมากกว่าเด็กชายในอัตราส่วน 2 ต่อ 1

19

เด็กที่เป็นโรค

Cri-du-chat syndrome

Page 20: ยีนและโครโมโซม

Page 20 20

คารีโอไทป์ของกลุ่มอาการ cri-du-chat syndrome

Page 21: ยีนและโครโมโซม

Page 21

ลักษณะอาการ • มีลักษณะเด่นชัดในกลุ่ม

อาการนี้ คือ เสียงร้องของผู้ป่วยจะแหลมเล็ก คล้ายกับเสียงร้องของแมว

• ความยืนยาวของชีวิตผู้ป่วยไม่แน่นอน อาจจะมีชีวิตอยู่ได้จนถึงเป็นผู้ใหญ่

• ผู้ป่วยมีศีรษะเล็กกว่าปกติ

• หน้ากลม

• ใบหูอยู่ต่ ากว่าปกติ

• ตาห่าง

• มีอาการปัญญาอ่อน

21

Page 22: ยีนและโครโมโซม

Page 22

การเขียนโครโมโซม

22+XX (chromosome คู่ที่ 5 แขนข้าง p หายไป)

หรือ

22+XY(chromosome คู่ที่ 5 แขนข้าง p หายไป)

22

Page 23: ยีนและโครโมโซม

Page 23

Trisomy : Down Syndrome Karyotype : 47, XX, + 21

23

Page 24: ยีนและโครโมโซม

Page 24 24

กลุ่มอาการ ไคน์เฟลเตอร ์(Klinefelter's syndrome)

Page 25: ยีนและโครโมโซม

Page 25 25

มีสาเหตุจากการที่โครโมโซม X เกินมา 1 หรือ 2 โครโมโซม ผู้ป่วยเป็นเพศชาย จึงมีคารีโอไทป์เป็น 47 , XXY หรือ 48 , XXXYลักษณะอาการ

Page 26: ยีนและโครโมโซม

Page 26 26

Page 27: ยีนและโครโมโซม

Page 27 27

ลักษณะอาการนอกจากอาจจะมีภาวะปัญญาอ่อนแล้วยังมีรูปร่างอ้อนแอ่นตัวสูงชะลูด มีหน้าอกโต เป็นหมัน ถ้ามีจ านวนโครโมโซม X มาก ก็จะมีความรุนแรงของปัญญาอ่อนเพิ่มขึ้น

Page 28: ยีนและโครโมโซม

Page 28 28

กลุ่มอาการ Turner’s syndrome

Page 29: ยีนและโครโมโซม

สาเหตุของโรค • เป็นความผิดปกติที่พบใน

เพศหญิง เกิดขึ้นเน่ืองจาก มโีครโมโซมเพศ คือ โครโมโซม X เพียงโครโมโซมเดียว พบประมาณ 1 ต่อ 2,500 คน ของทารกเพศหญิง

29

เด็กที่เป็นโรค

Turner’s syndrome

Page 30: ยีนและโครโมโซม

Page 30 30

คารีโอไทป์ของกลุ่มอาการ turner’s syndrome

Page 31: ยีนและโครโมโซม

Page 31

อาการ • แขนคอก

• รังไข่ไม่เจริญ

• ไม่มีประจ าเดือน

• เป็นหมัน

• ประมาณร้อยละ 10 ของผู้ป่วย มีสติปัญญาด้อยกว่าปกต ิ

• มีชีวิตอยู่ได้ยาวเท่ากับคนปกติ

• ผู้ป่วยมีลักษณะตัวเตี้ย

• ที่คอมีพังผืดกางเป็นปกี

• แนวผมที่ท้ายทอยอยู่ต่ า

• หน้าอกกว้าง

• หัวนมเล็ก และอยู่ห่าง

• ใบหูทีรูปร่างผดิปกติมีขนาดใหญ่และอยู่ต่ า

31

Page 32: ยีนและโครโมโซม

Page 32

การเขียนโครโมโซม

22+XO

หรือ

45+XO

เรียกว่า

Monosomy 32

Page 33: ยีนและโครโมโซม

Page 33 33

ยีนที่ท าใหเ้กิด โรคทาลัสซีเมีย

Page 34: ยีนและโครโมโซม

Page 34 34

โรคทาลัสซีเมีย (thalassemia) เป็น โรคทางพันธุกรรมที่เกี่ยวข้องกับเลือด ยีนที่ท าให้เกิด โรคทาลัสซีเมียเป็น ยีนด้อย ที่อยู่ในโครโมโซมคู่ที่ 16 หรือยีนด้อยในโครโมโซมคู่ที่ 11 โรคทาลัสซีเมียจึงมี จีโนไทป์ผิดปกติได้หลายแบบ ซึ่งมีผลท าให้การสร้างพอลิเพปไทด์ในฮีโมโกลบินผิดปกติและท าให้เม็ดเลือดแดงมีรูปร่างผิดปกติ ไม่สามารถท าหน้าที่น าออกซิเจนไปเลี้ยงเนื้อเยื่อได้จึงเป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยมีอาการ โลหิตจาง

Page 35: ยีนและโครโมโซม

Page 35 35

อาการของโรคมีได้ต่างๆกันแล้วแต่ชนิด บางชนิดเด็กที่เป็นจะตายหมด บางชนิดถ้าเป็นมากจะแคระแกร็น มีกะโหลกศีรษะและลักษณะใบหน้าผิดปกติ พุงป่อง เพราะตับและม้ามโต มอีาการดซี่านร่วมด้วย กระดูกเปราะบาง หัวใจวายได้ บางชนิดอาการไม่มาก แต่เมื่อเป็นไข้เม็ดเลือดแดงจะแตกได้ง่าย ท าให้มีภาวะซีดและดีซ่านอย่าง เฉียบพลัน

Page 36: ยีนและโครโมโซม

Page 36 36

ภาพเซลล์เม็ดเลือดแดง

Page 37: ยีนและโครโมโซม

Page 37 37

โรคทาลัสซีเมียมี 2 ประเภทคือ 1. โรคแอลฟาทาลัสซีเมีย ยีนที่ท าให้เกิดโรค เป็นยีนด้อยอยู่ใน โครโมโซมคู่ที1่6 ท าให้เกิดการสร้างพอลิเพปไทด์สายแอลฟาน้อยกว่าปกติ เนื่องจากมีการขาดหายไปของDNA ที่น ารหัสทางพันธุกรรมที่จะสร้างสายแอลฟา จึงมีสายเบตาปกติเหลืออยู่ในเม็ดเลือดแดงเท่านั้น โดยมากจะพบว่าพ่อแม่ของคนที่เป็นแอลฟาทาลัสซีเมียนั้นจะมีอาการปกติ แสดงว่าพ่อแม่จะมียีนที่ ท าให้เกิดโรคทาลัสซีเมียแฝงอยู่

Page 38: ยีนและโครโมโซม

Page 38 38

2. โรคเบตาทาลัสซีเมีย ยีนที่ท าให้เกิดโรคเป็นยีนด้อยอยู่ในโครโมโซมคู่ที่ 11 ท าให้เกิดการสร้างพอลเิพปไทด์สายเบตาน้อยลง หรือไม่สร้างเลย ทั้งๆที่มี DNA ปกติ แต่เกิดผิดปกติขึ้นในขั้นตอนของการสร้างสายเบตา ผู้ป่วยพวกนี้ไม่ค่อยมีภาวะซีดรุนแรงนัก

Page 39: ยีนและโครโมโซม

Page 39 39

ลักษณะของผู้ป่วยโรคทาลัสซีเมีย

Page 40: ยีนและโครโมโซม

Page 40 40

Page 41: ยีนและโครโมโซม

Page 41 41

ในการศึกษาพันธุกรรมของคน นักพันธศุาสตร์ นิยมใช้สัญลักษณ์แสดงบุคคลต่างๆในครอบครัว ทั้งที่แสดงลักษณะและไม่แสดงลักษณะที่ก าลัง ศึกษา เท่าที่จะสามารถสืบค้นได้ แผนผังเช่นนี ้ เรียกว่า pedigree

Page 42: ยีนและโครโมโซม

Page 42 42

Page 43: ยีนและโครโมโซม

Page 43 43

Pedigree ของโรคฮีโมฟีเลียซึ่งปรากฏในราชวงศ์ต่างๆในยุโรป

Page 44: ยีนและโครโมโซม

Page 44 44

Page 45: ยีนและโครโมโซม

Page 45 45

Page 46: ยีนและโครโมโซม

Page 46