สารชีวโมเลกุล

69
สารชีวโมเลกุล (Biomolecule) KruAoijai Wichaisiri PCCCR

Upload: kruaoijaipcccr

Post on 18-Nov-2014

3.721 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

Page 1: สารชีวโมเลกุล

สารชีวโมเลกลุ (Biomolecule)

KruAoijai Wichaisiri PCCCR

Page 2: สารชีวโมเลกุล

ชีวเคม ี(BIOCHEMISTRY)

ชีวเคมี คือการศกึษาสิง่มีชีวิตในทางเคมี โดยในร่างกายของ

สิง่มีชีวิตมีสารเคมีที่รวมเรียกวา่ชีวโมเลกลุ (biomolecules) ซึง่

สามารถแบง่ออกเป็น 4 ประเภทหลกั คือ

(1) peptides and proteins

(2) nucleic acids

(3) carbohydrates

(4) lipids

Page 3: สารชีวโมเลกุล

บทบาทของชีวโมเลกลุชีวโมเลกุลมีบทบาทที่สาํคัญในร่างกายดงัต่อไปนี ้

เป็นส่วนประกอบโครงสร้าง เช่น ผม เลบ็ ผิวหนงั กล้ามเนือ้

กระดกู เนือ้เยื่อ ผนงัเซลล์

เร่งปฏกิริิยา ได้แก่ เอน็ไซม์

ควบคุม ได้แก่ ฮอร์โมน

ให้พลังงาน

ขนส่งสารเคมี เช่น ขนสง่ออกซเิจน กรดแอมิโน ไอออน นํา้ตาล

สารสื่อประสาท

ป้องกัน เชน่ แอนตบิอดี ้

รับรู้ ได้แก่ รีเซปเตอร์

Page 4: สารชีวโมเลกุล

ความสาํคญัของวิชาชีวเคมี

1. ด้านการแพทย์

สรีรวิทยา, ระบบต่างๆ

เทคนิคการเพิ่มจาํนวน DNA ในหลอดทดลอง (PCR)

หลกัฐานทางนิติเวช

ตรวจเลือด และปัสสาวะ ใช้ในการวินิจฉัยโรค2. ด้านการเกษตร

⌧ การสงัเคราะหแ์สง การตรึงไนโตรเจน

⌧วิเคราะหอ์งคป์ระกอบ และคณุค่าอาหารสตัว์3. ด้านอตุสาหกรรม

เทคนิคพนัธวุิศวกรรม เช่น การผลิตฮอรโ์มนอินซูลิน

เอนไซมอ์ะไมเลส ในอตุสาหกรรมกระดาษ

ผลิตเอทานอลจากแป้ง การหมกัสรุา

หน่วยเรียนที่ 1 บทนํา

Page 5: สารชีวโมเลกุล

PROTEIN

Aoijai Wichaisiri

5

PRINCESS CHULABHORN’S COLLEGE CHAIGRAI

Regional science school

Page 6: สารชีวโมเลกุล

Proteinเป็น polypeptide ของ amino acid ที่ต่อกัน

เป็นลาํดับเฉพาะตัวสาํหรับโปรตีนแต่ละชนิด

โปรตีนสามารถทาํงานได้ ต้องมีรูปร่าง

(conformation) ที่เป็นลักษณะเฉพาะตัว

มนุษย์มีโปรตีนมากกว่า 10,000 ชนิด แต่ละชนิดมี

โครงสร้างและหน้าที่แตกต่างกัน

Page 7: สารชีวโมเลกุล

ประเภทของโปรตีน

โปรตนีก้อนกลม

เกิดจากสายพอลิเพป

ไทดร์วมตวัมว้นพบัพนั

กนัและอดัแน่นเป็น

กอ้นกลม

ละลายนํ้าไดด้ี

ทาํหนา้ที่เกี่ยวกบั

โปรตนีเส้นใย

เกิดจากสายพอลิเพป

ไทดพ์นักนัใน

ลกัษณะเหมือนเส้นใย

ยาวๆ

ละลายนํ้าไดน้อ้ย

ทาํหนา้ที่เป็นโปรตีน

โ ้ ี

Page 8: สารชีวโมเลกุล

ตวัอยา่งโปรตีนเสน้ใย

Keratin Silk

Page 9: สารชีวโมเลกุล

ตวัอยา่งโปรตีนกอ้นกลม

Casein

EnzymeAlbumin

Page 10: สารชีวโมเลกุล

ประเภทของโปรตีน ประเภทของโปรตนี หน้าที่ ตวัอย่าง

โปรตีนเร่งปฏิกิริยา เร่งปฏิกิริยาในเซลล์

สิ่งมีชีวติ

เอน็ไซม์

โปรตีนขนส่ง ขนส่งสารไปสู่ส่วนต่างๆ

ของร่างกาย

ฮีโมโกลบิน

โปรตีนโครงสร้าง ใหค้วามแขง็แรงและช่วย

คงรูปร่างโครงสร้างต่าง ๆ

ของร่างการ

คอลลาเจน

เคราติน

โปรตีนสะสม สะสมธาตุต่าง ๆ เฟอริทิน

Page 11: สารชีวโมเลกุล

ประเภทของโปรตนี

ประเภทของ

โปรตนี

หน้าที่ ตวัอย่าง

โปรตีนป้องกนั ป้องกนัและกาํจดัสิ่ง

แปลกปลอมที่เขา้มาใน

เซลล์

แอนติบอดี

โปรตีนฮอร์โมน แตกต่างกนัตามชนิดของ

ฮอร์โมนนั้นๆ

•ควบคุมการเจริญเติบโต•ควบคุมการเผาผลาญ

คาร์โบไฮเดรต

Growth hormone

Insulin

Page 12: สารชีวโมเลกุล

N C C

H

R

O

OH

H

H

Amino group

Carboxyl group

Amino acid เป็นสารอนิทรีย์ที่มีหมู่ carboxyl และหมู่

amino ต่อกับอะตอมคาร์บอนที่เป็นศูนย์กลาง อะตอมที่เป็นศูนย์กลางยังต่อกับอะตอม hydrogen และหมู่ R group 1 หมู่ที่แตกต่างกัน

Page 13: สารชีวโมเลกุล

Amino acid กลุ่ม Nonpolar

Page 14: สารชีวโมเลกุล

Amino acid แบ่งออกเป็นกลุ่มตามคุณสมบัติ

ของ R group

R group ที่แตกต่างกันนี ้ทาํให้เกดิ amino acid แตกต่างกัน 20 ชนิด แต่ละชนิดมีคุณสมบัตทิางเคมีและชีววทิยาแตกต่างกัน

Page 15: สารชีวโมเลกุล

กลุ่ม Polar

Page 16: สารชีวโมเลกุล

กลุ่ม Electrically charged

Page 17: สารชีวโมเลกุล

Making a polypeptide chain

Amino acid ต่อกันเป็นสายยาวด้วย

covalent bond เรียกว่า peptide bond

Page 18: สารชีวโมเลกุล

ปลายที่มีหมู่ amino เรียกว่า N-terminusปลายที่มีหมู่ carboxyl เรียกว่า C-terminus

Page 19: สารชีวโมเลกุล

สาย polypeptide ประกอบด้วย amino acid ทัง้ 20 ชนิด เรียงต่อกันเป็นอิสระ สาย

polypeptide จึงสามารถมีรูปแบบที่ไม่เหมือนกันนับหมื่นชนิดได้

Page 20: สารชีวโมเลกุล

โปรตีนสามารถทาํงานได้ต้องมีรูปร่าง

(conformation) ที่เป็นลักษณะเฉพาะตัว

โปรตีนที่ทาํงานได้ประกอบด้วย polypeptide 1 สายหรือมากกว่า ซึ่งม้วนพบัไปมาตามแรงยดึเหนี่ยวระหว่าง

side chain ของ amino acid

รูปร่างของโปรตีนจงึขึน้อยู่กับลาํดับของ amino acid ที่เรียงกันอยู่

Page 21: สารชีวโมเลกุล

แรงยดึเหยีย่วระหว่างโมเลกลุของโปรตนี

H-bondDisulfide bond

Van der waals force

Page 22: สารชีวโมเลกุล

H-BOND : α - HELIX

Page 23: สารชีวโมเลกุล

ที่มา : http://web.mit.edu/esgbio/www/lm/proteins/structure/structure.html

H-BOND : PLEATED SHEET STRUCTURE

Page 24: สารชีวโมเลกุล

H-bond : Pleated sheet structure

Page 25: สารชีวโมเลกุล

พนัธะไดซัลไฟด์ (DISULFIDE BOND)

Page 26: สารชีวโมเลกุล

A protein’s function depends on its specific conformation

Ribbon model Space filling model

Page 27: สารชีวโมเลกุล

โครงสร้างของโปรตีนถูกแบ่งออกเป็น

Primary structure

Secondary structure

Tertiary structureQuaternary structure สาํหรับโปรตีน

ที่ประกอบด้วย polypeptide มากกว่า 1 สาย

Page 28: สารชีวโมเลกุล

The primary structure of a protein

Primary structure คือ

ลาํดบัของ amino acid ที่ประกอบขึน้เป็นโปรตีน

Primary structure ถูกกาํหนดโดยข้อมูลทางพันธุกรรม

(DNA)

Page 29: สารชีวโมเลกุล

การเปลี่ยนแปลงลาํดับ amino acid ในโปรตีนอาจมีผลให้รูปร่างของโปรตีนเปลี่ยนไป และอาจมี

ผลต่อการทาํงานของโปรตีนชนิดนัน้ๆ

ตัวอย่างเช่น โรค sickle-cell anemia

Page 30: สารชีวโมเลกุล

A single amino acid substitution in a protein causes sickle-cell disease

Page 31: สารชีวโมเลกุล

The secondary structure of a protein

Secondary structure ที่พบบ่อยในธรรมชาตไิด้แก่

αHelix และ βPleated sheet

Secondary structure เป็นโครงสร้างที่เกดิขึน้จาก H-bond ระหว่างหมู่ carboxylและหมู่

amino

Page 32: สารชีวโมเลกุล

Spider silk: a structural protein

ตัวอย่างเช่น เส้นใยแมงมุม มีโครงสร้างแบบ βPleated sheet ทาํให้เส้นใยแมงมุมมีความแขง็แรงมาก

Page 33: สารชีวโมเลกุล

Tertiary structure of a protein

Page 34: สารชีวโมเลกุล

Tertiary structure เป็นรูปร่างของ polypeptide สายหนึ่งตลอดสาย ซึ่งการม้วนพบไปมาขึน้อยู่กับแรงยดึเหนี่ยวระหว่าง R group ด้วยกันเอง หรือ R group กับโครงสร้างหลัก

แรงยดึเหนี่ยวหมายถงึ

H-bondionic bondHydrophobic interactionVan der Waals interactionนอกจากนีบ้างตอนยดึตดิกันด้วย covalent bond ที่แข็งแรง

เรียกว่า disulfide bridges ระหว่างหมู่ sulhydryl (-SH) ของกรดอะมโิน cysteine ที่อยู่ใกล้กัน

Page 35: สารชีวโมเลกุล

The Quaternary structure of proteinsเป็นโครงสร้างของโปรตนีที่ประกอบด้วย

polypeptide มากกว่า 1 สายเท่านัน้ เกดิจาก tertiary structure ของ polypeptide แต่ละสายมารวมกัน

Polypeptide chain

ตวัอย่างเช่น :

Collagen เป็น fibrous protein ประกอบด้วย

polypeptide 3 สายพันกันอยู่ ซึ่งทาํให้โปรตีนชนิดนีม้ีความ

แขง็แรงและพบใน

connective tissue

Page 36: สารชีวโมเลกุล

Hemoglobin ประกอบด้วย polypeptide 4 สายรวมกันกลายเป็นโปรตีนที่มีรูปร่างเป็นก้อน

Page 37: สารชีวโมเลกุล

The four levels of protein structure

Page 38: สารชีวโมเลกุล

Denaturation and renaturation of a protein

Page 39: สารชีวโมเลกุล

ปฏกิริิยาเคมีของ macromolecules ได้แก่

Condensation เป็นปฏกิริิยาสังเคราะห์

macromolecules จาก monomersเล็กๆเป็นจาํนวนมาก และได้ผลผลิต H2O ด้วย

ดังนัน้อาจเรียกว่า ปฏกิริิยา dehydration

Hydrolysis เป็นปฏกิริิยาย่อยสลาย

macromolecules ให้เล็กลง เพื่อให้สามารถนําผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เข้าสู่เซลล์ได้ หรือย่อยสลาย

macromolecules ที่ไม่ใช้แล้วภายในเซลล์

Page 40: สารชีวโมเลกุล

The synthesis of a polymer

Page 41: สารชีวโมเลกุล

The Breakdown of a polymer

Page 42: สารชีวโมเลกุล

Carbohydrates เป็นสารประกอบจาํพวก

นํา้ตาล และ polymer ของนํา้ตาล

แบ่งกลุ่ม carbohydrates ได้เป็น 3 กลุ่ม ตามจาํนวนโมเลกุลของนํา้ตาลที่เป็นองค์ประกอบ ได้แก่

Monosaccharide

Disaccharide

Polysaccharide

Carbohydrates

Page 43: สารชีวโมเลกุล

Monosaccharide เป็นนํา้ตาลโมเลกุลเดี่ยว ที่ประกอบด้วย C, O และ H มีสูตรคือ

(CH2O)n

โดยมีอะตอมของ C ต่อกันเป็นสาย และมี

Carbonyl group และ hydroxy group ต่อกับอะตอมของ C

aldehydes ketones

Carbonyl group

Page 44: สารชีวโมเลกุล

The structure and classification of some monosaccharides

Page 45: สารชีวโมเลกุล

Linear and ring forms of glucose

Page 46: สารชีวโมเลกุล

นํา้ตาลโมเลกุลคู่ (Disaccharides) เกดิจากการรวมตวัของนํา้ตาลโมเลกุลเดี่ยว 2 โมเลกุล โดย

ปฏกิริิยา condensation

Covalent bond ที่เกดิขึน้ เรียกว่า

Glycosidic linkage

Page 47: สารชีวโมเลกุล

Examples of disaccharides synthesis

Page 48: สารชีวโมเลกุล

Polysaccharide เป็น carbohydrate ที่มีขนาดใหญ่มาก ประกอบด้วย

monosaccharides จาํนวนมากต่อกันด้วย

glycosidic linkage ชนิดของ polysaccharide ขึน้อยู่กับ

1. ชนิดของ monosaccharide

2. ชนิดของ Glycosidic linkage

ตัวอย่าง polysaccharide ได้แก่ starch, glycogen, cellulose และ chitin

Page 49: สารชีวโมเลกุล

Storage polysaccharides

Page 50: สารชีวโมเลกุล

Starch: 1-4 linkage of α glucose monomers

Cellulose: 1-4 linkage of β glucose monomers

Page 51: สารชีวโมเลกุล

Cellulose มี glucose เป็นองค์ประกอบเช่นเดียวกับ แป้ง แต่มีพนัธะแบบ β1-4 glycosidic linkage ผนังเซลล์ของพชืประกอบด้วย cellulose เป็นจาํนวนมาก

Page 52: สารชีวโมเลกุล

The arrangement of cellulose in plant cell walls

Page 53: สารชีวโมเลกุล

Chitin, a structural polysaccharide

Chitin forms the exoskeleton of Arthropods

Chitin is used to make a strong and flexible surgical thread

Page 54: สารชีวโมเลกุล

Chitin มีโครงสร้างคล้ายกับ Cellulose ต่างกันที่ว่า หน่วยย่อยเป็น N-acetylglucosamine ต่อกันเป็นโมเลกุลสายยาว

Page 55: สารชีวโมเลกุล

หน้าที่ของ carbohydrateSugars :

ทาํหน้าที่ให้พลังงานและเป็นแหล่งคาร์บอนแก่สิ่งมีชีวติ

ribose และ deoxyribose เป็นองค์ประกอบของ

nucleic acidPolysaccharide :

เป็นแหล่งสะสมพลังงานของสิ่งมีชีวติ โดยพชืเกบ็สะสม

พลังงานในรูปของ starch ส่วนสัตว์เกบ็สะสมพลังงานในรูปของ glycogen

Cellulose และ chitin เป็นโครงสร้างของพชืและสัตว์

Page 56: สารชีวโมเลกุล

Lipids

Diverse Hydrophobic molecules

Page 57: สารชีวโมเลกุล

Lipids เป็นสารที่ไม่เป็น polymer

Lipids ไม่ละลายนํา้ เนื่องจากโครงสร้างของ lipids ประกอบด้วย nonpolar covalent bonds เป็นส่วนมาก

Lipids ได้แก่

ไขมัน (Fat)

Phospholipid

Steroidขีผ้ึง้ (Wax)

Page 58: สารชีวโมเลกุล

Fats : เป็นแหล่งสะสมพลังงานFats ถงึแม้จะไม่เป็น polymer แต่เป็นสารที่มีโมเลกุล

ขนาดใหญ่ ประกอบด้วยสารที่มีโมเลกุลขนาดเล็กกว่ามาต่อกัน

ด้วยปฏกิริิยา Dehydration

Fats ประกอบด้วย Glycerol และ กรดไขมัน (Fatty acid)

Page 59: สารชีวโมเลกุล

ส่วน “tail” ของ fatty acid ที่เป็น hydrocarbon ที่มักมีอะตอมคาร์บอนต่อกันประมาณ 16-18 อะตอม เป็นส่วนที่ทาํให้

fats ไม่ละลายนํา้ (hydrophobic)

Page 60: สารชีวโมเลกุล

Triglycerolไขมัน 1 โมเลกุล ประกอบด้วย Glycerol 1 โมเลกุล

และ กรดไขมัน 3 โมเลกุล

Page 61: สารชีวโมเลกุล

กรดไขมันแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่

Saturated fatty acid (กรดไขมันชนิดอิ่มตวั)

Unsaturated fatty acid (กรดไขมันชนิดไม่อิ่มตวั)

ไขมันที่ได้จากสัตว์ เช่น เนย มี saturated fatty acidเป็นองค์ประกอบ มีลักษณะเป็นของแขง็ที่อุณหภมูิห้อง

ไขมันจากพืช มี unsaturated fatty acid เป็นองค์ประกอบ มีลักษณะเป็นของเหลวที่อุณหภมูิห้อง

Page 62: สารชีวโมเลกุล

Saturated fat and fatty acid

Unsaturated fatand fatty acid

Page 63: สารชีวโมเลกุล

Phospholipidsเป็นองค์ประกอบหลักของ cell membrane

ประกอบด้วย glycerol 1 โมเลกุล fatty acid 2 โมเลกุล และ phosphate group (phosphate group มีประจุ -)

มีส่วนหวัที่มีประจุ และเป็นส่วนที่ชอบนํา้

(hydrophilic) และส่วนหางที่ไม่ชอบนํา้

(hydrophobic)

Page 64: สารชีวโมเลกุล

The structure of phospholipid

Page 65: สารชีวโมเลกุล

Micelle

Phospolipid in aqueous environments

เมื่อเตมิ phospholipids ลงในนํา้

phospholipids จะรวมตัวกัน โดยเอาส่วนหางเข้าหากัน และส่วนหวัหนัออกทางด้านนอก กลายเป็นหยด

เล็กๆ เรียกว่า micelle

Page 66: สารชีวโมเลกุล

Phospholipid bilayer

ที่ cell membrane ของสิ่งมีชีวติ

Phospholipids จะเรียงตัวเป็น 2 ชัน้ โดย

hydrophilic head จะหนัออกทางด้านนอกเข้าหากัน ส่วน hydrophobic tail อยู่ตรงกลาง

Page 67: สารชีวโมเลกุล

Steroidsเป็น lipids ประกอบด้วย คาร์บอนเรียงตัวเป็นวง

แหวน 4 วง

Steroids ชนิดต่างๆ มีหมู่ functional group ที่ต่อกับวงแหวนแตกต่างกัน

Cholesterol เป็น steroid ที่เป็นองค์ประกอบของ cell membrane

Page 68: สารชีวโมเลกุล

Cholesterol, a steroidCholesterol ยังเป็น precusor สาํหรับ

การสังเคราะห์ steroid อื่นๆหลายชนิด เช่น

hormones

Page 69: สารชีวโมเลกุล

THE END

69