วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่...

5

Click here to load reader

Upload: drdanai-thieanphut

Post on 24-May-2015

7.103 views

Category:

Education


0 download

DESCRIPTION

การพัฒนาโมเดลใหม่ หรือ รูปแบบหม่ (New Model)

TRANSCRIPT

Page 1: วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่

1  

วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม หรือ รูปแบบใหม ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธ 2555 เผยแพรใน http://www.newthaimba.blogspot.com/  

วิจัยเพ่ือพัฒนาโมเดลใหมหรือรูปแบบใหม (New Model) 

ดร.ดนัย เทยีนพุฒ นกัวิชาการและที่ปรึกษาอิสระ  ผูอํานวยการโครงการ Human Capital   วิทยากรผูทรงคุณวุฒิสถาบันพระปกเกลา

 

    การศึกษาและเรียนรูเกี่ยวกับการทาํวิจยัใหเปนสวนหน่ึงของชีวิตการทาํงานหากเปน

บุคคลทั่วๆ ไปคงจะไมใชเร่ืองทีน่าอภิรมยนัก แตสําหรับบุคคลที่อยูในแวดวงวิชาการโดยาอาชีพก็อาจเปน

เร่ืองปกติที่ตองคลุกคลีอยูในทกุลมหายใจเขาออก

เมื่อวันที่ 4 กนัยายน 55 ผูเขียนไดรับเชิญใหเปนผูทรงคุณวุฒิสอบเคาโครงดุษฎีนิพนธ

เร่ือง “การพัฒนารูปแบบการพัฒนาครูโรงเรียนคาทอลิกขนาดใหญ สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพมหานคร” ของ

นักศึกษาปริญญาเอก คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเซนตจอหน

มีประเด็นที่นาสนใจที่จะนาํมาสูการขบคิดทางปญญาและขยายวงความรูใหกวางยิ่งข้ึน

สิ่งที่เรยีกวา “การพัฒนารูปแบบหรือโมเดล”

ผูเขียนคิดวาส่ิงที่เปนหัวใจสําคัญที่ควรทาํความเขาใจในเร่ืองนี้คือ “การพัฒนารูปแบบ

หรือโมเดล” ซึง่นาพิจารณาใน 2 คําตอไปนี้ กระบวนทศันหรือพาราไดม (Paradigm) และรูปแบบหรือ

โมเดล (Model) เพราะบางคร้ังในการวิจยัอาจเปนการสรุปไดพาราไดมหรือกระบวนทัศน ซึ่งยังตอง

พัฒนาตอไปสูการเปนรูปแบบหรือโมเดล

กระบวนทัศนหรือพาราไดม (Paradigm)

คําวา พาราไดม ปรากฏมกีารใชคร้ังแรกเมื่อป 1962 ใน “The Structure of Scientific

Revolutions” โดย Thomas S. Kuhn (สันติ สุวัณณาคาร, 2552 ; การพัฒนากระบวนทัศนการสืบทอด

ธุรกิจครอบครัวไทยในอุตสาหกรรมเคร่ืองประดับทองคํา หนา 62) ซึ่งมีรากศัพทมาจากภาษากรีกคือ คํา

วา Para (Beside) และ Deigma (Example) หมายถงึ รูปแบบที่ควรนาํมาเปนตัวอยางและในความหมาย

ด้ังเดิม หมายถึง รูปแบบ (Model) แบบแผน (Pattern) หรือตัวอยาง (Example) ทีเ่ปนทีย่อมรับโดยมีนัยวา

เปนตัวอยางสําหรับการทาํซํ้า (http:en.wikipedia.org/wiki/Paradigm)

Page 2: วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่

2  

วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม หรือ รูปแบบใหม ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธ 2555 เผยแพรใน http://www.newthaimba.blogspot.com/  

และ Kuhn นิยาม พาราไดมเชิงวทิยาศาสตรวาหมายถึง ชุดของความคิดที่โยงในทฤษฎี

ความรู สมมติฐานและความสําเร็จตางๆ ของความรูทางวทิยาศาสตร ซึง่เปนที่ยอมรับอยางเปนสากล

กระทัง่เปนโมเดล (แนวคิด คานิยมและความเช่ือ) ในการมองปญหาและวิธีการแกปญหาของชมุชน

วิทยาศาสตร (สันติ สุวัณณาคาร, 2552:62 ; http:en.wikipedia.org/wiki/Paradigm)

ดังนัน้ พาราไดม จึงหมายถึง กรอบความคิดที่เปนแนวทาง ความเช่ือ คุณคา ในการ

ยึดถือปฏิบัติและไดรับการยอมรับโดยทั่วไป

การพัฒนาพาราไดมในปจจุบัน ธุรกิจที่อยูในระดับแนวหนาอาศัยแนวคิดของ Senge

(1990:8) ที่ไดเสนอโมเดลทางความคิด (Mental Model) ใน The Fifth Discipline ซึ่งเปนที่มาขององคกร

แหงการเรียนรู (Learning Organization)

โดยโมเดลทางความคิดจะประกอบดวยลําดับข้ันตามรูป ดังนี ้1) การศึกษาปรากฏการณหรือเหตุการณ (Events) จนกระทั่งสรางเปนรูปแบบของ

เหตุการณ (Pattern of Events) รูปที่ 1 การพฒันาพาราโมเดลทางความคิดขององคกร/ธุรกิจ

Page 3: วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่

3  

วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม หรือ รูปแบบใหม ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธ 2555 เผยแพรใน http://www.newthaimba.blogspot.com/  

2) หลังจากนั้น จึงกาํหนดโครงสรางความคิดซึ่งอาจจะอยูในรูปตรรกของความสัมพนัธ

ซึ่งเช่ือมโยงความรูอยูอยางเปนระบบ หรือในรูปแบบสมการทีเ่ปนความสัมพันธของตัวแปร

3) นําโครงสรางทางความคิดไปตรวจสอบกบัขอตกลงเบ้ืองตน (Assumption) ของ

องคกร/ธุรกิจ

4) จําลองรูปแบบ/โมเดล ในลักษณะตอไปนี ้

- เปนสมมติฐาน (Hypothesis) เกีย่วกับความสัมพันธของตัวแปร

- พาราไดม (Paradigm) ที่เปนความเชื่อ คุณคา ทีย่ึดถือปฏิบัติและไดรับการยอมรับ

- กรอบความคิด (Conceptual Framework) ที่ใชในการอธิบายถึงความเช่ือมโยง

ทั้งหมดที่ตองการศึกษาหาความจริง เชน ปญหา จุดประสงค การทบทวนวรรณกรรม ระเบียบวิธี การเก็บ

รวบรวมขอมูลและการวิเคราะห

5) การทดสอบ(ซ้าํ)ในสถานการณจริง หากผลการทดสอบเปนจริงนอยคร้ัง โครงสราง

ทางความคิดที่จําลองข้ึนเปนรูปแบบ/โมเดลนั้นเปนโมเดลประสบการณ แตถาเปนจริงทุกๆ คร้ังกพ็ัฒนา

เปนโมเดลทางทฤษฎีที่ยอมรับโดยทั่วไป

6) โมเดลทางความคิดของธุรกจิ เปนผลไดจากข้ันที่ 5 ซึ่งอาจเปนโมเดลทาง

ประสบการณ (ไมสามารถใชไดอยางทัว่ไป) หรืออาจเปนโมเดลทางทฤษฎีที่สามารถทดสอบซ้ําและใชได

อยางทั่วไป

สรุปการพัฒนากระบวนทัศนหรือพาราไดม ผลไดจะอยูในรูปโมเดลทางความคิดของ

ธุรกิจ (Mental Model of Business)

ตัวอยาง การใชโมเดลความคิด ในการศึกษาจากตําราพิไชยสงครามโบราณทัง้เลมคํา

กลอนและเลมกระบวนพยหุะภูมิปญญายทุธศาสตรไทย (ดนัย เทยีนพฒุ, 2555: 20 ในตําราพิไชยสงคราม

เมืองเพชรบูรณ หนา 18-20) ใชวิธกีารทางประวัติศาสตรและเสนอผลแบบพรรณนาวิเคราะหขอมูลดวย

โมเดลทางความคิด (Mental Model) ดังรูปที่ 2

Page 4: วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่

4  

วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม หรือ รูปแบบใหม ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธ 2555 เผยแพรใน http://www.newthaimba.blogspot.com/  

รูปที่ 2 โมเดลทางความคิดในการเปดภูมปิญญายุทธศาสตรไทย

1) การศึกษาเหตุการณ (Events) เปนการศึกษาตําราพิไชยสงครามฉบับเมืองเพชรบูรณ

เพื่อการกําหนดรูปแบบของเหตุการณ 2) รูปแบบของเหตุการณ (Pattern of Events) หมายถงึ ความเปนมาของตําราพิไชย

สงคราม ลักษณะสมุดไทยที่ใชบันทึกเนื้อหา ยุคสมยัทีจ่ัดทําหรือเขียนตําราพิไชยสงคราม มีรองรอย เคา

เงื่อนหรือขอสันนษิฐานใดทีป่รากฏข้ึนมา

3) การกําหนดโครงสรางเนื้อหา (Structure of Contents) คือ การจัดรูปแบบโครงสราง

ความรูของตําราพิไชยสงครามทัง้เลมคํากลอนและเลมกระบวนพยหุะ

4) การทดสอบขอสันนิษฐาน/ขออนุมานดวยเอกสารช้ันตน เชน เอกสารโบราณหมวด

ยุทธศาสตรตําราพิไชยสงครามที่สํานกัหอสมุดแหงชาติ สํานักหอสมุดมหาวทิยาลัยเชียงใหม จิตรกรรม

ฝาผนงัในพระอุโบสถวัดประดูทรงธรรมและเอกสารชัน้รอง เชน หนงัสือพิไชยสงคราม พงศาวดาร เอกสาร

ส่ิงพิมพ ไมโครฟลมและบล็อก

5) พาราไดม (Paradigm) การกําหนดกรอบขอความรูในตําราพิไชยสงคราม ส่ิงทีเ่ปน

องคความรูใหม การคนพบรหัสของตําราพิไชยสงครามและการมีเคาเงื่อนหรือขออนุมานใดที่เปนขอเสนอ

ตอการศึกษาในอนาคต เพื่อจัดทํารางตนฉบับ

Page 5: วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่

5  

วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม หรือ รูปแบบใหม ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธ 2555 เผยแพรใน http://www.newthaimba.blogspot.com/  

6) การลงขอสรุป (Conclusion) เปนการสรุปเร่ืองราวโดยเรียบเรียงและเขียนเปนตนฉบับ

หนงัสือตําราพิไชยสงครามฉบับเมืองเพชรบูรณ

สรุปการพัฒนาโมเดลใหมหรือรูปแบบ (Model) ผูเขียนใหขอสรุปไวดังนี ้

โมเดลหรือรูปแบบ (Model) เปนการบรรยายหรือกาํหนดความเช่ือมโยงของส่ิงที่เปน

กุญแจสําคัญ สําหรับทําความเขาใจเกี่ยวกบัองคความรูของธุรกิจ โดยมีคุณลักษณะหลัก เชน 1) ความ

เปนระบบ (Systematic) 2) ระบบเปด (Open) 3) พลวตั (Dynamic) 4) มีลักษณะทําใหเหมาะได

(Adaptive) และ 5) เปนนวตักรรม (Innovation)

ตรรกภายในโมเดล (Model of Internal Logic) เปนความพยายามทีจ่ะอธิบายความ

เชื่อมโยงหรือเปนความอิสระพื้นฐานซึ่งมอียูระหวาง ขอความรูที่เปนองคประกอบของโมเดลสําหรับการ

ทดสอบกับโลกแหงความจริงของธุรกิจ ดังรูป

รูปที่ 3 แนวคิดเชิงตรรกของโมเดลใหมหรือ รูปแบบใหม

*ดนัย เทียนพุฒ (2549). ตัวแบบเชิงยุทธศาสตรของทุนทางปญญาสําหรับธุรกิจไทย: ศึกษาเฉพาะกรณีบริษัทผลิต- อุปกรณกอสราง หนา 9

ทั้งหมดนีเ้ปนการสวนหนึ่งทีจ่ะนาํการวิจัยมาใชเพื่อพัฒนาโมเดลใหม หรือ รูปแบบใหม

ดวยตรรกจากความสวยงามทางปญญาทีส่ามารถกอรูปแบบหรือ จําลองความคิด เปนพาราไดม หรือ ราง

โมเดลและเม่ือทําการทดสอบและตรวจสอบซํ้า จงึไดผลผลิตทางความคิดที่ตกผลึกเปนโมเดลใหมหรือ

รูปแบบองคความรูใหมของธุรกิจ