7 สถิติเพื่อการวิจัย

31
Business Research Method 100-009 วิธีการวิจัยทางธุรกิจ [.นิธินพ ทองวาสนาสง] สถิติเพื่อการวิจัยทางธุรกิจ

Upload: nitinop-tongwassanasong

Post on 15-Aug-2015

20 views

Category:

Education


0 download

TRANSCRIPT

Business Research Method

100-009

วิธีการวิจัยทางธุรกิจ

[อ.นิธินพ ทองวาสนาสง]

สถิติเพื่อการวิจยัทางธุรกิจ

หัวขอสําคัญในบท

2

• สถิติที่ใชในการวิจัย

• การวัดคาตัวแปร

• มาตราวัดที่เหมาะสมสําหรับสถิติตางๆ

• ตัวอยางการต้ังสมมุติฐาน

• วิธีการในการทดสอบสมมุติฐาน

• การวิเคราะหความสัมพนัธระหวางตัวแปร

• การวิเคราะหไควสแคว

• การระบุและแปรความหมายความสัมพนัธระหวางตัวแปร

แบงเปน 2 ประเภท

• สถิติพื้นฐานหรือสถิติเชิงพรรณนา

• สถิติข้ันสูงหรือสถิติเชิงอนุมาน

สถิติท่ีใชในการวิจัย

3

สถิติพื้นฐานหรือสถิติเชิงพรรณนา สถิติพ้ืนฐาน ไดแก สถิติวิเคราะหเพ่ือแสดงความหมายทั่วไปของขอมูล และใชเปนพ้ืนฐานในการคํานวณสถิติขั้นสูงตอไป ซึ่งสถิติพ้ืนฐาน ไดแก 1.1 การแจกแจงความถี่ (frequency) เปนการวิเคราะหเพ่ือการแจงนับขอมูล ทําใหเห็นภาพรวมของขอมูลวามีลักษณะการกระจายอยางไร

1.2 การวัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง เปนการวิเคราะหเพ่ือหาคากลางเพ่ือใชเปนตัวแทนของขอมูลชุดหนึ่งๆ ทําใหสามารถอธิบายความหมายของขอมูล ท้ังหมดไดชัดเจนข้ึน ไดแก คาเฉลี่ย (Mean) มัธยฐาน (Median) และฐานนิยม(Mode)

สถิติท่ีใชในการวิจัย

4

สถิติพื้นฐานหรือสถิติเชิงพรรณนา 1.3 การวัดการกระจาย เปนการวิเคราะหลักษณะการกระจายของขอมูลที่

รวบรวมมาได เพื่อใหเห็นความแตกตางของขอมูลนั้น ไดแก พิสัย(Range) สวน

เบี่ยงเบนมาตรฐาน(Standard Deviation) และความแปรปรวน(Variance)

1.4 การเปรียบเทียบ เปนการวิเคราะหเพื่อนําไปใชในการเปรียบเทียบขอมูล

ตางกัน เชน อัตราสวน รอยละ เปอรเซ็นไทล(Percentile)

สถิติท่ีใชในการวิจัย

5

สถิติขั้นสูง หรือสถิติเชิงอนุมาน 2.1 สถิติที่ใชหาประสิทธิภาพของเครื่องมือ เปนสถิติที่ใชสําหรับการวิเคราะหหา

ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของเครื่องมือที่ใชในการวิจัย เชน หาคาอํานาจ

จําแนก(Discrimination Index : r) หาคาความยาก (Level of Difficulty : p)

หาคาความเชื่อมั่น (Reliability) เปนตน

สถิติท่ีใชในการวิจัย

6

สถิติขั้นสูง หรือสถิติเชิงอนุมาน 2.2 สถิติที่ใชในการทดสอบสมมติฐาน เปนสถิติที่ใชสําหรับการวิเคราะหเพ่ือ

ทดสอบสมมติฐานวาเปนจริงตามที่กําหนดไวหรือไม ไดแก

2.2.1 การทดสอบความแตกตางระหวางกลุม ไดแก t-test F-test และไควส

แควร

2.2.2 การหาความสัมพันธ เปนการวิเคราะหเพ่ือใหทราบความสัมพันธ

ระหวางขอมูลต้ังแต 2 ชุดข้ึนไปวามีความสัมพันธกันหรือไม และสัมพันธกันในลักษณะ

ใด ไดแก การหาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (correlation)

สถิติท่ีใชในการวิจัย

7

สถิติขั้นสูง หรือสถิติเชิงอนุมาน 2.2 สถิติที่ใชในการทดสอบสมมติฐาน เปนสถิติที่ใชสําหรับการวิเคราะหเพ่ือ

ทดสอบสมมติฐานวาเปนจริงตามที่กําหนดไวหรือไม ไดแก

2.2.3 การพยากรณ (regression) เปนการวิเคราะหการถดถอยของขอมูล ท่ี

เปนตัวแปรพยากรณ และตัวแปรตามวาตัวแปรพยากรณ สามารถทํานายผลหรือสงผล

ตอตัวแปรตามไดในลักษณะใด

สถิติท่ีใชในการวิจัย

8

การวัดคาตัวแปร

9

มาตรานามบัญญัติ (Nominal Scale)

มาตราเรียงอันดับ (Ordinal Scale)

มาตราอันตรภาค (Interval Scale)

มาตราอัตราสวน (Ratio Scale)

เปนการจัดกลุม หรือ จําแนกประเภท

เพศ - ชาย แทน 1

- หญิง แทน 2

ศาสนา - พุทธ แทน 1

- คริสต แทน 2

- อิสลาม แทน 3

การวัดคาตัวแปร

10

มาตรานามบัญญัติ (Nominal Scale)

การวัดคาตัวแปร

11

มาตราเรียงอันดับ (Ordinal Scale) เปนการจัดลําดับที่ของสิ่งที่ตองการวัด ∗ ความสวยงาม

∗ ผลการประกวดวาดรูป

∗ ฐานะทางเศรษฐกิจ (สูง กลาง ตํ่า) (บอกไดวามากกวา / นอยกวา แตไมสามารถบอกไดวาความแตกตางระหวางกลุมมีคาเทาใด : ชวง

หางไมเทากัน)

การวัดคาตัวแปร

12

มาตราอันตรภาค (Interval Scale)

เปนคาที่ไดจากการวัดส่ิงที่ตัวการศึกษา ที่มีชวงหางเทากัน คะแนนสอบวิชาบัญชี คะแนนเต็ม 30 คะแนน สมพรได 10 คะแนน อัมพร ได

25 คะแนน สามารถบอกไดวาอัมพร ไดคะแนนมากกวา สมพร อยู 15 คะแนน

อุณหภูมิ 10 องศา กับ 15 องศา สามารถบอกไดวา อุณหภูมิ 15 องศา รอนกวา

บอกความแตกตางระหวางกลุมได และมีชวงเทากัน แตไมมีศูนยแท

การวัดคาตัวแปร

13

มาตราอัตราสวน (Ratio Scale) เปนคาที่ไดจากการวัดเหมือน มาตราอันตรภาคแตดีกวา คือ

มีศูนยแท (Absolute Zero)

0 มีคาเปน 0 ตามความหมายทางคณิตศาสตร

- รายได

- อายุ

- ความสูง

มาตราวัดท่ีเหมาะสมสําหรับสถิติตางๆ

14

1. คําถามที่ใหผูตอบแบบสอบถามเลือกตอบไดเพียงขอเดียว เพศ

........ (1) ชาย

........ (2) หญิง

อายุ

........ (1) ต่ํากวา 20 ป ........ (2) 20-30 ป

........ (3) 31- 40 ป ........ (4) 41-50 ป

........ (5) 50 ปขึ้นไป

ลักษณะคําถามในแบบสอบถามและสถิติที่ใช

มาตราวัดท่ีเหมาะสมสําหรับสถิติตางๆ

15

ลักษณะคําถามในแบบสอบถามและสถิติที่ใช

สถิติที่ใชคือความถ่ี (Frequency) และรอยละ (Percentage)

มาตราวัดท่ีเหมาะสมสําหรับสถิติตางๆ

16

เพศ จํานวน รอยละ

ชาย 141 43.4

หญิง 184 56.6

รวม 325 100.0

2. คําถามที่ใหผูตอบแบบสอบถามเลือกตอบไดมากกวา 1 ขอ ใครมี

สวนสําคัญในการซ้ือสังฆภัณฑของทาน ....... (1) บิดา มารดา ....... (2) พ่ีนอง

....... (3) สามี ภรรยา ....... (4) เพ่ือน

....... (5) หมอดู ....... (6) พระภิกษุ

....... (7) ตัดสินใจเอง ....... (8) บุตร

....... (9) อ่ืนๆ โปรดระบุ............................

มาตราวัดท่ีเหมาะสมสําหรับสถิติตางๆ

17

ลักษณะคําถามในแบบสอบถามและสถิติที่ใช

ลักษณะคําถามในแบบสอบถามและสถิติที่ใช สถิติที่ใชคือความถ่ี (Frequency) และรอยละ (Percentage)

มาตราวัดท่ีเหมาะสมสําหรับสถิติตางๆ

18

ผูมีสวนในการเลือก จํานวน รอยละ

บิดา มารดา 123 37.8

บุตร 20 6.2

พระภิกษุ 33 10.2

พ่ีนอง 36 11.1

เพ่ือน 30 9.2

ตัดสินใจเอง 217 66.8

สามี ภรรยา 87 26.8

หมอดู 9 2.8

อื่นๆ 8 2.5

หมายเหตุ : ตอบไดมากกวา 1 ขอ จากผูตอบแบบสอบถาม 325 คน

3. คําถามที่ใหผูตอบแบบสอบถามใหระดับความสําคัญของปจจัยทาง

การตลาดหรือระดับความพึงพอใจ

มาตราวัดท่ีเหมาะสมสําหรับสถิติตางๆ

19

ลักษณะคําถามในแบบสอบถามและสถิติที่ใช

ปจจัยผลิตภัณฑ มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอย นอยท่ีสุด

สินคามีคุณภาพ

สีของผาจีวร

กลองสวยงาม

ตัวอยางสถิติที่ใชคาเฉลี่ย (Means) ระดับความสําคัญระดับคะแนน

สําคัญนอยท่ีสุด 1 สําคัญนอย 2

สําคัญปานกลาง 3 สําคัญมาก 4

สําคัญมากท่ีสดุ 5

การแปลผล

คาเฉลี่ย 1.00 – 1.49 จัดอยูในระดบัสาํคัญนอยท่ีสดุ

คาเฉลี่ย 1.50 – 2.49 จัดอยูในระดบัสาํคัญนอย

คาเฉลี่ย 2.50 – 3.49 จัดอยูในระดบัสาํคัญปานกลาง

คาเฉลี่ย 3.50 – 4.49 จัดอยูในระดบัสาํคัญมาก

คาเฉลี่ย 4.50 – 5.00 จัดอยูในระดบัสาํคัญมากท่ีสดุ

มาตราวัดท่ีเหมาะสมสําหรับสถิติตางๆ

20

ตัวอยางสถิติที่ใชคาเฉลี่ย (Means)

มาตราวัดท่ีเหมาะสมสําหรับสถิติตางๆ

21

ปจจัยสวนประสมทางการตลาด คาเฉลี่ย แปลผล

ผลิตภัณฑ 4.27 มาก

ราคา 4.66 มากที่สุด

ชองทางการจัดจําหนาย 3.68 มาก

การสงเสริมการตลาด 3.42 ปานกลาง

รวม 4.01 มาก

คาสถิติและคาพารามิเตอร

สถิติอางอิง ขึ้นอยูกับขนาดตัวอยางและการกระจายซึ่งนํามาใชในการกําหนด

ถึงความผิดพลาดจากการเลือกตัวอยาง (Sampling Error)

• คาสถิติ (Sample Statistic) : คาเฉลี่ย เปอรเซ็นต

• Standard Error : การวัดความหลากหลายของการกระจายของตัวอยาง

ชวงของความเชื่อม่ัน (Confidence Intervals) คือ ระดับของความถูกตองท่ี

นักวิจัยตองการและแสดงในรูประดับของความเชื่อม่ันเปนเปอรเซนต ขึ้นอยูกับขนาด

ตัวอยางและการกระจายของตัวอยาง

มาตราวัดท่ีเหมาะสมสําหรับสถิติตางๆ

22

สมมุติฐานทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ย 2 กลุม

Ho : คาเฉลี่ยอายุเฉลี่ยของนักศึกษาเพศหญิงและเพศชายเทากัน

Ha : คาเฉลี่ยอายุเฉลี่ยของนักศึกษาเพศหญิงและเพศชายไมเทากัน

หรือ

Ho : คาเฉลี่ยอายุเฉลี่ยของนักศึกษาเพศหญิงมากกวาคาเฉลี่ยของอายุเพศชาย

Ha : คาเฉลี่ยอายุเฉลี่ยของนักศึกษาเพศหญิงนอยกวาหรือเทากับคาเฉลี่ยของอายุเพศชาย

ตัวอยางการตั้งสมมุติฐาน

23

วิธีการในการทดสอบสมมุติฐาน

24

1. สรางประโยคความเช่ือ สมมุติฐานและสราง H0 และ Ha

2. การเลือกเทคนิคสถิติที่เหมาะสมและสอดคลองเพ่ือหาคาสถิติทดสอบ

3. เลือกระดับนัยสําคัญ (α)

4. กําหนดขนาดตัวอยางและเก็บขอมูล นํามาคํานวณหาคาสถิติทดสอบ

5. หาคาความนาจะเปนที่สอดคลองกับคาสถิติ

6. เปรียบเทียบคาความนาจะเปนของคาสถิติกับระดับนัยสําคัญวาจะ

ยอมรับหรือปฏิเสธสมมุติฐาน

7. สรุปผล และอธิบายในลักษณะของปญหาทางการตลาด

Area of

Application

Subgroups or

Samples

Level of Scaling Test

Hypothesis about

frequency

distributions

One, Two or more Nominal, Ordinal Chi –square

Hypothesis about

means

One (large sample)

n >= 30

Metric (interval or ratio) Z-test for one mean

One (small sample)

n < 30

Metric (interval or ratio) t-test for one mean

Two (large sample)

n >= 30

Metric (interval or ratio) Z-test for two means

More than two Metric (interval or ratio) One-way ANOVA

สถิติท่ีใชในการทดสอบสมมุติฐาน

25

ความสัมพันธ หมายถึง ความเช่ือมโยงที่เปนระบบระหวางตัวแปร

สองตัวแปร

ประเภทของความสัมพันธ

• Non monotonic Relationship คือ ตัวแปรสองตัวมีความสัมพันธกันใน

ลักษณะท่ัวไป เชน ตอนเชาคนมักดื่มกาแฟ ตอนเท่ียงคนมักดื่มน้ําอัดลม

• Monotonic Relationship คือ การทราบถึงทิศทางของความสัมพันธระหวาง

ตัวแปรสองตัว ซ่ึงอาจเปนไปในทิศทางเดียวกันหรือตรงกันขามกัน เชน ย่ิงเด็กมีอายุ

มากขึ้น ก็ตองใชรองเทาท่ีมีขนาดใหญขึ้น

การวิเคราะหความสัมพันธระหวางตัวแปร

26

Linear Relationship คือ ตัวแปรสองตัวมีความสัมพันธกัน

ในลักษณะเสนตรง เชน ลูกคาซ้ือของคนละ 50 บาท ดังนั้นลูกคา

10 คนซ้ือของรวมกัน 500 บาท

Curvilinear Relationship คือ การที่ความสัมพันธของสอง

ตัวแปรเปนในลักษณะเสนโคง เชน ความสัมพันธเปนรูปตัว S

การระบุและแปรความหมายความสัมพันธระหวางตัวแปร

27

ไควสแคว ใช ทดสอบความสัมพันธของขอมูล ใชในกรณีที่

ขอมูลมีลักษณะเปน Nominal, Ordinal

• ทดสอบ Ho : ขอมูลสองตัวไมมีความสัมพันธกัน

• เปนการทดสอบความสัมพันธ แตไมไดระบุถึงลักษณะของความสัมพันธ

การวิเคราะหไควสแคว

28

Correlation coefficients คือ ตัวเลขดัชนี ที่มีคาอยู

ระหวาง -1 และ 1 ซึ่งแสดงถึงความแข็งแกรงและความสัมพันธระหวางสอง

ตัวแปร

Covariation คือ จํานวนที่การเปลี่ยนแปลงในตัวแปรตัวหน่ึง

มีความสัมพันธอยางเปนระบบกับตัวแปรอีกตัวหน่ึง

การระบุและแปรความหมายความสัมพันธระหวางตัวแปร

29

คา Correlation Coefficients ระดับความแข็งแกรงของ

ความสัมพันธ

+1.00 ถึง +0.81 และ -1.00 ถึง -0.81

+0.80 ถึง +0.61 และ -0.80 ถึง -0.61

+0.60 ถึง +0.41 และ -0.60 ถึง -0.41

+0.40 ถึง +0.21 และ -0.40 ถึง -0.21

< +0.20

High

Moderate

Low

Very weak

None

Pearson product moment correlation ใชทดสอบความสัมพันธกรณีขอมูลเปน

interval และ/หรือ ratio

Correlation Coefficients and Covariation

30

Q&A อาจารย นิธินพ ทองวาสนาสง

E-mail: [email protected]

Tel: 085-352-1050