ช...

23
มคอ.3 1 เคมีพืชสมุนไพรท้องถิ่น ฏนครปฐม คณะ ะค 1. ะชช 4023001 เคมีพืชสมุนไพรท้องถิ่น Local Products Chemistry 2. จ 3 (2-2-5) 3. ะะช 3.1 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี) 3.2 ะช เลือก 4. จชชะจ 4.1 จชช (ประธานหลักสูตร) ผศ. ดร. สุวิมล เรืองศรี 4.2 จ ดร.อรุณรัตน์ สัณฐิติกวินสกุล 5. ค ช 1 / ช 6. ช - - 7. ช - - 8. ห้องเรียนคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 9. จะชค 3 กรกฎาคม 2557

Upload: others

Post on 16-Jan-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ช เคมีพืชสมุนไพรท้องถิ่นpws.npru.ac.th/arunrat/data/files/มคอ3_4023001...4 มคอ.3 2. ค 2.1 ม ความร และความเข

มคอ.3 1

ช เคมีพชืสมนุไพรท้องถิน่

ช ช ฏนครปฐม คณะ ะ ค

1. ะช ช

ช 4023001 ช ช เคมีพืชสมุนไพรท้องถิ่น ช ช Local Products Chemistry

2. จ 3 (2-2-5)

3. ะ ะ ช 3.1 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี) 3.2 ะ ช ช เลือก

4. จ ช ช ะ จ 4.1 จ ช ช (ประธานหลักสูตร) ผศ. ดร. สุวิมล เรืองศรี 4.2 จ ดร.อรุณรัตน์ สัณฐิติกวินสกุล

5. ค ช ค 1 / ช

6. ช - -

7. ช - -

8. ห้องเรียนคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

9. จ ะ ช ค 3 กรกฎาคม 2557

Page 2: ช เคมีพืชสมุนไพรท้องถิ่นpws.npru.ac.th/arunrat/data/files/มคอ3_4023001...4 มคอ.3 2. ค 2.1 ม ความร และความเข

มคอ.3 2

จ ะ ะ ค 1. จ ช

1.1 จ เพ่ือให้นักศึกษา

1) เห็นคุณค่า (เกิดเจตคติท่ีดี) ของผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ 2) เกิดทักษะด้านการค้นคว้า สืบค้นข้อมูล การรายงานและการอภิปรายเกี่ยวกับ

ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติจากวารสารในและต่างประเทศ และสื่อทางอิเล็กทรอนิกต่าง ๆ หลังจากนั้นน ามาสังเคราะห์เป็นองค์ความรู้ใหม่

1.2 ะ ค เพ่ือให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ

1) องค์ประกอบทางเคมีของสมุนไพร 2) เทคนิคการสกัดสมุนไพร รวมทั้งการแยกสารให้บริสุทธิ์ 3) วิธีการและผลการตรวจสอบพฤกษเคมีเบื้องต้น 4) สามารถบูรณาการความรู้ในการศึกษาวิจัยพืชภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยใช้กระบวนการ

ทางวิทยาศาสตร์ของเคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ 2. ะ ค / ช

ค ค ณ ะ ะ ะ ะ ค

ณะ ะ 1. ค ช ศึกษาองค์ประกอบทางเคมี วิธีการสกัดสาร ตรวจสอบพฤกษเคมีเบื้องต้น การแยกสารให้บริสุทธิ์ และตรวจสอบเอกลักษณ์ของพืชสมุนไพรจากภูมิปัญญาท้องถิ่น to study of active constituents methods of extraction to screen phytochemical

testing purification and identification of traditional local herbs 2. จ ช ช ค

24 ช ค

24 ช ค

5 ช

Page 3: ช เคมีพืชสมุนไพรท้องถิ่นpws.npru.ac.th/arunrat/data/files/มคอ3_4023001...4 มคอ.3 2. ค 2.1 ม ความร และความเข

มคอ.3 3

ฉ ะ บุคคล 1 ช

3. จ ช จ ค ะ ะ ช คค ผู้สอนจ ค คค ค ของนักศึกษา 1 ช

การกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ (Curriculum Mapping) วิชาเคมีพืชสมุนไพรท้องถิ่น (รหัสวิชา 4023001) ดังนี้

ความรบัผิดชอบหลัก O ความรบัผิดชอบรอง

1. คุณธรรม จรยิธรรม 2. ความรู ้ 3. ทกัษะทางปญัญา 4. ทกัษะความสมัพนัธ์

ระหวา่งบคุคลและความรบัผิดชอบ

5. ทกัษะการวเิคราะห ์เชงิตวัเลข การสือ่สารและ

เทคโนโลยสีารสนเทศ

1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4

O O O O O O O O O O O O O O O O

1. ค ณ จ

1.1 มีค ณ จ -

1.2 มีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและสังคม -

1.3 มีจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

- 1.4 มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริต

- 1.5 มีวินัยและตรงต่อเวลา

1) การส่งงาน/แบบฝึกหัดที่ไดร้ับมอบหมาย 2) พฤติกรรมการเข้าเรียนและขณะเรียน 3) การน าเสนอรายงาน

Page 4: ช เคมีพืชสมุนไพรท้องถิ่นpws.npru.ac.th/arunrat/data/files/มคอ3_4023001...4 มคอ.3 2. ค 2.1 ม ความร และความเข

มคอ.3 4

2. ค 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่ส าคัญของเคมีสาขาต่าง ๆ และการ

น าไปประยุกต์ใช้ รวมทั้งติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการอยู่เสมอ ดังนี้

1) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีต่าง ๆ ดังวัตถุประสงค์ 2) สามารถน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน และ/หรือน าไปใช้แก้ปัญหา 3) ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการทั้งในและต่างประเทศ

2.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีของเครื่องมือวิทยาศาสตร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา -

2.3 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับสารเคมี สมบัติ การจัดการรวมทั้งกฎระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง เข้าใจหลักการและประยุกต์ใช้เพือ่แก้ไขปัญหาต่างๆ - 2.4 มีความรู้กว้างไกล สามารถบูรณาการความรู้ในวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง - 3 ะ

3.1 มีทักษะในการจัดการประมวลความคิดอย่างเป็นระบบ -

3.2 สามารถน าความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่ส าคัญทางเคมีมาใช้แก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างเป็นระบบ -

3.3 มีความสามารถจัดการวัสดุทางเคมีได้อย่างปลอดภัย -

3.4 มีทักษะในการท าปฏิบัติการด้วยวิธีมาตรฐานทั้งทางด้านการสังเคราะห์และวิเคราะห์ -

3.5 มีสมรรถนะในการวางแผนการท าวิจัย ออกแบบปฏิบัติการที่ใช้ในการแยก การตรวจวิเคราะห์ รวมถึงความสามารถในการเลือกเทคนิค เครื่องมือและกระบวนการที่เหมาะสมและเป็นปัจจุบัน น าทฤษฎีมาใช้เป็นกรอบแนวความคิด เพ่ือวางแผนเป็นโครงงานวิจัย (proposal) และงานวิจัยได้

Page 5: ช เคมีพืชสมุนไพรท้องถิ่นpws.npru.ac.th/arunrat/data/files/มคอ3_4023001...4 มคอ.3 2. ค 2.1 ม ความร และความเข

มคอ.3 5

4. ะค ะ คค ะค ช 4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์ในการท างานพร้อมที่จะมีส่วนร่วมในกิจกรรมของสังคมในทาง

สร้างสรรค์ท้ังในฐานะผู้น าและผู้ร่วมงาน -

4.2 มีความรับผิดชอบในการท างานทั้งท่ีเป ็นงานอิสระและงานที่ท าร่วมกับผู้อ่ืน ดังนี้

1) ให้ความช่วยเหลือต่าง ๆ ในงานที่ได้รับมอบหมายในการท างานเป็นกลุ่ม 2) มีทักษะกระบวนการกลุ่มในการแก้ไขสถานการณ์ ตลอดจนสามารถแสดงความ

คิดเห็นตามบทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของตนเอง 4.3 มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และการ

เปลี่ยนแปลงได้เป็นอย่างดี - 4.4 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งตนเองและรับผิดชอบงานกลุ่ม - 5. ะ ค ะ ช ะ ช ค

5.1 มีทักษะในการสื่อสาร สามารถถ่ายทอดความรู้ น าเสนอผลงาน ทั้งในรูปแบบการเขียน การบรรยาย และการอภิปรายได้อย่างถูกต้องชัดเจน ดังนี้

1) สามารถน าเสนอรายงานหน้าชั้นเรียนด้วยสื่อเทคโนโลยี 2) สามารถอภิปรายร่วมกันระหว่างผู้สอนและนักศึกษา นักศึกษาและนักศึกษา 3) สามารถน าข้อมูลที่ศึกษาค้นคว้านอกห้องเรียน มาเรียบเรียบให้ถูกต้องและจัดระบบ

ใหม่ตามความเข้าใจ แล้วเขียนเป็นเล่มรายงาน 4) สามารถบรรยายทฤษฎี/หัวข้อที่ได้รับมอบหมาย ให้บุคคลอื่นฟังได้อย่างเข้าใจ

5.2 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสืบค้นข้อมูลทั้งจากฐานข้อมูลสารสนเทศทั้งในและต่างประเทศ -

5.3 มีทักษะในการใช้ความรู้ทางสถิติและเครื่องมือสารสนเทศ เพ่ือเก็บรวบรวมวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลได้อย่างดี เก็บรวบรวมวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลได้อย่างดี

5.4 มีทักษะในการเข้าถึงแหล่งข้อมูลความรู้ใหม่ เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์และประมวลผล

Page 6: ช เคมีพืชสมุนไพรท้องถิ่นpws.npru.ac.th/arunrat/data/files/มคอ3_4023001...4 มคอ.3 2. ค 2.1 ม ความร และความเข

มคอ.3 6

ข้อมูล โดยใช้เครื่องมือสารนเทศท่ีเหมาะสม -

Page 7: ช เคมีพืชสมุนไพรท้องถิ่นpws.npru.ac.th/arunrat/data/files/มคอ3_4023001...4 มคอ.3 2. ค 2.1 ม ความร และความเข

มคอ.3 7

ะ ะ 1. สัปดาห์ที ่ ระยะเวลา

(คาบ) หัวข้อ/

รายละเอียด กิจกรรม

การเรยีน การสอน สื่อ/

แหล่งการเรียนรู ้ช้ินงาน/ ภาระงาน

การประเมิน การเรยีนรู ้

1 4 บทน า

- ความหมายของเคมีผลิตภณัฑ์ธรรมชาต ิ

- การสังเคราะห์แสงของพืช

- ชีวสังเคราะห ์

- Primary metabolite & Secondary metabolite

- ความส าคญัของผลติภณัฑ์ธรรมชาต ิ (การออกฤทธ์ิทางชีวภาพ)

- แจกแนวการจดัการเรียนรู ้- แนะน าเอกสาร หนังสือ ต ารา และวารสาร

รวมทั้ง www ที่ใช้ศึกษาเพิ่มเติมในรายวิชานี ้

- อาจารย์และนักศึกษาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในหัวข้อดังกล่าว

- อาจารย์และนักศึกษาร่วมกันสรปุเนื้อหาและความรู้ใหม่ทีไ่ด้รับ และร่วมกนัประเมินคุณภาพผลงาน เพื่อหาแนวทางพฒันาในการเรยีนการสอนครั้งต่อไป

- แบ่งหัวข้อการท ารายงานเรื่อง ประโยชน์ของผลิตภณัฑ์ธรรมชาต ิ

- แบ่งกลุ่ม ใหไ้ปส ารวจพชืภมูปิญัญาทอ้งถิน่ในภมูลิ าเนาของ นศ. พรอ้ม

สรรพคณุ และรปูถา่ยจรงิ แล้วน าเสนอโดยสื่อ power point ในสัปดาห์หนา้ กลุ่มละ 5 นาท ี

- แนวการจัดการเรียนรู ้

- หนังสือ ต ารา บทความในวาสาร และ www

- ใบงาน - สื่ออิเล็กทรอนิกส์power point

- - การสังเกตพฤติกรรม

Page 8: ช เคมีพืชสมุนไพรท้องถิ่นpws.npru.ac.th/arunrat/data/files/มคอ3_4023001...4 มคอ.3 2. ค 2.1 ม ความร และความเข

มคอ.3 8

2-3 8 เรือ่งสารส าคญัในผลติภณัฑ์ธรรมชาต ิ

- Alkaloid

- Coumarin

- Fatty acid และ Fat

- Macrolide

- Aromatic

- Flavonoid

- Terpene ต่าง ๆ

- Steroid เป็นต้น

- นักศึกษาน าเสนอพืชภมูปิญัญาทอ้งถิน่ทีไ่ปส ารวจ กลุ่มละ 5 นาที ก่อนเข้าสูบ่ทเรียน

- อาจารย์และนักศึกษาร่วมแลกเปลีย่นเรียนรู้ในหัวข้อดังกล่าว

- อาจารย์และนักศึกษาร่วมกันสรปุเนื้อหาและความรู้ใหม่ทีไ่ด้รับ และร่วมกนัประเมินคุณภาพผลงาน เพื่อหาแนวทางพฒันาในการเรยีนการสอนครั้งต่อไป

- (การบา้น) เลอืกพืชภมูปิญัญาทอ้งถิน่ทีไ่ปส ารวจมา 1 ชนดิ เพือ่น ามาศกึษาวจิยัตอ่ไป (เตรียมท าเลม่รายงานในบทท่ี 2 หัวข้อ ได้แก่ ช่ือวิทยาศาสตร์ และช่ืออ่ืน ๆ ลักษณะพฤกษศาสตร์ องค์ประกอบทางเคมี สรรพคณุ และงานวิจยัที่เกี่ยวข้อง และหัวข้ออ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้อง)

- หนังสือ ต ารา บทความในวาสารและ www รวมทั้งงานวิจัย (ตัวเอง) ที่ได้ศึกษา

- ใบงาน - สื่ออิเล็กทรอนิกส์power point

- เนื้อหา slide และรายงาน

- การสังเกตพฤติกรรม - คะแนนการน าเสนอและเล่มรายงาน

4 4 เรือ่งการเตรยีมผลติภณัฑ์ธรรมชาตแิละการสกดั (ได้แก่ เทคนิคการสกัด เช่น steam distillation, Soxhlet extraction, percolation, maceration เป็นต้น)

- อาจารย์และนักศึกษาร่วมแลกเปลีย่นเรียนรู้ในหัวข้อดังกล่าว มีการยกตวัอย่างในบทความเป็นกรณีศึกษา

- อาจารย์และนักศึกษาร่วมกันสรุปเนื้อหาและความรู้ใหม่ทีไ่ด้รับ และร่วมกนัประเมินคุณภาพผลงาน เพื่อหาแนวทางพฒันาในการเรยีนการสอนครั้งต่อไป

- หนังสือ ต ารา บทความในวาสารและ www รวมทั้งงานวิจัย (ตัวเอง) ที่ได้ศึกษา

- ใบงาน

- สื่ออิเล็กทรอนิกส์power point

- การสังเกตพฤติกรรม

Page 9: ช เคมีพืชสมุนไพรท้องถิ่นpws.npru.ac.th/arunrat/data/files/มคอ3_4023001...4 มคอ.3 2. ค 2.1 ม ความร และความเข

มคอ.3 9

การทดลอง 1 การเตรียมตัวอย่างพืชอัดแห้ง (ท่ีเลือกมาศึกษา)

5 4 การทดลอง 2 การสกัดน้ ามันหอมระเหยด้วยการกลั่นด้วยน้ า และ การทดลอง 3 การสกัด caffeine จากสารสกดัเมล็ดกาแฟ

- Bieft lab ก่อนท าการทดลอง

- อาจารย์และนักศึกษาร่วมแลกเปลีย่นเรียนรู้ในหัวข้อดังกล่าว

- ใบงาน

- อุปกรณ์เครื่องแก้ว สารเคมี พืช

- สารสกดัและ ผลการทดลอง

- การสังเกตพฤติกรรม - รายงานผลการทดลอง

6

4 การทดลอง 4 การสกัดด้วยตัวท าละลาย

7 2

เรือ่งการตรวจสอบพฤกษเคมีเบือ้งตน้ - การทดสอบเกี่ยวกับ alkaloid, cardiac glycoside, flavonoid, anthocyanin และ coumarin เป็นต้น

- อาจารย์และนักศึกษาร่วมแลกเปลีย่นเรียนรู้ในหัวข้อดังกล่าว มีการยกตวัอย่างในบทความเป็นกรณีศึกษา

- อาจารย์และนักศึกษาร่วมกันสรปุเนื้อหาและความรู้ใหม่ทีไ่ด้รับ และร่วมกนัประเมินคุณภาพผลงาน เพื่อหาแนวทางพฒันาในการเรยีนการสอนครั้งต่อไป

-(การบา้น) แตล่ะกลุ่มเตรียมพืชที่เลือกมาท าการทดลองเรื่อง การตรวจสอบพฤกษเคมีเบื้องต้น ในสัปดาหต์่อไป

- หนังสือ ต ารา บทความในวาสารและ www รวมทั้งงานวิจัย (ตัวเอง) ที่ได้ศึกษา

- ใบงาน

- สื่ออิเล็กทรอนิกส์power point

- การสังเกตพฤติกรรม

Page 10: ช เคมีพืชสมุนไพรท้องถิ่นpws.npru.ac.th/arunrat/data/files/มคอ3_4023001...4 มคอ.3 2. ค 2.1 ม ความร และความเข

มคอ.3 10

8 สอบกลางภาค - -

9 4 การทดลอง 5 การตรวจสอบพฤกษเคมีเบื้องต้น

- Bieft lab ก่อนท าการทดลอง

- อาจารย์และนักศึกษาร่วมแลกเปลีย่นเรียนรู้ในหัวข้อดังกล่าว

- ใบงาน

- อุปกรณ์เครื่องแก้ว สารเคมี พืชภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เลือกไว้แล้ว

- ผลการทดลอง - การสังเกตพฤติกรรม - คะแนนรายงานผลการทดลอง

10 4 - น าเสนอ (กลุ่ม) ผลการทดลองที่ได้โดยสื่อ power point พร้อมส่งเลม่รายงานวจิยั เรือ่ง การตรวจสอบพฤกษเคมเีบือ้งตน้ของ (พชื)....... และส่งตัวอย่างพืชอัดแห้ง

- อาจารย์และนักศึกษาร่วมแลกเปลีย่นเรียนรู้ในหัวข้อดังกล่าว

- (การบา้น) แบ่งกลุ่มเพื่อหาบทความวิจัยต่างประเทศเกี่ยวกับการสกัดและแยกสารจากผลติภณัฑ์ธรรมชาติที่ออกฤทธิ์ทางชีวภาพ เพื่อน าเสนอในสัปดาห์ก่อนสอบปลายภาค

- สื่ออิเล็กทรอนิกส์power point

- เล่มรายงาน ประกอบด้วย 1.ปกนอก 2.ปกใน 3.บทคัดย่อภาษาไทย 4.กิตติกรรมประกาศ 5.สารบัญ (อาจมีสารบญัตาราง สารบญัภาพ) 6.บทท่ี 1 ท่ีมาและความส าคญั 7.บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง 8.บทท่ี 3 วิธีการด าเนินการวิจยั 9.บทท่ี 4 ผลการ

- คะแนนการรายงานและผล

Page 11: ช เคมีพืชสมุนไพรท้องถิ่นpws.npru.ac.th/arunrat/data/files/มคอ3_4023001...4 มคอ.3 2. ค 2.1 ม ความร และความเข

มคอ.3 11

ทดลองแลวิจารณ ์10.บทท่ี 5 สรุป 11.เอกสารอ้างอิง 12.ภาคผนวก (ถ้ามี)

11 4 เรือ่ง การแยกสาร (isolation) โดยเทคนิคตา่ง ๆ

- PTLC

- Column chromatography

- GC - HPLC เป็นต้น

- อาจารย์และนักศึกษาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในหัวข้อดังกล่าว - อาจารย์และนักศึกษาร่วมกันสรปุเนื้อหาและความรู้ใหม่ทีไ่ด้รับ และร่วมกนัประเมินคุณภาพผลงาน เพื่อหาแนวทางพฒันาในการเรยีนการสอนครั้งต่อไป

- หนังสือ ต ารา บทความในวาสารและ www รวมทั้งงานวิจัย (ตัวเอง) ที่ได้ศึกษา

- ใบงาน

- สื่ออิเล็กทรอนิกส์power point

- การสังเกตพฤติกรรม - คะแนนรายงาน

12 4 การทดลอง 6 การเตรียมแผ่นการแยกสารสกัดด้วยเทคนิคคอลัมนโ์ครมาโทรกราฟ ี

- Bieft lab ก่อนท าการทดลอง อาจารย์และนักศึกษาร่วมแลกเปลีย่นเรียนรู้

ในหัวข้อดังกล่าว -ท าการทดลองและการน าเสนอ

- ใบงาน

- อุปกรณ์เครื่องแก้ว สารเคมี พืชสมุนไพร

- ผลการทดลอง - การสังเกตพฤติกรรม - รายงานผลการทดลอง

13 4 เรือ่ง การท าใหส้ารบริสุทธ์ิ (purification) และการหาสูตรโครงสร้าง (structural elucidation)

- อาจารย์และนักศึกษาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในหัวข้อดังกล่าว

- อาจารย์และนักศึกษาร่วมกันสรปุเนื้อหาและความรู้ใหม่ทีไ่ด้รับ และร่วมกนัประเมินคุณภาพผลงาน เพื่อหาแนวทางพฒันาในการเรยีนการสอนครั้งต่อไป

- หนังสือ ต ารา บทความในวาสารและ www รวมทั้งงานวิจัย (ตัวเอง) ที่ได้ศึกษา

- ใบงาน

- สื่ออิเล็กทรอนิกส์

- เล่มรายงาน - การสังเกตพฤติกรรม - คะแนนรายงาน

Page 12: ช เคมีพืชสมุนไพรท้องถิ่นpws.npru.ac.th/arunrat/data/files/มคอ3_4023001...4 มคอ.3 2. ค 2.1 ม ความร และความเข

มคอ.3 12

- (การบา้น) วิธีการควบคมุคุณภาพของพืชสมุนไพรที่ท าการทดลอง

power point

14-16 12 เรือ่ง 8 ประโยชน์ของผลิตภณัฑ์ธรรมชาต ิ(applications) (สมุนไพรที่ช่วยบ าบัดโรค เช่น การต่อต่านอนุมลูอิสระ มะเร็ง หวัใจ ภมูิแพ้ เอดส์ และแก้อักเสบ เป็นต้น)

- รายงานบทความเกีย่วกบัการสกดัและแยกสารจากผลติภณัฑธ์รรมชาตทิีอ่อกฤทธิท์างชีวภาพ และการควบคมุคณุภาพของพชืภมูิปญัญาทอ้งถิน่ (10%)

- อาจารย์และนักศึกษาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในหัวข้อดังกล่าว

- อาจารย์และนักศึกษาร่วมกันสรุปเนื้อหาและความรู้ใหม่ทีไ่ด้รับ และร่วมกนัประเมินคุณภาพผลงาน เพื่อหาแนวทางพฒันาในการเรยีนการสอนครั้งต่อไป และสรุปเป็นรายงาน

- สื่ออิเล็กทรอนิกส์power point

- บทความจากวารสารระดับชาติและระดับนานาชาต ิ

- คะแนนการน าเสนอ

17 สอบปลายภาค

วธิกีารประเมนิการเรยีนรู ้

ช้ินงาน/ ภาระงาน

ความรับผิดชอบหลัก

ที ่

เกณฑ/์หัวข้อ การประเมิน

ระดับคะแนน หมายเหต ุ

4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรุง)

การเข้าเรียน 1.5.2 การขาดเรียน ไม่เกิน 4 ครั้ง ถือว่าสอบตก ยกเวน้

- - - -

Page 13: ช เคมีพืชสมุนไพรท้องถิ่นpws.npru.ac.th/arunrat/data/files/มคอ3_4023001...4 มคอ.3 2. ค 2.1 ม ความร และความเข

มคอ.3 13

กรณีมีใบรับรองแพทย์หรือจดหมาย รับรอง จะถือว่าไม่เป็นการขาดเรียน การเข้าเรียนสาย เกิน 15 นาที 4 ครั้ง ถือว่าเป็นการขาดเรียน 1 ครั้ง

แฟ้มสะสมงาน 1.5.1, 2.1.1 แบบฝึกหัดจากผูส้อน (home work)

ส่งงานตรงต่อเวลาและค าตอบถูกทุกข้อ มีการค้นคว้าโจทย์นอกห้องเรียนและตอบค าถามได้ถูกต้อง (10 คะแนน)

ส่งงานตรงต่อเวลา มีการค้นคว้าโจทย์นอกห้องเรียนและตอบค าถามผดิเล็กน้อย (8-9 คะแนน)

ส่งงานช้าเล็กน้อยและ/หรือส่งงานไม่ครบ และมีการค้นคว้าโจทย์นอกห้องเรียนบ้าง (5-7 คะแนน)

ส่งงานช้าและ/หรือไมส่่งเลย และลอกค าตอบ ไม่มีการค้นคว้าโจทย์นอกห้องเรียนเพิ่มเตมิ (<5 คะแนน)

แบบฝึกหัดนอกห้องเรยีนที่ค้นคว้าเอง พร้อมค าตอบ

การสอบ 2.1.1 สอบปลายภาค - - - -

การน าเสนอรายงานหน้าช้ันเรียนตามหัวข้อท่ีรับผิดชอบ

2.1.3, 3.5 1) การค้นคว้า เก็บรวบรวมข้อมลูต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ แล้วจัดท าเป็นเนื้อหา

มีการค้นคว้าแหล่งขอ้มูลจากหลายแหล่งการเรียนรู้ที่น่าเชื่อถือทั้งในและต่าง ประเทศ และเก็บรวบรวมข้อมลูอย่างมีระบบ แล้ว

มีการค้นคว้าแหล่งข้อมูลจากหลายแหล่งการเรียนรู้ที่น่าเชื่อถือทั้งในประเทศและเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างมีระบบ แล้วน ามาล าดับเนื้อหาเพื่อการน าเสนอสื่อความหมายได้ถูกต้อง (16-19 คะแนน)

มีการค้นคว้าแหล่งข้อมูลจากหลายแหล่งการเรียนรู้ที่น่าเชื่อถือทั้งในประเทศ และคัดเลือกข้อมลูและ/หรือจัดการข้อมูลอย่างไมเ่ป็น

มีการค้นคว้าแหล่งข้อมูลแหล่งเดียว และเก็บรวบรวมข้อมลูทั้งหมดไมม่ีระบบ และน าข้อมลูมาเสนอไม่เป็นล าดับ การสื่อความหมาย

แหล่งข้อมูลที่ค้นคว้าต้องน่าเชื่อถือเท่านั้นมิฉะนั้น ระดับคะแนนท่ีได้ เท่ากับ 1 และคะแนนท่ีไดไ้ม่

Page 14: ช เคมีพืชสมุนไพรท้องถิ่นpws.npru.ac.th/arunrat/data/files/มคอ3_4023001...4 มคอ.3 2. ค 2.1 ม ความร และความเข

มคอ.3 14

น ามาล าดับเนื้อหาเพื่อการน าเสนอสื่อความหมายได้ถูกต้อง กะทัดรัดและชัดเจน (20 คะแนน)

ระบบ และไมเ่ป็นล าดับ แตย่ังสามารถสื่อความหมายได้ค่อนข้างถูกต้อง (10-15 คะแนน)

ไม่ถูกต้อง และไม่ชัดเจน (<10 คะแนน)

เกินท่ีได้ระบุไวข้ึ้นกับดุลยพินิจของผู้สอน

5.1.4 2) ภาษา/บุคลิกภาพ การแต่งกายเรียบร้อย มีความกระตือรือร้น ยิ้มแย้ม แจ่มใส น้ าเสียงชัดเจน มีจังหวะในการพูด เสียงสูง เสียงต่ า มีการใช้ ร ล และค าควบกล้ าชัดเจน มีความเชือ่มั่นในตัวเอง (5 คะแนน)

การแต่งกายเรียบร้อย น้ าเสียงชัดเจน มจีังหวะในการพูด เสยีงสูง เสยีงต่ า การใช้ ร ล และค าควบกล้ าไม่ชัดเจน มีความเชื่อมั่นในตัวเอง (3-4 คะแนน)

การแต่งกายเรียบร้อย น้ าเสียงชัดเจน มีจังหวะในการพูด เสียงสูง เสียงต่ า การใช้ ร ล และค าควบกล้ าไม่ชัดเจนในบางครั้ง ไม่ค่อยมคีวามเชื่อมั่นในตัวเอง (2 คะแนน)

การแต่งกายเรียบร้อย ไมม่ีความกระตือรือร้น ยิ้มแย้ม แจ่มใส น้ าเสียงไม่ชัดเจนและไม่มีจังหวะในขณะน าเสนอ รวมทั้งการใช้ ร ล และค าควบกล้ าไม่ชัดเจน (0-1คะแนน)

1.5.3, 5.1.1, 5.1.3

3) การน าเสนอ น าเสนอข้อมูลด้วยสื่อ/รูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะสม อย่างสวยงาม ถูกต้อง กะทัดรัดและชัดเจน การ

น าเสนอข้อมูลด้วยสื่อ/รูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะสม ความสวยงามและความถูกต้องของเนื้อหาต้องแก้ไขเล็กน้อย เนื้อหามีความกะทัดรัดและชัดเจน การ

น าเสนอข้อมูลด้วยสื่อ/รูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะสม ความสวยงามและความถูกต้องของเนื้อหาต้องแก้ไขเล็กน้อย

น าเสนอข้อมูลด้วยสื่อ/รูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะสม ไม่มีความสวยงามและความถูกต้องของเนื้อหาต้องแก้ไข

Page 15: ช เคมีพืชสมุนไพรท้องถิ่นpws.npru.ac.th/arunrat/data/files/มคอ3_4023001...4 มคอ.3 2. ค 2.1 ม ความร และความเข

มคอ.3 15

น าเสนอตรงเวลาที่ก าหนด (20 คะแนน)

น าเสนอตรงเวลาที่ก าหนด (16-19 คะแนน)

แต่เนื้อหาไม่กะทัดรัดและชัดเจน ส่วนการน าเสนอตรงเวลาเวลาที่ก าหนดหรือมากกว่าหรือน้อยกว่าเล็กน้อย (10-15 คะแนน)

ปรับปรุงมาก รวมทั้งเนื้อหาไม่กะทัดรัดและชัดเจนและน าเสนอไม่อยู่ในช่วงเวลาที่ก าหนดมาก (<10 คะแนน)

2.1.3, 4.2.2 4) ความรอบรู/้การตอบค าถาม และการแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้า

ตอบค าถามท่ีเหมาะสมได้ทุกค าถาม และการแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าได ้ (20 คะแนน)

ตอบค าถามท่ีเหมาะสมได้ 80% และแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าได ้ (16-19 คะแนน)

ตอบค าถามท่ีเหมาะสมได้ 50% และแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าได้บ้าง (10-15 คะแนน)

ตอบค าถามท่ีเหมาะสมได้น้อยกว่า 50% และไม่สามารถแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าได ้ (<10 คะแนน)

4.2.1 5) ทักษะการท างานกลุม่ มีความสามัคคีกระตือรือร้น ช่วยกันตอบค าถาม/สถานการณ์เฉพาะหน้า การเตรียมสื่อ/ข้อมูล มีการปรึกษาหารือ

มีความสามัคคีกระตือรือร้น ช่วยกันตอบค าถาม/สถานการณ์เฉพาะหน้า การเตรียมสื่อ/ข้อมูลไม่ครบในบางประเด็น มีการปรึกษาหารือ ยอมรับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน (8-9 คะแนน)

มีความสามัคคี รับฟังความคิดเห็นและพยายามช่วยกันตอบค าถาม/สถานการณ์เฉพาะหน้า แต่ยังไม่ถูกต้องทั้งหมด

ไม่มีความพร้อมของสื่อ/ข้อมูล ปรึกษาหารือกันแต่เกี่ยงกันตอบค าถาม (<5 คะแนน)

Page 16: ช เคมีพืชสมุนไพรท้องถิ่นpws.npru.ac.th/arunrat/data/files/มคอ3_4023001...4 มคอ.3 2. ค 2.1 ม ความร และความเข

มคอ.3 16

ยอมรับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน (10 คะแนน)

การเตรียมสื่อ/ข้อมูลไมค่รบถ้วน (5-7 คะแนน)

เล่มรายงานผลการทดลอง

1.5.1, 5.1.1, 1.5.3

รูปแบบของรายงาน เรื่อง การตรวจสอบพฤกษเคมีเบือ้งตน้ของ (พืช)....... ประกอบด้วย 1.ปกนอก 2.ปกใน 3.บทคัดย่อภาษาไทย 4.กิตติกรรมประกาศ 5.สารบัญ (อาจมีสารบัญตาราง สารบัญภาพ) 6.บทท่ี 1 ท่ีมาและความส าคญั 7.บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง 8.บทท่ี 3 วิธีการด าเนินการวิจยั 9.บทท่ี 4 ผลการทดลองแลวิจารณ ์10.บทท่ี 5 สรุป 11.เอกสารอ้างอิง

มีหัวข้อครบ การจัดหน้ากระดาษ การย่อหน้าหัวข้อหลัก หัวข้อย่อยถูกต้องตามหลัก ไม่มีค าฉีก (5 คะแนน)

มีหัวข้อครบ แต่ การจดัหน้ากระดาษ การย่อหน้าหัวข้อหลัก หัวข้อย่อยไม่ถูกต้องตามหลักเล็กน้อย (4 คะแนน)

มีหัวข้อครบ การจัดหน้ากระดาษ การย่อหน้าหัวข้อหลัก หัวข้อย่อยไม่ถูกต้องตามหลักค่อนข้างมาก (3-2 คะแนน)

หัวข้อไม่ครบและไม่ถูกต้อง การจดัหน้ากระดาษ การย่อหน้าหัวข้อหลัก หัวข้อย่อยไม่ถูกต้องตามหลัก (1-0 คะแนน)

รายงานจะต้องส่งในวันท่ีน าเสนอ และส่งช้าหักวันละ 1%

Page 17: ช เคมีพืชสมุนไพรท้องถิ่นpws.npru.ac.th/arunrat/data/files/มคอ3_4023001...4 มคอ.3 2. ค 2.1 ม ความร และความเข

มคอ.3 17

12.ภาคผนวก (ถ้ามี) 5.1.1, 5.1.3 บททื่ 1 และบทท่ี 2 ของ

เล่มรายงาน มีแหล่งข้อมูลต่าง ๆ อ้างอิงถูกต้องและน่าเชือ่ถือ เนื้อหาครบตรงตามเรื่องที่ได้รับ และเรียบเรียงเป็นภาษาเขียนของตนเอง การสะกดค าและไวยกรณ์ต่าง ๆ ถูกต้อง (20 คะแนน)

มีแหล่งข้อมูลต่าง ๆ อ้างอิงถูกต้องและน่าเชื่อถือ ขาดเนื้อหาท่ีส าคญับางหัวข้อตามเรื่องที่ได้รบั และเรียบเรียงเป็นภาษาเขียนของตนเอง การสะกดค าและไวยกรณ์ต่าง ๆ ถูกต้อง (16-19 คะแนน)

ไม่มีแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่น่าเชื่อถืออ้างอิง แต่เนื้อหาถูกต้อง และครบตรงตามหัวข้อเรื่องหรือขาดไปบางส่วนเล็กน้อย เนื้อหาบางส่วนเกิดจากการคัดลอกมา มีค าที่สะกดผดิเล็กน้อย ไม่มีความสม่ าเสมอของรายงาน (10-15 คะแนน)

ไม่มีแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่น่าเชื่อถืออ้างอิง หรืออ้างอิงแหล่งข้อมูลที่ไม่น่าเชื่อถือ เนื้อหาขาดในหลายประเด็นที่ส าคญั เนื้อหาบางส่วนเกิดจากการคัดลอกมา มีค าที่สะกดผดิเล็กน้อย ไม่มีความสม่ าเสมอของรายงาน (<10 คะแนน)

5.1.1 บทที่ 3 ของเล่มรายงาน แจกแจงอุปกรณ์และสารเคมีที่จ าเป็นที่ใช้ในการทดลองได้ถูกต้องและครบถ้วน มีการทดลองตามความเป็นจริง (5 คะแนน)

ขาดอุปกรณ์และสารเคมีที่จ าเป็นที่ใช้ในการทดลอง มีการทดลองตามความเป็นจริง (3-4 คะแนน)

ขาดอุปกรณ์และสารเคมีที่จ าเป็นที่ใช้ในการทดลอง บรรยายการทดลองไมต่ามความเป็นจริง (>3 คะแนน)

Page 18: ช เคมีพืชสมุนไพรท้องถิ่นpws.npru.ac.th/arunrat/data/files/มคอ3_4023001...4 มคอ.3 2. ค 2.1 ม ความร และความเข

มคอ.3 18

2.1.1, 2.1.2, 5.3

บทที่ 4 และบทท่ี 5 ผลการทดลองและการวิจารณ์ และสรุปผล

บันทึกผลการทดลองที่ได้จริง โดยไม่มีการคัดลอกจากบุคคลหรือกลุ่มอื่น รวมทั้งข้อมูลต่าง ๆ ในรายงานผลการทดลองอย่างครบถ้วนและถูกต้อง และวิจารณผ์ลทีไ่ดต้ามทฤษฎี และสรุปผลได้ถูกต้อง (10 คะแนน)

บันทึกผลการทดลองที่ได้จริง โดยไม่มีการคัดลอกจากบุคคลหรือกลุ่มอื่น รวมทั้งข้อมูลต่าง ๆ ในรายงานผลการทดลองอย่างครบถ้วน แตไ่มถ่กูตอ้งทั้งหมด และวิจารณ์และสรุปผล ผลที่ได้ตามทฤษฎีบ้าง (8-9 คะแนน)

บันทึกผลการทดลองที่ได้จริง โดยมกีารคดัลอกจากบุคคลหรือกลุ่มอื่น รวมทั้งข้อมูลต่าง ๆ ในรายงานผลการทดลองอย่างครบถ้วน แตไ่ม่ถกูตอ้งทั้งหมด และวิจารณ์และสรุปผล ผลที่ได้ตามทฤษฎีเล็กน้อย (5-7 คะแนน)

บันทึกผลการทดลองที่ได้จริง โดยมกีารคดัลอกจากบุคคลหรือกลุ่มอื่น รวมทั้งข้อมูลต่าง ๆ ในรายงานผลการทดลองไมค่รบถว้นและไมถ่กูตอ้ง และสรุปผลที่ได้ตามทฤษฎีบ้าง แต่ไม่มีการวิจารณผ์ล (<5 คะแนน)

2.1.3 เอกสารอ้างอิง ใช้รูปแบบการอ้างอิงข้อมูลต่าง ๆ ถูกต้องทั้งในและต่างประเทศ มีความทันสมัย อีกทั้งระบบการอ้างเดียวกันมีความสม่ าเสมอ

ใช้รูปแบบการอ้างอิงข้อมูลต่าง ๆ ถูกต้องเฉพาะในและ/หรือต่างประเทศเท่านั้น อีกทั้งระบบการอ้างเดยีวกันมีความสม่ าเสมอ แหล่งข้อมูลจาก website มีความน่าเชื่อถือ (8-9 คะแนน)

ใช้รูปแบบการอ้างอิงข้อมูลต่าง ๆ ถูกต้องเฉพาะในและ/หรือต่างประเทศเท่านั้น แต่บางเอกสารที่อ้างไม่มีความทันสมัย และระบบ

ใช้รูปแบบการอ้างอิงข้อมูลต่าง ๆ ถูกต้องเฉพาะในและ/หรือต่างประเทศเท่านั้น แต่บางเอกสารที่อ้างไม่มีความทันสมัย และระบบ

Page 19: ช เคมีพืชสมุนไพรท้องถิ่นpws.npru.ac.th/arunrat/data/files/มคอ3_4023001...4 มคอ.3 2. ค 2.1 ม ความร และความเข

มคอ.3 19

แหล่งข้อมูลจาก website มีความน่าเชื่อถือ (10 คะแนน)

การอ้างเดียวกันไม่มีความสม่ าเสมอ แหล่งข้อมูลจาก website มีความน่าเชื่อถือ (5-7 คะแนน)

การอ้างเดียวกันไม่มีความสม่ าเสมอ แหล่งข้อมูลจาก website ไม่มีความน่าเชื่อถือ (<5คะแนน)

2.1.1, 2.1.2 การตอบค าถาม (ถ้ามี)

ตอบค าถามท้ายการทดลองได้ถูกต้องทั้งหมด (5 คะแนน)

มีการตอบค าถามท้ายการทดลองไม่ถูกต้องทั้งหมด และไม่มีการคัดลอก (4 คะแนน)

มีการตอบค าถามท้ายการทดลองไม่ถูกต้องทัง้หมด และมีการคัดลอก (<4 คะแนน

การสังเกตพฤติกรรม

1.5.2, 2.1.1, 5.1.2

โจทย์ข้อสอบที่ศึกษาค้นคว้ามีการประยุกตจ์ากทฤษฎีในห้องเรียน และเฉลยค าตอบได้ถูกต้อง โจทยไ์ม่ลอกกัน มีส่วนร่วมในการอภิปรายและแลกเปลีย่นความคิดเห็นอย่างมีเหตผุล (20

โจทย์ข้อสอบทีศ่ึกษาค้นคว้ามีการประยุกต์จากทฤษฎีในห้องเรียน และเฉลยค าตอบไม่ถูกต้องบางส่วน โจทย์ไมล่อกกัน มีส่วนร่วมในการอภิปรายและแลกเปลีย่นความคดิเห็นอย่างมีเหตผุล (16-19 คะแนน)

โจทย์ข้อสอบที่ศึกษาค้นคว้ามีการประยุกตจ์ากทฤษฎีในห้องเรียนเล็กน้อย และเฉลยค าตอบไม่ถูกต้องบางส่วน โจทย์ลอกกันมาในบางข้อ และมกีารแสดงความคดิเห็นร่วมบ้าง (10-15

โจทย์ข้อสอบที่ศึกษาค้นคว้าไมม่ีการประยุกต์จากทฤษฎีในห้องเรียน และเฉลยค าตอบถูกต้องไม่ถูกต้อง โจทย์ลอกกันมา ไม่มสี่วนร่วมในการอภิปราย (<10 คะแนน)

Page 20: ช เคมีพืชสมุนไพรท้องถิ่นpws.npru.ac.th/arunrat/data/files/มคอ3_4023001...4 มคอ.3 2. ค 2.1 ม ความร และความเข

มคอ.3 20

คะแนน) คะแนน) ตัวอย่างพืชอัดแห้ง

3.5 เห็นลักษณะของส่วนต่าง ๆ ของพืช ครบและชัดเจน การจัดวางสวยงาม และมีข้อมลูครบและถูกต้อง (5 คะแนน)

เห็นลักษณะของส่วนต่าง ๆ ของพืช ครบ แต่ไม่ชัดเจน หรือ การจัดวางสวยงาม และมีข้อมูลขาดเล็กน้อย (4-3 คะแนน)

เห็นลักษณะของส่วนต่าง ๆ ของพืช ไม่ครบและไม่ชัดเจน หรือการจัดวางสวยงาม และมีข้อมูลขาดเล็กน้อย (2 คะแนน)

เห็นลักษณะของส่วนต่าง ๆ ของพืช ไม่ครบและไม่ชัดเจน หรือการจัดวางไม่สวยงาม และมีข้อมลูไม่ครบ (1-0 คะแนน)

หมายเหตุ คะแนนท่ีไดไ้ม่เกินท่ีไดร้ะบุไว้ ขึ้นกับดลุยพินิจของผูส้อน

Page 21: ช เคมีพืชสมุนไพรท้องถิ่นpws.npru.ac.th/arunrat/data/files/มคอ3_4023001...4 มคอ.3 2. ค 2.1 ม ความร และความเข

มคอ.3 21

2. ะ

การประเมิน จะ ช ะ ะ

สอบกลางภาค 8 20% 1 สอบปลายภาค 17 20%

2 การน าเสนอบทความ 14-16 10%

3 การทดลองและการรายงาน การสังเกตพฤติกรรม แฟ้มสะสมงาน -ผลงานตามท่ีได้รับมอบหมาย/กิจกรรม บูรณาการการเรียนการสอนกับงานวิจัยและพืชภูมิปัญญาท้องถิ่น

4-6, 9, 12 50%

เกณฑ์การประเมนิผล คะแนน 80 ขึ้นไป ระดับคะแนน A คะแนน 75-79 ระดับคะแนน B+ คะแนน 70-74 ระดับคะแนน B คะแนน 65-69 ระดับคะแนน C+ คะแนน 60-64 ระดับคะแนน C คะแนน 55-59 ระดับคะแนน D+ คะแนน 50-54 ระดับคะแนน D คะแนน ต่ ากว่า 49 ระดับคะแนน E

1. ะ นพมาศ สุนทรเจริญนนท์. (2544). ยาและผลติภัณฑจ์ากธรรมชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพ ฯ: ภาควิชา

เภสัชวินิจฉัย คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. ปราณี ชวลิตธ ารง และธิดารัตน์ บุญรอด. (2550). คุณภาพทางเคมีของสมนุไพร เลม่ 1. กรุงเทพฯ: โรง

พิมพ์ส านักงานพระ พุทธศาสนาแห่งชาติ. รัตนา อินทรานุปกรณ์. (2550). การตรวจสอบและการแยกสารส าคญัจากสมนุไพร. พิมพ์ครั้งที่ 2.

กรุงเทพฯ: บริษัท แอคทีฟ พริ้น.

Page 22: ช เคมีพืชสมุนไพรท้องถิ่นpws.npru.ac.th/arunrat/data/files/มคอ3_4023001...4 มคอ.3 2. ค 2.1 ม ความร และความเข

มคอ.3 22

โอภา วัชระคุปต์. (2551). เคมีของยา ฉบบัที ่1. กรุงเทพฯ: พี. เอส. พริ้นท์. Bhat SV, Nagasampagi BA and Meenakshi S. (2009). Natural Products: Chemistry and

Applications. India: Alpha Science International. Gassman PG. (1979). Alkaloids. New York: Marcel Dekker. Kumar B and Chopra HK. (2005). Biogenesis of Natural Products. India: Alpha Science

International. Torssell KBG. (1997). Natural Product Chemistry. Sweden: Swedish Pharmaceutical

Society. 2. ะ ค - 3. ะ ะ แนะน าการสบืคน้ข้อมูลออนไลน ์

1. http://pubs.acs.org/ ฐานข้อมูลให้วารสารนานาชาติต่างประเทศและหนังสือของส านักพิมพ์ American Chemical Society (ACS) Publication

2. ฐานข้อมูลสมุนไพร MedPlant ของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 3. ฐานข้อมูลออนไลน์ผ่านหน้า website ของส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ของ

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม http://acit.npru.ac.th/ มีดังนี้ ScienceDirect http://www.sciencedirect.com/ HW Wilson ฐานข้อมูลบรรณานุกรม Applied Science & Technology, General,

Science ตั้งแต่ปี 1984 – ปัจจุบัน และสาระสังเขปตั้งแต่ปี 1994 – ปัจจุบัน ข้อมูลวารสาร 244 รายชื่อ ตั้งแต่ปี 1996 – ปัจจุบัน และเอกสารฉบับเต็มไฟล์ HTML และ PDF พร้อมภาพประกอบ

ISI Web of Science ฐานข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขปที่ครอบคลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ จากวารสารไม่น้อยกว่า 8,500 รายชื่อ ให้ข้อมูลตั้งแต่ปี 2001 – ปัจจุบัน

Springerlink ฐานข้อมูลที่ครอบคลุมสาขาวิชาทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและทางการแพทย์รวมถึงสาขาวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ เช่น Behavioral Science, Computer Science, Biomedical and Life Science, Business and Economics, Mathematics and Statistics, Chemistry and Materials Science, Medicine, Chinese Library of Science, Russian Library of Science, Humanities, Social Science and Law, Physics and Astronomy, Earth and Environmental Sciences, Engineering

Page 23: ช เคมีพืชสมุนไพรท้องถิ่นpws.npru.ac.th/arunrat/data/files/มคอ3_4023001...4 มคอ.3 2. ค 2.1 ม ความร และความเข

มคอ.3 23

ะ ะ ช 1. ะ ะ ช ดังนี้

- ะ การ ะ ะ ผลการเ ียนร ช 2. ะ

- พฤติกรรมของผู้เรียน (การเข้าเรียนและขณะเรียน) - - แฟ้มสะสมงาน - การน าเสนอและเล่มรายงาน - การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง - ะ

3. หลังจากสอนครบตามแนวการจัดการเรียนรู้แล้ว น าบันทึกหลังการสอนในแต่ละสัปดาห์ที่ได้จากการสังเกต มาระดมสมองระหว่างผู้สอนและผู้เรียน และอาจารย์ในโปรแกรม ตลอดจนหาข้อมลูเพ่ิมเติมเพ่ือน ามาใช้ในการปรับปรุงการเรียนการสอนในครั้งต่อไป 4. ช

ะ ะ ช ค จ ช จ ห จ ะ ช ช

- คะ จ จ ช จ ะจ - คณะ จ ะ

5. ะ ะ ช จ ะ ะ ะ ช

ะ ะ ช ค ณ - ช ะ - จ หรือในรายวิชาเดียวกันมีอาจารย์รับผิดชอบอย่างน้อย 2-3 คน หรือมากกว่า มี ุม ใหม ่ๆ