วัณโรค

6
วัณโรค (Tuberculosis) วัณโรค ซึ่งเปนแบคทีเรียชื่อ ไมโครแบคทีเรียมทูเบอรคูโลซิส บางครั้งเรียกวา เชื้อเอเอฟบี เปนโรคติดตอที่เรื้อรัง และเปนได กับอวัยวะทุกสวนของรางกาย เชน ที่ตอมน้ําเหลือง กระดูก เยื่อหุมสมอง ปอด แตวัณโรคที่เปนกันมากและเปนปญหาทาง สาธารณสุขอยูในขณะนี้ก็คือ วัณโรคปอด มักพบในคนแกคนที่รางกายออนแอ จากการเปนโรคอื่น ๆ มากอน เชน หวัด หัด ไอกรน พวกติดยาและโรคเอดสและในคนที่ตรากตรําทํางานหนัก พักผอนไมพอ ขาดอาหาร ดื่มเหลาจัด หรือในคนที่มีประวัติ ใกลชิดกับคนที่เปนโรค เชน นอนหองเดียวกัน หรืออยูบานเดียวกัน ผูปวยวัณโรค จะมีเชื้อโรคอยูในปอด เมื่อผูปวย ไอจาม เชื่อจะออกมากับละออง เสมหะหรือน้ําลายนั้น เสมหะที่ตกสูพื้นดิน ถาถูกแสงแดดสองนาน ๆ เขา เชื้อจะตายไปเอง สวนละอองเล็ก ๆ จะลอยอยูในอากาศไดเปนเวลานาน ๆ หากผูใกลชิดสูด หายใจเขาไป เชื้อวัณโรคจะเขาสูรางกาย ทําใหมีโอกาสปวยเปน วัณโรคได แตผูที่ไดรับเชื้อแลว บางคนก็ยังไมปวยเปน วัณ โรคเลยทีเดียว แตจะเปนพาหะนําโรคแพรเชื้อโรคไปสูผูอื่นได

Upload: newyear-gift-idea-week

Post on 13-Mar-2016

215 views

Category:

Documents


1 download

DESCRIPTION

วัณโรควัณโรควัณโรควัณโรควัณโรค

TRANSCRIPT

Page 1: วัณโรค

วัณโรค (Tuberculosis)

วัณโรค ซึ่งเปนแบคทีเรียชื่อ ไมโครแบคทีเรียมทูเบอรคูโลซิส บางคร้ังเรียกวา เชื้อเอเอฟบี เปนโรคติดตอท่ีเร้ือรัง และเปนได

กับอวัยวะทุกสวนของรางกาย เชน ท่ีตอมนํ้าเหลือง กระดูก เยื่อหุมสมอง ปอด แตวัณโรคท่ีเปนกันมากและเปนปญหาทาง

สาธารณสุขอยูในขณะน้ีก็คือ วัณโรคปอด มักพบในคนแกคนที่รางกายออนแอจากการเปนโรคอ่ืน ๆ มากอน เชน หวัด หัด

ไอกรน พวกติดยาและโรคเอดสและในคนท่ีตรากตรําทํางานหนัก พักผอนไมพอ ขาดอาหาร ดื่มเหลาจัด หรือในคนท่ีมีประวัติ

ใกลชิดกับคนท่ีเปนโรค เชน นอนหองเดียวกัน หรืออยูบานเดียวกัน

ผูปวยวัณโรค จะมีเชื้อโรคอยูในปอด เมื่อผูปวย ไอจาม เชื่อจะออกมากับละออง เสมหะหรือนํ้าลายน้ัน เสมหะท่ีตกสูพ้ืนดิน

ถาถูกแสงแดดสองนาน ๆ เขา เชื้อจะตายไปเอง สวนละอองเล็ก ๆ จะลอยอยูในอากาศไดเปนเวลานาน ๆ หากผูใกลชิดสูด

หายใจเขาไป เชื้อวัณโรคจะเขาสูรางกาย ทําใหมีโอกาสปวยเปนวัณโรคได แตผูท่ีไดรับเชื้อแลว บางคนก็ยังไมปวยเปนวัณ

โรคเลยทีเดียว แตจะเปนพาหะนําโรคแพรเชื้อโรคไปสูผูอ่ืนได

Page 2: วัณโรค

อาการของวัณโรค

ผูติดเชื้อวัณโรคปอดมักจะคอย ๆ ปวยดวยอาการของวัณโรคปอดดังตอไปน้ี

มีอาการออนเพลีย

บางคร้ังอาจะมีมีอาการเบ่ืออาหาร และมีนํ้าหนักลด

อาจมีอาการคร่ันเน้ือคร่ันตัว หรือเปนไขต่ํา ๆ ตอนบาย

มีเหงื่อออกตอนกลางคืน

มีอาการไอ โดยระยะแรก ๆ ไอแหง ๆ ตอมาจึงมีเสมหะ และไอมากเวลาเขานอน หรือตื่นนอนตอนเชา หรือหลัง

อาหาร ท่ังน้ี อาการไอจะเร้ือรังเปนแรมเดือน แตบางคนอาจไมมีอาการไดเลยก็ได

ผูปวยอาจรูสึกแนนหรือเจ็บหนาอกโดยท่ีไมมีอาการไอ

ในรายท่ีเปนมาก อาจจะมีอาการหอบหรือไอเปนเลือดกอนแดง ๆ หรือดํา ๆ แตนอยรายท่ีจะมีเลือดออกมาก

ถึงกับช็อค

ในรายท่ีเปนนอย ๆ อาจไมมีอาการอะไรเลย และมักตรวจพบโดยบังเอิญจากการเห็นจุดในปอดบนภาพถาย

เอกซเรย

ผูปวยบางรายอาจมีอาการเปนไขนานเปนแรมเดือน โดยไมรูสาเหต ุ

ในกรณีที่เกิดในเด็ก อาการมักจะรุนแรงกวาผูใหญ เพราะเด็กมีภูมิคุมกันต่ํา

Page 3: วัณโรค

สุดอันตราย..!! วัณโรคพันธุใหม

วัณโรคสายพันธุเอ็กซดีอารทีบีแทรกซอนจํานวน 53 ราย ในจํานวนน้ีเสียชีวิต 52 ราย ภายในเวลา 16 วัน สวนคนปกติท่ี

ปวยดวยวัณโรคสายพันธุใหมจะเสียชีวิตรอยละ 50 สวนท่ีมีชีวิตอยูจะพิการ เพราะเชื้อโรคเขาไปทําลายปอดจนบางคร้ังทําให

เสียปอดไปหน่ึงขาง และจะทรมานจากการหายใจ

การรักษา

ผูปวยวัณโรคท่ีไมไดรักษาจะมีอัตราการตาย รอยละ 40-60 ปจจุบันมีวิธีการรักษาวัณโรคระยะส้ัน โดยการใหยารักษา

ควบคูกันไปหลายขนาน หากรักษาครบกําหนดจะมีอัตราหายรอยละ 90 การรักษาจะใชรวมกันหลายชนิดโดยให

INH,Rifampicine 6 เดือน และให Ethambutal,pyracinamide 2 เดือนแรก ผูปวยท่ีมีรายไดนอยก็สามารถไปรักษาโดยไม

ตองเสียคาใชจาย ท่ีโรงพยาบาลหรือสถานีอนามัยของรัฐเมื่อรักษาไป 2-3 สัปดาหผูปวยจะมีอาการดีขึ้นอยาตัดสินใจหยุดยา

เองเปนอันขาด การกินยาไมสม่ําเสมอ หรือหยุดยากอนกําหนดจะทําใหเชื้อโรคดื้อยา การรักษาวัณโรคท่ีดื้อยา ผูปวยจะแพร

เชื้อดื้อยาไปสูผูอ่ืน จะตองใชยา 18-24 เดือนโดยใชยาท่ีเชื้อไมดื้อยาอยางนอย3 ชนิด

วัณโรคเปนโรคท่ีรักษาใหหายไดแนนอน ใชระยะเวลาเพียง 6 – 8 เดือนเทาน้ัน แตผูปวยตองปฏิบัติตัวอยางเครงครัด ดังน้ี

Page 4: วัณโรค

1. กินยาตามชนิดและขนาดท่ีแพทยส่ังอยางสม่ําเสมอจนครบกําหนด (ไมลดหรือเพ่ิมขนาดของยาเอง)

2. ไปพบแพทยตามนัดทุกคร้ัง

3. อยาหยุดกินยาเองเปนอันขาด เพราะอาจทําใหเชื้อวัณโรคดื้อยาได

4. สามารถกินยารักษาวัณโรครวมกับยารักษาโรคอ่ืนได

5. กินอาหารไดตามปกต ิ

6. ควรงดเหลา บุหร่ี และยาเสพติด

* วัณโรครักษาดวยยาได แตการใหกําลังใจไมทอดท้ิง สําคัญยิ่งกวาส่ิงใด *

* ใสใจตนเองสักนิด ไอเกิน 3 อาทิตย มีสิทธิ์เปนวัณโรคปอด

ผูท่ีปวยดวยวัณโรคปอดจะไดรับยาตานวัณโรค ซึ่งมักจะประกอบดวยตัวยาดังน้ี

ไรแฟมพิซิน ,ไอโซไนอะซิด, อีแธมบูธอล, ไพราซินาไมด

นอกจากน้ันอาจไดรับไพริดอกซิน หรือวิตามิน บี 6 หรือวิตามิน บี 1 – 6 –12 รวมกับยาดังกลาว เพราะผูท่ีปวยดวยเชื้อ

วัณโรคจะขาดวิตามินดังกลาว ซึ่งตองใชรวมกันกับยารักษาวัณโรค ตามท่ีไดรับคําแนะนํา

วัณโรคปอด หรือ ทีบี เปนโรคท่ีเกิดจากเชื้อแบคทีเรียท่ีตองไดรับการรักษาท่ีตอเน่ือง ยารักษาวัณโรคจะออกฤทธิ์ฆา

เชื้อ หรือปองกันการแบงตัวของเชื้อแบคทีเรีย เน่ืองจากเชื้อแบคทีเรียท่ีทําใหเกิดวัณโรคมีการแบงตัวชา และระยะฟกตัวของ

เชื้อในรางกายกินเวลานาน ผูท่ีปวยดวยโรคน้ีจะไดรับยาเปนระยะเวลา ตั้งแต 6 เดือน ถึง 24 เดือน แลวแตสูตรยา

ผลของยารักษาวัณโรคปอดตอรางกาย

ผูปวยสวนมากจะสามารถใชยาตานวัณโรคไดโดยไมมีปญหา บางรายอาจไมรูสึกสบายในทอง จากผลขางเคียงของยาบาง

ชนิด อาการขางเคียงท่ีมักจะพบไดบอยในยาตานวัณโรค คือ

ไรแฟมพิซิน ( Rifampicin ) ปสสาวะ นํ้าตา เหงื่อ และ อุจจาระอาจเปนสีสม – แดง โดยไมมีอันตรายใด ๆ

ไอโซไนอะซิด ( Isoniazid , INH ) ผ่ืนไข หรืออาการแพอ่ืน ๆ อาจทําใหระดับวิตามิน บี 6 ลดลง ถาเกิดขึ้นจะทําใหรูสึก ชา

ปวดแสบปวดรอน รูสึกเหมือนผิวไหมท่ีบริเวณมือเทา( * ควรแจงใหแพทยผูรักษาทราบ ) เกิดสิวอักเสบ

อีแธมบูธอล ( Ethambutol ) หากรับประทานขนาดสูงเปนเวลานานจะเกิดอาการคล่ืนไส อาเจียน มึน มองภาพเห็นซอน ผ่ืน

ปวดตา ( * ควรแจงใหแพทยผูรักษาทราบ )

ไพราซินาไมด ( Pyrazinamide ) เปนไข เบ่ืออาหาร คล่ืนไส อาเจียน

สเตร็บโตมัยซิน ( Streptomycin ) ผ่ืน

Page 5: วัณโรค

การรักษาวัณโรคในปจจุบัน

• การรักษาวัณโรคปจจุบันประกอบดวยยา 4 ชนิด คือ

ไรแฟมพิซิน (rifampicin ;R) ไอโซไนอะซิด(isoniazid ;H) ไพราซินาไมด (pyrazinamide ;Z) และ อีแทมบูทอล

(ethambutol ;E) หรือ สะเต็บโตไมซิน(streptomycin ;S) รวมกันในชวง 2 เดือนแรก ตามดวยยา 2 หรือ 3 ตัวในระยะ 4

เดือนถัดมา

แตสําหรับผูท่ีมีแผลในโพรงปอด และเพาะเชื้อจากเสมหะยังพบเชื้อวัณโรค หลังจากไดรับการรักษาไปแลว 2 เดือน จะตองยืด

ระยะเวลาในการรักษาเพ่ิมเปน 9 เดือน

จําเปนตองเสริมสรางรางกายใหแข็งแรง เพ่ือใหระบบภูมิตานทานหรือภูมิคุมกันทํางานไดดีอยูเสมอ

ผลิตภัณฑแนะนํา ทรานสเฟอร แฟกเตอร พลัส ไตร-แฟกเตอร ฟอรมูลา (Transfer Factor Plus Tri-Factor Formula)

เพิ่มภูมิคุมกัน 437%

Page 6: วัณโรค