ระบบขับถ่าย

52
เรื่อง ระบบขับถ่าย รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 คุณครูฐิตารีย์ สาเภา โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 (กาญจนบุรี-ราชบุรี)

Upload: thitaree-samphao

Post on 11-Apr-2017

1.201 views

Category:

Education


2 download

TRANSCRIPT

เรื่อง ระบบขับถ่าย รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม 2

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559

คุณครูฐิตารีย์ ส าเภา โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม

ส านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 (กาญจนบุรี-ราชบุรี)

สืบค้นข้อมูล อภิปรายและสรุปเกี่ยวกับความหมายของของเสีย และการขับถ่าย พร้อมทั้งอธิบายกระบวนการขับถ่ายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์

สืบค้นข้อมูล ทดลอง อภิปราย และสรุปเกี่ยวกับโครงสร้างของไตและอวัยวะที่เกี่ยวข้อง

สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุปเกี่ยวกับการท างานของไตกับการรักษาดุลยภาพของน้ าและแร่ธาตุในร่างกาย

สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายความผิดปกติที่เกี่ยวเนื่องกับไตและโรคของไต พร้อมทั้งเสนอแนะแนวทางในการดูแลสุขภาพ

จุดประสงค์การเรียนรู้

การขับถ่าย (Excretion)

การขับถ่ายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว

การขับถ่ายของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์

การขับถ่ายของสัตว์มีกระดูกสันหลัง

การขับถ่ายของคน

ความผิดปกติเกี่ยวกับไตและโรคของไต

ระบบขับถ่ายกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย

การก าจัดของที่ร่างกายขับออกมาหรือของส่วนเกินต่างๆ ที่เกิดจากกระบวนการเมแทบอลิซึม (Metabolism) ที่ร่างกายไม่ต้องการใช้และไม่มีประโยชน์

CO2 จากระบบหายใจ

ของเสียที่อยู่ในรูปไนโตรเจน (N) เป็นองค์ประกอบหลัก เรียกว่า Nitrogen waste ได้จากการสลายโปรตีนและกรดนิวคลีอิก

การถ่ายอุจจาระไม่ถือเป็น Excretion เนื่องจากกากอาหารที่ร่างกายขับออกมายังเป็นสารที่มีประโยชน์ เพียงแต่ร่างกายย่อยไม่ได้

การขับถ่าย (EXCRETION)

Nitrogenous waste เช่น ammonia, urea และ uric acid

CO2

น้ าและเกลือแร่

ประเภทของของเสียในสิ่งมีชีวิต

Gas

พิษสูงสุด

ใช้น้ าในการก าจัดมาก

ก าจัดออกในรูป NH+4

เปลี่ยนรูปเป็น urea/uric acid ได ้

พบในสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในน้ า

สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว

สัตว์หลายเซลล์ชั้นต่ า

สัตว์ขาข้อที่อาศัยอยู่ในน้ า

Mollusk ที่อยู่ในน้ า

ปลากระดูกแข็ง ปลากัด ปลาดุก ปลาช่อน ปลาทู ปลาไหล

AMMONIA

Liquid

พิษต่ ากว่า NH3

สูญเสียน้ าน้อยลงเวลาขับออก

สร้างที่ตับ

ขับทางไตในรูปปัสสาวะ

ปริมาณขึ้นอยู่กับโปรตีนที่กิน

พบในสิ่งมีชีวิตที่อยู่บนบก

ไส้เดือนดิน

สัตว์สะเทินน้ าสะเทินบก

ปลากระดูกอ่อน เช่นปลาฉลาม, ปลากระเบน,

สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

UREA

Solid

พิษต่ าสุด

ขับทางอุจจาระ

Allantois เป็นที่เก็บของเสีย พบในเอ็มบริโอของสัตว์เลื้อยคลาน/นก

อาจสะสมในข้อในผู้ป่วยโรค gout

มูลจิ้งจกมีสีขาวและสีด า สีขาวของเสียในรูปกรดยูริก สีด าคือกากอาหาร (อุจจาระ)

พบในสัตว์สงวนน้ า

สัตว์ขาข้อที่อาศัยอยู่บนบก/แมลง

Mollusk ที่อยู่บนบก

สัตว์เลื้อยคลาน

นก

URIC ACID

เกิดจากกระบวนการเผาผลาญสารอาหาร

C6H12O6+6O2+6H2O+36ADP+36Pi6CO2+12H2O+36ATP

ขับออกทางปอด

พืชก าจัดออกทางปากใบ/น ากลับไปใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง

CO2

ขับส่วนที่เกินความต้องการออก

ขับในรูป

ปัสสาวะ (max)

เหง่ือ

ลมหายใจ

อุจจาระ (min)

ขับออกทางปัสสาวะ เหงื่อ อุจจาระ จะมเีกลือแร่ปนอยู่ด้วย

ขับออกทางลมหายใจจะมีแต่น้ า (gas) เท่านั้น

ส าหรับพืชเก็บสะสมไว้ที่ sap vacuole

น้ าและเกลือแร่

การขับถ่ายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว แบคทีเรีย สาหร่ายสีเขียวแกมน้ าเงิน: การแพร่ของของเสียผ่านเยื่อหุ้ม

เซลล์ (CO2)

โพรโทซัวน้ าเค็ม: ขับของเสียออกจากเยื่อหุ้มเซลล ์

โพรโทซัวน้ าจืด: มีอวัยวะขับถ่ายของเสียคือ คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล (contractile vacuole)

สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังชั้นต่ า

ไม่มีโครงสร้างในการขับถ่ายของเสีย

ทุกเซลล์สัมผัสกับน้ าโดยตรง

ของเสียในรูปของแอมโมเนีย

ก าจัดของโดยการแพร่สู่สภาพแวดล้อม

การขับถ่ายของฟองน้ า ไฮดรา แมงกะพรุน

โครงสร้างทีท่ าหน้าที่ก าจัดของเสยีเรียกว่า เฟลมเซลล์ (Flame cell) กระจายอยู่ 2 ข้างตลอดความยาวล าตัวเชื่อมต่อกับช่องขับถ่ายที่ผนังล าตัว

ของเสียที่ถูกก าจัดออกสู่ภายนอกเป็นสารพวกแอมโมเนีย

การขับถ่ายของพลานาเรียหรือหนอนตัวแบน

อวัยวะขับถ่ายของเสียเรียกว่า เนฟริเดียม (Nephridium)

ไส้เดือนดินเป็นสัตว์ล าตัวเป็นปล้อง เนฟริเดียม มีทุกปล้อง ๆ ละ 1 คู่ เป็นท่อขดไปมา ปลายเปิดทั้งสองข้าง

ปลายข้างหนึ่งคล้ายปากแตร เรียกว่า เนโฟรสโตรม (nephrostome) รับของเหลวพวกแอมโมเนียและยเูรีย เพ่ือขับออกนอกร่างกาย

ลักษณะการท างานของเนฟริเดียมคล้ายไตของสัตว์มีกระดูกสันหลัง

การขับถ่ายของไส้เดือนดิน

โครงสร้างที่ใช้ขบัถ่ายของเสยีเรียกว่า ท่อมัลพิเกียน (malpighian tubule)

ของเสียเป็นกรดยูริก ขับออกมาพร้อมกากอาหาร

การขับถ่ายของแมลง

การขับถ่ายของสัตว์มีกระดูกสันหลัง อวัยวะที่ท าหน้าที่ขับถ่ายของเสียและรักษาดุลยภาพของน้ าและแร่ธาตุเรียกว่า ไต

(Kidney)

ระบบขับถ่ายท างานร่วมกับระบบหมุนเวียนเลือด

ไต เป็นอวัยวะขับถ่ายของเสีย

ของเสียเป็นสารประกอบไนโตรเจนลักษณะเป็นของเหลวจ าพวกแอมโมเนีย

การขับถ่ายของปลา

ขับถ่ายของเสียในรูปของยูเรีย

การขับถ่ายของสัตว์สะเทินน้ าสะเทินบก

มีผิวหนังหนา มีเกล็ด หรือขนปกคลุม ป้องกันการสูญเสียน้ าและแร่ธาตุ

ของเสียจากทุกส่วนของร่างกายผ่านมาทางกระแสเลือดและเข้าสู่ไตแล้วขับออกนอกร่างกาย

ของเสียเป็นกรดยูริก

อุจจาระจิ้งจกมี 2 สี สีด าเป็นกากอาหาร สีขาวเป็นกรดยูริก

การขับถ่ายของนกและสัตว์เล้ือยคลาน

อวัยวะที่ใช้ก าจัดของเสียของมนุษย ์

โครงสร้างของไต

หน้าที่การท างานของไต

ความผิดปกติของระบบขับถ่าย

การขับถ่ายของคน

ไต (Kidney): มี 2 อัน อยู่ด้านหลัง ช่วงเอว รูปร่างคล้ายเม็ดถั่ว

ท่อไต (Ureter): ท าหน้าที่ล าเลียงปัสสาวะ

กระเพาะปัสสาวะ (Urinary Bladder): เป็นที่สะสมปัสสาวะ ยืดหดตัวได้ ความจุ ≈500 cm3 เมื่อน้ าปัสสาวะไหลลงสู่กระเพาะปัสสาวะ ≈250 cm3 ร่างกายจึงจะรู้สึกปวดปัสสาวะ

อวัยวะที่ใช้ก าจัดของเสียของมนุษย์

ท่อปัสสาวะ (Urethra): ใช้ขับปัสสาวะออกนอกร่างกายของผู้ชายยาว ≈20 cm3 ของผู้หญิงยาว ≈5 cm3 ท าให้ผู้หญิงเสี่ยงต่อโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบงา่ยกว่าผู้ชาย เพราะท่อปัสสาวะของผู้หญิงสั้นกว่า ท าให้ติดเชื้อโรคได้ง่าย

อวัยวะที่ใช้ก าจัดของเสียของมนุษย์

ไตมี 2 ชั้น

ชั้นนอก (Cortex): ประกอบด้วยหน่วยไต (Nephron) ไตแต่ละข้างมีจ านวนถึง 1 ล้านหน่วย ท าหน้าที่กรองของเสียออกจากเลือด

ชั้นใน (Medulla): ท่อรวมจากหน่วยไต ท าหน้าที่รับของเสียที่กรองได้จากหน่วยไต เป็นส่วนที่น าปัสสาวะไปสู่กรวยไต (renal pelvis) เพื่อน าไปสู่ท่อไต

โครงสร้างของไต

papilla

ท าหน้าทีก่รองของเสียออกจากเลือด และดูดกลับสารที่มีประโยชน์เข้าเลือด

ไตแต่ละข้างมีหน่วยไต ประมาณ 1.2 ล้านหน่วย

หน่วยไต (Nephron) แต่ละหน่วยประกอบด้วย

Glomerulus

Bowman’s capsule

ท่อของหน่วยไต (renal tubule)

โครงสร้างของหน่วยไต

หลอดเลือดฝอยพันกันเป็นก้อนกลมพาสารมากรองออก

หลอดเลือดฝอยเม่ือออกจาก Glomerulus จะแตกแขนงเป็นร่างแหคลุมท่อของหน่วยไตส่วนพรอกซมิอล และ ส่วนดิสทอล

และแผ่ลงไปคลุมห่วงเฮนเล ซึ่งโค้งขนานไปกับห่วงเฮนเล เรียกว่า vasa recta

หลอดเลือดฝอยรวมกันออกมาเป็นหลอดเลือดด า ส่งไปยัง renal vein

GLOMERULUS

NEPHRON

ส่วนของท่อหลอดไตที่พองออกเป็นกระเปาะคล้ายถ้วย ล้อมรอบกลุ่มหลอดเลือดฝอย Glomerulus

ผนังบางๆ 2 ชั้น

ผนังหลอดเลือดฝอยโกลเมอรูลัสแนบชิดกับเยื่อชั้นในของ Bowman’s capsule

ช่องว่างภายในแคปซูล ติดต่อกับท่อของหน่วยไต

BOWMAN’S CAPSULE

ท่อขดส่วนต้น (proximal tubule): ท่อขดไปมา มีการดูดซึมสารกลับเข้าสู่กระแสเลือดมากที่สุด (กลูโคส อะมิโน และน้ า) โดยวิธี active transport และ passive transport

ท่อของหน่วยไต (RENAL TUBULE)

ห่วงเฮนเล (Loop of Henle): หลอดโค้งรูปตัวยู อยู่ถัดจากท่อขดส่วนต้น ยื่นเข้ามาในหน่วยไตส่วน เมดัลลา หน้าที่ดูดกลับเกลือและน้ าในกรณีร่างกายขาดน้ า

ท่อของหน่วยไต (RENAL TUBULE)

ท่อขดส่วนปลาย (Distal tubule): เป็นท่อขดไปมาคล้ายท่อขดส่วนต้น อยูถ่ัดจากห่วงเฮนเลเข้ามาในเนื้อไตชั้นคอร์เทก็ซ์ ตอนปลายเปิดเข้าสู่ท่อรวม (collecting duct) ซึ่งรับของเหลวจากทอ่หน่วยไตส่งไปทางกรวยไต

ท่อของหน่วยไต (RENAL TUBULE)

ท่อรับของเหลวจากท่อหน่วยไตหลายๆ ท่อ เพื่อส่งออกไปทางกรวยไต

ท่อรวม (COLLECTING DUCT)

หน่วยไตท าหน้าที่กรองของเสยีออกจากเลือด และก าจัดออกเป็นน้ าปัสสาวะ

กระบวนการเกิดน้ าปัสสาวะเกิดจาก 3 กระบวนการคือ

1. การกรองทีโ่กลเมอรูลัส (glomerular filtration)

2. การดูดกลับที่ท่อของหน่วยไต (tubular reabsorption)

3. การหลั่งสารที่ท่อของหน่วยไต (tubular secretion)

กลไกการท างานของหน่วยไต

กรองของเสียออก

สารโมเลกุลเล็กผ่านได้พร้อมน้ า

เกิดจากแรงดันเลือดดันของเหลวจากหลอดเลือดฝอยผ่านเยื่อบุผิวของโบว์แมนแคปซูลเข้าช่องว่างของโบว์แมนแคปซูล และท่อของหน่วยไต

การกรองทีโ่กลเมอรูลัส

เกิดผ่านเยื่อบุ 3 ชั้น

ผนังของหลอดเลือดฝอยโกลเมอรูลัส: มีรูขนาด 60-100 m ยอมให้สารขนาดเล็กผ่านโดยการแพร่ แต่ไม่ยอมให้เซลล์เม็ดเลือดผ่าน

ชั้นเบสเมนต์เมมเบรนของโกลเมอรูลัส: หรือ basal lamina เป็นตัวกรองโปรตีนขนาดใหญ่ไว้ ช่วยจ ากัดการผ่านของโปรตีนขนาดใหญ่

เยื่อบุผนังของโบว์แมนแคปซูล: มีเซลล์พิเศษ คือ podocyte ช่วยเลือกสารที่จะกรองผ่าน

การกรองทีโ่กลเมอรูลัส

เยื่อกรองยอมให้ของเหลว และสารโมเลกุลเล็กในพลาสมาผ่านออกมา สารที่ผ่านได้ เช่น น้ า กรดอะมิโน วิตามิน เกลือแร่ เช่น Na K Cl เป็นต้น และยูเรีย สารที่ผ่านไม่ได้ เช่น โปรตีน ไขมัน เม็ดเลือด ของเหลวที่กรองผ่านโกลเมอรูลัสเรียก ของเหลวที่กรองได้ หรือ glomerular filtrate

การกรองท่ีโกลเมอรูลัส

เซลล์เยื่อบุผิวที่ท่อของหน่วยไตมีบทบาทในการดูดสารกลับเนื่องจากมี microvilli และมี Mitochondria มาก

proximal tubule: ดูดกลับกลูโคส กรดอะมิโน วิตามิน และ NaCl (Active transport) ส่วน น้ า K+ และ HCO3

- (Passive transport)

ห่วงเฮนเลส่วนวกลง: ดูดน้ ากลับโดยวิธี Osmosis

ห่วงเฮนเลส่วนวกขึ้น: ดูด NaCl กลับ ทั้งแบบ Active transport และ Passive transport

Distal tubule: ดูดน้ ากลับ แบบ Passive transport ส่วน NaCl และ HCO3- ดูด

กลับแบบ Active transport

Collecting Duct: ดูดน้ ากลับโดยวิธี Osmosis ยอมให้ยูเรียผ่านออกโดยการแพร่

การดูดสารกลับถูกควบคุมด้วยฮอร์โมน Aldosterone หลั่งจากชั้นคอร์เทกซข์องต่อมหมวดไต กระตุ้น Distal tubule และ Collecting Duct ให้เพ่ิมการดูด H2O และ Na+ กลับคืนเลือดท าให้เลือด และความดันเพิ่มขึ้น

การดูดกลับที่ท่อของหน่วยไต

การดูดกลับที่ท่อของหน่วยไต

การดูดกลับที่ท่อของหน่วยไต

การดูดกลับที่ท่อของหน่วยไต

สารบางชนิดหลั่งจากเลือดเข้าสู่ของเหลวที่กรองได้ในทิวบูล

proximal tubule: มีการหลั่ง H+, K+, NH+4

H+: เพ่ือรักษาระดับ pH ในของเหลวในร่างกายให้คงที่

K+: เมื่อความเข้มข้นของ K+ สูงเกินไปเพราะท าให้การส่งกระแสประสาทบกพร่องและความแรงในการหดตัวของกล้ามเนื้อลดลง

Distal tubule: มีการหลั่ง H+, K+, ยาบางชนิดเช่น เพนิซิลลิน และยาพิษ

K+: ควบคุมระดับความเข้มข้นของ K+ และ Na+ ในร่างกาย แปรผันการหลั่ง K+ และการดูดกลับ Na+

H+: เพ่ือควบคุม pH ในเลือด โดยควบคุมการหลั่ง H+ และการดูดกลับ HCO3-

การหลั่งสารที่ทอ่ของหน่วยไต

กลไกการกรองของไต

ต าแหน่ง องค์ประกอบของสารที่ตรวจพบ

Glomerulus เม็ดเลือด, โปรตีน, กรดอะมิโน, กลูโคส, ยูเรีย, น้ าและแร่ธาตุ

Bowman’s capsule กรดอะมิโน, กลูโคส, ยูเรีย, น้ าและแร่ธาต ุ

Proximal tubule กรดอะมิโน, กลูโคส, ยูเรีย, น้ าและแร่ธาต ุ

Loop of Henle ยูเรีย, น้ าและแร่ธาต ุ

Distal tubule ยูเรีย, น้ าและแร่ธาตุ

Urine ยูเรีย, น้ าและแร่ธาตุ

ตารางเปรียบเทียบสาร

รักษาสมดุลน้ าในร่างกาย: ขับปัสสาวะเพ่ือควบคุมน้ า เกิดจากฮอร์โมน Antidiuretic (ADH) ควบคุมการดูดกลับของน้ าที่ท่อหน่วยไตและท่อรวม

ร่างกายขาดน้ า: ADH หลั่งมาก ดูดน้ ากลับมาก ปัสสาวะสีเหลืองจัด กระหายน้ า

ร่างกายมีน้ ามาก: ADH หลั่งน้อย ดูดน้ ากลับน้อย ปัสสาวะสีจาง

รักษาสมดุลเกลือแร่ของร่างกาย: โดยฮอร์โมน Aldosterone กระตุ้นการดูดกลับของแร่ธาตุ ถ้าขาดฮอร์โมนนี้ปัสสาวะมีแร่ธาตุมาก เรียกว่า เบาเค็ม

การรักษาระดับ pH ของร่างกาย: ร่างกายผลิตกรดทุกวัน การคั่งของกรดท าให้เบื่ออาหาร ไตเสื่อมสภาพ ปัสสาวะเป็นกรด

ควบคุมความดันโลหิต: ความดันโลหิตสูงเกิดจากความผิดปกติของการควบคุมสมดุลน้ าและเกลือแร่

ผลิตและควบคุมการท างานของฮอร์โมน: เช่น Vitamin D ช่วยสร้างกระดูก

หน้าที่ของไต

อวัยวะที่ใช้ในการขับถ่ายของสิ่งมีชีวิต

สิ่งมีชีวิต โครงสร้างทีใ่ช้ โปรโตซัว อะมีบา พารามีเซียม (สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว)

เยื่อหุ้มเซลล,์ Contractile vacuole เพ่ือขับน้ าส่วนเกิน

ฟองน้ า (P. Porifera) และ ไฮดรา (P. Cnidaria)

แพร่โดยตรงเข้าเซลล ์

หนอนตัวแบน (P. Platyhelminthes) เฟลมเซลล ์(Flame cell) ระบบ Protonephridia

ไส้เดือนดิน (P. Annelida) เนฟรเิดีย (Nephridia)

แมลง (P. Arthropoda : Insect) ท่อมัลพเิกียน (Mulphighian Tubule)

สัตว์มีกระดูกสันหลัง, คน (P. Chordata), P. Mollusca

ไต (Kidney)

การรักษาสมดุลของน้ า

โพรทิสต์ : ก าจัดของเสียออกทางเยื่อหุ้มเซลล์

โพรทิสต์น้ าจืดบางชนิด : พารามีเซียมน้ าจืด และอะมีบาน้ าจืด มี contractile vacuole หดตัวไล่น้ าส่วนเกินที่ออสโมซิสเข้ามาให้ออกไป

สัตว ์: ป้องกันการสูญเสียน้ าโดยมีเกล็ด และสร้างปสัสาวะปรมิาณน้อยและ สังเกตจาก Bowman’s capsule เล็ก หรือ loop of Henle ยาว

คน : รักษาสมดุลของน้ าโดยสมองส่วน hypothalamus และ kidney

การรักษาดุลยภาพอื่นๆ

การรักษาสมดุลเกลอืแร่ ปลาน้ าจืด: สภาพแวดล้อมเป็น hypotonic จึงมีกระบวนการป้องกันน้ าเข้าตัว และ

กันเกลือแพร่ออก เช่น มีเกล็ด ปัสสาวะเจือจางและบ่อย มี active transport ท่ีเหงือก ทวารหนักดูดเกลือกลับคืน

ปลาน้ าเค็ม: สิ่งแวดล้อมเป็น hypertonic จึงมีกระบวนการป้องกันเกลือแพร่เข้ามา และน้ าทะลักออก เช่น มีเกล็ด ปัสสาวะเข้มข้น มี active transport ขับเกลือแร่ออกที่เหงือกและทวารหนัก

สัตว์ทะเลอื่น: มีของเหลวในร่างกาย isotonic ต่อน้ าทะเล เช่น แมงกะพรุน ปลาดาว

นก: มีต่อมนาสิกหรือต่อมเกลือ (nasal gland, salt gland) ขับเกลือส่วนเกินออกบริเวณจมูก

การรักษาดุลยภาพอื่นๆ

การรักษาสมดุลอุณหภูม ิ คน: ผิวหนังเป็นเซนเซอร์

รับอุณหภูมิ แล้วส่งข้อมูลไปให้สมองส่วนไฮโพทาลามัสควบคุม

T สูง: หลอดเลือดฝอยที่ผิวหนังขยายตัว มีการขับเหงื่อ เส้นขนเอนราบ ลดอัตรา metabolism

T ต่ า: หลอดเลือดฝอยที่ผิวหนังหดตัว ขนลุกชัน กล้ามเนื้อสั่นเทิ้ม เพ่ิมอัตรา metabolism

การรักษาดุลยภาพอื่นๆ

การรักษาสมดุลอุณหภูม ิ

การจ าศีลสัตว์เลือดเย็น: มีอัตราการหายใจและการเต้นของหวัใจต่ ามาก เช่น กบ

การจ าศีลของสัตว์เลือดอุ่น: การเปลี่ยนแปลงในร่างกายน้อยมาก เช่น หนูและค้างคาวบางชนิด

สัตว์เลือดอุ่นไม่ได้จ าศีลแต่หลับในฤดูหนาว เช่น หมีขั้วโลก สกั๊งค์

การรักษาดุลยภาพอื่นๆ

การรักษาสมดุลกรดเบส

รักษา pH พลาสมาให้อยู่ที่ประมาณ 7.4 มี 3 กระบวนการ

ระบบหายใจ: มี CO2 หรือ H+ เป็นตัวกระตุ้นพอนส์และเมดัลลา

ระบบขับถ่าย: ใช้ไต เช่นการขับ H+ ออกหรือดูดกลับ HCO3- เข้า

ระบบบัฟเฟอร์: สารเคมีในเลือดท าปฏิกิริยาเพื่อปรับ pH เช่น คู่สาร H2CO3 / HCO3

- คู่สาร H2PO4- / HPO4

2- หรือโปรตีน เช่น hemoglobin

ก าลังในการรักษา pH: ไต (ออกเยอะ) > หายใจ (ออกทีละน้อย) > บัฟเฟอร์ (ปฏิกิริยาเคม)ี

ความเร็วในการรักษา pH: บัฟเฟอร์ (วินาที) > หายใจ (นาท)ี > ไต (ชั่วโมง)

การรักษาดุลยภาพอื่นๆ