ทิศทางอัตราดอกเบี้ยออสซี่

8

Click here to load reader

Upload: kbank-fx-dealing-room

Post on 28-May-2015

254 views

Category:

Education


0 download

DESCRIPTION

ดอลลาร์ออสเตรเลียอ่อนค่า... หลังขาดแรงหนุนจากทิศทางอัตราดอกเบี้ย

TRANSCRIPT

Page 1: ทิศทางอัตราดอกเบี้ยออสซี่

11

1

.Mean S

ดอลลารออสเตรเลียปรับตัวผันผวนและมีแนวโนมออนคาลง หลังตลาดมองวามีโอกาสนอยลงที่ธนาคารกลางออสเตรเลีย (อารบีเอ) จะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยในระยะอันใกลนี้ เศรษฐกิจออสเตรเลียมีแนวโนมแผวลงในชวงครึ่งหลังของป 2553 โดยเฉพาะในชวงไตรมาสสุดทายของป หลังเผชิญปญหาอุทกภัยครั้งรุนแรงที่สุดในรอบ 36 ป ปญหาน้ําทวมในชวง 2 เดือนที่ผานมา สงผลกระทบในวงกวางตอการผลิตใน อุตสาหกรรมเหมืองแร การเพาะปลูก รวมทั้งสาธารณูปโภคพื้นฐานในประเทศ แมปญหาดานเงินเฟอของออสเตรเลียยังไมเปนประเด็นที่สรางความกังวลในปจจุบัน แตราคาสินคาโภคภัณฑในตลาดโลกที่เรงตัวขึ้นและการออนคาของดอลลารออสเตรเลีย (AUD) คาดวาจะทําใหแรงกดดันเงินเฟอเรงตัวขึ้นในระยะตอไป สําหรับการดําเนินนโยบายการเงินในชวงตอไป ธนาคารกลางออสเตรเลีย

(อารบีเอ) จําเปนตองสรางสมดุลระหวางการรักษาอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการดูแลปญหาเงินเฟอในประเทศ เรามองวา ดอลลารออสเตรเลียมีแนวโนมออนคาลง แตราคาสินคาโภคภัณฑที่ปรับตัวสูงขึ้นจะชวยจํากัดการออนคาของดอลลารออสเตรเลียไดบางสวน โดยคาดวา AUD/THB จะอยูที่ระดับ 29.0 ในชวงปลายป 2554 ออนคาลงจากระดับ 31.1 ในปจจุบัน

ดอลลารออสเตรเลียออนคาลง...หลังตลาดลดการคาดการณการปรับขึ้นอัตราดอกเบ้ีย

ในชวง 2 เดือนที่ผานมา ดอลลารออสเตรเลียมีการปรับตัวผันผวนและมีแนวโนมปรับตัวใน ทิศทางขาลงเปนสวนใหญ เหตุผลหลักเกิดจากตลาดเริ่มลดการคาดการณเกี่ยวกับการปรับขึ้นอัตรา ดอกเบี้ยของธนาคารกลางออสเตรเลีย (อารบีเอ) ลง หลังจากเศรษฐกิจของประเทศประสบปญหาอุทกภัยอยางรุนแรง สงผลใหพื้นที่ 3 ใน 4 ของรัฐควีนสแลนดไดรับความเสียหายจนตองประกาศเปนเขตภัยพิบัติ ซึ่งความเสียหายที่เกิดขึ้น สงผลกระทบในวงกวางตอเศรษฐกิจของประเทศ

KBank FX & Rates Strategies

ดอลลารออสเตรเลียออนคา...หลังขาดแรงหนุนจากทิศทางอัตราดอกเบี้ย

Economics / Strategy FX / Rates 28 January 2011

Warunee Sithithaworn warunee.si @kasikornbank.com

Page 2: ทิศทางอัตราดอกเบี้ยออสซี่

22

2

หากยังจํากันไดในชวงที่ผานมา ออสเตรเลียเปนประเทศแรกๆ ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟคที่มี การปรับอัตราดอกเบี้ยขึ้นภายหลังเศรษฐกิจของประเทศหลุดพนจากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจในชวงกวา 2 ป ที่ผานมา และสามารถฟนตัวขึ้นอยางรวดเร็ว ทําใหอัตราเงินเฟอของออสเตรเลียเริ่มขยับตัวสูงขึ้น สถานการณดังกลาวสงผลใหธนาคารกลางออสเตรเลีย (อารบีเอ) ตองนํารองปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเปน ครั้งแรกในเดือนต.ค. 2552 จากระดับ 3.0% ขึ้นสูระดับ 3.25% ตามดวยการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยอยาง ตอเนื่องอีก 6 ครั้ง สงผลใหอัตราดอกเบี้ยนโยบายขยับขึ้นสูระดับ 4.75% ในการประชุมรอบสุดทายของป 2553 หรือเมื่อวันที่ 3 พ.ย. ที่ผานมา

อัตราดอกเบี้ยของออสเตรเลียในระดับดังกลาว นับวาอยูในระดับสูงหากเปรียบเทียบกับอัตราดอกเบี้ยของประเทศเศรษฐกิจหลักอื่นๆ อาทิ สหรัฐฯที่อัตราดอกเบี้ยยังไมขยับขึ้นจากระดับ 0-0.25% ขณะที่อัตราดอกเบี้ยของญี่ปุนปรับตัวลงสูระดับ 0-0.1% เชนเดียวกับยูโรโซนและอังกฤษที่อัตราดอกเบี้ยยังทรงตัวในระดับต่ําที่ 1.0% และ 0.5% ทั้งนี้ ภาพรวมเศรษฐกิจและความไดเปรียบดานอัตราดอกเบี้ยยอมเปนปจจัยบวกตอสกุลเงินของประเทศ จะเห็นไดวาในป 2010 ที่ผานมา (จากรูปที่ 2) ดอลลาร ออสเตรเลียปรับแข็งคาขึ้นราว 12.13% เทียบกับดอลลารสหรัฐฯ ซึ่งคอนขางโดดเดนหากเทียบกับสกุล เงินหลักอื่นๆ โดยเปนรองเพียงเงินเยนที่ปรับแข็งคาขึ้น 14.03%

รูปที่ 1 : ดอลลารออสเตรเลียปรับตัวในทิศทางขาลงในชวง 2 เดือนที่ผานมา รูปที่ 2 : ดอลลารออสเตรเลียเร่ิมออนคาลงเทียบกับดอลลารสหรัฐฯ AUD/USD Movement

0.6

0.7

0.8

0.9

1.0

1.1

Jan-09 May-09 Sep-09 Jan-10 May-10 Sep-10 Jan-11

AUD/USD MOV_AVG_30D MOV_AVG_60D

Currency performers (% )

-6 -3 0 3 6 9 12 15

JPY

AUD

CHF

ZAR

SGD

TWD

NZD

CAD

BRL

GBP

EUR

DKK YTD as Jan 262010

Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, Kbank

อยางไรก็ดีการเคลื่อนไหวของดอลลารออสเตรเลีย (AUD) ในชวง 1 เดือนที่ผานมากลับใหภาพที่ตางจากปกอน โดยนับจากตนป ดอลลารออสเตรเลียมีการออนคาลงราว 2.0% เทียบกับดอลลารสหรัฐฯ เปนรองเพียงเงินแรนแอฟริกาใต (ZAR) ที่ออนคาลง 6.2% โดยเหตุผลหลักเกิดจากภาวะเศรษฐกิจที่ ซบเซา ขณะเดียวกันแรงกดดันเงินเฟอที่เริ่มลดลงในชวงไตรมาส 4/54 โดยดัชนีราคาผูบริโภค (CPI) ของออสเตรเลียขยายตัว 0.4% จากชวงไตรมาส 3/53 และขยายตัวที่ 2.7% จากระยะเดียวกันปกอน ซึ่งเปนระดับต่ําสุดในรอบเกือบ 2 ป ขณะที่อัตราเงินเฟอพื้นฐาน (Core CPI) อยูที่ระดับ 2.2% ซึ่งอยูภายใตกรอบเปาหมายระยะยาวที่ธนาคารกลางออสเตรเลีย (อารบีเอ) กําหนดไวที่ 2.0-3.0% ซึ่งเปนการย้ํามุมมองที่วาธนาคารกลางออสเตรเลีย (อารบีเอ) ไมจําเปนตองมีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยในชวงหลายเดือนตอจากนี้

Page 3: ทิศทางอัตราดอกเบี้ยออสซี่

33

3

รูปที่ 3 : อัตราเงินเฟอของออสเตรเลียออนตัวลงในชวงปลายป รูปที่ 4 : อัตราเงินเฟอของออสเตรเลียออนตัวลงในชวงปลายป Australia Inflation

-0.50.00.51.01.52.02.53.03.54.0

Jan-09 May-09 Sep-09 Jan-10 May-10 Sep-10 Jan-11CPI (%yoy) CPI (% qoq)

Australia Inflation and target rate

-10

1234

56

Jan-09 May-09 Sep-09 Jan-10 May-10 Sep-10 Jan-11CPI (%y oy ) CPI (%qoq) RBA Tatget rate (%)

Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, Kbank

เศรษฐกิจออสเตรเลียเริ่มแผวลงในชวงครึ่งหลังของป 2553

เศรษฐกิจออสเตรเลียชะลอตัวลงหลังไดรับผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจในชวงที่ผานมา โดยเศรษฐกิจขยายตัวที่ระดับ 2.7% ในป 2551 และขยายตัวเพียง 0.9% ในชวงครึ่งแรกของป 2552 ซึ่งต่ํากวาคาเฉลี่ยระยะยาวในชวง 10 ปที่เศรษฐกิจสามารถขยายตัวไดราว 3% อยางไรก็ดีเศรษฐกิจ ออสเตรเลียมีการฟนตัวขึ้นอยางรวดเร็วนับจากชวงครึ่งหลังของป 2552 โดยมีแรงหนุนสําคัญจากการ ปรับตัวดีขึ้นของภาคสงออก ทั้งนี้หลังจากที่เศรษฐกิจจีนซึ่งเปนประเทศคูคาหลักมีการฟนตัวขึ้นอยาง แข็งแกรง เชนเดียวกับเศรษฐกิจโลกที่ปรับตัวดีขึ้นเปนลําดับชวยใหการสงออกสินคาในหมวดเหมืองแร ของออสเตรเลียเรงตัวขึ้นและสงผลเชื่อมโยงไปสูกิจกรรมทางเศรษฐกิจในประเทศทั้งในสวนของการผลิต ในภาคอุตสาหกรรมเพื่อการสงออก เชนเดียวกับการผลิตสินคาและบริการเพื่อจําหนายในประเทศที่มี การปรับตัวในเชิงบวกตอบรับกําลังซื้อในประเทศที่ดีขึ้นตามการจางงานของออสเตรเลียที่ปรับตัวสูงขึ้น

อยางไรก็ดี ในชวงครึ่งหลังของป 2553 เศรษฐกิจออสเตรเลียเริ่มมีแนวโนมชะลอตัวลงอีกครั้ง โดยไดรับผลกระทบจากดําเนินนโยบายการเงินในเชิงเขมงวด โดยการปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายขึ้น อยางตอเนื่องนับจากปลายป 2552 เปนตนมา และคาดวาเศรษฐกิจจะปรับตัวลงอยางชัดเจนในชวง ไตรมาสสุดทายของป 2553 หลังจากที่ออสเตรเลียเผชิญปญหาน้ําทวมครั้งรุนแรงที่สุดในรอบเกือบ 40 ป โดยอุทกภัยในรัฐควีนแลนด ในชวงเกือบ 2 เดือนที่ผานมาสงผลกระทบคอนขางรุนแรงตออุตสาหกรรมเหมืองแรและผลผลิตภาคการเกษตร เนื่องจากรัฐควีนสแลนดถือเปนพื้นที่เศรษฐกิจที่มีสัดสวนผลผลิต ราว 19% ของผลิตภัณฑมวลรวม (GDP) ของประเทศ โดยปรับตัวสูงขึ้นจาก 14% ในชวงเวลา 36 ป หรือนับจากป 1974

ที่สําคัญ รัฐควีนสแลนดยังเปนเขตอุตสาหกรรมถานหินสําคัญของประเทศ โดยมีการผลิต ถานหินในสวนสวนเกินกวาครึ่งหนึ่ง หรือราว 54.5% ของการผลิตถานหินรวมของประเทศในปจจุบัน อุทกภัยที่เกิดขึ้นในชวง 2 เดือนที่ผานมา สงผลใหเหมืองถานหินตองปดตัวลงและสงผลกระทบตอการสงออกในหมวดเหมืองแรซึ่งเปนสินคาหลักของประเทศ นอกจากความเสียหายที่เกิดขึ้นกับอุตสาหกรรมเหมืองแรแลว ปญหาน้ําทวมที่เกิดขึ้นยังสรางความเสียหายตอพืชผล ถนน ทางรถไฟ สะพาน รวมทั้ง

Page 4: ทิศทางอัตราดอกเบี้ยออสซี่

44

4

อาคารนับพันแหงใน 3 รัฐใหญของเทศ โดยมูลคาความเสียหายที่เกิดขึ้นมีมูลคาถึง 1 หมื่นลานดอลลารสหรัฐฯ ทั้งนี้ทางการออสเตรเลียไดมีการประเมินวาอุทกภัยครั้งนี้จะทําใหอัตราการขยายตัวทาง เศรษฐกิจของประเทศลดลงราว 0.2-04% และทําใหเศรษฐกิจในป 2554 ขยายตัวที่ระดับเพียง 2.2-2.4% เทานั้น

รูปที่ 5 : เศรษฐกิจออสเตรเลียมีแนวโนมแผวลง รูปที่ 6 : กําลังการผลิตถานหินกวาคร่ึงอยูที่รัฐควีนสแลนด Australia GDP growth

0

1

2

3

4

5

Mar-05 Sep-05 Mar-06 Sep-06 Mar-07 Sep-07 Mar-08 Sep-08 Mar-09 Sep-09 Mar-10 Sep-10

%y oy

Australia coal production

0%

20%

40%

60%

80%

100%

2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010New South Wales Queensland West Australia Southd Australia Tasmania

Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, Kbank

ลาสุดวันที่ 26 มกราคมที่ผานมา นายกรัฐมนตรีออสเตรเลียประกาศเก็บภาษีเงินไดใหมเพื่อระดมทุน 1.8 พันลานดอลลารออสเตรเลีย หรือเก็บภาษีในอัตรา 0.5% จากผูมีรายไดตอปมากวา 50,000 ดอลลารออสเตรเลียหรือ 1.5 ลานบาท และอัตรา 1.0% จากผูมีรายไดตอปมากกวา 100,000 ดอลลาร ออสเตรเลียหรือราว 3 ลานบาท โดยการจัดเก็บภาษีใหมจะมีผลบังคับใชในป 2554-2555 เทานั้น อัตราเงินเฟอของออสเตรเลียมีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้น

แมปญหาเงินเฟอของออสเตรเลียยังมีการชะลอตัวลงในชวงไตรมาสสุดทายของป 2011 แตสวนหนึ่งเปนผลจากดอลลารออสเตรเลียที่ปรับแข็งคาขึ้นมากในชวงที่ผานมา ซึ่งชวยใหแรงกดดัน ดานเงินเฟอยังไมสรางความกังวลและเปดโอกาสใหธนาคารกลางออสเตรเลีย (อารบีเอ) สามารถยืน อัตราดอกเบี้ยที่ระดับ 4.75% ไดอีกระยะหนึ่ง แตเรามองวาแรงกดดันดานเงินเฟอของออสเตรเลียมี แนวโนมปรับตัวขึ้นในระยะตอไป สวนหนึ่งเปนผลจากดอลลารออสเตรเลียที่มีแนวโนมออนคาลงตามที่กลาวขางตน สงผลใหราคาสินคานําเขาของออสเตรเลียมีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้น โดยเฉพาะราคาสินคา โภคภัณฑในตลาดโลกปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ทั้งในสวนของสินคาในหมวดพลังงานและโลหะจากความตองการที่เพิ่มขึ้นตามการฟนตัวของเศรษฐกิจโลกและแรงหนุนจากสภาพคลองระดับสูงในระบบ การเงินโลก ขณะที่ราคาสินคาเกษตรมีการปรับตัวขึ้น เนื่องจากปญหาดานการผลิตหรือ Supply shock โดยปริมาณการผลิตทางการเกษตรไดรับความเสียหายในหลายพื้นที่ยังเปนปจจัยที่ชวยหนุนใหราคา สินคาเกษตรเรงตัวขึ้นมา

Page 5: ทิศทางอัตราดอกเบี้ยออสซี่

55

5

รูปที่ 7 : ดัชนีราคาสินคาโภคภัณฑในตลาดโลกปรับตัวขึ้นอยางตอเนื่อง รูปที่ 8 : ดัชนีราคาสินคาโภคภัณฑในตลาดโลกปรับตัวขึ้นอยางตอเนื่อง Global commodity price index

100

140

180

220

260

300

Jan-08 May-08 Sep-08 Jan-09 May-09 Sep-09 Jan-10 May-10 Sep-10 Jan-11

Commodity price rose 107% since Jan 2009

Commodity price index

0

100

200

300

400

500

Jan-09 May-09 Sep-09 Jan-10 May-10 Sep-10 Jan-11Energy Grains Livestock Food&Fiber Metals

Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, Kbank

นอกจากปญหาผลิตตกต่ําในหลายพื้นที่แลว ราคาสินคาโภคภัณฑยังปรับตัวขึ้นจากแรงหนุนทางดานความตองการใชสินคาหรือ ดาน Demand ปรับตัวขึ้นตามการฟนตัวของเศรษฐกิจ โดยเฉพาะ การขยายตัวของเศรษฐกิจจีนซึ่งขยายตัวในระดับสูงราว 10% ในชวง 10 ปที่ผานมา แมวาในชวงที่ผานมาทางการจีนจะมีการคุมเขมนโยบายการเงินอยางตอเนื่องเพื่อควบคุมสภาพคลองในระบบการเงินและสกัดการเรงตัวของเงินเฟอ โดยการปรับขึ้นอัตราการกันสํารองของธนาคารพาณิชยในประเทศและการปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายขึ้น 2 ครั้งในชวงไตรมาสสุดทายของป 2553 แตดูเหมือนการดําเนินการในชวงที่ ผานมายังไมเพียงพอที่จะชะลอความรอนแรงของเศรษฐกิจจีน โดยมีการคาดการณวาในป 2554 เศรษฐกิจจีนยังจะขยายราว 10% หลังจากที่ขยายตัวสูงถึง 10.3% ในปที่ผานมา รูปที่ 9 : การขยายตัวของเศรษฐกิจจีนในชวง 10 ปที่ผานมา รูปที่ 10 : การคาดการณอัตราดอกเบี้ยในตลาดลวงหนา

China GDP growth (%)

0.02.04.06.08.0

10.012.014.016.0

Jun-

05Se

p-05

Dec-0

5Ma

r-06

Jun-

06Se

p-06

Dec-0

6Ma

r-07

Jun-

07Se

p-07

Dec-0

7Ma

r-08

Jun-

08Se

p-08

Dec-0

8Ma

r-09

Jun-

09Se

p-09

Dec-0

9Ma

r-10

Jun-

10Se

p-10

Dec-1

0

av erage 2005 - 2010

RBA cast rate target

4.00

4.25

4.50

4.75

5.00

5.25

5.50

5.75

Spot Q1/11 Q2/11 Q3/11 Q4/11 Q1/12 Q2/12

%

Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, Kbank

ความรอนแรงของเศรษฐกิจจีนและเศรษฐกิจตลาดเกิดใหม ทําใหราคาสินคาโภคภัณฑในตลาดโลกทั้งพลังงานและสินคาเกษตรมีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้น ขณะเดียวกันความเสียหายจากน้ําทวม รัฐควีนสแลนดซึ่งเปนพื้นที่เพาะปลูกผักและผลไมราว 30% ของออสเตรเลีย ยิ่งเปนปจจัยลบซ้ําเติมและ สงผลใหอัตราเงินเฟอของออสเตรเลียมีโอกาสเรงตัวสูงขึ้น โดยมีการคาดการณวาอัตราเงินเฟอของ ออสเตรเลียจะขยับขึ้นไปเหนือเปาหมายของทางการที่ 2.0-3.0% ในชวงปลายป 2554 และยังทรงตัวใน

Page 6: ทิศทางอัตราดอกเบี้ยออสซี่

66

6

ระดับสูงตอไป ซึ่งสถานการณดังกลาวจะสงผลใหการดําเนินนโยบายการเงินของธนาคารกลาง ออสเตรเลียมีความยากลําบากมากขึ้น เนื่องจากทางการจําเปนตองรักษาความสมดุลระหวางการ เติบโตทางเศรษฐกิจควบคูกับการดูแลเงินเฟอที่ มีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้น โดยตลาดลวงหนามองวา อัตราดอกเบี้ยนโยบายของออสเตรเลียจะขยับขึ้นจากระดับ 4.75% ในปจจุบันสูระดับ 5.25% ในชวง ปลายปนี้ ในสวนของการเคลื่อนไหวของดอลลารออสเตรเลีย เรามองวาแมดอลลารออสเตรเลียจะมี แนวโนมออนคาลง แตราคาสินคาโภคภัณฑที่ปรับตัวสูงขึ้นจะชวยจํากัดการออนคาของดอลลาร ออสเตรเลียไดบางสวน โดยคาดวา AUD/THB จะอยูที่ระดับ 29.0 ในชวงปลายป 2554 ออนคาลงจากระดับ 31.1 ในปจจุบัน

Page 7: ทิศทางอัตราดอกเบี้ยออสซี่

77

7

ตารางที่ 1 . เคร่ืองชี้เศรษฐกิจสําคัญของไทย May 10 Jun 10 Jul 10 Aug 10 Sep 10 Oct 10 Nov 10 Dec 10 Manufacturing index 185.0 194.2 190.1 183.7 201.5 191.2 190.4

% YoY 15.9 14.2 13.1 8.4 8.1 6.0 5.6 Industrial capacity utilization rate (%) 64.3 65.4 64.8 63.6 64.4 63.9 63.6 Retail sales (% YoY) 8.1 11.9 12.3 8.5 8.9 4.7 4.7 Passenger car sales (units) 62,205 70,557 65,672 65,724 68,261 72,012 78,874 Motorcycle sales (units) 138,558 168,389 175,926 153,256 147,932 145,916 154,971 Unemployed labor force ('000 persons) 586 459 346 353 343 355 Commercial car sales (units) 1.5 1.2 0.9 0.9 0.9 0.9 Consumer prices (% YoY) 3.5 3.3 3.4 3.3 3.0 2.8 2.8 3.0

core 1.2 1.1 1.2 1.2 1.1 1.1 1.1 1.4 Producer prices (% YoY) 8.0 11.5 11.1 10.7 9.1 6.3 5.9 6.7 External Accounts (USD mn, unless specified otherwise) Exports 16,435.0 17,877.0 15,475.0 16,292.0 17,955.0 17,046.0 17,584.0

% YoY 42.5 47.1 21.2 23.6 21.8 16.6 28.7 Imports 14,144.0 15,334.0 16,266.0 15,440.0 14,712.0 14,773.0 17,094.0

% YoY 53.6 38.3 36.5 41.8 15.7 14.4 35.0 Trade balance 2,291.0 2,543.0 -791.0 852.0 3,243.0 2,273.0 490.0 Tourist arrivals ('000) 815 953 1,258 1,268 1,220 1,360 1,500

% YoY -11.8 -0.2 14.7 12.5 1.9 6.3 10.3 Current account balance 1,172.0 821.0 -1,001.0 280.0 2,767.0 2,740.0 1,019.0 Balance of payments -989 2,166 1,412 3,589 4,270 5,822 820 FX reserves (USD bn) 143.4 147.1 151.5 154.7 163.1 171.1 168.2 Forward position (USD bn) 13.0 12.2 11.0 12.1 11.1 12.6 15.3 Monetary conditions (THB bn, unless specified otherwise) M1 1,261.9 1,180.2 1,173.0 1,181.4 1,175.5 1,202.3 1,235.4

% YoY 14.4 15.1 15.8 11.4 11.7 11.4 10.8 M2 11,001.5 10,846.4 10,887.1 10,968.1 11,116.1 11,322.4 11,497.3

% YoY 6.7 6.9 8.7 8.4 9.8 11.1 11.0 Bank deposits 10,229.1 9,983.3 9,974.5 10,015.9 10,091.6 10,204.1 10,389.3

% YoY 7.0 6.2 7.6 6.6 7.8 8.5 8.1 Bank loans 9,101.2 9,196.7 9,219.7 9,299.8 9,432.7 9,580.5 9,743.9

% YoY 7.3 8.5 9.1 9.8 10.8 12.1 12.2 Interest rates (% month end) BOT 1 day repo (target) 1.25 1.25 1.50 1.75 1.75 1.75 1.75 2.00 Average large banks' minimum lending rate 5.86 5.86 6.00 6.00 6.00 6.00 6.00 6.12 Average large banks' 1 year deposit rate 0.68 0.68 0.98 0.98 1.11 1.11 1.11 1.32 Govt bond yield 1yr 1.52 1.56 1.91 1.99 2.01 1.98 2.11 2.38 Govt bond yield 5yr 3.06 2.99 3.08 2.69 2.56 2.83 2.98 3.26 Govt bond yield 10yr 3.49 3.33 3.44 3.01 3.12 3.18 3.59 3.77 Key FX (month end) DXY US dollar index 86.59 86.02 81.54 83.20 78.72 77.27 81.20 79.03 USD/THB 32.51 32.42 32.26 31.27 30.33 29.91 30.20 30.06 JPY/THB 35.67 36.61 37.31 37.18 36.35 37.16 36.11 37.02 EUR/THB 39.96 39.79 42.12 39.73 41.31 41.62 39.37 40.18

Source: Bloomberg

Page 8: ทิศทางอัตราดอกเบี้ยออสซี่

88

8

Disclaimer For private circulation only. The foregoing is for informational purposes only and not to be considered as an offer to buy or sell, or a solicitation of an offer to buy or sell any security. Although the information herein was obtained from sources we believe to be reliable, we do not guarantee its accuracy nor do we assume responsibility for any error or mistake contained herein. Further information on the securities referred to herein may be obtained upon request.