คู มือ · (asean – china free trade area) เมื่อวันที่ 7...

19
คูมือ การใชสิทธิประโยชนทางการคาภายใตความตกลง

Upload: others

Post on 31-Jan-2021

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • คูมือการใชสิทธิประโยชนทางการคาภายใตความตกลง

  • 2 3คู่มือ การใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้า ภายใต้ความตกลงอาเซียน-จีน

    ASEAN - CHINA FREE TRADE AGREEMENT : ACFTA

    คำ�นำ�

    ปัจจุบนัหลายประเทศได้ใช้ในนโยบายการท�าเขตการค�า้เสรมีาเป็นยทุธศาสตร์ในการเพิม่ขดีความสามารถในการแข่งขนัในตลาดต่างประเทศโดยมีความเชือ่ในหลกัการว่าการค้าเสรจีะเป็นการส่งเสริมให้มกีารแลกเปลีย่นสนิค้าระหว่างกนัมากขึน้เพราะแต ่ละประเทศจะผลิตเฉพาะสินค ้าที่ตัวเองมีความได ้ เปรียบเท ่านั้น และผลของการลด/ยกเลิกภาษี จากความตกลงการค้าระหว่างกันจะส่งผลให้มีมลูค้าการค้าเพิม่มากขึน้และยงัเป็นการเพิม่อ�านาจในการแข่งขนัให้กบัสนิค้าของไทยอีกทางหนึ่งดังนั้นการท�าความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-จีน ASEANChinaFreeTradeArea:ACFTAจึงเป็นการขยายโอกาสให้แก่ผู้ผลิตและผู้ส่งออกของไทยโดยตรงและเป็นกลไกหนึง่ในการส่งเสรมิเพิม่พนูการค้าการลงทนุการขยายตลาดและการไปมาหาสูร่ะหว่างประชาชนเป็นการเพิม่โอกาสให้กับผู้ประกอบการ ทั้งรายใหญ่และวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม หรือSME ในด้านการหาตลาดให้แก่สินค้าและบริการโดยอาศัยความร่วมมือการเปิดเสรี และการอ�านวยความสะดวกทางการค้าและการลงทนุระหว่างสองประเทศรวมทัง้ส่งเสริมการพฒันาอตุสาหกรรมเป้าหมายของประเทศไทยหนงัสอืเล่มนีจ้ดัท�าขึน้เพือ่ให้ผูผ้ลติและผูส่้งออกของไทยใช้เป็นคู่มือ และแนวทางในการขอใช้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร ส�าหรับสินค้าที่จะส่งออกไปประเทศจีน โดยจะมีเนื้อหาความรู้และสาระส�าคัญของความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-จีนคุณสมบัติของสินค้าที่จะขอใช้สิทธิพิเศษฯขั้นตอนและวิธีปฏิบัติในการยื่นขอหนังสือรับรองถิ่นก�าเนิดสินค้า (Form E) รวมถึงตัวอย่างแบบฟอรม์ ต่างๆในการขอใช้สิทธิพิเศษฯกรมการค้า ต่างประเทศหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ผลิตผู้ส่งออกและผู้สนใจทั่วไป กรมการค้าต่างประเทศ ส�านักสิทธิประโยชน์ทางการค้ากันยายน 2554

    สารบัญ

    1.ความเป็นมาความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-จีน 1

    2.สาระส�าคัญของความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-จีนด้านการค้า 12.1การเปิดเสรีการค้าสินค้าส่วนแรก (Early Harvest) 1

    2.2การเปิดเสรีการค้าสินค้าทั่วไป 2

    3.กฎว่าด้วยถิ่นก�าเนิดสินค้า 4 3.1 กฎทั่วไป 4

    3.2กฎเฉพาะสินค้า 4

    4.สาระส�าคัญด้านการค้าบริการ 5

    5.สาระส�าคัญด้านการลงทุน 6

    6.สาระส�าคัญด้านความร่วมมือทางเศรษฐกิจ 6

    7.คุณสมบัติของสินค้าที่จะใช้สิทธิพิเศษฯภายใต้ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-จีน 7

    8.วิธีปฏิบัติในการยื่นขอหนังสือรับรองถิ่นก�าเนิดสินค้าFormE 8

    9.ผลที่คาดว่าจะได้รับ 8 10.หน่วยงานที่ให้บริการออกหนังสือรับรองถิ่นก�าเนิดสินค้า 11ภาคผนวก

    ผนวก1ค�าขอหนังสือรับรองถิ่นก�าเนิดสินค้า Form E

    ผนวก2ตัวอย่างFormE

    ผนวก3แบบขอรับการตรวจคุณสมบัติทางด้านถิ่นก�าเนิดเพื่อขอใช้สิทธิพิเศษ ทางด้านภาษีศุลกากร(พิกัดศุลกากร 01-24)

    ผนวก4แบบขอรับการตรวจคุณสมบัติทางด้านถิ่นก�าเนิดเพื่อขอใช้สิทธิพิเศษ ทางด้านภาษีศุลกากร (พิกัดศุลกากร 25-97)

  • 4 5คู่มือ การใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้า ภายใต้ความตกลงอาเซียน-จีน

    ASEAN - CHINA FREE TRADE AGREEMENT : ACFTA

    สารบัญ

    1.ความเป็นมาความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-จีน 1

    2.สาระส�าคัญของความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-จีนด้านการค้า 12.1การเปิดเสรีการค้าสินค้าส่วนแรก (Early Harvest) 1

    2.2การเปิดเสรีการค้าสินค้าทั่วไป 2

    3.กฎว่าด้วยถิ่นก�าเนิดสินค้า 4 3.1 กฎทั่วไป 4

    3.2กฎเฉพาะสินค้า 4

    4.สาระส�าคัญด้านการค้าบริการ 5

    5.สาระส�าคัญด้านการลงทุน 6

    6.สาระส�าคัญด้านความร่วมมือทางเศรษฐกิจ 6

    7.คุณสมบัติของสินค้าที่จะใช้สิทธิพิเศษฯภายใต้ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-จีน 7

    8.วิธีปฏิบัติในการยื่นขอหนังสือรับรองถิ่นก�าเนิดสินค้าFormE 8

    9.ผลที่คาดว่าจะได้รับ 8 10.หน่วยงานที่ให้บริการออกหนังสือรับรองถิ่นก�าเนิดสินค้า 11ภาคผนวก

    ผนวก1ค�าขอหนังสือรับรองถิ่นก�าเนิดสินค้า Form E

    ผนวก2ตัวอย่างFormE

    ผนวก3แบบขอรับการตรวจคุณสมบัติทางด้านถิ่นก�าเนิดเพื่อขอใช้สิทธิพิเศษ ทางด้านภาษีศุลกากร(พิกัดศุลกากร 01-24)

    ผนวก4แบบขอรับการตรวจคุณสมบัติทางด้านถิ่นก�าเนิดเพื่อขอใช้สิทธิพิเศษ ทางด้านภาษีศุลกากร (พิกัดศุลกากร 25-97)

    1.ความเปนมาความตกลงการคาเสรีอาเซียน - จีน

    2.สาระสำคัญของความตกลงการคาเสรีอาเซียน - จีนดานการคา

    2.1 การเปดเสรีการคาสินคาสวนแรก (Early Harvest)

    2.2 การเปดเสรีการคาสินคาทั่วไป

    3.กฎวาดวยถิ่นกำเนิดสินคา

    3.1 กฎทั่วไป

    3.2 กฎเฉพาะสินคา

    4.สาระสำคัญดานการคาบริการ

    5.สาระสำคัญดานการลงทุน

    6.สาระสำคัญดานความรวมมือทางเศรษฐกิจ

    7.คุณสมบัติของสินคาที่จะใชสิทธิพิเศษฯภายใตความตกลงการคาเสรี อาเซียน - จีน

    8.วิธีปฏิบัติในการยื่นขอหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินคา Form E

    9.ผลที่คาดวาจะไดรับ

    10.หนวยงานที่ใหบริการออกหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินคาการคาตางประเทศ

    ผนวก

    ผนวก 1 คำขอหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินคา Form E

    ผนวก 2 ตัวอยาง Form E

    ผนวก 3 แบบขอรับการตรวจคุณสมบัติทางดานถิ่นกำเนิดเพื่อขอใชสิทธิพิเศษ

    ทางดานภาษีศุลกากร (พิกัดศุลกากร 01-24)

    ผนวก 4 แบบขอรับการตรวจคุณสมบัติทางดานถิ่นกำเนิดเพื่อขอใชสิทธิพิเศษ

    ทางดานภาษีศุลกากร (พิกัดศุลกากร 25-97)

    6

    7

    7

    8

    10

    10

    11

    13

    13

    14

    15

    16

    17

    19

    22

    24

    26

    28

    สารบัญ

  • 6 7คู่มือ การใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้า ภายใต้ความตกลงอาเซียน-จีน

    ASEAN - CHINA FREE TRADE AGREEMENT : ACFTA

    คว�มเป็นม�คว�มตกลงก�รค้�เสรี

    อ�เซียน-จีน

    (ASEAN–ChinaFreeTradeArea)

    เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2544 ผู ้น�าอาเซียน-จีน ได้เห็นชอบใหม่การจัดตั้ง คณะเจรจาอาเซียน-จีน (Trade Negotiation Committee : TNC) เพื่อจัดท�า กรอบความตกลงความร่วมมือทางเศรษฐกิจอาเซียน-จีน ท่ีจะใช้ เป็นพื้นฐานในการจัดท�าข้อตกลงเขตการค้าเสรีอาซียน-จีน

    ที่สมบูรณ์ภายใน 10ปี ซึง่ต่อมาTNCได้สรุปผลการเจรจาและจัดท�ากรอบความตกลงซึง่ได้รบัความเหน็ชอบจากผู้น�าอาเซียน-จีนในการประชุมสุดยอดอาเซียน-จีน(ASEAN-ChinaSummit)ครั้งที่8ณกรุงพนมเปญประเทศกัมพูชาเมื่อวันที่4พฤศจิกายน2545โดยมีกรอบในการเจรจา(FrameworkAgreement:FA)ครอบคลุมความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจในทุกด้านการเจรจาแบ่งเป็นการเปิดเสรีด้านการค้าสินค้าการเปิดเสรีด้านการค้าบริการการลงทุนและความร่วมมือทางเศรษฐกิจต่างๆนอกจากนี้ยังได้จัดตั้งTNC(TradeNegotiatingGroup)เพื่อเป็นกลไกในการเจรจาโดยจะเป็นเวทีหรือระหว่างอาเซียนกับจีนซึ่งมีไทยเป็นประธานฝ่ายอาเซียนและจัดตั้งASEANTradeNegotiatingGroup(TNG) เป็นเวทีประชุมหารือระหว่างสมาชิกอาเซียน

    2.1 การเปิดเสรีการค้าสินค้าส่วน

    แรก (Early Harvest)

    ผู ้น�าไทยและจีนได ้ เห็นชอบให ้ไทยกับจีนเริ่มลดภาษีระหว่างกันในสินค้าเกษตรพิกัด07-08(ผักและ ผลไม้) ลดภาษีเป็น 0% ตั้งแต่วันที่ 1ตุลาคม2546ภายใต้กรอบEarlyHarvestอาเซียน-จีนหรือ3เดือนก่อนประเทศสมาชิกอื่นๆ ส�าหรับการลดภาษรีะหว่างอาเซยีน10ประเทศกับจีนในพิกัด01-08เริ่มลดภาษีตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2547โดยประเทศอาเซียนเดิม 6 ประเทศ(ได้แก่บรูไนดารุสซาลามอินโดนีเซียมาเลเซียฟิลิปปินส์สิงคโปร์ไทยและจีน)สินค้าจ�านวนนี้(374รายการ)จะลดภาษีลงเหลือ 0% ในปี2549 ส่วนอาเซยีนใหม่4ประเทศ(ได้แก่กัมพูชาเวียดนามลาวและพม่า)สินค้าจ�านวน

    นีจ้ะลดภาษเีหลือ0%ในปี2553สินค้าเกษตรในพิกัดอัตราศุลกากร ตอนที่01-08ได้แก่ 1.สัตว์มีชีวิต 2.เนื้อสัตว์ที่บริโภคได้3.ปลาสัตว์น�า้อื่นๆ4.ผลิตภัณฑ์นมไข่5.ผลิตภัณฑ์อื่นจ�ากสัตว์6.ต้นไม้และพืชมีชีวิต7.ผัก 8.ผลไม้

    สินค้าที่มีโควตา ตามข้อผูกพันWTOจ�านวน 23 รายการ ได้แก่ น�้านมดิบ นมปรุงแต่ง นมผงขาดมันเนย มันฝรั่งหอมหัวใหญ่กระเทียมมะพร้าวล�าไย

    แ ห ้ ง

    กาแฟชาพรพรกิไทยข้าวโพดเลีย้งสตัว์ข้าวถัว่เหลอืงเนือ้มะพร้าวแห้งเมลด็พันธ์หอมหัวใหญ่ น�้ามันถั่วเหลือง น�้ามันปาล์มน�้ามัน

    มะพร้าวน�า้ตาลกาแฟส�าเรจ็รปูน�า้มนัถัว่เหลือง กากถัว่เหลอืง ใบยาสบู และ ไหมดิบ โดย 7 รายการแรกเป ็น (EarlyHarvest) อัตราภาษีน�าเข้าในโควตาเป็น 0% ส่วนที่เหลือเป็น (SL)และ (HSL) อัตราภาษีน�าเข้าในโควต�่าอยูร่ะหว่าง20-65%ส�าหรบัอตัราภาษีน�าเข้านอกโควตาจ�านวน23รายการเป็น(SL)และ(HSL)ทั้งหมดโดยอัตราภาษีอยู่ระหว่าง41-226%

    ส�ระสำ�คัญของคว�มตกลงก�ร

    ค้�อ�เซียน-จีน ด้�นก�รค้�

    ไทย-จ�น

  • 8 9คู่มือ การใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้า ภายใต้ความตกลงอาเซียน-จีน

    ASEAN - CHINA FREE TRADE AGREEMENT : ACFTA

    2.2 การเปิดเสรีการค้าสินค้าทั่วไป สินค้าอื่นๆมีการลดภาษีน�าเข้าได้ ดังนี้

    (1)สินค้าปกติ(NormalTrackList)เริ่มลดภาษีตั้งแต่วันที่20กรกฎาคม2548แบ่งการลดออกเป็น2ส่วน

    • NormalTrackList(I)จ�านวน7,000กว่ารายการ(พิกัดศุลกากร6หลัก)ลดภาษีเป็น0%ตั้งแต่

    วนัที่1มกราคม2553หรือร้อยละ90ของสินค้าที่มีการค้าระหว่างกัน

    • NormalTrackList(II)จ�านวน150รายการลดภาษีเป็น0%ภายใน7ปี

    • (พ.ศ.2555)(2)สินค้าอ่อนไหวแบ่งการลดเป็น2ส่วนดังนี้

    • สินค้าSensitiveList(SL)ลดอัตราภาษีเป็น20%ในปีพ.ศ.2555และเหลือ0-5%ในปีพ.ศ.2561จีนมี

    161รายการไทยมี242รายการ

    • สินค้าHighlySensitiveList(HSL) ลดอัตราภาษีเป็น50%ในปีพ.ศ.2558

    • และไม่ลดลงอีกจีนมี100รายการไทยมี100รายการ

    ตารางรูปแบบการลด / เลิกภาษีของสินค้าปกติ

    ส�ำนักสิทธิประโยชน์ทำงกำรค้ำกรมกำรค้ำต่ำงประเทศ 3

    ตำรำงรูปแบบกำรลด/เลิกภำษีของสินค้ำปกติ

    พิกัด09-97 2548* 2550 2552 2553 2555

    X > 20 20 12 5 0 0

    15<X<20 15 8 5 0 0

    10 < X < 10 10 8 5 0 0

    5<X<10 5 5 0 0 0

    X <5 5 5 0 0 0

    ตำรำงรูปแบบกำรลด/เลิกภำษีของสินค้ำอ่อนไหว

    หมำยเหตุ:สำมำรถดูอัตรำภำษีได้ที่www.dft.go.th

    X=AppliedMFNtariffrateณวันที่1กรกฎำคม

    สินค้ำอ่อนไหว(SL)(ไม่ช้ำกว่ำวันที่1มกรำคม

    ปี2555

    ปี2561

    สินค้ำอ่อนไหวสูง(HSL)

    ปี2558

    ภำษีภำยใต้กำรเปิดเสรีกำรค้ำสินค้ำอำเซียน–จีน(%)(ไม่ช้ำกว่ำวันที่1มกรำคม)

    เพดำนอัตรำภำษีภำยใต้กำรเปิดเสรีกำรค้ำสินค้ำอำเซียน-จีน

    20%

    0-5%

    50%

    ส�ำนักสิทธิประโยชน์ทำงกำรค้ำกรมกำรค้ำต่ำงประเทศ 3

    ตำรำงรูปแบบกำรลด/เลิกภำษีของสินค้ำปกติ

    พิกัด09-97 2548* 2550 2552 2553 2555

    X > 20 20 12 5 0 0

    15<X<20 15 8 5 0 0

    10 < X < 10 10 8 5 0 0

    5<X<10 5 5 0 0 0

    X <5 5 5 0 0 0

    ตำรำงรูปแบบกำรลด/เลิกภำษีของสินค้ำอ่อนไหว

    หมำยเหตุ:สำมำรถดูอัตรำภำษีได้ที่www.dft.go.th

    X=AppliedMFNtariffrateณวันที่1กรกฎำคม

    สินค้ำอ่อนไหว(SL)(ไม่ช้ำกว่ำวันที่1มกรำคม

    ปี2555

    ปี2561

    สินค้ำอ่อนไหวสูง(HSL)

    ปี2558

    ภำษีภำยใต้กำรเปิดเสรีกำรค้ำสินค้ำอำเซียน–จีน(%)(ไม่ช้ำกว่ำวันที่1มกรำคม)

    เพดำนอัตรำภำษีภำยใต้กำรเปิดเสรีกำรค้ำสินค้ำอำเซียน-จีน

    20%

    0-5%

    50%

    หมายเหตุ : สามารถดูอัตราภาษีได้ที่www.dft.go.th

    ตารางรูปแบบการลด/เลิกภาษีของสินค้าอ่อนไหว

  • 10 11คู่มือ การใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้า ภายใต้ความตกลงอาเซียน-จีน

    ASEAN - CHINA FREE TRADE AGREEMENT : ACFTA

    กฎว่าด้วยถิ่นก�าเนิดสินค้า สินค้าทีจ่ะได้รบัสทิธพิเิศษในการลดภาษภีายใต้การค้าเสรอีาเซยีน-จนีจะต้องได้ถิน่ก�าเนดิสนิค้าตามกฎเกณฑ์ทีไ่ด้ตกลงกันดังนี้

    3.1 กฎทั่วไป

    ซึ่งเป็นกฎหลักหรือกฎทั่วไปใช้กับทุกสินค้าโดยมีหลักเกณฑ์ว่าด้วยถิ่นก�าเนิดสินค้าดังนี้

    • ผลิตภัณฑ์ที่ได้มาหรือผลิตขึ้นโดยใช้วัตถุดิบภายในประเทศทั้งหมด(WhollyObtainedGoods)หรือ

    • ผลติภณัฑ์ทีไ่ด้มาหรอืผลติขึน้โดยมไิด้ใช้วตัถดุบิภายในประเทศทัง้หมดโดยมสีดัส่วนของวตัถุดบิทีม่ถีิน่ก�าเนิดภายใน

    กลุ่มประเภทภาคี(อาเซียนและจีน)ไม่น้อยกว�่า40%ของราคาF.O.B.หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าRVC40%หรือ

    มสีดัส่วนของวตัถดุบิท่ีมีถิน่ก�าเนดิจากประเทศนอกภาคีอาเซยีน-จนีน้อยกว�า่60%สตูรการค�านวณสดัส่วนวตัถดุบิ

    นอกประเทศภาคีอาเซียน-จีนร้อยละ60ดังนี้

    ดังนั้น สัดส่วนวัตถุดิบอาเซียน-จีน:100%-วัตถุดิบจากประเทศนอกภาคอาเซียน–จีน=อย่างน้อย40%

    ส�ำนักสิทธิประโยชน์ทำงกำรค้ำกรมกำรค้ำต่ำงประเทศ4

    3. กฎว่าด้วยถิ่นก�าเนิดสินค้า

    สินค้ำที่จะได้รับสิทธิพิเศษในกำรลดภำษีภำยใต้กำรค้ำเสรีอำเซียน-จีนจะต้องได้ถิ่นก�ำเนิดสินค้ำตำมกฎเกณฑ์ที่ได้ตกลงกันดังนี้

    3.1 กฎทั่วไป ซึ่งเป็นกฎหลักหรือกฎทั่วไปใช้กับทุกสินค้ำ โดยมีหลักเกณฑ์ว่ำด้วยถิ่นก�ำเนิดสินค้ำดังนี้ - ผลิตภัณฑ์ที่ได้มำหรือผลิตขึ้นโดยใช้วัตถุดิบภำยในประเทศทั้งหมด(WhollyObtainedGoods)หรือ -ผลติภณัฑ์ทีไ่ด้มำหรอืผลติขึน้โดยมไิด้ใช้วตัถดุบิภำยในประเทศทัง้หมดโดยมสีดัส่วนของวตัถดุบิทีม่ถีิน่ก�ำเนดิภำยในกลุม่ประเทศภำคี(อำเซยีนและจนี)ไม่น้อยกว่ำ40%ของรำคำF.O.B.หรือเรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำRVC40%หรือมสีดัส่วนของวตัถดุบิทีม่ถีิน่ก�ำเนดิจำกประเทศนอกภำคอีำเซยีน-จนีน้อยกว่ำ60%

    สตูรกำรค�ำนวณสดัส่วนวตัถดุบินอกประเทศภำคอีำเซยีน-จีนน้อยกว่ำร้อยละ60ดงันี้

    ดงันัน้สดัส่วนวตัถดุบิอำเซยีน-จนี:100%-วตัถดุบิจำกประเทศนอกภำคอีำเซยีน-จนี=อย่ำงน้อย40%

    3.2. กฎเฉพาะสินค้า กฎน้ีเป็นกฎท่ีใช้กับสินค้ำเฉพำะรำยกำรกล่ำวคือ เป็นกฎที่ยกเว้นจำกกฎทัว่ไปโดยใช้กฎถิน่ก�ำเนดิสนิค้ำเฉพำะของแต่ละสนิค้ำ(ProductSpecificRule:PSR)แบ่งเป็น - กฎเฉพำะทำง (ExclusiveRule) จ�ำนวน 9 รำยกำร ได้แก่ เนยไอศรีม เศษผ้ำฝ้ำย เศษของขนแกะ วัสดุที่ท�ำจำกขนแกะขนแกะที่สำงแล้ว

    มูลค่ำของวัตถุดิบที่น�ำเข้ำจำกประเทศนอกเขตกำรค้ำเสรีอำเซียน-จีน

    รำคำเอฟ.โอ.บีx100%<60%

    +มลูค่ำของวตัถดุบิจำกแหล่งก�ำเนิดที่ปรำกฏไม่แน่ชัด

    3.2. กฎเฉพาะสินค้า

    กฎนี้เป็นกฎท่ีใช้กับสินค้าเฉพาะรายการ กล่าวคือเป็นกฎท่ียกเว้นจากกฎท่ัวไป โดยใช้กฎถ่ินก�าเนิดสินค้าเฉพาะของแต่ละสินค้า(ProductSpecicfiRule:PSR)แบ่งเป็น

    กฎเฉพาะทาง (Exclusive Rule) จ�านวน 9 รายการได้แก่เนยไอศครีมเศษผ้าฝ้ายเศษของขนแกะวัสดุที่ท�าจากขนแกะขนแกะที่สางแล้วเศษของขนสัตว์อื่นๆขนหย�าบของสัตว์ที่สางแล้วและมุกเลี้ยง

    กฎทางเลือก (Alternative Rule)ให้เลือกระหว่างRVC40%หรือกฎต่อไปนี้

    • กฎการเปลี่ยนพิกัดจ�านวน129รายการ

    • กฎการผลิตสิ่งทอจ�านวน426รายการ

    หมายเหตุดูกฎถิ่นก�าเนิดสินค้าได้ที่www.dft.go.th.

  • 12 13คู่มือ การใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้า ภายใต้ความตกลงอาเซียน-จีน

    ASEAN - CHINA FREE TRADE AGREEMENT : ACFTA

    ด้�นก�รบริก�รสินค้�

    อาเซียนและจีนได้ตกลงจะเปิดเสรีด้านการค้า บริการแบบค่อยเป็นค่อยไป หรือเรียกว่า “แบบก้าวหน้าเป็นล�าดับ” (ProgressivelyLiberalization)และจะลดหรือยกเลิกมาตรการท่ีมลัีกษณะเป็นการเลือกปฏบิตัริะหว่างคนในชาตกิบัคนต่างชาติให้แก่กัน รวมทั้งไม่ออกมาตรการใหม่ที่มีลักษณะเลือกปฏิบัติดังกล่าวด้วย

    ด้�นก�รลงทุน ความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน-จีน ลงนามโดยรัฐมนตรีเศรษบกิจ อาเซียน-จีน เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2552 ณกรุงเทพฯมีพันธกรณีหลักที่ส�าคัญคล้ายคลึงกับพันธกรณต่างๆ ที่มีอยู่ในความตกลงเพื่อการส่งเสริมและการคุ้มครอง การลงทุนที่ไทยจัดท�ากับต่างประเทศรวมถึงจีนทั้งนี้สามารถสรุปสารัตถะของความตกลงการลงทุนอาเซียน-จีนได้ดังนี้

    5.1 พันธกรณีของความตกลงฯ

    ประกอบด้วยส�าระส�าคัญ คือ (1) การส่งเสริมและอ�านวยความสะดวก (2) การให้ความคุ้มครองกับนักลงทุนของภาค ีและเงินลงทุนโดยครอบคลุมทั้งการลงทุนทางตรงและการลงทุนในหลักทรัพย์

    5.2 ขอบเขตของการส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุน

    ประกอบด้วย การปฏิบัติที่เป็นธรรมและเท่าเทียมกัน การชดเชยในกรณีเกิดเหตุการณ์ไม่สงบ การชดเชยในกรณีที่ม ีการเวนคืนการระงับข้อพิพาทระหว่างนักลงทุนกับรัฐเป็นต้น

    5.3 ประเด็นอื่นๆ ได้แก่ ประเด็นที่ไทยผลักดันให้รัฐสามารถด�าเนินมาตรก�ารเพื่อปกป้อง เสถยีรภาพทางการเงิน และอัตราแลกเปลี่ยนโดยแทรกอยู่ในบทบัญญติเรื่องการโอน(Transfer)และข้อยกเว้นทั่วไป(GeneralException)

  • 14 15คู่มือ การใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้า ภายใต้ความตกลงอาเซียน-จีน

    ASEAN - CHINA FREE TRADE AGREEMENT : ACFTA

    ด้�นคว�มร่วมมือท�งเศรษฐกิจ

    อาเซียนและจีน รวมทั้งไทยมีก�าหนดจะร่วมมือทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะ ใน 5 สาขาได้แก่ เกษตรกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาทรัพยากรมนษุย์การลงทุน การพัฒนาลุ่มแม่น�้าโขง และ ความร่วมมือด้านต่างๆ อาทิ ศุลกากร การปกป้องทรัพย์สินทางปัญญา การจัดตั้งศูนย์กลางในการอ�านวยความสะดวกและส่งเสริมการค้าและการลงทุน การพัฒนาความตกลงให้มีการยอมรับร่วมกัน (Mutual Recognition Arrangements: MRA) การด�าเนินการตาม แผนงานในกรอบความร่วมมืออนุมูลภาคแม่น�า้โขงและการให้ความช่วยเหลือประเทศสมาชิกใหม่อาเซียน

    คุณสมบัติของสินค้�ที่จะใช้สิทธิ

    พิเศษฯ ภ�ยใต้คว�มตกลงก�รค้�

    เสรีอ�เซียน-จีน

    ภายใต้ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-จีนมรีะเบยีบและข้อปฏบิตัใินการส่งออกสนิค้าไปจนีรวมทัง้เรือ่งกฎถิน่ก�าเนิดสนิค้าถือเป็นเรื่องหลักที่ผู ้ประกอบ การควรให้ความส�าคัญเพื่อให้สินค้าที่ผลิตสามารถน�ามาขอใช้สิทธิประโยชน์จาก ข้อตกลงการค้าเสรีอาเซียน-จีนได้ซึ่งข้อมูลที่ผู้ประกอบการและผู้ส่งออกจ�าเป็นต้องทราบคือ

    7.1 สินค้าที่จะขอสิทธิภายใต้ความตกลงอาเซียน-จีน จะต้องอยู่ในรายการที่ได้รับสิทธิของประเทศผู้ให้สิทธิ

    7.2 สินค้าที่จะขอรับสิทธิภายใต้ความตกลงอาเซียน-จีน

    จะต้องมีถิ่นก�าเนิดในประเทศผู้รับสิทธิโดยมีการผลิตถูกต้องตามกฎถิ่นก�าเนิดสินค้าที่ก�าหนดไว้

    7.3 มีการส่งตรงจากประเทศผู้รับสิทธิไปยังประเทศปลายทาง

    ทั้งนี้จะต้องมีหนังสือรับรองถิ่นก�าเนิดสินค้า(FormE)ที่ออกโดยเจ้าหน้าที่ที่มีอ�านาจของประเทศผู้รับสิทธิไปแสดงต่อศุลกากรปลายทางเพื่อขอรับสิทธิพิเศษทางภาษีภายใต้ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-จีน

  • 16 17คู่มือ การใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้า ภายใต้ความตกลงอาเซียน-จีน

    ASEAN - CHINA FREE TRADE AGREEMENT : ACFTA

    วิธีปฏิบัติ ในก�รยื่นขอหนังสือ

    รับรองถ่ินกำ�เนิดสินค้� Form E

    8.1 ผู้ส่งออกจะต้องขึ้นทะเบียนขอมีบัตรประจ�าตัวผู้น�าเข้าส่งออก

    8.2 การยื่นขอหนังสือรับรองฯ Form E ผู้ส่งออกจะต้องแสดงบัตรประจ�าตัวผู้น�าเข้าส่งออกพร้อมยื่นค�าขอ

    หนังสือรับรอง

    ถิ่นก�าเนิดสินค้าFormE(ผนวก1)และFormE(ผนวก2)ที่ได้พิมพ์ข้อความครบถ้วนถูกต้องต่อหน่วยงานที่มีอ�านาจออกหนังสือรับรองฯของกรมการค้าต่างประเทศพร้อมเอกสารที่ต้องใช้ประกอบกสรยื่นขอFormEได้แก่ (1) ต้นฉบับใบก�ากับสินค�้า (Invoice)หรือส�าเนาคู่ฉบับ (2) ต้นฉบับใบตราส่งสินค�้า(BillofLading)(3) แบบขอรับการตรวจคุณสมบัติของสินค้าทางด้านถ่ินก�าเนิดสินค้า ภายใต้ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-จีน (พิกัดตอนที ่ 01-24) (ผนวก 3)หรือผลการตรวจสอบคุณสมบัติทางด้านถิ่นก�าเนดิของสินค้า (พิกัด ตอนที่ 25-97) (ผนวก 4)หมายเหตุสินค้าภายใต้พิกัด25-27ผู้ส่งออกจะต้องยื่นขอตรวจสอบคุณสมบัติถิ่นก�าเนิดสินค้า โดยยื่นแบบขอรับการตรวจคุณสมบัติถิ่นก�าเนิดสินค้าที่จะขอใช้สิทธิฯ ท้ังนี้สินค้าพิกัดเดียวกัน และใช้วัตถุประเภทเดียวกันให้ยื่นค�าขอเพียงชุดเดียว

    ผลที่ค�ดว่�จะได้รับ การจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน-จีนท�าให้ประเทศสมาชกิอาเซยีนรวมท้ังไทยจะได้รับประโยชน์จากความได้เปรียบของสิทธิประโยชน์ภายใต้ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-จีนอาทิอัตราภาษีน�าเข้าต�่าก่อนประเทศ/กลุ่มประเทศอื่นซึ่งจะช่วยเพ่ิมความสามารถในการเข้าตลาดจนีซ่ึงเป็นตลาดขนาดใหญ่โดยมปีระชากรถงึ1,300ล้านคนนอกจากน้ียงัได้รบัประโยชน์ในการบริโภคสินค้าน�าเข้าจากจีนที่มีราคาถูก โดยเฉพาะสินค้าวัตถุดิบเครื่องจักรและสินค้าทุนอื่นๆซึ่งจะท�าให้ต้นทุนการผลิตของไทยลดลงและเพิม่ความสามารถในการแข่งขนัในตลาดต่างประเทศมากข้ึน

    9.1 สินค้าส่งออก

    รายการสินค้าที่ไทยมีศักยภาพ และน่าจะได้รับประโยชน์จากการเปิดเสรีการค้าสินค้าอาเซียน-จีนจากการส่งออกไปจีนได้มากขึ้นเช่นผลิตภัณฑ์ มันส�าปะหลัง เคมีภัณฑ์อินทรี สารแอลบูมินอยด์ พลาสติกและของใช้ ที่ท�าด้วยพลาสติกผลิตภัณฑ์ยางบางชนิดหนังฟอกเครื่องจักรบางชนิดและอุปกรณ์เครื่องใช้ทางการแพทย์เป็นต้น

    9.2 สินค้าน�าเข้าสิน ค้าเกษตร

    จ�าพวกผลไม้และพืชผักต่างๆเช่นสตอรเบอร์รี่สัมแมนดารินองุ่นแพร์ควินซ์เทอร์นิปกะหล�่าดอกแคร์รอต เห็ดชนิดต่างๆและเกาลัดเป็นต้นส่วนสินค้าวัตถุดิบและสินค้าทุนอื่นๆที่ไทยจะได้รับประโยชน์จากการน�าเข้าสินค้าราคาถูกจากจีนเช่นปุ๋ยเคมีภัณฑ์และสินค้าทุนประเภทเครื่องจักรเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าเป็นต้น

    9.3 สถานะล่าสุด มีการปรับปรุงระเบียบปฏิบัติในการออกหนังสือรับรองถิ่นก�าเนิดสินค้า Form E (Operational Certiffi ication Procedures-OCP)ภายใต้กรอบความตกลงFTAอาเซียน-จีนเพื่อช่วยส่งเสริมการค้าที่ผ่านคนกลางดังนี้

    9.3.1 Back to Back C/O ประเทศที่น�าเข้าที่เป็นภาคีจะได้รับC/Oจากประเทศผู้ส่งออกที่เป็นภาคีแต่ในกรณีที่เป็นการค้าผ่านคนกลาง ผู้น�าเข้าในประเทศภาคีสามารถที่จะ re-export สินค้านั้นทั้งหมด หรือบางส่วนไปยังประเทศ ที่สามที่เป็นภาคี โดยจะต้องน�าC/Oต้นฉบับ ไปขอออกC/OฉบบัBacktoBackเพ่ือขอรบัสทิธพิิเศษด้านภาษใีนประเทศที่สาม โดยฝ่ายจีนขอเปลี่ยนชื่อBacktoBackC/Oเป็นMovementCertifification(MC)

    9.3.2 Third Party Invoicing ในกรณีปกติผู้ส่งออกต้องน�าInvoiceของตนเองมาประกอบการยื่นขอC/Oแต่ในกรณีการค้าผ่านคนกลางของประเทศที่สาม ที่สั่งซื้อสินค้าจากประเทศผู้ส่งออกผู่ส่งออกมีสิทธิ์ใช้Invoiceของประเทศที่สามที่เป็นคนกลางมายื่นขอC/Oได้ เพื่อให้ระบุราคาสินค้าของประเทศที่สาม ไว้ในC/Oฉบับนั้น ในการส่งสินค้าไปยังประเทศผู้น�าเข้า

  • 18 19คู่มือ การใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้า ภายใต้ความตกลงอาเซียน-จีน

    ASEAN - CHINA FREE TRADE AGREEMENT : ACFTA

    Movement Certification (MC) หรือ Back to Back C/O

    Third Party Invoicing

    หน่วยง�นที่ให้บริก�รออกหนังสือ

    รับรองแหล่งกำ�เนิดสินค�้

    10.1 เขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล

    • ส�านักบริการการค้าต่างประเทศอาคารกรมการค้าต่างประเทศชั้น3สนามบินน�้า

    จ.นนทบุรีโทร0-0547-4753,0-2547-4832 โทรสาร0-2547-4754-7

    • อาคารตรวจสอบสินค้าขาออกเขตปลอดอากรตึกซีอี-1ชั้น2ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

    โทร02-134-0942-5โทรสาร02-134-0946

    • อาคารกองตรวจสินค้าขาออกกรมศุลกากรท่าเรือกรุงเทพฯ

    โทร0-2249-2106,0-2240-2232 โทรสาร0-2249-2106

    • ศูนย์บริการส่งออกแบบเบ็ดเสร็จกรมส่งเสริมการส่งออกถนนรัชดาภิเษก

    “โทร0-2512-0123ต่อ817-8โทรสาร0-2515-0329

    ส�ำนักสิทธิประโยชน์ทำงกำรค้ำกรมกำรค้ำต่ำงประเทศ10

    Movement Certifif ication (MC) หรือ Back to Back C/O

    Third Party Invoicing

    ออกFormE(ต้นฉบับ)

    ประเทศผู้ผลิตสินค้ำ

    สั่งผลิดสินค้ำ

    เก็บFormEต้นฉบับไว้แล้วออกFormEฉบับ

    MovementCertifif ication(MC)

    ส่งออกสินค้ำและFormEฉบับThirdPartyInvoicing

    พร้อมInvoice2

    ไทย

    ไทย(ผู้ผลิต)ออกInvoice1

    สิงคโปร์(TradingFirm)ออกInvoice2

    จีนผู้น�ำเข้ำสินค้ำ

    เวียดนำม

    จีน

    ส�ำนักสิทธิประโยชน์ทำงกำรค้ำกรมกำรค้ำต่ำงประเทศ10

    Movement Certifif ication (MC) หรือ Back to Back C/O

    Third Party Invoicing

    ออกFormE(ต้นฉบับ)

    ประเทศผู้ผลิตสินค้ำ

    สั่งผลิดสินค้ำ

    เก็บFormEต้นฉบับไว้แล้วออกFormEฉบับ

    MovementCertifif ication(MC)

    ส่งออกสินค้ำและFormEฉบับThirdPartyInvoicing

    พร้อมInvoice2

    ไทย

    ไทย(ผู้ผลิต)ออกInvoice1

    สิงคโปร์(TradingFirm)ออกInvoice2

    จีนผู้น�ำเข้ำสินค้ำ

    เวียดนำม

    จีน

  • 20 21คู่มือ การใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้า ภายใต้ความตกลงอาเซียน-จีน

    ASEAN - CHINA FREE TRADE AGREEMENT : ACFTA

    10.2 เขตภูมิภาค

    • ส�านักงานการค้าต่างประเทศเขต1(เชียงใหม่)

    โทร0-5327-4671-2โทรสาร0-5327-7901

    • ส�านักงานการค้าต่างประเทศเขต2(หาดใหญ่)

    โทร.0-7425-2501-2โทรสาร0-7425-2501

    • ส�านักงานการค้าต่างประเทศเขต3(ชลบุรี)

    โทร0-3834-1173-4โทรสาร0-3834-1174

    • ส�านักงานการค้าต่างประเทศเขต4(สระแก้ว)

    โทร0-3742-5062โทรสาร0-3742-5063

    • ส�านักการค้าต่างประเทศเขต5(หนองคาย)

    โทร0-4241-3373-5โทรสาร0-4241-3376

    • ส�านักงานการค้าต่างประเทศเขต6(เชียงราย)

    โทร0-5371-9612-4โทรสาร0-5371-9615

    • ทั้งนี้สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ส�านักสิทธิประโยชน์ทางการค้า

    โทร.1385ต่อ4859หรือสายตรง0-2547-4855โทรสาร0-2547-4816

    E-mail:[email protected]

  • 22 23คู่มือ การใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้า ภายใต้ความตกลงอาเซียน-จีน

    ASEAN - CHINA FREE TRADE AGREEMENT : ACFTAส�ำนักสิทธิประโยชน์ทำงกำรค้ำกรมกำรค้ำต่ำงประเทศ12

    ภาคผนวก 1ค�าขอหนังสือรับรองถิ่นก�าเนิดสินค้า Form E

    ส�ำนักสิทธิประโยชน์ทำงกำรค้ำกรมกำรค้ำต่ำงประเทศ 13

  • 24 25คู่มือ การใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้า ภายใต้ความตกลงอาเซียน-จีน

    ASEAN - CHINA FREE TRADE AGREEMENT : ACFTAส�ำนักสิทธิประโยชน์ทำงกำรค้ำกรมกำรค้ำต่ำงประเทศ14

    ภาคผนวก 2ตัวอย่าง Form E

    ส�ำนักสิทธิประโยชน์ทำงกำรค้ำกรมกำรค้ำต่ำงประเทศ 15

  • 26 27คู่มือ การใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้า ภายใต้ความตกลงอาเซียน-จีน

    ASEAN - CHINA FREE TRADE AGREEMENT : ACFTAส�ำนักสิทธิประโยชน์ทำงกำรค้ำกรมกำรค้ำต่ำงประเทศ16

    ภาคผนวก 3แบบขอรับการตรวจคุณสมบัติทางด้านถิ่นก�าเนิด

    เพื่อขอใช้สิทธิพิเศษทางด้านภาษีศุลกากร (พิกัดศุลกากร 01-24)

    ส�ำนักสิทธิประโยชน์ทำงกำรค้ำกรมกำรค้ำต่ำงประเทศ 17

  • 28 29คู่มือ การใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้า ภายใต้ความตกลงอาเซียน-จีน

    ASEAN - CHINA FREE TRADE AGREEMENT : ACFTAส�ำนักสิทธิประโยชน์ทำงกำรค้ำกรมกำรค้ำต่ำงประเทศ18

    ภาคผนวก 4แบบขอรับการตรวจคุณสมบัติทางด้านถิ่นก�าเนิด

    เพื่อขอใช้สิทธิพิเศษทางด้านภาษีศุลกากร (พิกัดศุลกากร 25-97)

    ส�ำนักสิทธิประโยชน์ทำงกำรค้ำกรมกำรค้ำต่ำงประเทศ 19

  • 30 31คู่มือ การใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้า ภายใต้ความตกลงอาเซียน-จีน

    ASEAN - CHINA FREE TRADE AGREEMENT : ACFTAส�ำนักสิทธิประโยชน์ทำงกำรค้ำกรมกำรค้ำต่ำงประเทศ20 ส�ำนักสิทธิประโยชน์ทำงกำรค้ำกรมกำรค้ำต่ำงประเทศ 21

  • 32 33คู่มือ การใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้า ภายใต้ความตกลงอาเซียน-จีน

    ASEAN - CHINA FREE TRADE AGREEMENT : ACFTA

    ส�ำนักสิทธิประโยชน์ทำงกำรค้ำกรมกำรค้ำต่ำงประเทศ22

  • 34 35คู่มือ การใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้า ภายใต้ความตกลงอาเซียน-จีน

    ASEAN - CHINA FREE TRADE AGREEMENT : ACFTA