ส ำหรับผู้ป่วยที่รับก ำรรักษำ...

2
ค�ำแนะน�ำ โครงกำรพัฒนำระบบบริกำรกำรผ่ำตัด แบบวันเดียว One Day Surgery (ODS) หลอดอาหารปกติ ภายในจะกว้าง ให้อาหารผ่านได้ง่าย หลอดอาหารตีบท�าให้แคบอาหาร ผ่านยากเกิดอาการกลืนล�าบาก ข้อมูลกำรรักษำ โรงพยำบำล .................................................................... หน่วยส่องกล้อง ........................................................ ศูนย์บริกำรกำรผ่ำตัดแบบวันเดียวกลับ ...................................................................................................... ห้องฉุกเฉิน ...................................................................... โทรสำยด่วน .................................................................... l เมื่อไรต้องติดต่อทางโรงพยาบาล หากท่านมีอาการดังต่อไปนี ้ ได้แก่ หายใจติดขัด มีไข้ เจ็บหน้าอก ปวดร้าวไปที ่คอไหล่หรือหลัง กลืนเจ็บ กลืน ติด ถ่ายด�า อาเจียนมาก อาเจียนเป็นเลือด หรือสีด�า ท่าน ต้องติดต่อมายังโรงพยาบาลทันที ฉีกขาดของหลอดอาหารมาก อาการเจ็บหน้าอก หรือปวด ท้อง จากการทะลุ ถ้าไม่มีอาการดังกล่าว แพทย์จะให้กลับ บ้าน และนัดมาตรวจในครั ้งต่อไป กำรดูแลหลังกลับจำกโรงพยำบำล l การรับประทานอาหารหลังจากการขยาย หลอดอาหาร หลังการส่องกล้องและขยายหลอดอาหารไปแล้ว 4 ชั่วโมง แพทย์จะเริ่มพิจารณาให้ผู ้ป่วยเริ ่มรับประทานได้ โดยเริ่มจากดื่มน�้าเปล่า ถ้าผู ้ป่วยดื่มน�้าได ้ดีโดยไม่มีอาการ ดื่มแล้วติดหรือส�าลัก หรือเจ็บหน้าอก จะค่อยๆ เริ่มอาหาร เหลวอื่นๆ เช่น นม น�้าผลไม ้ที่ไม่มีกาก โยเกิร์ต เป็นต้น และเพิ่มเป็นอาหารอ่อนเมื่อทานได้ดีขึ ้น เช่น ข ้าวต้ม หรือ โจ๊ก ได้ถ้าไม่มีปัญหาใดๆ l ข้อแนะน�าทั่วไป ส�าหรับประเภทอาหาร และ วิธีการกิน ของผู ้ป่ วยที่ขยายหลอดอาหาร หรือกระเพาะอาหาร 1. ควรรับประทานอาหารช้าๆ และเคี ้ยวให้ละเอียด ใน กรณีอาหารที ่เป็นชิ ้นควรหั่นให้เป็นชิ ้นเล็กๆ 2. ควรแบ่งมื ้ออาหารออกเป็นมื ้อย่อยๆ 5 - 6 มื ้อ/วัน 3. อาหารที ่รับประทานควรมีลักษณะเหลวและเละ เพื ่อ ง่ายต่อการกลืนและการเคลื ่อนตัวของอาหารผ่านจุดตีบ 4. ควรดื ่มน� ้าบ่อยๆ ในระหว่างที ่กินอาหารและหลังจากที กินอาหารเสร็จ 5. ในกรณีที ่ต้องรับประทานยา ควรเลือกยาที ่เป็นยาน� ้า ยาที ่บดได้ หรือยาที ่ผสมน� ้าดื ่มได้ 6. อาหารที ่ควรหลีกเลี ่ยงหลังจากที่ขยายหลอดอาหาร แล้ว ได้แก่ ลูกชิ ้น ขนมปัง ไข่ต ้มที่เป็นลักษณะก้อนแข็ง ผลไม้ที่มีชิ้นใหญ่ๆ เช่น สับปะรด ส้ม องุ ่น ใบผักต่างๆ เป็นต้น ส�ำหรับผู้ป่วยที่รับกำรรักษำ ขยำยหลอดอำหำร กระเพำะอำหำรตีบ โดยกำรส่องกล้องแบบผู้ป่วยนอก

Upload: others

Post on 24-Feb-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ส ำหรับผู้ป่วยที่รับก ำรรักษำ ...118.174.45.29/hhc/dowload/แผ่นพับ_ODS...ค ำแนะน ำ โครงกำรพ

ค�ำแนะน�ำ

โครงกำรพัฒนำระบบบริกำรกำรผ่ำตัดแบบวันเดียว One Day Surgery

(ODS)

หลอดอาหารปกต ิภายในจะกว้างให้อาหารผ่านได้ง่าย

หลอดอาหารตบีท�าให้แคบอาหารผ่านยากเกดิอาการกลืนล�าบาก

ข้อมูลกำรรักษำ

โรงพยำบำล ....................................................................

หน่วยส่องกล้อง ........................................................

ศูนย์บริกำรกำรผ่ำตัดแบบวันเดียวกลับ

......................................................................................................

ห้องฉุกเฉิน ......................................................................

โทรสำยด่วน ....................................................................

l เมื่อไรต้องติดต่อทางโรงพยาบาลหากทา่นมอีาการดงัต่อไปน้ี ไดแ้ก่ หายใจตดิขดั มไีข ้

เจบ็หน้าอก ปวดรา้วไปทีค่อไหลห่รอืหลงั กลนืเจบ็ กลนืตดิ ถ่ายด�า อาเจยีนมาก อาเจยีนเป็นเลอืด หรอืสดี�า ทา่นตอ้งตดิต่อมายงัโรงพยาบาลทนัที

ฉีกขาดของหลอดอาหารมาก อาการเจ็บหน้าอก หรือปวดท้อง จากการทะล ุถ้าไมมี่อาการดงักลา่ว แพทย์จะให้กลบับ้าน และนดัมาตรวจในครัง้ตอ่ไป

กำรดูแลหลังกลับจำกโรงพยำบำลl การรบัประทานอาหารหลงัจากการขยาย

หลอดอาหาร หลงัการส่องกล้องและขยายหลอดอาหารไปแล้ว 4

ชัว่โมง แพทย์จะเร่ิมพิจารณาให้ผู้ ป่วยเร่ิมรับประทานได้ โดยเร่ิมจากด่ืมน�า้เปลา่ ถ้าผู้ ป่วยด่ืมน�า้ได้ดีโดยไมมี่อาการด่ืมแล้วตดิหรือส�าลกั หรือเจ็บหน้าอก จะคอ่ยๆ เร่ิมอาหารเหลวอ่ืนๆ เช่น นม น�า้ผลไม้ท่ีไม่มีกาก โยเกิร์ต เป็นต้น และเพ่ิมเป็นอาหารออ่นเม่ือทานได้ดีขึน้ เชน่ ข้าวต้ม หรือโจ๊ก ได้ถ้าไมมี่ปัญหาใดๆ

l ข้อแนะน�าทัว่ไป ส�าหรบัประเภทอาหาร และวิธีการกิน ของผู้ป่วยท่ีขยายหลอดอาหารหรือกระเพาะอาหาร

1. ควรรบัประทานอาหารชา้ๆ และเคีย้วใหล้ะเอยีด ในกรณอีาหารทีเ่ป็นชิน้ควรหัน่ใหเ้ป็นชิน้เลก็ๆ

2. ควรแบง่มือ้อาหารออกเป็นมือ้ยอ่ยๆ 5 - 6 มือ้/วนั 3. อาหารทีร่บัประทานควรมลีกัษณะเหลวและเละ เพือ่

งา่ยต่อการกลนืและการเคลือ่นตวัของอาหารผา่นจดุตบี4. ควรดืม่น�้าบอ่ยๆ ในระหวา่งทีก่นิอาหารและหลงัจากที่

กนิอาหารเสรจ็5. ในกรณีทีต่อ้งรบัประทานยา ควรเลอืกยาทีเ่ป็นยาน�้า

ยาทีบ่ดได ้หรอืยาทีผ่สมน�้าดืม่ได้6. อาหารที่ควรหลกีเลี่ยงหลงัจากท่ีขยายหลอดอาหาร

แล้ว ได้แก่ ลกูชิน้ ขนมปัง ไขต้่มท่ีเป็นลกัษณะก้อนแข็ง ผลไม้ท่ีมีชิน้ใหญ่ๆ เชน่ สบัปะรด ส้ม องุน่ ใบผกัตา่งๆ เป็นต้น

ส�ำหรับผู้ป่วยที่รับกำรรักษำ ขยำยหลอดอำหำร กระเพำะอำหำรตีบ

โดยกำรส่องกล้องแบบผู้ป่วยนอก

Page 2: ส ำหรับผู้ป่วยที่รับก ำรรักษำ ...118.174.45.29/hhc/dowload/แผ่นพับ_ODS...ค ำแนะน ำ โครงกำรพ

ภาพแสดงท่อ และสายลกูโป่งท่ีใช้ขยายหลอดอาหาร กระเพาะอาหาร

ภาพวาดแสดงขัน้ตอนการขยายหลอดอาหารตีบด้วยลกูโป่งทางกล้องส่อง

1. หลอดอาหารตบีแคบ

2. แพทย์เร่ิมรักษาโดยการส่องกล้องและส่งลวดเล็กๆ ผ่านจุดตบี

เพื่อน�าทางลูกโป่ง

3. ลูกโป่งจะถูกส่งตามลวดจนถงึจุดที่ตบี แพทย์จะขยายลูกโป่งจนจุดตบีเปิด

4. หลังจากขยายจุดตบีหลอดอาหารจะเปิดให้อาหารผ่านได้ง่ายขึน้

ภาพแสดง โรคอะคาเลเซีย ท่ีหลอดอาหารส่วนปลายตีบ รกัษาด้วยการขยายด้วยลกูโป่ง

หลอดอำหำรตีบ เกิดจากหลายสาเหตุ เช่น การกินสารกัดกร่อน

กรดไหลย้อยท่ีเ ป็นมากและนาน หลังการฉายแสงหลอดอาหาร หลังการผ่าตัด หรือสาเหตุอ่ืนๆ เช่น โรคอะคาเลเซีย (achalasia) ท�าให้ผู้ ป่วยมีอาการกลืนล�าบาก อาจจะมีอาการส�าลกัร่วม ทานอาหารได้น้อยลง น�า้

หนกัตวัลด

กระเพำะอำหำรตีบจากสาเหตท่ีุไมใ่ชม่ะเร็ง เชน่ กินสารกดักร่อน ซึง่มกัจะ

เกิดรวมกบัหลอดอาหารตีบ หรือกระเพาะอาหารตีบจากโรคกระเพาะอาหาร หรือหลงัการผา่ตดั ท�าให้เกิดอาการอาเจียน มกัเป็นเศษอาหารท่ีทานเข้าไป

การรักษาด้วยการขยายโดยการส่องกล้องร่วมด้วย จงึเป็นมาตรฐานการรักษาท่ีท�าให้ผู้ ป่วยมีอาการดีขึน้

สามารถกลบัมาทานอาหารปกตไิด้

คุณสมบัตขิองผู้ป่วยที่สำมำรถเข้ำโครงกำรได้ 1. ผูป่้วยทีม่อีาการกลนืล�าบากจากหลอดอาหารตบีตนั ซึง่

อาจเกดิจากการกนิสารกดักรอ่น กรดไหลยอ้น หลงัการฉายแสงหลอดอาหาร หรอืสาเหตุอืน่ๆ

2. ผูป่้วยทีม่อีาการ อาเจยีน ทานอาหารไมไ่ด ้จากกระเพาะอาหารตบี จากสาเหตุต่างๆ

3. สภาพรา่งกายแขง็แรงพอทีจ่ะสอ่งกลอ้งได ้

คุณสมบัตขิองผู้ป่วยที่ไม่สำมำรถเข้ำโครงกำรได้1. ผูป่้วยทีม่คีวามผดิปกตทิีค่อทีเ่พิม่ความเสีย่งในการท�า

หตัถการ 2. ผู้ป่วยที่เคยมีการทะลุ หรือรอยทะลุเชื่อมระหว่าง

หลอดอาหารกบัหลอดลม มาก่อน

3. ผูป่้วยทีส่�าลกัระหว่างส่องกลอ้ง มอีาการปวดหน้าอกมากผดิปกตหิลงัหตัถการหรอืหายใจตดิขดั

4. ผูป่้วยทีม่เีลอืดออกมากผดิปกติ5. ผูป่้วยทีม่ภีาวะแทรกซอ้นหลงัการขยาย ทีต่อ้งรบัไวด้แูล

ต่อเน่ืองในโรงพยาบาล

กำรเตรียมตัวก่อนกำรส่องกล้องขยำยผู้ ป่วยต้องงดอาหารอยา่งน้อย 6 ชัว่โมงก่อนการสอ่ง

กล้อง แต่ผู้ ป่วยกระเพาะอาหารตีบอาจจะต้องงดอาหาร 8 - 12 ชัว่โมง เฉพาะผู้ ป่วยโรคอะคาเลเซีย ต้องทานอาหารเหลว 1 - 2 วนั และงดอาหารอยา่งน้อย 12 ชัว่โมงก่อนการสอ่งกล้อง ต้องงดยาละลายลิม่เลอืด ต้องมีญาตมิาพร้อมกบัผู้ ป่วย ต้องรับค�าอธิบายและให้ความเหน็ชอบในการรักษา

ในกรณีท่ีแพทย์พิจารณาให้ยาสงบประสาท ผู้ ป่วยจะได้รับการให้สารน�า้ทางหลอดเลือดก่อนการสอ่งกล้อง

กำรรักษำด้วยกำรส่องกล้องขยำย การขยายหลอดอาหารและกระเพาะอาหารท่ีตีบ

นัน้ เป็นการรักษาวิธีหนึ่งเพ่ือบรรเทาอาการกลืนล�าบาก จากหลอดอาหารตีบ หรืออาการอาเจียน ทานอาหารไม่ได้จากกระเพาะอาหารตีบ โดยแพทย์อาจจะใช้ท่อขยายหลอดอาหาร หรือใช้สายลูกโป่งท่ีมีความดันสูงขยาย ซึ่งการขยายนัน้จะค่อยๆ ท�าเพ่ือลดความเสี่ยงของการฉีกขาด หรือทะลุของหลอดอาหารและกระเพาะอาหาร ดงันัน้ผู้ ป่วยอาจจะต้องมารับการส่องกล้องหลายครัง้กว่าอาการจะดีขึน้หรือสว่นท่ีตีบจะหาย

กำรดูแลในห้องพักฟื้นหลงัการสอ่งกล้องขยายแล้ว ผู้ ป่วยจะได้รับการดแูล

เฝา้ระวงัอาการจากภาวะแทรกซ้อนท่ีอาจจะเกิดขึน้ได้หลงัท�าการขยายอยา่งน้อย 4 ชม. เชน่อาเจียนเป็นเลอืด จากการ