การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย

64
LOGO การเขาสูประชาคมอาเซียนของไทย โดย นางสาวเยาวลักษณ ชาวบานโพธิรหัสประจําตัว 5719860013 เสนอ รองศาสตราจารย ดร.ธนาสฤษฎิสตะเวทิน กระบวนวิชาประเทศไทยในเอเชียอาคเนย (POL9228) หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาการเมือง รุนที่ 7 มหาวิทยาลัยรามคําแหง

Upload: yaowaluk-chaobanpho

Post on 14-Aug-2015

32 views

Category:

Education


0 download

TRANSCRIPT

LOGO

การเขาสูประชาคมอาเซียนของไทย

โดย

นางสาวเยาวลักษณ ชาวบานโพธ์ิ

รหัสประจําตวั 5719860013

เสนอ รองศาสตราจารย ดร.ธนาสฤษฎิ์ สตะเวทิน

กระบวนวชิาประเทศไทยในเอเชียอาคเนย (POL9228) หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาการเมือง รุนท่ี 7 มหาวิทยาลัยรามคําแหง

www.themegallery.com

เนื้อหาการรายงาน 1 จากอาเซียนสูประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)

2 การเตรียมความพรอมของประเทศไทยสูประชาคมเศรษฐกิจ

อาเซียน

3 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community)

4 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซยีนที่มีตอประเทศไทย

5 สรุป และขอเสนอแนะในการเตรียมความพรอมสูประชาคม

เศรษฐกจิอาเซียน

www.themegallery.com

.

จากอาเซียนสูประชาคมอาเซียน

CAMBODIA

อาเซียน : สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต ป 2540

ป 2540

ป 2510

ป 2510

ป 2510

ป 2510

ป 2510 ป 2538

ป 2527 ป 2542

ASEAN (Association of South East Asian Nations)

www.themegallery.com

จุดกําเนิดอาเซียน บานพักท่ีแหลมแทน บางแสน พลังจิตวิญญาณแหงบางแสน

เดิมใชชื่อสมาคมความรวมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต

วัตถุประสงคเนนความรวมมือทางเศรษฐกิจมากกวาการเมือง

วันอังคารท่ี 8 สิงหาคม 2510

ลงนาม ณ วังสราญรมย

ชื่อวา ASEAN อานวาอาเซียน

สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต

เสริมรากฐานการเปนประชาคมในภูมิภาคเอเชยีตะวันออกเฉียงใต

www.themegallery.com

สมาคมแหงประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต กอต้ังโดยปฏิญญากรุงเทพ

(Bangkok Declaration) เมื่อ 8 สิงหาคม 1967 (พ.ศ. 2510)

จุดเริ่มตนอาเซียน

Bangkok Declaration 2510

www.themegallery.com

เปนการจัดโครงสรางอาเซียน โดย

การปรับปรุงระบบและกลไกการ

ทํางานภายในอาเซียนใหมี

ประสิทธิภาพ

ใหความสําคัญกับการมีสวนรวม

ของประชาชนมากขึ้น

กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) = ธรรมนูญแหงอาเซียน

www.themegallery.com

เรงรัดความเจริญทางเศรษฐกิจ ความกาวหนาทางสังคม และวัฒนธรรม

สงเสริมสันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาค

สงเสริมความรวมมือในทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี วิทยาศาสตร

และการบริหาร

อํานวยความสะดวกในดานการฝกอบรม และวิจัย ดานการศึกษาวิชาชีพ วิชาการ

และการบริหาร

รวมมือดานเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม

สงเสริมการศึกษา รวมมือกับองคกรระหวางประเทศสวนภูมิภาค

วัตถุประสงคการกอตั้งอาเซียน

Presenter
Presentation Notes
ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับอาเซียน ESTABLISHED 8 August 1967 in Bangkok by 5 countries. (Indonesia, Malaysia, Philippines, Singapore and Thailand). Brunei joined in January 1984, Viet Nam in July 1995, Laos and Myanmar in July 1997 and Cambodia in April 1999. Main Objectives (i) to accelerate economic growth, social progress and cultural development (ii) to promote regional peace and stability. Basic data: population 500 million, combined GDP US$720 billion, combined exports US$ 735 billion. Average intra-ASEAN tariffs 4.43% compared to 12.76% in 1993. Abundant natural resource and skilled manpower. Mainly middle class, with high purchasing power, half the size of China’s. Some of its members are the world’s top 20 most competitive economies. Stretches across three time zones. Bridges the Indian and Pacific Oceans. One out of every ten persons is Southeast Asian.

www.themegallery.com

อาเซียนเริ่มตนดวยสมาชิกหาประเทศ

คือ อินโดนีเซีย มาเลเซยี ฟลิปปนส สิงคโปร และไทย

ตอมามีสมาชิกใหมเพ่ิมข้ึนอีกหาประเทศ

ไดแก บรูไน ดารุสซาลาม เวยีดนาม

สปป ลาว พมา และกัมพูชา

สมาชิกอาเซียน

www.themegallery.com

ตอมามีสมาชิกใหมเพ่ิมข้ึนอีกหาประเทศ

ไดแก บรูไน ดารุสซาลาม เวยีดนาม

สปป ลาว พมา และกัมพูชา •

ความหมายของตราสัญลักษณอาเซยีน

สีนํ้าเงิน สันติภาพและความม่ันคง

สีแดง ความกลาหาญและกาวหนา

สีเหลือง ความเจริญรุงเรอืง สีขาว ความบริสุทธ์ิ

รวงขาว 10 ตน คือ 10 ประเทศรวมกันเพ่ือมิตรภาพและความเปนน้ําหนึ่งใจเดียว

วงกลม แสดงถึงความเปนเอกภาพ

www.themegallery.com

หลักการพ้ืนฐานของอาเซียน

การตัดสินใจโดย

หลักฉันทามติ

การไมแทรกแซง

กิจการภายในของกัน

และกัน

ความรวมมือเพ่ือ

พัฒนาอาเซียน

ความเปนอยูท่ี

ดีของประชาชน

www.themegallery.com

ประชาคมอาเซียน

คําวา ประชาคมอาเซียน ปรากฏคร้ังแรกอยางเปนทางการ ในปฏิญญาสมานฉันท

อาเซียน ฉบับท่ี 1 ท่ีเกาะบาหลี อินโดนีเซีย

อาเซียนคอมมิวนิต้ีปรากฏเปนทางการ ในวันท่ี 24 กุมภาพันธ 2519 โดย มรว.

คึกฤทธ์ิ ปราโมทย นายกรัฐมนตรีรวมลงนาม มีรัฐสมาชิก 5 ประเทศ

“รัฐสมาชิกตองพัฒนาการรับรูอยางแข็งขันในเร่ืองอัตลักษณภูมิภาค และตองใช

ความพยายามทุกอยางในอันท่ีจะสรางประชาคมอาเซียนท่ีเขมแข็งเปนท่ีเคารพ

ของทุกชาติ และใหความเคารพตอทุกประเทศ บนพื้นฐานของความสัมพันธ

ระหวางกันท่ีมีผลประโยชนรวมกัน ตามหลักการตัดสินใจดวยตนเอง อธิปไตยท่ี

เทาเทียมกัน และการไมแทรกแซงในกิจการภายในของชาติอ่ืน”

www.themegallery.com

“วิสัยทัศนอาเซียน ๒๐๒๐”

ป ๒๕๔๐ ผูนําอาเซียนใหการรับรอง “วิสัยทัศนอาเซียน ๒๐๒๐” (ASEAN Vision

2020)

เปน ประชาคมอาเซียนภายในป 2020 ท่ีมีสํานึกในความเชื่อมโยงใน

ประวัติศาสตรของตน รับรูอยูตลอดเวลาในมรดกทางวัฒนธรรมของตน และ

ผูกพันดวยอัตลักษณรวมกันในภูมิภาค (Common Regional Identity) เปนสังคม

อาเซียนท่ีเปดกวางแตคงไวซึ่งอัตลักษณประจําตัว (national identity) ผูคนทุกหมู

เหลามีความเทาเทียมกันมีโอกาสในการพัฒนาความเปนมนุษยอยางเทาเทียมกัน

(human development) ไมวาจะเปนเร่ืองเพศ เผาพันธุ ศาสนา ภาษาและ

วัฒนธรรม เปนสังคมท่ีผนึกแนน สามัคคีและเอ้ืออาทรตอกัน ใสใจในสิ่งแวดลอม

เพื่อทรัพยากรท่ียั่งยืน

www.themegallery.com

ปฏิญญาบาหลี ฉบับที่ ๒ (Bali Concord II)

มีเปาหมายไปสูการรวมตัวของอาเซียนในลักษณะการ

เปนชุมชนหรือประชาคมเดียวกันใหสําเร็จภายในป

๒๕๖๓

ตอมาในการประชุมสุดยอดอาเซียน คร้ังที่ ๑๒ เมือ

เดือนมกราคม ๒๕๕๐ ที่เมืองเซบู ฟลิปปนส ผูนําประเทศ

อาเซียนตกลงที่จะเรงรัดกระบวนการสรางประชาคม

อาเซียนใหแลวเสร็จภายในป ๒๕๕๘

www.themegallery.com

การดําเนินงานความรวมมือในอาเซียน

2510 - 2520 ปรับเปลีย่นทัศนคติลดปญหาความขัดแยง เปน

การพัฒนาสังคม วัฒนธรรมและสนเทศ

2520 - 2530 ขยายความรวมมือทางเศรษฐกิจในอาเซียน กอตั้ง

เขตเสรีการคาอาเซียน

2530 - 2540 เกิดวิกฤตเศรษฐกิจ กําหนดวิสัยทัศนอาเซียน

2540 - ปจจุบัน ปรับปรุงองคกรใหเขากับสภาพแวดลอมที่

เปลี่ยนแปลงไป เนนการรวมตวัของอาเซียน

เพื่อเรงรดัพัฒนาดานเศรษฐกิจ และสังคม

www.themegallery.com

ประโยชนที่ไทยไดรับจากอาเซียน

การเมือง เศรษฐกิจ สังคม

- มีความม่ันคงทางดานการเมือง

- เพิ่มการคา

- ลดตนทุนการผลิต

- ขยายตลาดการคา

- แกไขปญหาที่มีผลกระทบตอสังคม เชนโรคระบาดตางๆ ยาเสพติด

- รวมมือกันในการลดผลกระทบที่เกิดจากสิ่งแวดลอม เชน ภัยพิบัติ ฯลฯ

www.themegallery.com

.

ASEAN Community = ประชาคมอาเซยีน (2558)

ASEAN

Political-

Security

Community:

ประชาคม

ความมั่นคง

อาเซียน

ASEAN

Economic

Community

: ประชาคม

เศรษฐกิจ

อาเซียน

ASEAN Socio-

Cultural

Community:

ประชาคม

สังคม-

วัฒนธรรม

อาเซียน

โครงสรางของประชาคมอาเซียน

www.themegallery.com

แผนงานการจัดต้ังประชาคมอาเซียน

ที่ประชุมสุดยอดครั้งที่ 14 ที่ชะอํา เม่ือวันที่ 1 มีนาคม 2552 ได

รับรองปฏิญญาชะอํา - หัวหินวาดวยแผนงานสําหรับการจัดตั้ง

ประชาคมอาเซียน 2552-2558 ซึ่งผนวกแผนงานสําหรับการจัดตั้ง

ประชาคมอาเซียนทั้ง 3 เสาหลัก ไดแก

ประชาคมการเมืองความม่ันคงอาเซียน

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

ประชาคมสงัคมและวัฒนธรรมอาเซียน

ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน

เปาหมาย: เพ่ือใหเปนสังคมเปนเอกภาพ เอ้ืออาทรตอกัน มีความเปนอยูท่ีดี

พัฒนาทุกดาน และมีความมั่นคงทางสังคม โดย

การพัฒนามนุษย

การคุมครองและสวัสดิการสังคม

ความยุติธรรมและสิทธิ

สงเสริมความยั่งยืนดานสิ่งแวดลอม

การสรางอัตสักษณอาเซียน

เนนการบูรณาการดานการศึกษา สรางสังคมความรู พัฒนาทรัพยากรมนุษย สงเสริมการจาง

งานท่ีเหมาะสม สงเสริม ICT การเขาถึงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ขจัดความยากจน สรางเครือขายความปลอดภัยทางสังคม สงเสริมความมั่นคงและ

ความปลอดภัยดานอาหาร การควบคมุโรคติดตอ

คุมครองสิทธิผูดอยโอกาส แรงงานยายถิ่นฐาน สงเสริมความรับผิดชอบตอสังคม

องคกรธุรกิจ

การจัดการปญหาสิ่งแวดลอมของโลก ปญหามลพิษทางสิ่งแวดลอมขามแดน การ

เปล่ียนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ สงเสริมการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

สรางความรูสกึเปนเจาของ อนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน สงเสริมการ

สรางสรรคดานวัฒนธรรม ลดชองวางดานการพัฒนา

ประชาคมการเมืองและความม่ันคง

เปาหมาย: ประชาธปิไตย โปรงใส มีธรรมมาภิบาล คุมครองสิทธิมนุษยชน

ความรวมมือเพื่อความสงบสุขเปนเอกภาพ

มีกฎเกณฑ บรรทัดฐาน และคานิยมรวมกัน

มีพลวัตร คงความเปนศูนยกลาง และบทบาทของอาเซียน

มีเอกภาพ สงบสุข แข็งแกรง และรับผิดชอบ

แกปญหาความมั่นคง

องคประกอบ

.

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

1. การเปนตลาดและฐานการผลิตรวม

2. การสรางเสริมขีดความสามารถแขงขัน

3. การพัฒนาเศรษฐกิจอยางเสมอภาค

4. การบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก

เปาหมาย

ความเช่ือมโยงของอาเซียน

Physical Connectivity

Institutional Connectivity

People to People Connectivity

ความเช่ือมโยงของอาเซียน

Physical Connectivity

ความเชื่อมโยง

โครงสรางพื้นฐาน

• คมนาคม

• เทคโนโลยีสารสนเทศ

• พลังงาน

Institutional Connectivity

ความเชื่อมโยงดาน

กฎระเบียบ

• ปรับปรุงกฎระเบียบเพือ่

อํานวยความสะดวกการคา

บรกิาร และลงทุน

• จัดทําความตกลง /

ขอตกลงยอมรบัรวมกัน เชน

ความตกลงดานการขนสง

ระเบยีบพิธีการในการขาม

พรมแดน และ โครงการ

พัฒนาศักยภาพดานตางๆ

People to People

Connectivity

ความเชื่อมโยง

ระหวางประชาชน

• การแลกเปล่ียน

ดานการศึกษาและ

วัฒนธรรม

• การเดินทาง

ทองเที่ยว

ความเปลี่ยนแปลงของการคาโลก: เวทีเจรจาการคาระหวางประเทศ

ความเปลี่ยนแปลงของการคาโลก: ทิศทางการเจรจาจัดทําความตกลงการคา

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เปาหมายตอไปจาก AEC ไปสู Regional

แนวความคิด >> นโยบาย AEC

ผลกระทบตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ของอาเซียนในป 2558

AEC กับการเปดเสรีภาคบริการ: 12 สาขาหลัก (128 ยอย)

บริการการศึกษา บริการสื่อสาร และโทรคมนาคม บริการนันทนาการ

บริการการเงนิ บริการวิชาชีพ วิศวกรรม สถาปนิก กฎหมาย

บริการกอสราง

บริการทองเที่ยว บริการขนสง

บริการจัดจําหนาย

บริการสิ่งแวดลอม บริการสุขภาพ

การเคล่ือนยายแรงงานวิชาชีพภายใต MRAs

กฎหมาย พรบ. วิชาชีพ 8 สายขา ภายใต MRAs

การเคล่ือนยายแรงงานฝมืออยางเสรี: จัดทํา MRAs วิชาชีพ

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจาก AEC

ผลกระทบดานลบจาก AEC

สินคาที่ไทยไดเปรียบ/เสียเปรียบ

บริการที่ไทยไดเปรียบ/เสียเปรียบ

การเคลื่อนยายแรงงาน

ความแตกตางระหวางการรวมกลุม ACE & EU

ASEAN วาระแหงชาติ

ASEAN วาระแหงชาติ: นโยบายรัฐบาล (แถลงรัฐสภา วันที่ 23 สิงหาคม 2554)

ASEAN วาระแหงชาติ: ความรูที่บุคลากรภาครัฐตองมี

ASEAN วาระแหงชาติ: ทักษะที่บุคลากรภาครัฐตองมี

ASEAN วาระแหงชาติ: ยุทธศาสตรกระทรวงพาณิชย 2555-2564

ASEAN วาระแหงชาติ: ยุทธศาสตรกระทรวงพาณิชย 2555-2564

ASEAN วาระแหงชาติ: ยุทธศาสตรกระทรวงพาณิชย 2555-2564

ยุทธศาสตรการสรางความเชื่อมโยงในภูมิภาค เพื่อความม่ันคงทางเศรษฐกิจและสังคม

สาระสําคัญของ 9 แนวทางการพัฒนา

ภายใตกรอบการสรางความเช่ือมโยงประเทศในภูมิภาค

สาระสําคัญของ 9 แนวทางการพัฒนา

ภายใตกรอบการสรางความเช่ือมโยงประเทศในภูมิภาค

สาระสําคัญของ 9 แนวทางการพัฒนา

ภายใตกรอบการสรางความเช่ือมโยงประเทศในภูมิภาค

สาระสําคัญของ 9 แนวทางการพัฒนา

ภายใตกรอบการสรางความเช่ือมโยงประเทศในภูมิภาค

สาระสําคัญของ 9 แนวทางการพัฒนา

ภายใตกรอบการสรางความเช่ือมโยงประเทศในภูมิภาค

สาระสําคัญของ 9 แนวทางการพัฒนา

ภายใตกรอบการสรางความเช่ือมโยงประเทศในภูมิภาค

สาระสําคัญของ 9 แนวทางการพัฒนา

ภายใตกรอบการสรางความเช่ือมโยงประเทศในภูมิภาค

สาระสําคัญของ 9 แนวทางการพัฒนา

ภายใตกรอบการสรางความเช่ือมโยงประเทศในภูมิภาค

จุดแข็ง-ขอจํากัดของสมาชิกอาเซียน

จุดแข็ง-ขอจํากัดของสมาชิกอาเซียน

จุดแข็ง-ขอจํากัดของสมาชิกอาเซียน

จุดแข็ง-ขอจํากัดของสมาชิกอาเซียน

โอกาส

โอกาส

แนวทางการเตรียมความพรอม

แนวทางการเตรียมความพรอม