โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว...

51
1 โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้า โรงเรียนบ้านบัว จัดท้าโดย กลุ่มย่อยที9 กลุ่มวงกลม section 2 อาจารย์ที่ปรึกษา นางสาวเบญญาภา วิลัยปาน โครงการนีเป็นส่วนหนึ่งของวิชาภาวะผู้น้าและการจัดการ รหัสวิชา 000 145 ภาคการศึกษาที2 ปีการศึกษา 2558 ส้านักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Upload: -

Post on 12-Apr-2017

875 views

Category:

Education


3 download

TRANSCRIPT

Page 1: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

1

โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน ้า โรงเรียนบ้านบัว

จัดท้าโดย กลุ่มย่อยที่ 9 กลุ่มวงกลม section 2

อาจารย์ท่ีปรึกษา นางสาวเบญญาภา วิลัยปาน

โครงการนี เป็นส่วนหนึ่งของวิชาภาวะผู้น้าและการจัดการ รหัสวิชา 000 145 ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2558

ส้านักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Page 2: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

2

โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน ้า โรงเรียนบ้านบัว

จัดท้าโดย

นายพสธร มีแก้ว รหัสประจ้าตัว 573020049-1

นางสาวพิมพิชา เอกพันธ์ รหัสประจ้าตัว 573020053-0

นายภูริณัฐ แสงข้า รหัสประจ้าตัว 573020055-6

นายอนุชา โคยะทา รหัสประจ้าตัว 573020063-7

นายอภิสิทธิ์ แจ่มพงษ์ รหัสประจ้าตัว 573020064-5

นางสาวอรอุมา แก่นสาร รหัสประจ้าตัว 573020067-9

นายอติเทพ คงนิ่ม รหัสประจ้าตัว 573020929-1

ชั นปีที่ 2 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

อาจารย์ท่ีปรึกษา นางสาวเบญญาภา วิลัยปาน

โครงการนี เป็นส่วนหนึ่งของวิชาภาวะผู้น้าและการจัดการ รหัสวิชา 000 145 ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2558

ส้านักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Page 3: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

กิตติกรรมประกาศ โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว อ้าเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่นส้าเร็จได้

ความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่อาจจะน้ามากล่าวได้ทั งหมด ซึ่งผู้มีพระคุณท่านแรกที่คณะผู้จัดท้าใคร่ขอขอบพระคุณคือ ขอขอบคุณ อาจารย์เบญญาภา วิลัยปาน อาจารย์ผู้สอนวิชาภาวะผู้น้าและการจัดการ 000145 ที่ได้ให้ความรู้ ค้าแนะน้าตรวจทาน และเสียสละเวลาอันมีค่าแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ด้วยความเอาใจใส่ทุกขั นตอน เพ่ือให้การเขียนโครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัวสมบูรณ์ที่สุด

ขอขอบพระคุณนายฉัตรชัย เนาว์วงษ์ท่านผู้อ้านวยการโรงเรียน คุณครู บุคลากรและนักเรียนเรียนบ้านบัวที่อนุญาตให้ทางสมาชิกเข้าไปด้าเนินโครงการ ช่วยจัดหาอุปกรณ์ พร้อมทั งบริการน ้าเครื่องดื่มและอาหารกลางวันคณะผู้จัดท้าโครงงานขอกราบขอบพระคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องมา ณ ที่นี

ขอบคุณครอบครัวของนายอติเทพ คงนิ่ม ที่อ้านวยความสะดวกสบายพร้อมทั งอาหารและที่พักอาศัย ตลอดจนผู้ที่เก่ียวข้องทุกท่านที่ไม่ได้กล่าวนามไว้ ณ ที่นี ที่ได้ให้ก้าลังใจและมีส่วนช่วยเหลือให้โครงงานฉบับนี ส้าเร็จลุล่วงได้ด้วยดี

ท้ายที่สุด คณะผู้จัดท้าโครงงานขอขอบพระคุณทุกท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดท้าโครงงานครั งนี ไว้ ณ โอกาสนี ด้วย

คณะผู้จัดท้า 22 เมษายน 2559

Page 4: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

ชื่อโครงการ โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว อ้าเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น ชื่อคณะผู้จัดท้าและหน่วยงานที่สังกัด

1. นายพสธร มีแก้ว รหัสประจ้าตัว 573020049-1 2. นางสาวพิมพิชา เอกพันธ์ รหัสประจ้าตัว 573020053-0 3. นายภูริณัฐ แสงข้า รหัสประจ้าตัว 573020055-6 4. นายอนุชา โคยะทา รหัสประจ้าตัว 573020063-7 5. นายอภิสิทธิ์ แจ่มพงษ์ รหัสประจ้าตัว 573020064-5 6. นางสาวอรอุมา แก่นสาร รหัสประจ้าตัว 573020067-9 7. นายอติเทพ คงนิ่ม รหัสประจ้าตัว 573020929-1 ชั นปีที่ 2 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

อาจารย์ท่ีปรึกษา อาจารย์เบญญาภา วิลัยปาน บทคัดย่อ

โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน ้า โรงเรียนบ้านบัว มีวัตถุประสงค์เพ่ือปรับปรุงและพัฒนา

ห้องน ้าและสภาพแวดล้อมบริเวญห้องน ้า ให้มีสภาพแวดล้อมที่ดีและเพ่ือน้าแนวคิดทฤษฎีการจัดการ

ของ Henri Fayol ไปใช้ในการท้างาน โดยโครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน ้าได้ลงพื นที่ด้าเนินโครงการ

ในวันที่ 16 มีนาคม 2559 โดยท้าความสะอาดห้องน ้า ในวันที่ 15 เพ่ือเตรียมการทาสีในวันที่ 16 ซ่ึง

ในวันดังกล่าวก็ได้ท้าการทาสีในตอนเช้า ได้ด้าเนินการทาสีทั งภายนอกและภายใน และพัก

รับประทานอาหารกลางวัน จากนั นเริ่มทาสีห้องน ้าที่เหลือในตอนบ่าย เมื่อทาสีห้องน ้าเสร็จเรียบร้อย

ก็มาจัดสวนย่อมบริเวณหน้าห้องน ้า ซึ่งผลการด้าเนินโครงการก็ส้าเร็จไปได้ด้วยดี

จากการด้าเนินโครงการได้ท้าการประเมินโครงการโดยให้นักเรียน ครู และบุคลากร ของ

โรงเรียนบ้านบัวจ้านวน 30 คน ท้าแบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการด้าเนินโครงการ โดยแบบ

ประเมินได้แบ่งหัวข้อการประเมินออกเป็น 2 ด้าน และแบ่งระดับความพึงพอใจ 5 = มากที่สุด

4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = น้อย 1 = น้อยที่สุด

โดยผลการประเมินด้านที่ 1. คือ ผลที่ได้รับจากโครงการโดยแบ่งเป็นออกเป็น 2 หัวข้อคือ

1.1 ห้องน ้ามีสภาพน่าใช้มากขึ นซึ่งผลการประเมินได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.97 แปลงผลได้

เป็นพึงพอใจมากที่สุด

1.2 ห้องน ้ามีความสะอาดซึ่งผลการประเมินได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.97 แปลงผลได้เป็นพึง

พอใจมากที่สุด

Page 5: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

และผลการประเมินด้านที่ 2. คือ ความพึงพอใจโดยรวมในการเข้าร่วมกิจกรรมนี แบ่งเป็น

ออกเป็น 2 หัวข้อคือ

2.1 ความพึงพอใจในด้านพัฒนาห้องน ้า ซึ่งผลการประเมินได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 5 แปลง

ผลได้เป็นพึงพอใจมากท่ีสุด

2.2 ความพึงพอใจในด้านประโยชน์ในการจัดโครงการ ซึ่งผลการประเมินได้คะแนนเฉลี่ย

เท่ากับ 5 แปลงผลได้เป็นพึงพอใจมากท่ีสุด

แสดงให้เห็นว่าการด้าเนินโครงการครั งนี เป็นที่พึงพอใจมากที่สุด และการด้าเนินโครงการก็

ประสบความส้าเร็จไปได้ด้วยดี ท้าให้ห้องน ้าและสภาพแวดล้อมบริเวญห้องน ้า โรงเรียนบ้านบัว มี

สภาพแวดล้อมที่ดีขึ น

Page 6: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

สารบัญ เรื่อง หน้า กิตติกรรมประกาศ.............................................................................................................. ............. ก บทคัดย่อ.............................................................................................. ............................................ข สารบัญ....................................................................................................................... ..................... ง สารบัญภาพ.................................................................................................................... ................. ฉ สารบัญตาราง.................................................................................................... .............................. ซ บทที่ 1 บทน้า

1.1. ที่มาและความส้าคัญ.................................................................................................. 1

1.2. วัตถุประสงค์...............................................................................................................1

1.3. ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า.......................................................................................... 1

1.4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ........................................................................................ 1

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2.1. ขั นตอนการทาสี.........................................................................................................2 2.2. สิ่งแวดล้อมปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาการของเด็ก....................................................3 2.3. ทฤษฎีการจัดการของ Henri Fayol (POCCC).........................................................4 บทที่ 3 วิธีการด้าเนินโครงการ 3.1. รายละเอียดเกี่ยวกับโครงการ.................................................................................... 6 3.2. วัสดุและอุปกรณ์........................................................................................................ 6 3.3. งบประมาณที่ใช้ด้าเนินโครงการ................................................................................ 7 3.4. วิธีการและขั นตอนในการด้าเนินโครงการ.................................................................. 7 3.5. แผนการด้าเนินโครงการ.............................................................................................8 3.6. วิธีด้าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล................................................................................ 8

3.7. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน...................................................................................... 8 3.8. การวิเคราะห์ข้อมูล และสถิติที่ใช้...............................................................................9 บทที่ 4 ผลการด้าเนินการ 4.1. ผลการด้าเนินโครงการโดยการใช้ทฤษฎีการจัดการของ Henri Fayol (POCCC)..... 10 4.2. ภาพของสภาพห้องน ้าก่อนและหลังด้าเนินการปรับปรุง............................................ 12

Page 7: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

สารบัญ(ต่อ) เรื่อง หน้า

4.3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล.................................................................................................15 บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ.......................................................................................17 5.1. สรุปผลการด้าเนินโครงการ..........................................................................................21 5.2. อภิปรายผล..................................................................................................................22 5.3. ข้อเสนอเเนะจากผู้ประเมิน..........................................................................................22 5.4. ปัญหาและอุปสรรคในการด้าเนินโครงการ..................................................................23

5.5. ข้อเสนอแนะ................................................................................................................23 บรรณานุกรม................................................................................................................... ..................24 ภาคผนวก................................................................................................................................. .........25 ภาคผนวก ก ............................................................................................................. ..........26 ภาคผนวก ข ................................................................................................................... ....41

Page 8: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า ภาพที่ 4-1 ภาพของสภาพห้องน ้าก่อนการด้าเนินการปรับปรุง........................................................12 ภาพที่ 4-2 ภาพของสภาพห้องน ้าก่อนการด้าเนินการปรับปรุง........................................................12 ภาพที่ 4-3 ภาพของสภาพห้องน ้าหลังการด้าเนินการปรับปรุง........................................................13 ภาพที่ 4-4 ภาพของสภาพห้องน ้าหลังการด้าเนินการปรับปรุง........................................................13 ภาพที่ 4-5 ภาพของสภาพห้องน ้าหลังการด้าเนินการปรับปรุงและถ่ายภาพร่วมกับผู้อ้านวยการ

โรงเรียนบ้านบัว..............................................................................................................14 ภาพที่ 4-6 ภาพของสภาพห้องน ้าหลังการด้าเนินการปรับปรุงและถ่ายภาพร่วมกับผู้นักเรียน

โรงเรียนบ้านบัว............................................................................................................ 14 ภาพที่ 4-7 ภาพแสดงแผนภูมิวงกลมแสดงร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจ้าแนกตามเพศ.......................15 ภาพที่ 4-8 ภาพแสดงแผนภูมิวงกลมแสดงร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจ้าแนกตามสถานะภาพ...........16 ภาพที่ 4-9 แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มี ต่อการด้าเนินโครงการ................................................................................................... 19 ภาพที่ 5-1 แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มี ต่อการด้าเนินโครงการ.................................................................................................. 21 ภาพที่ ก-1 ลงพื นที่ท้าความสะอาดห้องน ้าก่อนที่จะท้าการปรับปรุงห้องน ้า................................... 25 ภาพที่ ก-2 ลงพื นที่ท้าความสะอาดห้องน ้าก่อนที่จะท้าการปรับปรุงห้องน ้า................................... 25 ภาพที่ ก-3 ถ่ายภาพร่วมกับผู้อ้านวยการโรงเรียนบ้านบัวก่อนลงพื นที่ทาสีห้องน ้า

โรงเรียนบ้านบัว............................................................................................................. 26 ภาพที่ ก-4 ถ่ายภาพกับอุปกรณ์ก่อนลงพื นที่ทาสีห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว....................................... 26 ภาพที่ ก-5 ลงพื นที่ทาสีห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว.............................................................................. 27 ภาพที่ ก-6 ลงพื นที่ทาสีห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว.............................................................................. 27 ภาพที่ ก-7 ลงพื นที่ทาสีห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว…...........................................................................28 ภาพที่ ก-8 ลงพื นที่ทาสีห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว…...........................................................................28 ภาพที่ ก-9 ลงพื นที่ทาสีห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว…...........................................................................29 ภาพที่ ก-10 ลงพื นที่ทาสีห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว…......................................................................... 29

Page 9: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

สารบัญภาพ(ต่อ) ภาพที่ หน้า ภาพที่ ก-11 ลงพื นที่ทาสีห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว…......................................................................... 31 ภาพที่ ก-12 ลงพื นที่ทาสีห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว…......................................................................... 31 ภาพที่ ก-13 ลงพื นที่ทาสีห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว…......................................................................... 32 ภาพที่ ก-14 ลงพื นที่ทาสีห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว…......................................................................... 32 ภาพที่ ก-15 ภาพรับประทานอาหารกลางวัน….............................................................................. 33 ภาพที่ ก-16 ภาพช่วยกันล้างถ้วยล้างจานหลังจากรับประทานอาหารกลางวัน...............................33 ภาพที่ ก-17 ลงพื นที่ทาสีห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว............................................................................ 34 ภาพที่ ก-18 ภาพต้นไม้ที่ใช้จัดสวนย่อมบริเวณหน้าห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว...................................34 ภาพที่ ก-19 ลงพื นที่จัดสวนย่อมบริเวณหน้าห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว.............................................35 ภาพที่ ก-20 ลงพื นที่จัดสวนย่อมบริเวณหน้าห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว.............................................35 ภาพที่ ก-21 เก็บข้อมูลโดยให้ นักเรียน คุณครูท้าแบบประเมินความพึงพอใจ

ต่อการด้าเนินโครงการ................................................................................................ 36 ภาพที่ ก-22 เก็บข้อมูลโดยให้ นักเรียน คุณครูท้าแบบประเมินความพึงพอใจ

ต่อการด้าเนินโครงการ................................................................................................ 36 ภาพที่ ก-23 เก็บข้อมูลโดยให้ นักเรียน คุณครูท้าแบบประเมินความพึงพอใจ

ต่อการด้าเนินโครงการ................................................................................................ 37 ภาพที่ ก-24 เก็บข้อมูลโดยให้ นักเรียน คุณครูท้าแบบประเมินความพึงพอใจ

ต่อการด้าเนินโครงการ................................................................................................ 37 ภาพที่ ก-25 ภาพห้องน ้าหลังการด้าเนินโครงการ........................................................................... 38 ภาพที่ ก-26 ภาพห้องน ้าหลังการด้าเนินโครงการ........................................................................... 38 ภาพที่ ก-27 ถ่ายภาพร่วมกับผู้อ้านวยการโรงเรียนหลังการด้าเนินโครงการ.................................. 39 ภาพที่ ก-28 ถ่ายภาพร่วมกับนักเรียนโรงเรียนหลังการด้าเนินโครงการ......................................... 39 ภาพที่ ก-29 สมาชิกในกลุ่มถ่ายภาพกับห้องน ้าหลังการด้าเนินโครงการ.........................................40

Page 10: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

สารบัญตาราง ตารางท่ี หน้า ตารางที่ 4-1 ตารางแสดงร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจ้าแนกตามเพศ................................................. 15 ตารางที่ 4.2 ตารางแสดงร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจ้าแนกตามสถานะภาพ......................................16 ตารางที่ 4.3 ตารางแสดงผลการประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างในการท้าแบบประเมินความ พึงพอใจ...................................................................................................................... 17 ตารางที่ 4-4 ตารางแสดงผลการประเมินความพึงพอใจในภาพรวมของกลุ่มตัวอย่างในการท้าแบบ ประเมินความพึงพอใจ............................................................................................... 19

Page 11: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

1

บทท่ี 1 บทน้า

1.1. ที่มาและความส้าคัญ

การศึกษาขั นพื นฐานมีความจ้าเป็นต่อการศึกษาในปัจจุบันอย่างมาก เนื่องจากเป็นการปู

รากฐานทางการศึกษาไปสู่การเรียนรู้ในระดับที่สูงขึ น ดังนั นการส่งเสริมผู้เรียนในระดับการศึกษาขั น

พื นฐานให้มีสถานที่ที่มีความพร้อมส้าหรับการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนมีสภาพแวดล้อมที่เอื อต่อ

พัฒนาการของเด็กและเยาวชนในโรงเรียน ซึ่งเป็นองค์ประกอบส้าคัญในหลายๆส่วนของการ

เสริมสร้างทั งร่างกายสุขภาพอนามัย

โรงเรียนบ้านบัว อ้าเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่นเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก มีนักเรียนจ้านวน 80

คน ทางโรงเรียนมีการจัดการศึกษาตั งแต่ระดับชั นอนุบาล – ประถมศึกษาปีที่ 6 จ้านวน 8 ชั นเรียน

เด็กนักเรียนมาจากครอบครัวที่ยากจน อีกทั งโรงเรียนบ้านบัวไม่ค่อยได้รับงบประมาณในการก่อสร้าง

และปรับปรุงอาคารสถานที่ และทางโรงเรียนบ้านบัวมีสภาพห้องน ้าท่ีเก่าและไม่น่าใช้งาน

ดังนั นทางคณะผู้จัดท้าจึงได้เล็งเห็นถึงความส้าคัญ และความจ้าเป็นอย่างเร่งด่วนในการที่จะ

พัฒนาห้องน ้าและสภาพแวดล้อมให้เด็กในโรงเรียนได้มีสภาพแวดล้อมที่เอื อต่อพัฒนาการของเด็ก อัน

จะน้าไปสู่พัฒนาการที่เอื อต่อการเรียนรู้ของเด็กต่อไป

1.2. วัตถุประสงค์

1.2.1. เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาห้องน ้าและสภาพแวดล้อมบริเวณห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว ให้มี

สภาพแวดล้อมที่ดี

1.2.2. เพ่ือน้าแนวคิดทฤษฎีการจัดการของ Henri Fayol (POCCC) ไปใช้ในการท้างาน

1.3. ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า

สถานที ่โรงเรียนบ้านบัว ต้าบลกุดเค้า อ้าเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

ระยะเวลา 1 มีนาคม 2559 – 30 เมษายน 2559

1.4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

1.4.1. ปรับปรุงและพัฒนาห้องน ้าและสภาพแวดล้อมบริเวณห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว ให้มี

สภาพแวดล้อมที่ดี

1.4.2. ได้น้าแนวคิดทฤษฎีการจัดการของ Henri Fayol (POCCC) ไปใช้ในการท้างาน

Page 12: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

2

บทที่ 2

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

ในการด้าเนินโครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว ทางคณะผู้จัดท้าได้ท้าการค้นคว้า และศึกษาข้อมูลที่เก่ียวข้องดังนี

2.1. ขั นตอนการทาสี 2.2. สิ่งแวดล้อมปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาการของเด็ก 2.3. ทฤษฎีการจัดการของ Henri Fayol (POCCC)

2.1. ขั นตอนการทาสี สีคือส่วนส้าคัญที่จะเพ่ิมความสวยงามให้กับอาคาร บ้าน และที่อยู่อาศัยอ่ืนๆ แต่ปัญหาที่มัก

เกิดขึ นเสมอคือ เมื่อทาสีไประยะหนึ่งสีจะซีดจาง หลุดร่อน ซึ่งอาจเกิดขึ นได้จากหลายสาเหตุ เช่น การเตรียมพื นผิวที่ไม่ถูกต้อง การทาสีไม่ครบระบบ การเลือกใช้สีผิดประเภท หรือใช้ สีที่มีคุณภาพไม่ได้มาตรฐาน เป็นต้น ดังนั นเพ่ือให้การทาสีเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ควรปฏิบัติตามขั นตอนต่างๆให้ครบ ดังนี

1. ถามผู้เชี่ยวชาญ ในการทาสีบ้านเราต้องรู้ว่าเราจะทาสีลงบนพื นผิวประเภทใด ผิวปูน หรือ ผิวไม้ ใช้ทาสีภายในหรือภายนอก หากเราไม่แน่ใจว่าจะใช้ ว่าจะใช้สีอะไรดี ควรจะปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ สถาปนิก หรือช่างทาสี ซึ่งจะมีค้าแนะน้าดี ๆ ในการใช้สีให้ถูกประเภท และลักษณะการใช้งาน

2. เลือกสี เมื่อสอบถามผู้เชี่ยวชาญจนแน่ใจในเรื่องการใช้สีให้ถูกต้องแล้ว เลือกสีที่ตัวเองชอบ ยิ่งเป็นสีทาภายในควรให้กลมกลืนกับขอบประตู-หน้าต่าง และถ้าพื นผิวภายนอกเป็นปูนควรเลือกใช้สีที่มีคุณภาพสูงที่สามารถยืดอายุการใช้งานให้นานปกป้องสีบ้านจากการซีดจางที่เกิดจากแสงแดด ทนทานต่อสภาวะอากาศต่อต้านการเกิดเชื อรา ตะไคร่น ้า รวมทั งไม่จับฝุ่นซึ่งจะท้าความสะอาดได้ง่าย

3. เตรียมพื นผิว ก่อนจะลงมือทาสีควร ท้าความสะอาดฝุ่นละออง และใช้แปรงแซะสีเก่าที่หลุดลอกออกเช็ดให้สะอาด แล้วปล่อยให้แห้งสนิท การเตรียมพื นผิวที่ถูกต้องจะช่วยให้สีที่ทาติดนานยิ่งขึ น

4. ทาสีรองพื น การทาสีรองพื นก่อนจะช่วยให้สียึดเกาะกับผนังได้ดีไม่หลุดออกง่าย ๆ เลือกสีรองพื นชนิดที่เหมาะสมกับสภาพพื นผิว เพราะสีรองพื นส้าหรับพื นที่ยังไม่เคยทาสีมาก่อน ควรใช้สีรองพื นที่สามารถป้องกันด่างหรือการใช้สีรองพื นส้าหรับพื นผิวเนื ออ่อน และไม้เนื อแข็งที่อาจมียางซึม ออกมาได้ ควรทาสีรองพื นที่สามารถกันยางและเชื อรา

Page 13: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

3

5. อุปกรณ์ทาสี แปรงทาสี และลูกกลิ งมีความแตกต่างกัน แปรงทาสีสามารถเข้าได้ทุกซอกมุมของพื นที่ที่ต้องการทา จึงเหมาะกับในกรณีที่เตรียมพื นผิว แบบหยาบ ๆ หรือผิวที่ไม่เรียบ การใช้แปรงทาจะท้าให้สีสัมผัสกับผิวผนังในซอกมุมต่าง ๆ ได้ดี ลูกกลิ งเหมาะส้าหรับการทาในพื นที่กว้าง ๆ ซึ่งสามารถท้าให้การทาสีท้าได้เร็วกว่า แต่ลูกกลิ งจะใช้ปริมาณมากกว่าการทาด้วยแปรง

6. อุปกรณ์จ้าเป็นอ่ืน ๆ สิ่งที่ลืมไม่ได้เลยคือผ้าปูผื นกันเปื้อนเพ่ือป้องกันสี กระเด็นหรือตกหล่นพื น บันได้ส้าหรับทาที่สูงและเพดาน ถาดผสมสี และ อุปกรณ์ท้าความสะอาดต่าง ๆ

7. เก็บรายละเอียด เมื่อทาเสร็จแล้ว ควรตรวจสอบหาข้อบกพร่อง เช่น สีที่ทาอาจจะไม่สม่้าเสมอกัน หรือยังไม่ได้ทาในส่วนที่เป็นซอกเป็นมุม จากนั นเก็บรายละเอียดของงานให้ละเอียด เท่านี ก็จะได้บ้านที่ดูใหม่ และสดใสขึ นโดยไม่ต้องมีการตกแต่งอะไรให้สิ นเปลือง

8. การเก็บรักษาสี หากใช้สีไม่หมดแต่เหลือจ้านวนสีไม่มาก และอยากเก็บสีไว้ใช้ต่อครั งหน้า ควรจะเทสีใส่กระป๋องที่มีขนาดเล็กปิดฝาให้แน่น เพ่ือป้องกันการแข็งตัวของสีบนพื นผิว (Nucifer (นามแฝง) , 2555) 2.2. สิ่งแวดล้อมปัจจัยท่ีมีผลต่อการพัฒนาการของเด็ก

เบญจา แสงมะลิ (2531) ได้กล่าวถึงพัฒนาการเริ่มต้นตั งแต่การปฏิสนธิต่อเนื่องไปตลอดชีวิต พัฒนาการของคนแต่ละด้านเป็นไปตามล้าดับขั นตอน โดยขั นตอนที่ได้พัฒนาไปแล้วจะเป็นพื นฐานของขั นตอนที่ซับซ้อนยิ่งขึ น พัฒนาการแต่ละด้านของมนุษย์โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะแรกของชีวิตนั น แม้จะมีลักษณะร่วมกันหลายประการ แต่ในพัฒนาการแต่ละด้านมีทฤษฎีเฉพาะอธิบายได้ ซึ่งหนึ่งในนั นคือแนวคิดในการจัดสภาพแวดล้อม ในสถานศึกษาปฐมวัยต้องพิจารณาถึงทฤษฎีพัฒนาการเด็กด้วยจึงต้องจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมแก่เด็กปฐมวัยดังนี

1. ทฤษฎีพัฒนาการทางกาย กีเซล (Gesell) อธิบายถึงพัฒนาทางกายที่มีรูปแบบที่แน่นอนและเป็นไปตามล้าดับขั น สภาพแวดล้อมมีส่วนช่วยส่งเสริมและต่อเติมพัฒนาการของเด็ก กีเซลเน้นถึงการเติบโตและลักษณะพัฒนาการของเด็กแต่ละคนแตกต่างกัน ถึงแม้แบบแผนและขั นตอนพัฒนาการจะเหมือนกัน พัฒนาการของเด็กเป็นกระบวนการที่ประสานสัมพันธ์กันทุกด้าน ทั ง ร่างกาย จิตใจ ดังนั น การพัฒนาของเด็กจึงต้องพัฒนาไปพร้อม ๆ กันทุกด้าน ทฤษฎีพัฒนาการทางกายของ กีเซลมีส่วนในการจัดสภาพแวดล้อมและการจัดกิจกรรมให้แก่เด็กในปัจจุบัน เพราะในสถานศึกษาปฐมวัยจะจัดสภาพแวดล้อมและกิจกรรมให้แก่เด็กโดยมีจุดมุ่งหมายที่จะพัฒนาเด็กให้ครบทุกด้าน

2. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา เพียเจต์ (Piaget) เชื่อว่าพัฒนาการทางด้านสติปัญญาของเด็กเกิดจากการที่เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมซึ่งมนุษย์จะซึมซับประสบการณ์และมีการปรับตัวและปรับโครงสร้างทางสติปัญญาเมื่อสภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลง ซึ่งโครงสร้างของสติปัญญาในอินทรีย์ต้องมีการปรับโครงสร้างให้สมดุลกับสภาพแวดล้อมเช่นเดียวกับ บรูเนอร์ (Bruner) ได้แสดงความคิดเห็นตรงกับเพียเจต์ว่า การเรียนรู้ของเด็กเกิดจากกระบวนการภายในอินทรีย์ การเรียนรู้จะ

Page 14: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

4

พัฒนาได้ดีเพียงใดขึ นอยู่กับประสบการณ์และสภาพแวดล้อมรอบตัวเด็ก จากทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของทั งสองท่าน การจัดสภาพแวดล้อมส้าหรับเด็กปฐมวัยจึงต้องค้านึงถึงหลักการเรียนรู้ว่า การจัดสภาพแวดล้อมต้องจัดให้เด็กได้กระท้า สัมผัสด้วยตนเอง ซึ่งจะท้าให้เด็กคิดจินตนาการ เกิดการเรียนรู้ และเริ่มเข้าใจสิ่งต่าง ๆ รอบตัวที่สัมพันธ์กันจนเกิดเป็นความคิดรวบยอดของสิ่งนั น ๆ ที่เด็กได้พบเห็น

3. ทฤษฎีพัฒนาการทางจิตใจและอารมณ์ ทฤษฎีนี ออสูเบล (Ausubel) เห็นว่าเด็กมีอารมณ์ 2 ประเภท คือ อารมณ์ดีและอารมณ์ไม่ดี อารมณ์ของเด็กทั งสองประเภทเกิดได้จากอิทธิพลของสภาพแวดล้อมรอบตัวเด็กซ่ึงการพัฒนาด้านนี จะมีผลต่อเนื่องไปถึงบุคลิกภาพของเด็ก

4. ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม สังคมและบุคลิกภาพ ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรม สังคม และบุคลิกภาพ มีบุคคลที่ให้แนวทางเกี่ยวกับทฤษฎีเหล่านี คือ ฟรอยด์ (Freud) อิริคสัน (Erikson) และดิวอี (Dewey) ทั งสามท่านกล่าวถึงการจัดสภาพแวดล้อมมีบทบาทในการพัฒนาเด็กเป็นอย่างมาก เด็กจะเรียนรู้สภาพแวดล้อมการกระท้าของเด็กเอง การเรียนรู้และประสบการณ์ที่เด็กได้จากสภาพแวดล้อมจะมีส่วนสัมพันธ์กันอย่างมาก เพราะเด็กก้าลังอยู่ในวัยที่รับรู้มีการเรียนแบบ

ดังนั นสภาพแวดล้อมต่าง ๆ จะมีผลต่อการพัฒนาทางจริยธรรม สังคม และบุคลิกภาพของเด็กเป็นอย่างมาก 2.3. ทฤษฎีการจัดการของ Henri Fayol (POCCC)

วีรสิทธิ์ ชินวัตร (2555) ได้กล่าวว่า อองริ ฟาโยล(Henri Fayol) ได้อธิบายถึงกระบวนการจัดการงานว่า ประกอบด้วยหน้าที่ (functions) ทางการจัดการ 5 ประการ คือ Fayol มีความเชื่อว่า เป็นไปได้ที่เราจะหาทางศึกษาถึงศาสตร์ที่เกี่ยวกับการบริหาร (Administrative sceinces) ซึ่งสามารถใช้ได้กับการบริหารทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นการบริหารงานอุตสาหกรรมหรืองานรัฐบาล Fayol ได้สรุปสาระส้าคัญตามแนวความคิดของตนไว้ดังนี คือ

1. การวางแผน (Planning) หมายถึง ภาระหน้าที่ของผู้บริหารที่จะต้องท้าการคาดการณ์ล่วงหน้าถึงเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่จะมีผลกระทบต่อธุรกิจ และก้าหนดขึ นเป็นแผนการปฏิบัติงานหรือวิถีทางที่จะปฏิบัติเอาไว้ เพ่ือส้าหรับเป็นแนวทางของการท้างานในอนาคต

2. การจัดองค์การ (Organizing) หมายถึง ภาระหน้าที่ที่ผู้บริหารจ้าต้องจัดให้มีโครงสร้างของงานต่าง ๆ และอ้านาจหน้าที่ ทั งนี เพ่ือให้เครื่องจักร สิ่งของและตัวคน อยู่ในส่วนประกอบที่เหมาะสม ในอันที่จะช่วยให้งานขององค์การบรรลุผลส้าเร็จได้

3. การบังคับบัญชาสั่ งการ (Commanding) หมายถึง หน้าที่ ในการสั่ งงานต่าง ๆ ของผู้ใต้บังคับบัญชา ซึ่งกระท้าให้ส้าเร็จผลด้วยดี โดยที่ผู้บริหารจะต้องกระท้าตนเป็นตัวอย่างที่ดี จะต้องเข้าใจคนงานของตน

Page 15: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

5

4. การประสานงาน (Coordinating) หมายถึง ภาระหน้าที่ที่จะต้องเชื่อมโยงงานของทุกคนให้เข้ากันได้ และก้ากับให้ไปสู่จุดมุ่งหมายเดียวกัน

5. การควบคุม (Controlling) หมายถึง ภาระหน้าที่ในการที่จะต้องก้ากับให้สามารถประกันได้ว่ากิจกรรมต่าง ๆ ที่ท้าไปนั นสามารถเข้ากันได้กับแผนที่ได้วางไว้แล้ว

ทั ง 5 หน้าที่ที่ Fayol ได้วิเคราะห์แยกแยะไว้นี ถือได้ว่าเป็นวิถีทางที่จะให้ผู้บริหารทุกคน สามารถบริหารงานของตนให้บรรลุผลส้าเร็จตามเป้าหมายได้

ซึ่งทางคณะผู้จัดท้าก็ได้น้าแนวคิดทฤษฎีการจัดการของ Henri Fayol ไปใช้ในการ ดังนี คือ

1. การวางแผน (Planning) คือ สมาชิกร่วมกันประชุมและเสนอกิจกรรมที่จะท้าโครงการด้านจิตอาสา 2. การจัดองค์การ (Organizing) คือ จัดตั งหัวหน้ากลุ่ม แบ่งหน้าที่ให้สมาชิกตามความถนัด 3. การบังคับบัญชาสั่งการ (Commanding) คือ มีหัวหน้ากลุ่มเป็นคนสั่งการให้สมาชิกปฏิบัติงานตามท่ีได้วางแผนไว้

4. การประสานงาน (Coordinating) คือ การที่สมาชิกที่มีหน้าที่ต่างกันมีการประสานงานกันเพ่ือให้งานด้าเนินไปด้วยความเรียบร้อย

5. การควบคุม (Controlling) คือ หัวหน้ากลุ่มเป็นผู้ควบคุมดูแลการท้างานให้เป็นไปตามแผนที่วางไว้

Page 16: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

6

บทท่ี 3 วิธกีารด้าเนินโครงการ

ในการด้าเนินโครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว ทางคณะผู้จัดท้าได้มีวิธีการด้าเนิน

โครงการดังนี 3.1. รายละเอียดเกี่ยวกับโครงการ 3.2. วัสดุและอุปกรณ์ 3.3. งบประมาณที่ใช้ด้าเนินโครงการ 3.4. วิธีการและขั นตอนในการด้าเนินโครงการ

3.5. แผนการด้าเนินโครงการ 3.6. วิธีด้าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล 3.7. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน 3.8. การวิเคราะห์ข้อมูล และสถิติที่ใช้

3.1. รายละเอียดเกี่ยวกับโครงการ ประเภทโครงการ : โครงการประเภทปรับปรุงหรือแก้ไขปัญหาต่าง ๆ กลุ่มตัวอย่าง : นักเรียน คุณครูและบุคลากรในโรงเรียนบ้านบัว ต้าบลกุดเค้า อ้าเภอมัญจาคีรี

จังหวัดขอนแก่น จ้านวน 30 คน

3.2. วัสดุและอุปกรณ์

วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง 2. เครื่องปริ น 1 เครื่อง

วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการพัฒนาและปรับปรุงห้องน ้า 1. สีทาภายนอกจ้านวน 1 ถัง 2. สีทาภายใน จ้านวน 1 ถัง 3. สีทาไม้ จ้านวน 2 กระป๋อง 4. ลูกกลิ งทาสี จ้านวน 3 อัน 5. แปลงทาสี จ้านวน 3 อัน 6. ไม้กวาดทางมะพร้าว 2 อัน

7. สายยาง 1 เส้น 8. จอบ 2 ด้าม

Page 17: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

7

3.3. งบประมาณที่ใช้ด้าเนินโครงการ 3.3.1. ค่าเอกสารโครงการ เป็นเงิน 100 บาท 3.3.2. สีทาภายนอกจ้านวน 1 ถัง เป็นเงิน 850 บาท 3.3.3. สีทาภายใน จ้านวน 1 ถัง เป็นเงิน 290 บาท 3.3.4. สีทาไม้ จ้านวน 1 ถัง เป็นเงิน 145 บาท 3.3.5. ลูกกลิ งทาสี จ้านวน 3 อัน เป็นเงิน 210 บาท 3.3.6. แปลงทาสี จ้านวน 3 อัน เป็นเงิน 125 บาท 3.3.7. ค่าต้นไม้ที่ใช้ในการจัดสวนย่อม เป็นเงิน 300 บาท 3.3.8. ค่าเดินทาง 400 บาท

รวมงบประมาณ 2,420 บาท 3.4. วิธีการและขั นตอนในการด้าเนินโครงการ

3.4.1. สมาชิกร่วมกันประชุมและเสนอกิจกรรมที่จะท้าโครงการด้านจิตอาสา 3.4.2. ส้ารวจสถานที่ท่ีได้เสนอมาและคัดเลือกสถานที่ในการท้าโครงการ 3.4.3. ลงพื นที่ก้าหนดขอบเขตของโครงการและสอบถามข้อมูลต่างๆจากผู้ดูแลสถานที่นั น 3.4.4. วางแผนการด้าเนินงาน 3.4.5. ค้นคว้าและเก็บรวบรวมข้อมูลที่เก่ียวข้องกับโครงการ 3.4.6. เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ด้าเนินโครงการและยื่นแบบค้าร้องขอด้าเนินโครงการต่อผู้ดูแลสถานที่ 3.4.7. ลงพื นที่ท้ากิจกรรมตามที่ได้วางแผนไว้ 3.4.8. ติดตามและประเมินผลการท้ากิจกรรม 3.4.9. สรุปโครงงานและจัดท้ารูปเล่ม 3.4.10. น้าเสนอโครงการต่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ

Page 18: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

8

3.5. แผนการด้าเนนิโครงการ

ล้าดับ กิจกรรม สัปดาห์ที่ (มี.ค.-เม.ย.2559)

1 2 3 4 5 6 7 8 1 สมาชิกร่วมกันประชุมและเสนอกิจกรรมที่จะท้าโครงการด้านจิตอาสา

2 ส้ารวจสถานที่ท่ีได้เสนอมาและคัดเลือกสถานที่ในการท้าโครงการ 3 ลงพื นที่ก้าหนดขอบเขตของโครงการและสอบถามข้อมูลต่างๆจาก

ผู้ดูแลสถานที่นั น

4 วางแผนการด้าเนินงาน 5 ค้นคว้าและเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโครงการ 6 เตรียมอุปกรณ์ท่ีใช้ด้าเนินโครงการและยืนแบบค้าร้องขอด้าเนิน

โครงงานนักศึกษาต่อผู้ดูแลสถานที่

7 ลงพื นที่ท้ากิจกรรมตามที่ได้วางแผนไว้ 8 ติดตามและประเมินผลการท้ากิจกรรม 9 สรุปผลโครงการและจัดท้ารูปเล่ม 10 น้าเสนอโครงการต่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ

3.6. วิธีด้าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล 3.6.1. จัดท้าแบบประเมินความพึงพอใจในการด้าเนินโครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน ้า โรงเรียน

บ้านบัว 3.6.2. เลือกกลุ่มตัวอย่างที่จะท้าการส้ารวจ 3.6.3. ให้ความรู้เกี่ยวกับแบบประเมินความพึงพอใจในการด้าเนินโครงการจิตอาสาพัฒนา

ห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัวบัว 3.6.4. ให้กลุ่มตัวอย่างท้าแบบประเมินความพึงพอใจในการด้าเนินโครงการจิตอาสาพัฒนา

ห้องน ้าโรงเรียนบ้าน 3.6.5. บันทึกผลการส้ารวจ

3.7. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินคือ แบบประเมินความพึงพอใจในการด้าเนินโครงการจิตอาสา

พัฒนาห้องน ้า โรงเรียนบ้านบัว กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียน จ้านวน 15 คน

ครู จ้านวน 5 คน และบุคลากรอ่ืนๆ จ้านวน 10 คน รวม 30 คน

Page 19: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

9

3.8. การวิเคราะห์ข้อมูล และสถิติท่ีใช้ 3.8.1. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

การท้าโครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน ้า โรงเรียนบ้านบัว ได้ใช้สัญลักษณ์ต่างๆ ในการวิเคราะห์ข้อมูลดังต่อไปนี คือ

n แทน จ้านวนกลุ่มตัวอย่าง x แทน ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง

โดยมีสูตรว่า n

x

x

n

i

1

..DS แทนค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่าง

โดยมีสูตรว่า 1

)(

.. 1

2

n

xx

DS

n

i (ชัชวาลย,์2558)

3.8.2. ขั นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่ 1. วิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มตัวอย่าง ตอนที่ 2. วิเคราะห์สรุปผลแบบประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างในการด้าเนิน

โครงการ

Page 20: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

10

บทที่ 4 ผลการด้าเนินการ

ในการด้าเนินโครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว ได้ผลการด้าเนินโครงการดังนี

4.1. ผลการด้าเนินโครงการโดยการใช้ทฤษฎีการจัดการของ Henri Fayol (POCCC)

4.2. ภาพของสภาพห้องน ้าก่อนและหลังด้าเนินการปรับปรุง 4.3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

4.1. ผลการด้าเนินโครงการโดยการใช้ทฤษฎีการจัดการของ Henri Fayol (POCCC) ทฤษฎีการจัดการของ Fayol เป็นหลักการที่อาศัยประโยชน์จากการแบ่งงานกันท้าและเน้น

ถึงความส้าคัญที่ว่าอ้านาจหน้าที่และความรับผิดชอบต้องเท่ากัน โดย Henri Fayol ได้อธิบายถึงกระบวนการจัดการงานว่า ประกอบด้วยหน้าที่ทางการจัดการ 5 ประการ

1. การวางแผน (Planning) หมายถึง ภาระหน้าที่ของผู้บริหารที่จะต้องท้าการคาดการณ์ล่วงหน้าถึงเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่จะมีผลกระทบต่อธุรกิจ และก้าหนดขึ นเป็นแผนการปฏิบัติงานหรือวิถีทางที่จะปฏิบัติเอาไว้ เพ่ือส้าหรับเป็นแนวทางของการท้างานในอนาคต

2. การจัดองค์การ (Organizing) หมายถึง ภาระหน้าที่ที่ผู้บริหารจ้าต้องจัดให้มีโครงสร้างของงานต่าง ๆ และอ้านาจหน้าที่ ทั งนี เพ่ือให้เครื่องจักร สิ่งของและตัวคน อยู่ในส่วนประกอบที่เหมาะสม ในอันที่จะช่วยให้งานขององค์การบรรลุผลส้าเร็จได้

3. การบังคับบัญชาสั่ งการ (Commanding) หมายถึง หน้าที่ ในการสั่ งงานต่าง ๆ ของผู้ใต้บังคับบัญชา ซึ่งกระท้าให้ส้าเร็จผลด้วยดี โดยที่ผู้บริหารจะต้องกระท้าตนเป็นตัวอย่างที่ดี จะต้องเข้าใจคนงานของตน

4. การประสานงาน (Coordinating) หมายถึง ภาระหน้าที่ที่จะต้องเชื่อมโยงงานของทุกคนให้เข้ากันได้ และก้ากับให้ไปสู่จุดมุ่งหมายเดียวกัน

5. การควบคุม (Controlling) หมายถึง ภาระหน้าที่ในการที่จะต้องก้ากับให้สามารถประกันได้ว่ากิจกรรมต่าง ๆ ที่ท้าไปนั นสามารถเข้ากันได้กับแผนที่ได้วางไว้แล้ว

ซึ่งทางคณะผู้จัดท้าก็ได้น้าแนวคิดทฤษฎีการจัดการของ Henri Fayol ไปใช้ในการ ดังนี คือ

1. การวางแผน (Planning) คือ สมาชิกร่วมกันประชุมและเสนอกิจกรรมที่จะท้าโครงการด้านจิตอาสา 2. การจัดองค์การ (Organizing) คือ จัดตั งหัวหน้ากลุ่ม แบ่งหน้าที่ให้สมาชิกตามความถนัด

Page 21: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

11

3. การบังคับบัญชาสั่งการ (Commanding) คือ มีหัวหน้ากลุ่มเป็นคนสั่งการให้สมาชิกปฏิบัติงานตามท่ีได้วางแผนไว้

4. การประสานงาน (Coordinating) คือ การที่สมาชิกที่มีหน้าที่ต่างกันมีการประสานงานกันเพ่ือให้งานด้าเนินไปด้วยความเรียบร้อย

5. การควบคุม (Controlling) คือ หัวหน้ากลุ่มเป็นผู้ควบคุมดูแลการท้างานให้เป็นไปตามแผนที่วางไว้

Page 22: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

12

4.2. ภาพของสภาพห้องน ้าก่อนและหลังด้าเนินการปรับปรุง 4.2.1. ภาพของสภาพห้องน ้าก่อนการด้าเนินการปรับปรุง

ภาพที่ 4-1 ภาพของสภาพห้องน ้าก่อนการด้าเนินการปรับปรุง

ภาพที่ 4-2 ภาพของสภาพห้องน ้าก่อนการด้าเนินการปรับปรุง

Page 23: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

13

4.2.2. ภาพของสภาพห้องน ้าหลังการด้าเนินการปรับปรุง

ภาพที่ 4-3 ภาพของสภาพห้องน ้าหลังการด้าเนินการปรับปรุง

ภาพที่ 4-4 ภาพของสภาพห้องน ้าหลังการด้าเนินการปรับปรุง

Page 24: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

14

ภาพที่ 4-5 ภาพของสภาพห้องน ้าหลังการด้าเนินการปรับปรุงและถ่ายภาพร่วมกับผู้อ้านวยการโรงเรียนบ้านบัว

ภาพที่ 4-6 ภาพของสภาพห้องน ้าหลังการด้าเนินการปรับปรุงและถ่ายภาพร่วมกับนักเรียนโรงเรียนบ้านบัว

Page 25: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

15

4.3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่ 1. วิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มตัวอย่าง ตารางท่ี 4-1 ตารางแสดงร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจ้าแนกตามเพศ

เพศ N ร้อยละ ชาย 11 37 หญิง 19 63 รวม 30 100

ภาพที่ 4-7 ภาพแสดงแผนภูมิวงกลมแสดงร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจ้าแนกตามเพศ

จากตารางที่ 4-1 พบว่าในการส้ารวจครั งนี เป็นเพศชาย 11 คน (คิดเป็นร้อยละ 37) เพศหญิง 19 คน (คิดเป็นร้อยละ 63)

เพศชาย37%

เพศหญิง63%

แผนภูมิวงกลมแสดงร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจ้าแนกตามเพศ

เพศชาย

เพศหญิง

Page 26: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

16

ตารางท่ี 4-2 ตารางแสดงร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจ้าแนกตามสถานะภาพ

สถานะภาพ N ร้อยละ นักเรียน 15 50

ครู / อาจารย ์ 5 17 บุคลากรอื่นๆ 10 33

รวม 30 100

ภาพที่ 4-8 ภาพแสดงแผนภูมิวงกลมแสดงร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจ้าแนกตามสถานะภาพ

จากตารางที่ 4-2 พบว่าในการส้ารวจครั งนี เป็นนักเรียน 15 คน (คิดเป็นร้อยละ 50) ครูอาจารย์ 5 คน (คิดเป็นร้อยละ 17) และบุคลากรอ่ืนๆ 10 คน (คิดเป็นร้อยละ 33)

นักเรียน50%

ครู อาจารย์17%

บุคลากรอื่นๆ33%

แผนภูมิวงกลมแสดงร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจ้าแนกตามสถานะภาพ

นักเรียน

ครู อาจารย์

บุคลากรอื่นๆ

Page 27: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

17

ตอนที่ 2. วิเคราะห์สรุปผลแบบประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างในการด้าเนินโครงการ โดยแบบการประเมินความพึงพอใจด้านที่ของกลุ่มตัวอย่างในการด้าเนินโครงการแบ่ง

ออกเป็น 2 ด้าน และในแต่ละด้านแบ่งออกเป็น 2 หัวข้อ คือ

ด้านที่ 1 ผลที่ได้รับจากโครงการ

1.1. ห้องน ้ามีสภาพน่าใช้มากขึ น

1.2. ห้องน ้ามีความสะอาด

ด้านที่ 2 ความพึงพอใจโดยรวมในการเข้าร่วมกิจกรรมนี

2.1. ความพึงพอใจในด้านพัฒนาห้องน ้า

2.2. ความพึงพอใจในด้านประโยชน์ในการจัดโครงการ

และแบ่งระดับความพึงพอใจ 5 = มากที่สุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = น้อย 1 = น้อยที่สุด

ตารางท่ี 4-3 ตารางแสดงผลการประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างในการท้าแบบประเมินความพึงพอใจ

กลุ่มตัวอย่าง (30 คน) ด้านที่ 1 ด้านที่ 2

1.1. 1.2. 2.1. 2.2. 1 5 5 5 5 2 5 5 5 5 3 5 5 5 5 4 4 4 5 5 5 5 5 5 5 6 5 5 5 5 7 5 5 5 5 8 5 5 5 5 9 5 5 5 5 10 5 5 5 5 11 5 5 5 5 12 5 5 5 5 13 5 5 5 5 14 5 5 5 5 15 5 5 5 5

Page 28: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

18

ตารางท่ี 4-3 ตารางแสดงผลการประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างในการท้าแบบประเมินความพึงพอใจ (ต่อ)

กลุ่มตัวอย่าง (30 คน) ด้านที่ 1 ด้านที่ 2

1.1. 1.2. 2.1. 2.2. 16 5 5 5 5 17 5 5 5 5 18 5 5 5 5 19 5 5 5 5 20 5 5 5 5 21 5 5 5 5 22 5 5 5 5 23 5 5 5 5 24 5 5 5 5 25 5 5 5 5 26 5 5 5 5 27 5 5 5 5 28 5 5 5 5 29 5 5 5 5 30 5 5 5 5 รวม 149 149 150 150

ค่าเฉลี่ย 4.97 4.97 5 5 คิดเป็นร้อยละ 99.4 99.4 100 100

..DS 0.186 0.186 0 0

Page 29: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

19

ตารางท่ี 4-4 ตารางแสดงผลการประเมินความพึงพอใจในภาพรวมของกลุ่มตัวอย่างในการท้าแบบประเมินความพึงพอใจ

รายการความพึงพอใจ x ..DS การแปลงผล

1. ผลที่ได้รับจากโครงการ

1.1. ห้องน้้ามีสภาพน่าใช้มากขึ้น 4.97 0.186 มากที่สุด

1.2. ห้องน้้ามีความความสะอาด 4.97 0.186 มากที่สุด

2. ความพึงพอใจในการด้าเนินโครงการนี้

2.1. ความพึงพอใจในด้านพัฒนาห้องน้้า 5 0 มากที่สุด

2.2. ความพึงพอใจในด้านประโยชน์ในการจัดโครงการ 5 0 มากที่สุด

ภาพที่ 4-9 แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อการด้าเนินโครงการ

จากตารางที่ 4-4 พบว่าระดับความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อโครงการจิตอาสาพัฒนา

ห้องน ้า โรงเรียนบ้านบัว โดยผลการประเมินเป็นได้ดังนี

ด้านที่ 1. คือ ผลที่ได้รับจากโครงการ

1.1 ห้องน ้ามีสภาพน่าใช้มากขึ น ซึ่งผลการประเมินได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.97 แปลงผลได้

เป็นพึงพอใจมากที่สุด

4.97 4.975 5

0

0.5

1

1.5

2

2.5

3

3.5

4

4.5

5

ระดบัความพงึพ

อใจ

แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างท่ีมีต่อการด้าเนินโครงการ

ห้องน ้ามีสภาพน่าใช้มากขึ น ห้องน ้ามีความความสะอาด

ความพึงพอใจในด้านพัฒนาห้องน ้า ความพึงพอใจในด้านประโยชน์ในการจัดโครงการ

Page 30: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

20

1.2 ห้องน ้ามีความสะอาด ซึ่งผลการประเมินได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.97 แปลงผลได้เป็นพึง

พอใจมากที่สุด

และผลการประเมินด้านที่ 2. คือ ความพึงพอใจโดยรวมในการเข้าร่วมกิจกรรมนี

2.1 ความพึงพอใจในด้านพัฒนาห้องน ้า ซึ่งผลการประเมินได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 5 แปลง

ผลได้เป็นพึงพอใจมากที่สุด

2.2 ความพึงพอใจในด้านประโยชน์ในการจัดโครงการ ซึ่งผลการประเมินได้คะแนนเฉลี่ย

เท่ากับ 5 แปลงผลได้เป็นพึงพอใจมากที่สุด

Page 31: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

21

บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผลและขอ้เสนอแนะ

5.1. สรุปผลการด้าเนินโครงการ

จากการด้าเนินโครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน ้า โรงเรียนบ้านบัว ซึ่งได้ลงพื นที่ปฏิติบัติงานจริงในวันที่ 16 มีนาคม 2559 ซึ่งในวันดังกล่าวก็ได้ท้าการทาสีในตอนเช้า โดยเริ่มทาสีจากภายนอกห้องน ้าและก็ตามด้วยทาภายในห้องน ้า และก็พักรับประทานอาหารเที่ยง แล้วเริ่มงานต่อในตอนบ่ายโดยได้ท้าการทาสีที่เหลือต่อ ซึ่งห้องน ้ามีทั งหมด 6 ห้อง หลังจากทาสีเสร็จก็มาจัดสวนหย่อมที่อยู่บริเวณหน้าห้องน ้า ซึ่งผลการด้าเนินโครงการก็ส้าเร็จไปได้ด้วยดี

ผลการด้าเนินโครงการมีปรับปรุงและพัฒนาห้องน ้าและสภาพแวดล้อมบริเวญห้องน ้า ให้มี

สภาพแวดล้อมที่ดีขึ นอย่างเห็นได้ชัด เป็นที่พอใจของ นักเรียน ครู และบุคลากร ของโรงเรียนบ้านบัว

โดยได้ประเมินวัดผลจากการท้าแบบประเมินความพึงพอใจนักเรียน ครู และบุคลากร ของโรงเรียน

บ้านบัว ที่มีต่อการด้าเนินโครงการโดยภาพรวมในด้านที่ 1. ผลที่ได้รับจากโครงการซึ่งผลการประเมิน

ได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.97 แปลงผลได้เป็นพึงพอใจมากที่สุด และในด้านที่ 2. คือ ความพึงพอใจใน

การด้าเนินโครงการนี ซึ่งผลการประเมินได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 5 แปลงผลได้เป็นพึงพอใจมากที่สุด

ดังแผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อการด้าเนินโครงการดังภาพที่ 4-1

ภาพที่ 5-1 แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อ

การด้าเนินโครงการ

4.97 4.975 5

0

0.5

1

1.5

2

2.5

3

3.5

4

4.5

5

ระดบัความพงึพ

อใจ

แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อการดา้เนินโครงการ

ห้องน ้ามีสภาพน่าใช้มากขึ น ห้องน ้ามีความความสะอาด

ความพึงพอใจในด้านพัฒนาห้องน ้า ความพึงพอใจในด้านประโยชน์ในการจัดโครงการ

Page 32: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

22

5.2. อภิปรายผล จากการศึกษาค้นคว้าโครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัวได้บรรลุวัตถุประสงค์ท่ีทางคณะผู้จัดท้าได้ตั งไว้ คือ

1. เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาห้องน ้าและสภาพแวดล้อมบริเวณห้องน ้าให้มีสภาพแวดล้อมที่ดี ซ่ึงก็

ได้ด้าเนินการปรับปรุงและพัฒนาสภาพห้องน ้าของโรงเรียนบ้านบัว จนมีสภาพน่าใช้งานมากขึ นอย่าง

เห็นได้ชัด และเป็นที่น่าพึงพอใจของนักเรียน ครู และบุคลากรของโรงเรียนบ้านบัว โดยวัดผลจาก

แบบประเมินความพึงพอใจได้แปรผลออกมาเป็น พอใจมากที่สุด

2. เพ่ือน้าแนวคิดทฤษฎีการจัดการของ Henri Fayol (POCCC) ไปใช้ในการท้างาน ซึ่งทางคณะ

ผู้จัดท้าก็ได้น้าแนวคิดทฤษฎีการจัดการของ Henri Fayol ไปใช้ในการท้างาน ซึ่งได้ใช้กระบวนการ

จัดการงานทีป่ระกอบด้วยหน้าที่ ทางการจัดการ 5 ประการ ของ Henri Fayol ดังนี คือ

2.1. การวางแผน (Planning) คือ สมาชิกร่วมกันประชุมและเสนอกิจกรรมที่จะท้าโครงการด้านจิตอาสา 2.2. การจัดองค์การ (Organizing) คือ จัดตั งหัวหน้ากลุ่ม แบ่งหน้าที่ให้สมาชิกตามความถนัด 2.3. การบังคับบัญชาสั่งการ (Commanding) คือ มีหัวหน้ากลุ่มเป็นคนสั่งการให้สมาชิกปฏิบัติงานตามที่ได้วางแผนไว้ 2.4. การประสานงาน (Coordinating) คือ การที่สมาชิกที่มีหน้าที่ต่างกันมีการประสานงานกันเพ่ือให้งานด้าเนินไปด้วยความเรียบร้อย 2.5. การควบคุม (Controlling) คือ หัวหน้ากลุ่มเป็นผู้ควบคุมดูแลการท้างานให้เป็นไปตามแผนที่วางไว้

ซึ่งทั ง 5 ขั นตอนของ Fayol ก็ได้ท้าให้การด้าเนินโครงการผ่านไปได้ด้วยดี และท้าให้สมาชิกในกลุ่มสามารถบริหารงานของตนให้บรรลุผลส้าเร็จตามเป้าหมายได้และส้าเร็จลุล่วงด้วยดี 5.3. ข้อเสนอเเนะจากผู้ประเมิน จากการตอบแบบประเมินความพึงพอใจพบว่า ทางครู อาจารย์ บุคลากรโรงเรียนบ้านบัวได้ชื่นชมว่าโครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัวเป็นโครงการที่ดี อยากให้ทางมหาวิทยาลัยสนับสนุนโครงการด้านจิตอาสาให้เป็นโครงการต่อเนื่อง จะได้ส่งเสริมให้นักศึกษาเป็นผู้ที่มีจิตอาสา และมีความเป็นภาวะน้า

Page 33: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

23

5.4. ปัญหาและอุปสรรคในการด้าเนินโครงการ 5.4.1. มีปัญหาเรื่องสภาพอากาศที่ร้อน ท้าให้ด้าเนินงานได้ไม่เต็มที่ 5.4.2. สมาชิกในกลุ่มบางคนไม่มีความช้านาญในด้านการทาสี

5.5. ข้อเสนอแนะ 5.5.1. ควรศึกษาวิธีการในการทาสีให้ละเอียดถี่ถ้วน

5.5.2. ควรมีการวางแผนการใช้จ่ายอย่างรัดกุม เพื่อป้องกันการเกิดงบประมาณบานปลาย

Page 34: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

24

บรรณานุกรม

ชัชวาล เรืองประพันธ์. (2558). สถิติพ้ืนฐาน. พิมพ์รั งที่ 2. ขอนแก่น : ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

เบญจา แสงมะลิ. (2531). การจัดห้องเรียนและสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาปฐมวัย. ในเอกสารการสอนชุดวิชาฝึกอบรมครูและผู้เกี่ยวข้องกับการเลี ยงดูเด็กปฐมวัย หน่วยที่ 5. นนทบุรี. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

วีรสิทธิ์ ชินวัตร. (2555). ทฤษฎีของ Henri Fayol. สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2559, จาก: http://veerasit-dba04.blogspot.com/2012/10/6-henri-fayol.html

Nucifer (นามแฝง). (2555). ขั้นตอนการทาสีบ้าน. สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2559, จาก: http://www.nucifer.com/2012/03/10/colo/

Page 35: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

25

ภาคผนวก

Page 36: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

26

ภาคผนวก ก

รูปกิจกรรม - วันที่ 15 มีนาคม 2559

ภาพที่ ก-1 ลงพื นที่ท้าความสะอาดห้องน ้าก่อนที่จะท้าการปรับปรุงห้องน ้า

ภาพที่ ก-2 ลงพื นที่ท้าความสะอาดห้องน ้าก่อนที่จะท้าการปรับปรุงห้องน ้า

Page 37: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

27

- วันที่ 16 มีนาคม 2559 (ช่วงเช้า)

ภาพที่ ก-3 ถ่ายภาพร่วมกับผู้อ้านวยการโรงเรียนบ้านบัวก่อนลงพื นที่ทาสีห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว

ภาพที่ ก-4 ถ่ายภาพกับอุปกรณ์ก่อนลงพื นที่ทาสีห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว

Page 38: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

28

ภาพที่ ก-5 ลงพื นที่ทาสีห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว

ภาพที่ ก-6 ลงพื นที่ทาสีห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว

Page 39: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

29

ภาพที่ ก-7 ลงพื นที่ทาสีห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว

ภาพที่ ก-8 ลงพื นที่ทาสีห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว

Page 40: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

30

ภาพที่ ก-9 ลงพื นที่ทาสีห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว

ภาพที่ ก-10 ลงพื นที่ทาสีห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว

Page 41: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

31

ภาพที่ ก-11 ลงพื นที่ทาสีห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว

ภาพที่ ก-12 ลงพื นที่ทาสีห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว

Page 42: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

32

ภาพที่ ก-13 ลงพื นที่ทาสีห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว

ภาพที่ ก-14 ลงพื นที่ทาสีห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว

Page 43: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

33

ภาพที่ ก-15 ภาพรับประทานอาหารกลางวัน

ภาพที่ ก-16 ภาพช่วยกันล้างถ้วยล้างจานหลังจากรับประทานอาหารกลางวัน

Page 44: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

34

- วันที่ 16 มีนาคม 2559 (ช่วงบ่าย)

ภาพที่ ก-17 ลงพื นที่ทาสีห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว

ภาพที่ ก-18 ภาพต้นไม้ที่ใช้จัดสวนย่อมบริเวณหน้าห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว

Page 45: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

35

ภาพที่ ก-19 ลงพื นที่จัดสวนย่อมบริเวณหน้าห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว

ภาพที่ ก-20 ลงพื นที่จัดสวนย่อมบริเวณหน้าห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว

Page 46: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

36

ภาพที่ ก-21 เก็บข้อมูลโดยให้ นักเรียน คุณครูท้าแบบประเมินความพึงพอใจต่อการด้าเนินโครงการ

ภาพที่ ก-22 เก็บข้อมูลโดยให้ นักเรียน คุณครูท้าแบบประเมินความพึงพอใจต่อการด้าเนินโครงการ

Page 47: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

37

ภาพที่ ก-23 เก็บข้อมูลโดยให้ นักเรียน คุณครูท้าแบบประเมินความพึงพอใจต่อการด้าเนินโครงการ

ภาพที่ ก-24 เก็บข้อมูลโดยให้ นักเรียน คุณครูท้าแบบประเมินความพึงพอใจต่อการด้าเนินโครงการ

Page 48: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

38

ภาพที่ ก-25 ภาพห้องน ้าหลังการด้าเนินโครงการ

ภาพที่ ก-26 ภาพห้องน ้าหลังการด้าเนินโครงการ

Page 49: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

39

ภาพที่ ก-27 ถ่ายภาพร่วมกับผู้อ้านวยการโรงเรียนหลังการด้าเนินโครงการ

ภาพที่ ก-28 ถ่ายภาพร่วมกับนักเรียนโรงเรียนหลังการด้าเนินโครงการ

Page 50: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

40

ภาพที่ ก-29 สมาชิกในกลุ่มถ่ายภาพกับห้องน ้าหลังการด้าเนินโครงการ

Page 51: โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

41

ภาคผนวก ข ประกอบไปด้วย

- หนังสือขอขอบคุณในความอนุเคราะห์ส่งนักศึกษาจัดกิจกรรม โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว

- แบบประเมินความพึงพอใจต่อการด้าเนินโครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน ้าโรงเรียนบ้านบัว