ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง

20
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง

Upload: thanyamon-chat

Post on 11-Jan-2017

301 views

Category:

Education


1 download

TRANSCRIPT

ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง

Timeline•ฌอง แบบติสท์ แวน เฮลมองค์ (Jean Baptiste Van Helmont) 1648

• โจเซฟ พริสต์ลีย์ (Jeseph Priestley)1772

• อินเก็น ฮูซ (Ingen-Housz) 1779•นิโคลาส ธีโอดอร์ เดอ โซซูร์ (Nicolas Theodore de Saussure)1804• แวน นีล (Van Niel)1930

• โรบิน ฮิลล์ (Robin Hill)1938

• แซม รูเบน และมาร์ติน คาเมน (Sam Ruben and Martin Kamen)1939

• แดเนียล อาร์นอน (Daniel Arnon)1954

อริสโตเติล (Aristotle)

Plants are soil eaters.

ฌอง แบบติสท์ แวน เฮลมองค ์(Jean Baptiste Van Helmont)

1648

ชั่ งน ้ าหนั กต้นห ลิ ว แ ล ะ ดิ น จากนั นปลูกต้นหลิวและรดน ้ าเพียงอย่างเดียวเป็น เ วลานาน 5 ปี

สรุปว่า พืชไม่ได้ใช้ดินในการเติบโต แต่ใช้

น ้าแทน

โจเซฟ พริสต์ลีย์ (Joseph Priestley)

1648

พริสต์ลีย์ทดลองจุดเทียนไขและใส่หนูไว้ในครอบแก้ว

1772

สรุปวา่• แก๊สที่ใช้ในการลุกไหม้กับแก๊สที่ใช้ในการหายใจของสัตว์เป็นแก๊สเดียวกัน ซึ่งถูกสร้างได้โดยพืช (อากาศดี)• แก๊สที่ปล่อยออกมาจากการลุกไหม้กับแก๊สที่ปล่อยออกมาจากการหายใจของสัตว์เป็นแก๊สเดียวกัน (อากาศเสีย)

• เอาเทียนไขไว้ในครอบแก้ว ปรากฏว่าผ่านไปสักครู่เทียนไขดับ • เอาหนูใส่ไว้ในครอบแก้วปรากฏว่าผ่านไปสักครู่หนูตาย • เอาหนูใส่ไปในครอบแก้วที่เทียนไขดับหนูจะตายทันที • แต่ถ้ามีพืชอยู่ในครอบแก้วและใส่เทียนไขไป เทียนไขจะไม่ดับ หรือถ้าใส่หนูลงไปหนูจะไม่ตาย

อินเก็น ฮูซ (Ingen-Housz)

1648

ท้าการทดลองร่วมกับ พริสลีย์ และพิสูจน์ให้ เห็นว่าเทียนไขที่ลุกไหม้ได้ก็ต่อเมื่ออยู่กับพืชที่ได้รับแสงตลอดเวลา

1772 1779

อินเก็น ฮูซ (Ingen-Housz)

1648

ท้าการทดลองร่วมกับ พริสลีย์ และพิสูจน์ให้เห็นว่าเทียนไขที่ลุกไหม้ได้ก็ต่อเมื่ออยู่กับพืชที่ได้รับแสงตลอดเวลา

1772 1779

• แก๊สที่ใช้ในการลุกไหม้กับแก๊สที่ใช้ในการหายใจของสัตว์เป็นแก๊สเดียวกัน คือ ออกซิเจน• แก๊สที่ปล่อยออกมาจากการลุกไหม้กับแก๊สที่ปล่อยออกมาจากการหายใจของสัตว์เป็นแก๊สเดียวกัน คือ คาร์บอนไดออกไซด์• พืชใช้แสงในการผลิตออกซิเจน• น ้าหนักของพืชที่เพิ่มขึ นมาจากแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์

นิโคลาส ธีโอดอร ์เดอ โซซูร์ (Nicolas Theodore de Saussure)

1648

เขาได้ศึกษาทดลองพบว่าพื ช มี ก า ร ดู ด แ ก๊ สคาร์บอนไดออกไซด์ไปใช้ใ น ก ร ะ บ ว น ก า รสังเคราะห์ด้วยแสง

1772 1779 1804

นิโคลาส ธีโอดอร ์เดอ โซซูร์ (Nicolas Theodore de Saussure)

พืชได้รับธาตุคาร์บอนจากแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เพื่อเปลี่ยนให้อยู่ในรูปสารอินทรีย์และยังปล่อยแก๊สออกซิเจนออกสู่ชั นบรรยากาศในช่วงที่ได้รับแสง

เขาทดลองให้เห็นว่าน ้าหนักของพืชที่เพิ่มขึ นมากกว่าน ้าหนักของแก๊สคาร์บอนได้ออกไซด์ที่พืชได้รับ

สรุปว่า พืชใช้น ้าและคาร์บอนไดออกไซด์ในการสังเคราะห์ด้วยแสงน ้าหนักของพืชที่เพิ่มขึ นนอกจากจะมาจากคาร์บอนไดออกไซด์แล้วยังมาจากน ้า

แวน นีล (Van Niel)

1648

เขาทดลองเลี ยงแบคทีเรียที่สังเคราะห์ด้วยแสงได้แต่ใช้ไฮโดรเจนซัลไฟล์ (H2S) แทนน ้า (H2O)

1772 1779 1804 1930

แวน นีล (Van Niel)

สรุปว่า• มีสิ่งมีชีวิตอื่นที่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้• ไม่จ้าเป็นต้องใช้น ้าเสมอไป• เม่ือไม่ใช้น ้าในกระบวนการแล้วจะไม่ได้แก๊สออกซิเจนออกมา

S Shydrogen sulfide sulfer

แซม รูเบน และมารต์ิน คาเมน(Sam Ruben and Martin Kamen)

พวกเขาท้าการทดลองเพื่อพิสูจน์สมมติฐานของแวนนลี

1930 1938

แซม รูเบน และมารต์ิน คาเมน(Sam Ruben and Martin Kamen)

สรุปว่า ออกซิเจนที่พืชปล่อยออกสู่บรรยากาศ มาจากออกซิเจนในโมเลกุลของน ้า

โรบิน ฮิลล์ (Robin Hill)

น้าคลอโรพลาสต์ที่สกัดจากผักโขมมาผสมกับน ้า แล้วแบ่งการทดลองออกเป็น 2 ชุด

1930 19391938

โรบิน ฮิลล์ (Robin Hill)

สรุปว่าการเกิดออกซิเจนต้องอาศัยเกลือเฟอริก(ท้าหน้าที่เป็นตัวรับอิเล็กตรอน หากไม่มีตัวรับอิเล็กตรอนจะไม่เกิดกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง)

แดเนียล อาร์นอน (Daniel Arnon)

เขาท้าทดลองสืบเนื่องจากการทดลองของฮิลล์

1930 19391938 1954

• พืชใช้แสงในการสร้าง ATP และ NADPH• พืชใช้ ATP และ NADPH ในการสร้างอาหาร (น ้าตาล)

การทดลองที่ 1

การทดลองที่ 2