ส วนที่ 1 บทนํา - janphar.lpru.ac.thjanphar.lpru.ac.th/commudev/06.pdf ·...

20
สวนที่ 1 บทนํา 1หลักการและเหตุผล กิจกรรมการบริการวิชาการ ของสาขาวิชาการพัฒนาชุมชนเปน สวนหนึ่งตามเกณฑมาตรฐานของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิใน ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ ซึ่งสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ไดกําหนดใหมีการบริการวิชาการแกชุมชน สังคม จากแนวคิด ดังกลาวสาขาวิชาการพัฒนาชุมชนจึงไดจัดใหมีกระบวนการเรียนการ สอนแบบบูรณาการดานการเรียนการสอนและออกแบบกิจกรรมการ เรียนการสอนใหมีความสอดคลองกัน คือการเรียนรูจากภาคทฤษฎี และ การนําองคความรูไปสูภาคปฏิบัติจริงในภาคสนาม เพื่อเปนการบูรณา การทางดานวิชาการควบคูกับการใหบริการทางวิชาการแกสังคม โดยในภาคเรียนที่ 1ของปการศึกษา 2554 สาขาวิชาไดเปดวิชา เรียนการวิจัยภาคสนาม ซึ่งในกระบวนการเรียนการสอนของรายวิชา ดังกลาวนักศึกษาจะตองทําวิจัยภาคสนามกลุมละ 1 เรื่อง และในขั้นตอน ของการลงพื้นที่ภาคสนามจะตองมีการสํารวจบริบทชุมชน สภาพปญหา ของชุมชน เพื่อที่จะนํามาพัฒนาเปนหัวขอในการทําวิจัยจริง ชุมชน บานปงประดู หมูที่ 11 ตําบลเสริมขวา อําเภอเสริมงาม จังหวัดลําปาง เปนอีกพื้นที่หนึ่งทีนักศึกษาไดเลือกดวยเหตุผลที่วา เปนพื้นเพ หรือเปน หมูบานใกลเคียงกันกับหมูบานของนักศึกษา ดังนั้นสาขาวิชาจึงเลือก พื้นที่ดังกลาวในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนควบคูกับการ ใหบริการทางวิชาการ เพื่อนําขอมูลที่ไดไปใชในการพัฒนาชุมชนให สอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการของคนในชุมชนตอไป 2วัตถุประสงค 1. เพื่อใหบริการวิชาการแกชุมชน โดยมีการบูรณาการเขากับ กระบวนการเรียนการสอนในรายวิชาวิจัยภาคสนาม 2. เพื่อนําความรูที่ไดจากภาคทฤษฎีลงไปปฏิบัติการจริงใน ภาคสนาม 3. เพื่อจัดการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการดานการจัดทําแผนที่เดินดิน ของชุมชน

Upload: others

Post on 14-Sep-2019

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ส วนที่ 1 บทนํา - janphar.lpru.ac.thjanphar.lpru.ac.th/commudev/06.pdf · ได เข ามามีส วนร วมในการจัดทําแผนที่เดินดินของชุมชนตนเอง

สวนที ่1 บทนาํ

1.หลกัการและเหตผุล

กิจกรรมการบริการวิชาการ ของสาขาวิชาการพัฒนาชุมชนเปนสวนหนึ่ งตามเกณฑมาตรฐานของกรอบมาตรฐานคุณวุ ฒิในระดับอุดมศึกษาแหงชาติ ซึ่งสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ไดกําหนดใหมีการบริการวิชาการแกชุมชน สังคม จากแนวคิดดงักลาวสาขาวิชาการพัฒนาชุมชนจึงไดจัดใหมีกระบวนการเรียนการสอนแบบบูรณาการดานการเรียนการสอนและออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนใหมีความสอดคลองกัน คือการเรียนรูจากภาคทฤษฎี และการนําองคความรูไปสูภาคปฏิบัติจริงในภาคสนาม เพื่อเปนการบูรณาการทางดานวิชาการควบคูกับการใหบริการทางวิชาการแกสังคม โดยในภาคเรียนที่ 1ของปการศึกษา 2554 สาขาวิชาไดเปดวิชาเรียนการวิจัยภาคสนาม ซึ่งในกระบวนการเรียนการสอนของรายวิชาดังกลาวนักศึกษาจะตองทําวจัิยภาคสนามกลุมละ 1 เรื่อง และในข้ันตอนของการลงพื้นทีภ่าคสนามจะตองมีการสํารวจบริบทชุมชน สภาพปญหาของชุมชน เพื่อที่จะนํามาพัฒนาเปนหัวขอในการทําวิจัยจริง ชุมชนบานปงประดู หมูที่ 11 ตําบลเสริมขวา อําเภอเสริมงาม จังหวัดลําปาง เปนอีกพื้นที่หนึ่งทีนักศึกษาไดเลือกดวยเหตุผลที่วา เปนพื้นเพ หรือเปนหมูบานใกลเคียงกันกับหมูบานของนักศึกษา ดังนั้นสาขาวิชาจึงเลือกพื้นที่ดังกลาวในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนควบคูกับการใหบริการทางวิชาการ เพื่อนําขอมูลที่ไดไปใชในการพัฒนาชุมชนใหสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการของคนในชุมชนตอไป 2.วัตถุประสงค

1. เพื่อใหบริการวิชาการแกชุมชน โดยมีการบูรณาการเขากับกระบวนการเรียนการสอนในรายวิชาวิจัยภาคสนาม

2. เพื่อนําความรูที่ไดจากภาคทฤษฎีลงไปปฏิบัติการจริงในภาคสนาม

3. เพื่อจัดการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการดานการจัดทําแผนที่เดินดินของชุมชน

Page 2: ส วนที่ 1 บทนํา - janphar.lpru.ac.thjanphar.lpru.ac.th/commudev/06.pdf · ได เข ามามีส วนร วมในการจัดทําแผนที่เดินดินของชุมชนตนเอง

3.ผลผลิต 1. นักศึกษาสาขาวิชาการพัฒนาชุมชน ที่เรียนในรายวิชาการวิจัยภาคสนาม จํานวน 32 คน ไดเรียนรูจากการปฏิบัติจริง และชุมชนไดเขามามีสวนรวมในการจัดทําแผนที่เดินดินของชุมชนตนเอง 2.ชุมชนมีแผนที่เดินดิน จํานวน 1 ฉบับ

สวนที ่2 วธิกีารดาํเนนิงาน

การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชาการวิ จัยภาคสนาม และการใหบริการวิชาการแกชุมชนสาขาวิชาการพัฒนาชุมชนไดมีกรอบการดําเนินงาน ดังนี้ วิธีดําเนินการ

1. ประสานชุมชนเบื้องตนเพื่อนัดหมายเวลาในการลงพื้นที่ชุมชน

2. ลงพื้นที่สํารวจบริบทชุมชน ปญหาและความตองการของชุมชน

3. วางแผนและประสานงานผูที่เกี่ยวของ เชน ผูนําชุมชน และประชาชนกลุมที่มีใจอาสาสมัครเขาฝกอบรมเชิงปฏิบัติการดานการจัดทําแผนที่เดินดิน

4. ดําเนินการตามแผน 5. สรุปผลการดําเนินงาน 6. ถอดบทเรียนของนักศึกษาในการทํากิจกรรมการใหบริการ

วิชาการแกชุมชน

กลุมเปาหมาย 1. ประชาชนในชุมชนบานปงประดู จํานวน 20 คน 2. นักศึกษาสาขาวิชาการพัฒนาชุมชน จํานวน 32 คน

Page 3: ส วนที่ 1 บทนํา - janphar.lpru.ac.thjanphar.lpru.ac.th/commudev/06.pdf · ได เข ามามีส วนร วมในการจัดทําแผนที่เดินดินของชุมชนตนเอง

เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล แบบสอบถามประเมนิความพงึพอใจของผูเขารวมกิจกรรม

วธิกีารเกบ็ขอมลู การประเมนิความพงึพอใจของผูเขารวมกิจกรรม ใชแบบสอบถามในการประเมนิ เพื่อใหไดขอมูลจากกลุมเปาหมายอยางแทจริง แลวนํามารวบรวมประเมินผล นอกจากนี้มีการบนัทกึภาพของกิจกรรมครั้งนี้ ดังที่แสดงไวในภาคผนวก การวเิคราะหขอมลู การวิเคราะหขอมูลดานความพงึพอใจของผูเขารวมกิจกรรม มีการประเมนิผลการกรอกขอมูลจากแบบสอบถามความพงึพอใจของผูเขารวมกิจกรรมจากโปรแกรมคอมพวิเตอรสําเร็จรูป โดยกลุมเปาหมายคือ ชาวบานที่เขามารับบริการวิชาการจากสาขาวิชา โดยมีเกณฑการประเมนิผลในดานตางๆ ดงันี ้ เกณฑทีใ่ชในการวิเคราะหขอมูล มีวิธีการคํานวณผลการประเมนิดังนี ้

1. นําขอมูลตามตวับงช้ีมาคํานวณหาคาเฉล่ีย คดิคะแนนเปนรอยละโดยผลการประเมินคิดเหน็คะแนน ดังนี ้

5 คะแนน หมายถึง พึงพอใจมากที่สุด 4 คะแนน หมายถึง พึงพอใจมาก 3 คะแนน หมายถึง พึงพอใจปานกลาง 2 คะแนน หมายถึง พึงพอใจนอย 1 คะแนน หมายถึง พึงพอใจนอยที่สุด

Page 4: ส วนที่ 1 บทนํา - janphar.lpru.ac.thjanphar.lpru.ac.th/commudev/06.pdf · ได เข ามามีส วนร วมในการจัดทําแผนที่เดินดินของชุมชนตนเอง

2. นําคารอยละความพงึพอใจทีไ่ดของตวับงช้ีแตละตัว มา

ประเมนิระดบัความพงึพอใจตามเกณฑ ดังตอไปนี ้

เกณฑการประเมนิ ระดบัคารอยละ ระดบัผลการประเมนิ

4.29-5.00 รอยละ 80 ข้ึนไป พอใจมากที่สุด 3.48-4.28 รอยละ 70-79 พอใจมาก 2.67-3.47 รอยละ 60-69 พอใจปานกลาง 1.86- 2.66 รอยละ 50-59 พอใจนอย 0.01-1.80 รอยละ 49 ลงไป พอใจนอยที่สุด

Page 5: ส วนที่ 1 บทนํา - janphar.lpru.ac.thjanphar.lpru.ac.th/commudev/06.pdf · ได เข ามามีส วนร วมในการจัดทําแผนที่เดินดินของชุมชนตนเอง

สวนที ่3 ผลการดาํเนนิงาน

1. ผลการสาํรวจบรบิทชมุชน

ประวัติความเปนมาชุมชน

บานปงประดู ตั้งอยูหมูที่ ๑๑ ตําบลเสริมขวา อําเภอเสริมงาม จังหวัดลําปาง เปนหมูบานที่แยกออกจากบานปงแพง หมูที่ ๒ ตําบลเสริมขวา อําเภอเสริมงาม จังหวัดลําปาง จัดตั้งเมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๐ ตั้งช่ือหมูบานใหสอดคลองกับพรรณไมช่ือประดู ซึ่งเปนไมเนื้อแข็งที่ข้ึนอยูกลางหมูบาน ใตตนประดูมีศาลเจาพอประดูตั้งอยู ชาวบานใหความเคารพกราบไหวถือเปนส่ิงศักดิ์สิทธ์ิประจําหมูบาน และไดเรียกขานช่ือหมูบานวา บานปงประดู ตั้งแตนั้นสืบมา

ที่ตั้ง บานปงประดู เปนหมูบานหนึ่งในเขตการปกครองของตําบลเสริมขวา อําเภอเสริมงาม จังหวัดลําปาง ตั้งอยูหางจากที่วาการอําเภอเสริมงามไปทางทิศตะวันตกประมาณ ๘ กิโลเมตร

อาณาเขตติดตอ ทิศเหนือ ติดตอกับ ต.เมืองยาว อ.หางฉัตร จ.ลําปาง ทิศใต ติดตอกับ ต.เสริมกลาง และต.ทุงงาม อ.เสริมงาม จ.ลําปาง ทิศตะวันออก ติดตอกับ ต.ไหลหิน อ.เกาะคา จ.ลําปาง ทิศตะวันตก ติดตอกับ ต.ปงลอย อ.แมทา จ.ลําพูน

ลักษณะภูมิประเทศ บานปงประดู มีลักษณะพื้นที่ทั่วไปเปนที่ราบ มีแหลงน้ําอุดมสมบูรณ ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม การคมนาคมภายในชุมชนและตําบลโดยรถยนต และรถจักรยานยนต มีถนนลาดยางสายอําเภอเสริมงาม – อําเภอล้ีเปนถนนสายหลักในการคมนาคม

Page 6: ส วนที่ 1 บทนํา - janphar.lpru.ac.thjanphar.lpru.ac.th/commudev/06.pdf · ได เข ามามีส วนร วมในการจัดทําแผนที่เดินดินของชุมชนตนเอง

ลักษณะประชากร

โครงสรางประชากร บานปงประดูมี จํานวนครัวเรือน ๑๘๕ ครัวเรือน จํานวนประชากรทั้งหมด ๖๓๔ คน เปนชาย จํานวน ๓๐๙ คน เปนหญิงจํานวน ๓๒๕ คน และจําแนกเปนเด็กเล็กกอนวัยเรียน แรกเกิด – ๖ป จํานวน ๓๑ คน เยาวชน (๗-๒๐ ป) จํานวน ๑๓๑ คน วัยแรงงาน (๒๑-๖๐ ป) จํานวน ๓๖๕ คน วัยผูสูงอายุ (๖๐ ปข้ึนไป) จํานวน ๑๐๗ คน

ลักษณะการประกอบอาชีพ ประชาชนบานปงประดูสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรมเปนอาชีพหลัก ลักษณะของการเกษตรที่เปนอาชีพ ไดแก ทํานา ทําสวนลําไย มะมวง สมโอ และปลูกพืชผักสวนครัวตามฤดูกาล มีการเล้ียงสัตว ภายในครัวเรือนประเภท โค สุกร เปด และไก สวนอาชีพรองลงมาของประชาชนคือ อาชีพรับจาง จากการสํารวจพบวา บานปงประดู มีประชาชนที่อยูในวัยแรงงาน จํานวน ๕๘๘ คน และมีประชาชนที่เปนเด็กเยาวชนอยูในวัยศึกษาและประชาชนที่วางงาน จํานวน ๔๖ คน ทั้งนี้สาเหตุเพราะขาดการสรางงาน สรางอาชีพ และการสงเสริมความรูในสาขาที่จะนําไปสูอาชีพประจํา ปจจุบันครัวเรือนมีรายไดเฉล่ียปละ ๓๙,๙๑๗ บาท

ผลิตภัณฑมวลรวมของหมูบาน ผลิตผลที่สรางรายไดใหกับประชาชนในชุมชนสวนใหญคือ ขาว ถั่วลิสง พืชผักสวนครัว และผลไมตามฤดูกาล เชน มะมวง ลําไย สมโอ และภายในชุมชนไดมีการจัดตั้งกลุมเพื่อแปรรูปผลิตภัณฑจากขาวคือ

Page 7: ส วนที่ 1 บทนํา - janphar.lpru.ac.thjanphar.lpru.ac.th/commudev/06.pdf · ได เข ามามีส วนร วมในการจัดทําแผนที่เดินดินของชุมชนตนเอง

การทําขาวซอมมือ และขณะเดียวกันกลุมไดมีการพัฒนาผลิตภัณฑอยางตอเนื่องจนกลายเปนสินคาโอท็อปที่สรางรายไดใหกับคนในชุมชน

วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปญญาทองถิ่น ประชาชนบานปงประดูมีพื้นฐานวิถีชีวิตความเปนอยูอยางเครือญาติ ลักษณะของครอบครั ว จึง เปนครอบครั วขยายที่ มี ร ะบบความสัมพันธ ความเอื้ออาทร การชวยเหลือและพึ่งพาในลักษณะของพริกมีบานเหนือเกลือมีบานใต รวมถึงการเคารพผูอาวุโส และใหความสําคัญกับระบบเครือญาติ บานปงประดูยังคงมีการอนุรักษศิลปวัฒนธรรม และประเพณีที่สําคัญตาง ๆ ไว เชน

- ประเพณีสงกรานต หรือประเพณีปใหมเมือง ซึ่งเปนประเพณีที่มีมาตั้งแตดั้งเดิมและสืบตอ

กันมาตัวอยางของกิจกรรม เชน ขนทรายเขาวัด สรงน้ําพระ ทําบุญตักบาตร และ รดน้ําดําหัวผูสูงอายุ

- ประเพณีเดือนหาเปง ประชาชนจะรวมกันทําบุญตักบารตเนื่องในวันมาฆบูชา

- ประเพณีถวายสลากภัต (ตานกวยสลาก) จะเริ่มเดือน ๑๒ เหนือ (เดือนกันยายน) และ

ส้ินสุดในเดือนเกี๋ยงดับ (เดอืนตุลาคม) - ประเพณีจ่ีขาวหลาม ในวันข้ึน ๑๕ ค่ํา เดือน ๔ - ประเพณีฟอนผีปูยา - ประเพณีสรงน้ําพระเจาทันใจ ณ วัดทุงลาม หมูที่ ๘ ตําบล

เสริมขวา - ประเพณีทานขาวใหมในเดือนมกราคม ตรงกับข้ึน ๑๕ ค่ํา

ของทุกป

Page 8: ส วนที่ 1 บทนํา - janphar.lpru.ac.thjanphar.lpru.ac.th/commudev/06.pdf · ได เข ามามีส วนร วมในการจัดทําแผนที่เดินดินของชุมชนตนเอง

ทักษะฝมือแรงงานของหมูบาน ทักษะดานการเกษตรคือ การปลูกพืช เล้ียงสัตว และแปรรูป

ผลิตภัณฑจากขาว ดานสุขภาพ ประชาชนบานปงประดูเกิดพบโรคที่เกี่ยวของกับสุขภาพอนามัย

เชน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง-ต่ําสาเหตุอื่นๆ ที่ทําใหคนในครัวเรือนมีปญหาสุขภาพ เนื่องจาก ความเครียดที่เกิดจากสภาพคลองทางการเงิน ขาดการออกกําลังกาย และพฤติกรรมการบริโภค

2. ผลการสาํรวจปญหาและความตองการของชมุชน 1. ประชาชนที่วางงาน 2. ปญหาสิทธิที่ดนิทํากิน 3. ปญหาหนี้สิน รายไดไมเพียงพอกบัรายจาย 4. ปญหาชองวางระหวางสมาชิกในครอบครัว คอื พอ แม ไมมี

เวลาดูแลลูก 5. ปญหาการคมนาคมในหมูบาน 6. ปญหาการยายถิน่ไปทํางานหลังฤดูกาลเก็บเกี่ยว

Page 9: ส วนที่ 1 บทนํา - janphar.lpru.ac.thjanphar.lpru.ac.th/commudev/06.pdf · ได เข ามามีส วนร วมในการจัดทําแผนที่เดินดินของชุมชนตนเอง

3. ผลการจดัทาํแผนทีเ่ดนิดนิของชมุชนบานปงประดู หลังจากที่อาจารยและนักศึกษาไดจัดฝกอบรมในภาคทฤษฎีเรือ่งข้ันตอนการจัดทําแผนที่เดินดนิใหกบัประชาชนบานปงประดูเรียบรอยแลว จึงไดรวมกันเดนิสํารวจชุมชนเพือ่จัดทําแผนที่เดินดิน โดยมีการแบงกลุมออกไปตามละแวกบาน เพือ่มารกจุดสําคญัและเดินสํารวจชุมชนที่ละหลังคาเรือนตามกระบวนการ และข้ันตอนที่ไดฝกอบรมกันไวแลว ผลการสํารวจและการจัดทําแผนที่เดินดนิ สรุปไดดงันี ้

Page 10: ส วนที่ 1 บทนํา - janphar.lpru.ac.thjanphar.lpru.ac.th/commudev/06.pdf · ได เข ามามีส วนร วมในการจัดทําแผนที่เดินดินของชุมชนตนเอง

๑๐

4. ผลการถอดบทเรยีนการดาํเนนิงาน บรกิารวชิาการ (นกัศกึษาประเมนิชมุชน)

หลังจากการดําเนินงานฝกอบรม และการสํารวจชุมชนเพื่อการจัดทําแผนที่ชุมชนเสร็จส้ิน อาจารยวไิลลักษณ พรมเสน ในฐานะ

Page 11: ส วนที่ 1 บทนํา - janphar.lpru.ac.thjanphar.lpru.ac.th/commudev/06.pdf · ได เข ามามีส วนร วมในการจัดทําแผนที่เดินดินของชุมชนตนเอง

๑๑

อาจารยผูสอนรายวิชาวิจัยเบื้องตน วิจัยสถิติ และรายวิชาวิจัยภาคสนาม ของสาขาวิชาการพัฒนาชุมชน จึงไดนัดศึกษาถอดบทเรียนการดําเนนิงาน เพื่อทบทวน และประเมนิผลการดําเนนิงานที่ผานมา ผลการสรปุบทเรียนสรปุไดดงันี ้

1. ความคิดเหน็ของชุมชนที่มตีอกิจกรรมการบริการวิชาการ พบวา

1.1 ระหวางการดําเนนิการฝกอบรม ชาวบานจะใหความสนใจเปนอยางมาก โดยจะคอย

สอบถามอยูเสมอเกี่ยวกับการนําไปปฏบิัต ิและยังขออนญุาตใหลูก หลานเขามาชวยในชวงของการเดนิสํารวจชุมชน ชาวบานรวมดวยชวยกนัฝกเขียนแผนที่ชุมชนตามจินตนาการ

1.2 ชาวบานใหความรวมมือเปนอยางดี เชน แนะนําใหเพื่อนบานไดรับรูถงึวตัถปุระสงคของ

การจัดทําแผนที่เดินดนิแกเพื่อนบานคนอื่นๆ ที่ไมไดเขารวมฝกอบรม ผูใหญบานไดเปดเครื่องขยายเสียงเพื่อประชาสัมพนัธใหประชาชนในชุมชนไดรับทราบวานักศึกษาจะเขามาชวยในการจัดทําแผนที่ชุมชนใหม ขอใหชาวบานใหความรวมมือทุกหลังคาเรือน

Page 12: ส วนที่ 1 บทนํา - janphar.lpru.ac.thjanphar.lpru.ac.th/commudev/06.pdf · ได เข ามามีส วนร วมในการจัดทําแผนที่เดินดินของชุมชนตนเอง

๑๒

1.3 การเดินสํารวจชุมชนไดรับความรวมมอืเปนอยางดี เชน ชาวบานคอยแนะนําวา บาน

หลังนั้นสุนัขดหุามเขาไปใกล 1.4 กลุมเด็ก เยาวชน ในหมูบานมคีวามสุข สนุกสนาน

เนื่องจากไดวาดรปู ไดระบายศรี สงผลใหเกิดความสัมพันธที่ดตีอกนัมากข้ึน ภาพชุมชนในฝนของเด็ก ๆ บานปงประดู การวางโครงรางแผนที่ชุมชน

2. การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน พบวา 2.1 นักศกึษาไดสะทอนวา ระยะเวลาไมมคีวามเหมาะสม

เนื่องจากมีความกงัวลวางาน จะเสร็จไมทัน เพราะตองเขาไปเรียนในรายวิชาอืน่ตอ จึงทําใหงานทําไดไมตอเนื่อง 2.2 การออกแบบการจัดทํากิจกรรม ปจจัยที่สําคัญคอื ชุมชนตองมคีวามพรอม แตวัน เวลา ของชุมชนและของนกัศึกษาไมตรงกนั จึงทําใหการลงพื้นที่บริการวิชาการตองเปล่ียนแปลงบอยๆ

Page 13: ส วนที่ 1 บทนํา - janphar.lpru.ac.thjanphar.lpru.ac.th/commudev/06.pdf · ได เข ามามีส วนร วมในการจัดทําแผนที่เดินดินของชุมชนตนเอง

๑๓

5. ผลการประเมนิความพงึพอใจของผูเขารวมกจิกรรม (ชาวบานประเมนินกัศกึษา) การวิเคราะหขอมูลดานความพงึพอใจของผูเขารวมกิจกรรม เปนผลที่มาจากการตอบแบบสอบถามความพงึพอใจของชาวบานปงประดูที่เขารับการอบรม โดยแบบสอบถามที่จัดทําข้ึนมปีระเดน็ครอบคลุมดังนี ้

1. ดานความรูความเขาใจในการเขารวมกิจกรรม 2. ดานความถงึพอใจในการเขารวมกิจกรรม 3. ดานความสามารถในการนําความรูทีไ่ดรับไปใชประโยชน

ตอไป ผลการวิเคราะหสรุปไดดงันี ้

ตอนที ่1 ขอมลูลักษณะทัว่ไปของผูตอบแบบสอบถาม ตารางที ่1 แสดงความถี่และคารอยละของผูตอบแบบสอถาม

( n = 20) รายการ

ความถี ่ (คน)

รอยละ (%)

1.เพศ เพศชาย 8 40 เพศหญงิ 12 60

รวม 20 คน 100 % 2. อายุ

อายุนอยกวา 10 ป 4 20 อายุระหวาง 10-15 ป 5 25 อายุระหวาง 16-20 ป 2 10 อายุระหวาง 21-30 ป 3 15 อายุระหวาง 31-40 ป 3 15 อายุระหวาง 41-50 ป 3 15

Page 14: ส วนที่ 1 บทนํา - janphar.lpru.ac.thjanphar.lpru.ac.th/commudev/06.pdf · ได เข ามามีส วนร วมในการจัดทําแผนที่เดินดินของชุมชนตนเอง

๑๔

รวม 20 คน 100 % จากตารางที่ 1 พบวา ผูเขารวมกิจกรรมการใหบรกิารวิชาการเปนเพศหญิงมากกวาเพศชาย คือ เพศหญงิจํานวน 12 คน คิดเปนรอยละ 60 และเพศชาย จํานวน 8 คน คดิเปนรอยละ 40

ตอนที ่2 การประเมนิความพงึพอใจของการใหบรกิารวชิาการ ตารางที ่2 แสดงคาเฉล่ีย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบัความพึง

พอใจของผูเขาอบรมดานการใหบริการ ทางวิชาการ

( n = 20) รายการ คาเฉลีย่ คาสวน

เบีย่งเบน มาตรฐาน

ระดบั ความพึงพอใจ

1. เนือ้หาความรูความเขาใจในการทาํกจิกรรม 1.1 กอนเขารวมกิจกรรมฝกอบรมทานเขาใจวาตวัเองสามารถทําแผนที่ชุมชนเพียงใด

3.80 .688 พอใจมาก

1.2. หลังเขารวมกิจกรรมฝกอบรมทานเขาใจวาตวัเองสามารถทําแผนที่ชุมชนเพียงใด

4.50 .852 พอใจมาก

1.3. ทานเขาใจเนื้อหาในการฝกอบรมไดอยางละเอียดและชัดเจนสามารถนําไปปฏิบตัิตอได

4.40 .680 พอใจมากทีส่ดุ

2. ความพงึพอใจดานการเขารวมกจิกรรม 2.1 ความเหมาะสมของเนือ้หาที่จัด 4.15 .875 พอใจมาก 2.2 ความเหมาะสมของวทิยากรทีท่ํา 3.95 1.190 พอใจมาก

Page 15: ส วนที่ 1 บทนํา - janphar.lpru.ac.thjanphar.lpru.ac.th/commudev/06.pdf · ได เข ามามีส วนร วมในการจัดทําแผนที่เดินดินของชุมชนตนเอง

๑๕

หนาที่ฝกอบรม 2.3 ความเหมาะสมของเอกสาร และอุปกรณทีใ่ชในการฝกอบรม

4.15 .933 พอใจมาก

2.4 วทิยากรฝกอบรมสามารถกระตุนผูเขารวมใหมามีสวนรวมในกิจกรรมได

4.20 .767 พอใจมาก

3. ความพงึพอใจดานการนาํความรูทีไ่ดรบัไปใชประโยชนตอไป 3.1 หลังการเขารวมกิจกรรมทานสามารถนําความรูที่ไดไปเผยแพรใหคนอืน่ได

4.30 .801 พอใจมากทีส่ดุ

3.2 ทานคดิวาการทําแผนที่เดินดนิมีประโยชนอยางย่ิงตอการนําไปพัฒนาชุมชนในเรื่องการปกครองในของคนในชุมชน

4.30 .732 พอใจมากทีส่ดุ

3.3 ทานคดิวาการทําแผนที่เดินดนิเปนเครื่องมือสําคญัที่จะชวยใหรูจักชุมชนไดมากย่ิงข้ึน

4.30 .864 พอใจมากทีส่ดุ

รวม 4.23 พอใจมาก

จากตารางที่ 2 พบวาในภาพรวมผูเขารวมฝกอบรมเชิงปฏิบตัิการมีความพงึพอใจตอการใหบริการ

วิชาการในครัง้นี ้อยูในระดับพอใจมาก และหากพิจารณาเปนรายยอยพบวา มคีวามพงึพอใจเกี่ยวกับหลังการฝกอบรมชาวบานสามารถนําไปปฏบิัตไิดดวยตนเอง รองลงมาคือ คนเขารวมเขาใจเนื้อหาในการฝกอบรมไดอยางละเอียดและชัดเจนสามารถนําไปปฏิบตัติอได และนอยที่สุดคือ กอนเขารวมกิจกรรมฝกอบรมผูเขารวมคดิวาตัวเองสามารถทําแผนที่ชุมชนเพียงใด ซึง่จากประเดน็ตรงนี้พอสรปุไดวา ผูเขารวมยังไมเคยจัดทําแผนที่เดนิดินมากอน จึงคิดวาการจัดทําแผนที่เดินดนิ คงเหมือนกับการวาดภาพแผนทีท่ี่เคยพบเห็นเปนประจํา

Page 16: ส วนที่ 1 บทนํา - janphar.lpru.ac.thjanphar.lpru.ac.th/commudev/06.pdf · ได เข ามามีส วนร วมในการจัดทําแผนที่เดินดินของชุมชนตนเอง

๑๖

ภาคผนวก

Page 17: ส วนที่ 1 บทนํา - janphar.lpru.ac.thjanphar.lpru.ac.th/commudev/06.pdf · ได เข ามามีส วนร วมในการจัดทําแผนที่เดินดินของชุมชนตนเอง

๑๗

แบบประเมนิโครงการบรกิารวชิาการ

โครงการบรกิารวชิาการ : การฝกอบรมเชงิปฏบิตักิารจดัทาํแผนที่ชมุชน

สวนที ่1 คณุลกัษณะทัว่ไปของผูตอบแบบสอบถาม

1. เพศ 1) เพศชาย 2)เพศหญงิ ..............

2. อาย.ุ...........ป .............. ตอนที ่2 การประเมนิความพงึพอใจของการใหบรกิารวชิาการ คําช้ีแจง โปรดทําเครือ่งหมาย √ ลงในชองทีต่รงกบัความคิดเห็นของทานมากที่สุด โดยดูจากเกณฑการประเมนิ ดงันี ้

5 คะแนน หมายถึง พึงพอใจมากที่สุด 4 คะแนน หมายถึง พึงพอใจมาก 3 คะแนน หมายถึง พึงพอใจปานกลาง 2 คะแนน หมายถึง พึงพอใจนอย 1 คะแนน หมายถึง พึงพอใจนอยที่สุด

Page 18: ส วนที่ 1 บทนํา - janphar.lpru.ac.thjanphar.lpru.ac.th/commudev/06.pdf · ได เข ามามีส วนร วมในการจัดทําแผนที่เดินดินของชุมชนตนเอง

๑๘

รายการ ระดบัความพงึพอใจ 5 4 3 2 1

1. เนือ้หาความรูความเขาใจในการทาํกจิกรรม

1.1 กอนเขารวมกิจกรรมฝกอบรมทานเขาใจวาตวัเองสามารถทําแผนที่ชุมชนเพียงใด

1.2. หลังเขารวมกิจกรรมฝกอบรมทานเขาใจวาตวัเองสามารถทําแผนที่ชุมชนเพียงใด

1.3. ทานเขาใจเนื้อหาในการฝกอบรมไดอยางละเอียดและชัดเจนสามารถนําไปปฏิบตัติอได

2. ความพงึพอใจดานการเขารวมกจิกรรม

2.1 ความเหมาะสมของเนือ้หาที่จัด 2.2 ความเหมาะสมของวทิยากรทีท่ําหนาที่ฝกอบรม

2.3 ความเหมาะสมของเอกสาร และอุปกรณทีใ่ชในการฝกอบรม

2.4 วทิยากรฝกอบรมสามารถกระตุนผูเขารวมใหมามีสวนรวมในกิจกรรมได

Page 19: ส วนที่ 1 บทนํา - janphar.lpru.ac.thjanphar.lpru.ac.th/commudev/06.pdf · ได เข ามามีส วนร วมในการจัดทําแผนที่เดินดินของชุมชนตนเอง

๑๙

3. ความพงึพอใจดานการนาํความรูที่ไดรบั

ไปใชประโยชนตอไป

3.1 หลังการเขารวมกิจกรรมทานสามารถนําความรูที่ไดไปเผยแพรใหคนอื่นได

3.2 ทานคดิวาการทําแผนที่เดินดนิมีประโยชนอยางย่ิงตอการนําไปพัฒนาชุมชนในเรื่องการปกครองในของคนในชุมชน

3.3 ทานคดิวาการทําแผนที่เดินดนิเปนเครื่องมือสําคัญที่จะชวยใหรูจักชุมชนไดมากย่ิงข้ึน

Page 20: ส วนที่ 1 บทนํา - janphar.lpru.ac.thjanphar.lpru.ac.th/commudev/06.pdf · ได เข ามามีส วนร วมในการจัดทําแผนที่เดินดินของชุมชนตนเอง

๒๐

สรปุผลโครงการบริการวชิาการ การฝกอบรมเชงิปฏบิตักิารเพือ่การจดัทาํ

แผนทีเ่ดินดนิ ชมุชนบานปงประดู หมูที่ 11 ต.เสรมิขวา อ.

เสรมิงาม จ.ลาํปาง

สาขาวชิาการพฒันาชมุชน คณะมนษุยศาสตรและสงัคมศาสตร

มหาวทิยาลยัราชภฏัลาํปาง