ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ...

77
1 รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการแตงประโยค โดยใชแบบฝกทักษะ เพื่อแกปญหาการอานและการเขียน ชั้นประถมศึกษาปที3 โรงเรียนบานภูดิน ของ นายสําเริง ดีมาก ครู คศ. 2 โรงเรียนบานภูดิน อําเภอปทุมรัตต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษารอยเอ็ด เขต 2 สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Upload: others

Post on 09-Aug-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

1

รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการแตงประโยค

โดยใชแบบฝกทักษะ เพ่ือแกปญหาการอานและการเขียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนบานภูดิน

ของ นายสําเริง ดีมาก

ครู คศ. 2

โรงเรียนบานภูดิน อําเภอปทุมรัตต

สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษารอยเอ็ด เขต 2 สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

Page 2: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

2

ช่ืองานวิจยั การพัฒนาทักษะการแตงประโยคโดยใชแบบฝก เพื่อแกปญหาการอานและการเขียน

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ช่ือนักศึกษา นายสําเริง ดีมาก ช่ือโรงเรียน /สถานศึกษา โรงเรียนบานภูดิน อําเภอปทุมรัตต

สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษารอยเอ็ดเขต 2 ช่ืออาจารยท่ีปรึกษา อาจารยชัชวาล เปานาเรียง ปท่ีทําการวิจยั ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ การศึกษาคนควาคร้ังนี้ มีจุดมุงหมายเพื่อพัฒนาแบบฝกทักษะภาษาไทย เร่ือง การพัฒนาทักษะ การแตงประโยค โดยใชแบบฝกทักษะเพือ่แกปญหาการอานและการเขียน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 และเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เพื่อศึกษาวิธีการแตงประโยคของนักเรียนช้ันประศึกษาปที 3 กลุมตัวอยางคือ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 โรงเรียนบานภดูิน อําเภอปทุมรัตต สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา รอยเอ็ด เขต 2 ปการศึกษา 2549 จํานวน 14 คน ไดมาโดยวิธีการสุมอยางงายแบบจบัฉลาก เคร่ืองมือท่ีใชไดแก แผนการจัดการเรียนรูวิชาภาษาไทย 5 แผน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง การพัฒนาการใชประโยคคําถามและประโยคคําตอบ จํานวน 30 ขอ ใชเวลาทดสอบ 45 นาที สถิติท่ีใชไดแก รอยละคาเฉล่ียสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และทดสอบผลสัมฤทธ์ิโดยใช t – test แบบDependent Sample

ผลการศึกษาพบวา นักเรียนท่ีเรียนโดยการใชแบบฝกปฏิบัติมีคะแนนเฉล่ียหลังเรียนสูงกวากอนเรียนมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

Page 3: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

3

สารบัญ บทท่ี หนา บทนํา 2

จุดมุงหมายหรือวัตถุประสงคของการศึกษา 3 ความสําคัญของการศึกษา 3 สมมุติฐานการศึกษา 3 นิยามศัพทเฉพาะ 4

บทที่2 เอกสารและงานวิจยัท่ีเกี่ยวของ 5 จุดมุงหมายของหลักสูตรภาษาไทย 5 หลักสูตรและโครงสราง 6

บทท่ี3 วิธีดําเนินการวิจัย วิธีดําเนนิงานวิจัย 7 ประชากรกลุมตัวอยาง 7 แบบแผนท่ีใชในการศึกษา 7 ระยะเวลาทําการทดลอง 8 เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษา 9 วิธีการดําเนนิการสรางเคร่ืองมือ 9 การเก็บรวบรวมขอมูล 10 การวิเคราะหขอมูล 10 สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล 10

บทท่ี4 ผลการวิเคราะหขอมูล 14 การวิเคราะหขอมูล 14

บทท่ี5 สรุปผล อภิปรายผล และเสนอแนะ 17 วัตถุประสงคของการศึกษา 17 วิธีดําเนนิการศึกษา 17 เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษา 17 การเก็บรวบรวมขอมูล 18 การวิเคราะหขอมูล 18 สรุปผลการศึกษา 18 อภิปรายผล 18 บรรณานุกรม 18

Page 4: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

4

ภาคผนวก แผนการสอนวิชาภาษาไทยโดยใชแบบฝกทักษะการพัฒนาการแตง

ประโยคคําถามและประโยคคําตอบ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 19 เคร่ืองมือท่ีใชเก็บรวบรวมขอมูล เกม เธอไปไหนกับใคร 23

Page 5: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

5

บทที่ 1 บทนํา

ภูมิหลัง ภาษาไทยเปนเคร่ืองมือท่ีใชส่ือสาร เพื่อใหเกดิความเขาใจตรงกัน และตรงตามจุดมุงหมาย ไมวาจะเปนการแสดงความคิด แสดงความตองการ ความรูสึก คําในภาษาไทยยอมประกอบดวย เสียง รูป พยัญชนะ สระ วรรณยกุต และความหมาย สวนประโยค เปนการเรียงตําตามหลักเกณฑของภาษาเพื่อจะไดเขาใจความหมาย และประโยคหลายประโยคเรียงกันเปนขอความ นอกจากคําในภาษาไทยแลว ยังมีเสียงหนักเสียงเบา มีระดับของภาษา ซ่ึงจะตองใชใหเหมาะสมกบักาลเทศะและบุคคล ภาษายอมมีการเปล่ียนแปลงตามเวลา ตามสภาพวัฒนธรรมของกลุมคนในการใช ไมวาจะเปนการอาน การเขียน การพูดและการฟง และการดูส่ือตาง ๆ จะตองใชใหถูกหลักเกณฑของภาษา เพื่อการส่ือสาร ใหเกิดประสิทธิภาพ ไมใหเกดิความผิดพลาดในการใชภาษา ซ่ึงภาษาไทยถือวาเปนเอกลักษณประจําชาติเปนสมบัติทางวัฒนธรรม อันกอใหเกดิความเปนเอกภาพและเสริมสรางบุคลิกภาพของคนคนในชาติ ใหมีความเปนไทย ทําใหสามารถประกอบกิจธุรการงาน และการดํารงชีวิตรวมในสังคมประชาธิปไตย ไดอยางสันติสุขและเปนเคร่ืองมือในการตดิตอส่ือสารเพ่ือแสวงหาความรูและประสบการณ จากแหลงขอมูลสารสนเทศตางๆ เพื่อพัฒนาความรู ความคิดวิเคราะหวจิารณ และสรางสรรคใหทัน ตอเหตุการณเปล่ียนแปลงทางสังคมและความกาวหนาทางวิทยาศาสตรเทคโนโลยี ตลอดจนนําไปใช ในการพัฒนาการอาชีพใหมีความม่ันคงทางสังคมและเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเปนส่ือท่ีแสดงภูมิปญญา ของบรรพบุรุษดานวัฒนธรรม ประเพณี ชีวะทัศน โลกทัศน และสุนทรียภาพโดยบันทึกไวเปนวรรณคดี และวรรณกรรมอันลํ้าคา ภาษาไทยจึงเปนสมบัติของชาติท่ีควรแกการเรียนรูเพื่ออนรัุกษและสืบสาน ใหคงท่ีตอไป ( กรมวิชาการ. 2545 ข : 1) ดวยความสําคัญดังกลาว หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2544 กําหนดใหภาษาไทยเปนเคร่ืองมือการเรียนรู ท่ีใชในการส่ือสาร ส่ือความหมาย ความคิดความเขาใจท่ีมีความหมายเปนเอกลักษณทางวฒันธรรมประจําชาติ เกิดความช่ืนชม ซาบซ้ึง เห็นคุณคาและภูมิใจในวรรณคดี วรรณกรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน มีความรูมีคุณธรรมจริยธรรม มีทักษะกระบวนการแสวงหาความรู ดานการฟง พูด อาน เขียน และ เทคโนโลยีในการดํารงชีวิต และอยูในสังคมอยางมีความสุข ( กรมวิชาการ. 2545 ก : 8-10) การจดัการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพืน้ฐาน พุทธศักราช 2544 ซ่ึงกําหนดวา การจดัการศึกษา ตองยึดหลักวา ผูเรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู และพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญท่ีสุด กระบวนการจัดการเรียนการสอนจะตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตนเอง ใหเต็มศักยภาพ ใชการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ ใหผูเรียนเรียนอยางมีความสุข จากการเรียนรู แบบองครวม การบูรณาการเนื้อหาสาระเขาดวยกัน ผูเรียนจะตองรูวิธีเรียนใหประสบผลสําเร็จ รูวิธีการแสวงหาความรู รูวิธีคิดวิเคราะหขอมูลขาวสาร สามารถใชทักษะทางภาษาเพ่ือการอภิปราย

Page 6: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

6

การรายงาน การแสวงหาความรู สามารถจดบันทึกความรูจัดหาหมวดหมูความรูและเช่ือมโยงความรูใหมและขอมูลขาวสารไดอยางเปนระบบ เรียนรูจากส่ิงท่ีใกลตัวในชุมชน สังคมประเพณส่ิีงแวดลอม ของสังคมโลก ใหเรียนรูอยางอิสระ มีความรับผิดชอบ มีวินัยและคานยิมท่ีพึงประสงค สามารถอยูรวมกับผูอ่ืนได มีสวนรวมในกระบวนการเรียนรู สามารถนําความรูไปใชได ( กรมวิชาการ. 2545 ค : 101-103) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 กําหนดใหมีระบบประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานทุกระดับ ประกอบดวยระบบประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก มาตรฐานดานกระบวนการโดยเฉพาะมาตรฐานท่ี 18 ไดกําหนดเกี่ยวกับการจดักิจกรรมการเรียนการสอนอยางหลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาติและสนองความตองการของผูเรียน กระตุนใหผูเรียนรูจกัคิดวิเคราะห สังเคราะห คิดสรางสรรค คิดแกปญหาและตัดสินใจ ใหผูเรียนรูศึกษาหาความรูแสวงหาคําตอบ และสรางองคความรูดวยตนเอง มีการนําเอาภูมิปญญาทองถ่ินเทคโนโลยีและส่ือท่ีเหมาะสมมาประยุกตใชในการจดัการเรียนการสอน มีการจัดกิจกรรมเพ่ือฝกและสงเสริมคุณธรรมและจริยธรรมของผูเรียน ผูเรียนจะไดรับการพัฒนาสุนทรียภาพอยางครบถวน ท้ังทางดานดนตรี ศิลปะ และการกีฬา สงเสริมการเปนประชาธิปไตย การทํางานรวมกบัคนอ่ืน มีการประเมินพัฒนาการเรียนรูดวยวิธีการท่ีหลากหลายและตอเนื่อง การสอนภาษาไทยใหบรรลุวัตถุประสงคและมีประสิทธิภาพนัน้ จําเปนตองฝกฝนทักษะตางๆ ใหสัมพันธกนัท้ังทักษะการรับเขามาคือการอาน และการฟง กับลักษณะท่ีถายทอดออกไปคือการพูดและการเขียน โดยเฉพาะการอานเปนส่ิงจําเปน และใหประโยชนทุกดาน และทุกโอกาสท้ังในดานการศึกษาหาความรู การปกครอง อาชีพและการพกัผอนหยอนใจ การอานจะชวยเพิ่มพูนความรูความคิดของคนเรามากยิ่งข้ึน การแกปญหาการพูดและการอานไมชัดเจนตองเร่ิมศึกษาถึงสาเหตุนั่นคือ ศึกษาท่ีทําใหเด็กออกเสียงไมชัดเจน การเขียน การเรียงคําในประโยคไมถูกตองความหมายก็จะผิดไป สภาพการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยในโรงเรียนระดับประถมศึกษาในปจจุบันพบวามีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนมีคะแนนเฉล่ียคอนขางตํ่า ซ่ึงทักษะท่ีมีปญหาไดแกทักษะการอานและเขียน ปญหาการใชภาษาไทยคือการอานออกเสียงพยัญชนะ สระ วรรณยกุตไมชัดเจนปจจัยลําดับท่ีเกี่ยวของกับปญหาดังกลาวคือ ครูมีช่ัวโมงสอนมากและตองสอนทุกวชิาจึงทําใหการจัดการเรียนการสอนไมมีประสิทธิภาพมากเทาท่ีควรหลักการและแนวคิดในการจัดกจิกรรมการเรียนการสอนท่ีสงเสริมการเรียนรูของนักเรียนไดแก การมุงเนนใหนักเรียนไดแสดงออกและมีสวนรวมในการจดักิจกรรมท่ีเนนการฝกและพัฒนาทั้ง 4 ดาน ใหสัมพันธกัน ( กรมวิชาการ. 2539 :6 ) โดยเฉพาะการอานและการเขียนเปนเคร่ืองมือท่ีสําคัญในการแสวงหาความรู ซ่ึงจะทําใหคนไทยเปนผูท่ีทันสมัยทันตอเหตุการณท่ีเกดิข้ึน ฉะนั้นเราจําเปนตองมีทักษะในการอานและการเขียน จําเปนท่ีครู ผูปกครองตลอดจนผูเกี่ยวของควรใหความสําคัญตอการอานและการเขียนอยางแทจริงโดยเฉพาะในระดับประถมศึกษา ( สุรพล คํามะณีจันทร.2539 : 12 )

Page 7: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

7

จากปญหาดังกลาว ผูวจิัยจะปรับปรุงใหดีข้ึนไดดวยการใชแบบฝกทักษะการแตงประโยคคําถามและประโยคคําตอบ เพื่อแกปญหาการอานและการเขียน ท่ีผูวิจยัทําข้ึนในระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ซ่ึงเปนข้ันพื้นฐาน ถาเด็กไดรับโอกาสฝกบอย ๆ การแตงประโยคและเขียนประโยคบอย ๆจะทําใหเกิดความเคยชินจนกระท่ังสามารถอานและเขียนไดโดยอัตโนมัติ การฝกทักษะทางภาษาของครู ควรจัดกจิกรรมเพื่อสงเสริมทักษะทางภาษาใหแกนกัเรียน โดยเร่ิมใชแบบฝกทักษะการอานครูตองใชวิธีการสะกดคําและฝกออกเสียงใหกับนักเรียนโดยตองฝกบอย ๆเพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยใหมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน

จุดมุงหมายหรือวัตถุประสงคของการศึกษา

1. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน กอนเรียนและหลังเรียน 2. เพื่อศึกษาวิธีการใชและการแตงประโยคของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3ท่ีมีตอแบบฝก

การพัฒนาการแตงประโยคคําถามและประโยคคําตอบ

ความสําคญัของการศึกษา 1. ไดแผนการจัดการเรียนรูวิชาภาษาไทยเร่ืองการแตงประโยคในระดับประถมศึกษาเพื่อเปนแนวทางพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย 2. ไดแนวทางพัฒนารูปแบบและแนวทางในการแสวงหานวัตกรรม ตลอดจนเทคนิควิธีการสอนใหมๆ มาใชในกาเรียนการสอนเร่ืองการแตงประโยคใหมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน 3. ไดแนวทางในการพัฒนาทักษะการแตงประโยคของช้ันประถมศึกษาปท่ี 3

ขอบเขตของการศึกษาคนควา ประชากรตัวอยาง 1. ประชากรที่ใชไดแก นกัเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 โรงเรียนบานภูดนิ อําเภอปทุมรัตต สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษารอยเอ็ด เขต 2 ปการศึกษา 2549 จํานวน 14 คน 2. ตัวแปรท่ีใชในการศึกษา แบงเปน 2.1 ตัวแปรตน ( Independent Variable) ไดแก เทคนิคการสอนภาษาไทยเร่ือง การพัฒนาการแตงประโยคําถามและประโยคคําตอบ เนนรูปแบบการใชภาษาการส่ือสาร 2.2 ตัวแปรตาม (Dependent Variable) ไดแก 2.2.1 ความรูเร่ือง ประโยคคําถาม และประโยคตําตอบ วิชาภาษาไทยช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 2.2.2 ความพึงพอใจตอการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย เร่ือง การพฒันาการแตงประโยคคําถามและประโยคคําตอบอยูในระดบัด ี

Page 8: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

8

3. ระยะเวลา เวลาในการทดลองปฏิบัติการสอน ระหวางวันท่ี 2 กุมภาพนัธ 2550 ถึง 27 กุมภาพนัธ 2550 ในภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2549

สมมุติฐานของการศึกษา นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ท่ีเรียนโดยใชแบบฝกทักษะ เร่ือง การพัฒนาการแตงประโยค โดยใชแบบฝกทักษะ เพื่อแกปญหาการอานและการเขียน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน

นิยามศัพทเฉพาะ

1. การสอนโดยการใชแบบฝกทักษะการแตงประโยค หมายถึง การใชกระบวนการสอนที่เนนแบบฝกท่ีผูวิจยัสรางข้ึนในการใชภาษาไทยใหถูกตองตามหลักภาษา เหมาะสมกับเหตุการณ และกาลเทศะ 2. ผลสัมฤทธ์ิ หมายถึง คะแนนของนักเรียนท่ีไดจากการทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาไทยช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ท่ีไดรับการสอนโดยการใชแบบฝกทักษะท่ีมุงเนนรูปแบบในการสอนหลักการใชภาษาในลักษณะของการส่ือสารในรูปของการแตงประโยค เร่ือง การพัฒนาการใชประโยคคําถามและประโยคคําตอบท่ีผูวิจัยสรางข้ึนและไดหาคุณภาพแลว 3. แผนการจัดการเรียนรู หมายถึง แผนการหรือโครงการท่ีจัดทําข้ึนไวเปนลายลักษณอักษร ไดผานผูเช่ียวชาญตรวจสอบเน้ือหาและกระบวนการหรือข้ันตอนการสอนในวิชาภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ซ่ึงเปนเคร่ืองมือท่ีใชในการทดลอง ไมรวมในแผนการจัดการเรียนรูในช้ันปกติ 4. การพัฒนาแบบฝกทักษะ หมายถึง การปรับปรุงแบบฝกเสริมทักษะฟง การพูด การอาน การเขียนเร่ืองการแตงประโยคคําถามและประโยคคําตอบ 5. ความสามารถในการฟง การพดู การอาน การเขียนประโคคําถามและประโยคคําตอบ หมายถึงความสามารถของนักเรียนท่ี ฟง พูด อาน เขียน แลวแตงเปนประโยคจากคํางาย ๆ ซ่ึงเปนพื้นฐานของการแตงประโยคไดถูกตองชัดเจน โดยวัดจากแบบฝกทักษะท่ีผูวิจัยสรางข้ึน

Page 9: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

9

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในการศึกษาแนวทางสําหรับการศึกษาวิจยัผลการสอนวชิาภาษาไทย เร่ือง การพัฒนา การแตงประโยคคําถามและประโยคตําตอบ โดยใชแบบฝกทักษะ ผูวจิัยไดศึกษาคนควาเอกสารงานวิจยัท่ีเกี่ยงของ เพื่อใหเกิดความเขาใจ ในเร่ืองท่ีศึกษาใหชัดเจนยิ่งข้ึน โดยไดเรียบเรียงตามลําดับเร่ืองดังนี้

1. เอกสารเกี่ยวกบัการสอนวิชาภาษาไทย จุดมุงหมายของหลักสูตรภาษาไทย พุทธศักราช 2544 หลักสูตรและโครงสรางของภาษาไทยในระดับประถมศึกษา พุทธศักราช 2544 หลักการสอนภาษาไทยในระดับประถมศึกษา

2. งานวิจยัท่ีเกี่ยวของ งานวิจยัในประเทศ งานวิจยัตางประเทศ

เอกสารที่เกี่ยวของกับการสอนภาษาไทย จุดมุงหมายของหลักสูตรภาษาไทย พุทธศักราช 2544

1. สามารถใชภาษาส่ือสารไดอยางด ี2. สามารถอาน เขียน ฟง พดู ไดอยางมีประสิทธิภาพ 3. มีความคิดริเร่ิมสรางสรรค อยางมีเหตุผล และคิดเปนระบบ 4. มีนิสัยรักการอาน การเขียน การแสวงหาความรู และใชภาษาในการพัฒนาตน

และสรางสรรคงานอาชีพ 5. ตระหนกัในวฒันธรรม การใชภาษาและความเปนไทย ภูมิใจและช่ืนชมในวรรณคดี

และวรรณกรรม ซ่ึงเปนภูมิปญญาของคนไทย 6. สามารถนําทักษะทางภาษามาประยุกตใชในชีวิตประจําวนัไดอยางมีประสิทธิภาพ

และถูกตองตามกาลเทศะ และบุคคล 7. มีมนุษยสัมพนัธท่ีดี และสรางความสามัคคีในความเปนชาติไทย 8. มีคุณธรรม จริยธรรม และวิสัยทัศน โลกทัศนท่ีกวางไกล และลึกซ้ึง

หลักสูตรและโครงสรางของวิชาภาษาไทยในระดับประถมศึกษา หลักสูตรภาษาไทยในระดบัประถมศึกษา พุทธสักราช 2544 ไดกําหนดไวดังนี ้

1. หลักสูตรการศึกษาข้ันพืน้ฐาน พุทธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย หลักสูตรการศึกษาข้ันพืน้ฐาน พุทธศักราช 2544

Page 10: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

10

หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 มีหลักการและแนวทางในการจัดการศึกษาดังตอไปนี้ ( กรมวชิาการ. 2545 ก : ก-34)

หลักการ เพื่อใหการจัดการศึกษาข้ันพืน้ฐานเปนไปตามนโยบายการจดัการศึกษา ของประเทศจงึกําหนดหลักการของหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานดังนี ้

1.1.1.1เปนการศึกษาเพื่อความเปนเอกภาพของชาติ มุงเนนความเปนไทยควบคูกับ ความเปนสากล

1.1.1.1.เปนการศึกษาเพื่อปวงชน สังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา ทุกคนไดรับการศกึษาอยางเสมอภาค

สงเสริมผูเรียนไดเรียนดวยตนเองอยางตอเนื่องตลอดชีวติ โดยถือวาผูเรียนมี ความสําคัญท่ีสุด สามารถพัฒนาไดตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ เปนหลักสูตรท่ีมีความยืดหยุนท้ังในดานสาระและเวลา และการจดัการเรียนรู เปนหลักสูตรท่ีสามารถเทียบโอนผลการเรียนรูได จุดหมาย หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานมุงพัฒนาใหคนไทยมีคุณลักษณะอันพึง ประสงคตอไปนี้ เห็นคุณคา มีวนิัยในตนเอง ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือ มี คุณธรรม จริยธรรม และคานิยมอันพึงประสงค มีความคิดสรางสรรค ใฝรูใฝเรียน รักการศึกษาคนความีความรูเปนสากล มีทักษะ และศักยภาพในการจัดการ ปรับวิธีคิดวิธีทํางานไดเหมาะสมกับเหตุการณ มีทักษะขบวนการ ทางคณิตศาสตร วิทยาศาสตร การคิดสรางปญญา และทักษะการ ดําเนินชีวิต รักการออกกําลังกาย ดูแลคนเองใหมีสุขภาพและบุคลิกภาพท่ีดีเสมอ มีประสิทธิภาพในการผลิตและบริโภค มีคานิยมในการผลิตมากกวาผูบริโภค เขาใจในประวตัิศาสตรชาติไทย ภูมิใจในความเปนไทย เปนพลเมืองดี ยึดม่ันวิถีชีวิต ตามระบอบประชาธิปไตย อันมีประมหากษัตริยเปนประมุข มีจิตสํานึกในการอนุรักษภาษาไทย ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี กีฬา ภูมิปญญา ไทย ทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาส่ิงแวดลอม รักประเทศชาติ ทองถ่ิน มุงทําประโยชนและสรางส่ิงดีงามใหสังคม 1.1.3 โครงสราง เวลาเรียน หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน ดังนี ้ 1.1.3.1 ระดับชวงช้ัน กําหนดหลักสูตรเปน 4 ชวงช้ัน ดังนี ้ ชวงช้ันท่ี 1 ช้ันประถมศึกษาปท่ี 1-3 ปละประมาณ 800-1000 ช่ัวโมง ชวงช้ันท่ี 2 ช้ันประถมศึกษาปท่ี 4-6 ปละประมาณ 800-1000 ช่ัวโมง ชวงช้ันท่ี 3 ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1-3 ปละประมาณ 800-1200 ช่ัวโมง

Page 11: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

11

ชวงช้ันท่ี 4 ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 ปละไมนอยกวา 1200 ช่ัวโมง 1.1.3.2 สาระการเรียนรู ไดแก ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร ศิลปะ สังคมศึกษาศาสนาและวฒันธรรม สุขศึกษาและพละศึกษา การงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยีและภาษาตางประเทศ 1.1.3.3 กิจกรรมพัฒนาผูเรียน เปนกจิกรรมท่ีจัดใหผูเรียนไดพฒันาตนเองตามศักยภาพ เพิ่มเติมจากสาระการเรียนรูท้ัง 8 กลุม มี 2 ลักษณะ คือ กิจกรรมแนะแนว เปนกิจกรรมท่ีสงเสริมและพัฒนาความสามารถของผูเรียนใหเหมาะสมตามความแตกตางระหวางบุคคล กิจกรรมนกัเรียน เปนกิจกรรมท่ีผูเรียนเปนผูปฏิบัติดวยตนเอง โดยเนนการทํางานรวมกันเปนกลุม 1.1.3.4 มาตรฐานการเรียนรู หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานกําหนดมาตรฐานการเรียนรูตามกลุมสาระการเรียนรู มี 2 ลักษณะ คือ มาตรฐานการเรียนรูข้ันพื้นฐาน เปนมาตรฐานการเรียนรูในแตละกลุมสาระการเรียนรู เม่ือผูเรียนเรียนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการเรียนรูชวงช้ัน เปนมาตรฐานการเรียนรูในแตละกลุมสาระการเรียนรู เม่ือผูเรียนเรียนจบการศึกษาในแตละชวงช้ัน 1.1.4 การจัดหลักสูตร สถานศึกษาตองจดัสาระการเรียนรูใหครบท้ัง 8 กลุม ทุกช้ันเรียน ใหเหมาะสมกับธรรมชาติการเรียนรูและพัฒนาการของผูเรียน โดยในชวงการศึกษาภาคบังคับ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 1 และมัธยมศึกษาปท่ี 3 จัดหลักสูตรเปนปลายป และในช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 จัดเปนหนวยกิต 1.1.5 การจัดการศึกษาสําหรับกลุมเปาหมายเฉพาะ ไดแก การศึกษาทางดานศาสนาและดลตรี กีฬา นาฏศิลป อาชีวะ การศึกษาท่ีสงเสริมความเปนเลิศตางๆ การศึกษาสําหรับผูบกพรองในดานตางๆ การศึกษานอกระบบ การศึกษาทางเลือก สามารถปรับใชมาตรฐานการเรียนรูในหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานไดตามความเหมาะสม 1.1.6 ส่ือการเรียนรู ลักษณะของส่ือท่ีนํามาใชในการจดัการเรียนรูควรมีความหลากหลาย ท้ังส่ือธรรมชาติ ส่ือส่ิงพิมพ ส่ือเทคโนโลยี และส่ืออ่ืนๆ ซ่ึงชวนสงเสริมใหเกิดการเรียนรูไปอยางมีคุณคา 1.1.7 การวัดและประเมินผลการเรียนรู สถานศึกษาตองจัดทําหลัดเกณฑและแนวปฏิบัติในการวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษา สถานศึกษาตองมีผลการเรียนรูของผูเรียนจากการวดัและประเมินท้ังในระดับช้ันเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพ้ืนท่ีการศกึษาและระดับชาติ เพื่อใชเปนขอมูลสําหรับประกันคุณภาพการศึกษาและการประเมินท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา 1.2 ความสําคัญของกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

Page 12: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

12

กรมวิชาการ (2545 ค : ไมมีเลขหนา) กลาววา กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เปนกลุมสาระท่ีเนนการสอนภาเพ่ือการส่ือสารกับผูอ่ืนอยางมีประสิทธิภาพ ใชภาษาในการการแกปญหาในการดํารงชีวิตและปญหาของสังคม ภาษาเปนเคร่ืองมือของการเรียนรู สามารถแสวงหาความรูดวยตนเอง นําความรูมาใชในการพัฒนาตน พัฒนาความคิด กรมวิชาการ ( 2545 ค : 3 ) กลาวถึงความสําคัญของกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาษาไทยเปนเอกลักษณประจําชาติ เปนสมบัติทางวฒันธรรมอันกอใหเกดิความเปนเอกภาพ และเสริมสรางบุคลิกภาพของคนในชาติใหมีความเปนไทย เปนเคร่ืองมือในการติดตอส่ือสารเพ่ือสรางความเขาใจและความสัมพันธท่ีดีตอกัน ทําใหสามารถประกอบกจิธุรการงานและการดํารงชีวิตรวมกันในสังคมประชาธิปไตยไดอยางสงบสุข และเปนเคร่ืองมือในการแสวงหาความรูประสบการณจากแหลงขอมูลสารสนเทศตางๆ เพื่อพัฒนาความรู ความคิด วิเคราะห วิจารณ และสรางสรรคใหทันตอการเปล่ียนแปลงทางดานสังคม และเศรษฐกิจ นอกจากนี้ภาษาไทยยังเปนส่ือแสดงภูมิปญญาของบรรพบุรุษดานวัฒนธรรม ประเพณี ชีวะทัศน และสุนทรียภาพโดยบันทึกไวเปนวรรณคดี และวรรณกรรมอันลํ้าคา ภาษาไทยจึงเปนสมบัตขิองชาติท่ีควรคาแกการเรียนรู เพื่ออนุรักษและสืบสานใหคงอยูคูชาติไทยตลอดไป สรุปไดวา กลุมสาระการเรียนรูวิชาภาษาไทย มีความสําคัญตอการจัดการศึกษา คือ เปนเคร่ืองมือในการติดตอส่ือสาร เปนเคร่ืองมือในการเรียนรูชวยพัฒนาสติปญญา กระบวนการคิด วิเคราะห การวิจารณจนจนเกิดเปนความรูใหม การเสรมิสรางความเขาใจอันดตีอกนั การสรางความเปนเอกภาพของชาติและความจรรโลงเพื่อเกิดประโยชนแกคนเอง ชุมชน สังคม และประเทศชาติ

1.3 ธรรมชาติของกลุมสาระการเรียนรูวิชาภาษาไทย กรมวิชาการ ( 2545 ค: 6 - 7) กลาววา กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยมีคุณสมบัติสําคัญ 3

ประการ คือ คําท่ีใชพูดประกอบดวยเสียงและความหมาย ภาษามีพลัง ทําใหผูอานผูฟงเกิดอารมณแหงความสดช่ืนหรือความเศราใจ การใชสัญลักษณหรือสมมุติรวมกันในความหมายและยอมรับความหมายนั้นๆ รวมกนั

1.4 วิสัยทัศน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย กําหนดวิสัยทัศนดังท่ีกรมวิชาการกําหนดไว ดังนี้ ( กรมวิชาการ. 2545 ค : 7 - 9)

1.4.1 ภาษาเปนเคร่ืองมือส่ือสารของคนในชาติ ใชทําความเขาใจกันและใชภาษา ประกอบกิจการงานท้ังสวนตัว ครอบครัว สังคมและประเทศชาติ

1.4.2 ภาษาเปนส่ือของความคิด สามารถคิดสรางสรรค คิดวิพากษวจิารณ คิดตัดสินใจแกปญหาและวนิิจฉัยอยางมีเหตุผล

1.4.3 ภาษาเปนทักษะท่ีตองฝกฝนใหเกิดความชาํนาญในการใชภาษา เพื่อการส่ือสาร การอานและการฟง การรับรูเร่ืองราว ความรูและประสบการณ

Page 13: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

13

1.4.4 เห็นความงามของถอยคําในบทรอยกรอง เขาใจเร่ืองราวของวรรณคด ี1.5 คุณภาพของผูเรียน

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย มีเปาหมายและความคาดหวังท่ีสําคัญ คือ ใหผูเรียนสามารถ ใชภาษาส่ือสารไดดี อาน เขียน ฟง ดู และพูดอยางมีประสิทธิภาพ มีความคิดสรางสรรค คิดเปนระบบ คิดอยางมีเหตุผล มีนิสัยรักการอาน การเขียน แสวงหาความรูใชภาษาในการพัฒนาตน ตระหนักในวฒันธรรมการใชภาษาและความเปนไทย ภูมิใจช่ืนชมในวรรณคดีของคนไทย นําทักษะทางภาษามาประยุกตใชในชีวิตประจําวัน มีมนุษยสัมพนัธท่ีดี มีคุณธรรมจริยธรรม วิสัยทัศน โลกทัศนท่ีกวางไกล ( กรมวิชาการ. 2545 ค : 9 - 13)

1.6 การจัดประสบการณการเรียนรู หลักสูตรการศึกษาข้ันพืน้ฐาน กําหนดแนวทางการจัดประสบการณการเรียนรูของกลุม

สาระการเรียนรูภาษาไทย ในแตละชวงช้ัน ดังนี้ (กรมวชิาการ. 2545 ค : 10 - 13) ชวงช้ันท่ี 1 จบช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 เรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการอานไดคลอง

และอานไดเร็ว การเขียนแสดงความรู ความคิด มีนิสัยรักการอานและการเขียน ชวงช้ันท่ี 2 จบช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 เรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการอานใหเร็วข้ึน

เขาใจความหมายของคํา สํานวน การเขียนเรียงความ ยอความ จดหมาย การพูดตอหนาชุมชน การทองจําบทรอยกรอง การแตงกาพยกลอนงายๆ มีนิสัยรักการอาน และการเขียน

โครงสรางหลักสูตรสถานศึกษา ชวงช้ันท่ี 1 ชวงช้ันท่ี 2

ป.1 ป.2 ป.3 รวม ป.4 ป.5 ป.6 รวม 5 5 5 15 4 4 4 12

ชวงช้ันท่ี 1 เรียน 5 ชม. / สัปดาห ชวงช้ันท่ี 2 เรียน 4 ชม. / สัปดาห หลักการสอนภาษาไทย สนิท สัตโยภาส ( 2532 : 92) หลักการสอนภาษาไทยท่ัว ๆไป ควรคํานึงถึงทฤษฎี การเรียนรูของนักจิตวิยาตาง ๆแตหลักการสอนภาษาไทยนัน้มีขอควรคํานึงเพิ่มเติมอีก ดังนี ้

1. สอนภาษาไทยใหสอดคลองกับธรรมชาติ 2. ควรสอดแทรกทักษะภาษาขณะท่ีมีการเรียนการสอน เพราะเราถือวาภาษาไทยเปน

ปจจัยของการเรียนทุกวิชา 3. การสอนภาษาไทยใหสัมพันธกับวิชาอ่ืน 4. สอนภาษาไทยเม่ือผูเรียนมีความพรอม 5. เร่ืองท่ีนํามาสอนควรมีความหมายตอผูเรียน โดยเปนเนื้อเร่ืองท่ีเกี่ยวของกับตัวผูเรียน

Page 14: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

14

เปนรูปธรรมและเกี่ยวโยงกบัชีวิตประจําวนั 6. ภาษาไทยเปนวิชาทักษะเพราะฉะนัน้ควรฝกบอย ๆ การเรียนจึงจะไดผลดี 7. การสอนภาษาไทยโดยใชส่ือการสอน เพื่อใหผูเรียนเกิดความสนใจแลมีความเขาใจ

ในบทเรียนยิ่งข้ึน 8. สอนภาษาไทยโดนใชกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อใหผูเรียนเรียนดวยความ

เพลิดเพลิน 9. การสอนภาษาไทยโดยฝกใหผูเรียนรูจักใชความคิด เพราะความคิดเปนส่ิงท่ีติดตัว

ผูเรียนมาแตกาํเนิด 10. สอนภาษาไทยควรมีการเสริมแรงและจูงใจเสมอ

กิจกรรมการเรียนการสอน กิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทย หมายถึงสภาพท่ีจัดกระทําเพื่อใหนักเรียนเกิดการเรียนรู ดังนั้นกจิกรรมที่ดีจึงควรมีลักษณะท่ีจะชวยใหการสอนบรรลุผล สนุกสนานเพลิดเพลินและตรงตามจุดประสงคของการเรียนการสอน กิจกรรมการเรียนการสอนมีมากมาย เราสามารถจัดไดทุกระยะของการเรียนการสอนต้ังแตนําเขาสูบทเรียน ข้ันสอน ข้ันสรุป และข้ันประเมินผล ครูเปนผูเลือกกิจกรรมใหเหมาะสมกับบทเรียนโดยยดึหลักดังนี ้

1. เลือกใหเหมาะสมกับจุดประสงคการเรียนรูของบทเรียน 2. เลือกใหเหมาะสมกับสาระท่ีจะสอนวามีลักษณะใดเหมาะสมกับกิจกรรมใด เชน เปนขอคิด

ท่ีควรใชกิจกรรม อภิปราย หรือการสรางสถานการณสมมุติ 3. เลือกใหเหมาะสมกับผูเรียน เชน ความยากงาย ระดับความรู 4. เลือกโดยพิจารณาความสามารถของผูสอนดวย เชน ครูท่ีรองเพลงไมเกง ก็อาจใชเคร่ือง

บันทึกเสียงแทน หรือ เชิญวิทยากรก็ได 5. เลือกโดยพิจารณาสภาพแวดลอมในการเรียนการสอน เชน ถาหองแคบการจัดใหเลนเกม

แขงขันก็อาจเกิดเสียงดังรบกวนหองอ่ืน และการเคล่ือนไหวก็ไมสะดวก ครูอาจใชกจิกรรมอ่ืนแทน หรือพานักเรียนไปใชบริเวณสนามหญาแทนได

6. เลือกกิจกรรมที่ใหความสนกุสนาน ปฏิบัติงาย ไมซับซอน และยืดหยุนไดเลือกกิจกรรมท่ี ใหแนวคิดริเร่ิมสรางสรรค และทุกคนมีสวนรวม ( สนิท สัตโยภาส. 2530 : 64) การเขียนแผนการจัดการเรียนรู 1. ความนาํ เพื่อใหการจัดการเรียนการสอนเปนไปตามเปาหมายและจุดประสงคจําเปนจะตองมีการเขียนแผนการเรียนรู ความคาดหวังท่ัวไป (เปาหมาย) ท่ีเคยเขียนไวในตอนวางแผนการเขียนหนวยการเรียนรูนั้น จะตองเขียนใหมใหจําเพาะเจาะจงลงไปในเร่ืองท่ีจะสอน แผนการเรียนรูแตละแผนควรพัฒนามาจากหนวยการเรียนรู เนื่องจากหนวยการสอนตามปกติมักจะใชเปนบทเรียนแตละวนั ดังนั้นการเขียน

Page 15: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

15

2. การวางแผนจัดประสบการณการเรียนรู เปนการจัดโปรแกรมการจัดประสบการณการเรียนรูวิชาใดวิชาหน่ึงไปลวงหนา เพื่อใหผูเรียนบรรลุวัตถุประสงคท่ีกําหนดไว ดังนั้น การวางแผนจึงตองมีการพัฒนาอยูเสมอ เพื่อใหทันตอเหตุการณท่ีเปล่ียนแปลงไป ไมวาครูผูสอนจะเคยมีประสบการณการสอนมานานหลายปแลวกต็าม ประโยชนท่ีไดจากการวางแผนจัดประสบการณการเรียนรูนั้นจะชวยใหครู รูวาในแตละคาบ แตละสัปดาห ครูจะสอนอะไร เร่ืองอะไร เหตุใดจึงตองสอน จะใชวิธีการสอนอยางไร มีอุปกรณแหลงการเรียนรูครบถวนพอหรือไม และชวยรูวาจะประเมินผลนกัเรียนดวยวิธีการใด เม่ือครูไดเตรียมการลวงหนาไวแลว จะชวยทําใหเกิดความม่ันใจในการสอนมากข้ึนการจัดประสบการณการเรียนรูก็จะดําเนนิตอไปไดอยางราบร่ืนประหยัดเวลา ทําใหนักเรียนสามารถพัฒนาไดตามเปาหมาย ( รุจิร ภูสาระ.2545 :158)

3. ความหมายของแผนการเรียนรู แผนการเรียนรู เปนเคร่ืองมือแนวทางในการจัดประสบการณการเรียนรูใหผูเรียนตามที่กําหนดไวในสาระการเรียนรูของแตละกลุม แผนการเรียนรูท่ีดีจะตองสามารถตอบคําถามไดวา

1. จะทําใหนกัเรียนมีคุณสมบัติท่ีพึงประสงค อะไรบาง 2. จะเสริมสรางกิจกรรมเพื่อพัฒนา ผูเรียน อะไรบาง จึงจะทําใหนกัเรียนบรรลุตามจุดประสงค 3. ครูจะตองมีบทบาทอยางไรในการจัดกิจกรรมต้ังแตครูเปนศูนยกลางจนถึงนักเรียนเปนผูจัดทําเอง 4. จะใชส่ือหรืออุปกรณอะไรจึงจะชวยใหนักเรียนบรรลุตามจุดประสงค 5. จะรูไดอยางไรวานักเรียนเกิดคุณสมบัตติามท่ีคาดหวังไว

4. ข้ันตอนการทําแผนการเรียนรูตามหลักสูตร พ.ศ. 2542 4.1 ทําความเขาใจในมาตรฐานการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรู รวมทั้งแนวคิดและขอบเขต

ของกลุมสาระการเรียนรูนี้มาเปนกรอบในการทําแผนการเรียนรู 4.2 เขียนจดุประสงคการเรียนรูในหนวยการเรียนรู เปนจุดประสงคปลายทางท่ีกลาวถึง

4.2.1จุดประสงคของกลุมสาระการเรียนรู 4.2.2 จุดประสงคของคําอธิบายรายวิชา

4.3 เขียนโครงสรางของกลุมสาระการเรียนรูท้ังหมด ไดแก 4.3.1 หัวขอยอย (จากคําอธิบายรายวิชาและหนังสืออางอิง ) 4.3.2 จํานวนคาบในแตละหวัขอยอย

Page 16: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

16

4.3.3 สาระสําคัญท่ีเนนความคิดรวบยอด หลักการ ทักษะ ลักษณะนสัิย

4.3.4 จุดประสงคนําทางตามหัวขอยอย

5. สรางแผนการเรียนรู 5.1 องคประกอบของแผนการเรียนรู 5.2 สาระสําคัญ

5.3 จุดประสงคปลายทาง 5.4 จุดประสงคนําทาง 5.5 เนื้อหา 5.6 กิจกรรมการเรียนการสอน

5.7 ส่ือการเรียนการสอน

5.8 การวัดและการประเมินผล

( รุจิร ภูสาระ. 2545 :158 - 160) แบบฝกทักษะ

1. ความสําคัญของแบบฝกและแบบฝกหดั

ไดมีผูกลาวถึงความหมายและความสําคัญของแบบฝกหัดไวดังนี ้ นอมศรี เคท (2536 : 54 ; อางอิงมาจาก สุนันทนา สุนทรประเสริฐ. 2534 : 1-2) “ เม่ือครูไดสอนเนื้อหา แนวคิดหรือหลักการเร่ืองใดเร่ืองหนึ่งใหกับนกัเรียน และนักเรียนมีความรูความเขาใจในเร่ืองนั้นแลว ข้ันตอไปครูจําเปนตองจัดกิจกรรมใหนักเรียนไดฝกฝน เพื่อใหมีความชํานาญคลองแคลว ถูกตอง แมนยําและรวดเร็ว หรือท่ีเรียกวาฝกฝนเพือ่ใหเกดิทักษะ ” วรสุดา บุณยไวโรจน (2536 1 : 37 ; อางอิงมาจาก สุนันทา สุนทรประเสริฐ. 2534 : 1-2) กลาววา “ แบบฝกหดัเปนส่ือการสอนท่ีจัดข้ึนเพือ่ใหผูเรียนไดศึกษาทําความเขาใจและฝกฝนจนเกิดแนวคิดท่ีถูกตองและเกดิทักษะในเร่ืองใดเร่ืองหนึ่ง นอกจากนั้นแบบฝกหัดยังเปนเคร่ืองบงช้ีใหครูทราบวาผูเรียนหรือผูใชแบบฝกหัดมีความรูความเขาใจในบทเรียน และสามารถนําความรูไปใชไดมากนอยเพียงใด ผูเรียนมีจุดเดนท่ีควรสงเสริมหรือมีจุดดวยท่ีควรปรับปรุงแกไขตรงไหนอยางไร แบบฝกหัดจึงเปนเคร่ืองมือท่ีครูทุกคนใชในการตรวจสอบความรูความเขาใจและพัฒนาทักษะของนักเรียนในวิชาตางๆ” สงบ ลักษณะ (2535 : 61; อางอิงมาจากสุนันทา สุนทรประเสริฐ. 2534 : 1-2) กลาววา “ ชุดแบบฝกเปนส่ือใชฝกทักษะการคิดวิเคราะหการแกปญหา และการปฏิบัติของนักเรียนนิยมใชในกลุมวิชาภาษาไทย คณติศาสตร วิทยาศาสตร กางงานและพ้ืนฐานอาชีพ” จินตนา ใบกาซูยี ( 2535 : 17 ; อางอิงมาจากสุนันทา สุนทรประเสริฐ. 2534 : 1-2) กลาววา “ แบบฝกหรือแบบฝกหัดเปนส่ือการเรียนสําหรับใหผูเรียนไดฝกปฏิบัต ิเพื่อชวยเสริมใหเกิดทักษะ และความแตกฉานในบทเรียน ”

Page 17: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

17

ขรีรัตน หงสประสงค (2534 : 15 ; อางอิงมาจากสุนันทา สุนทรประเสริฐ. 2534 : 1-2) กลาววา “ แบบฝกเปนอุปกรณการเรียนการสอนอยางหนึ่งท่ีครูใชฝกทักษะหลังจากท่ีนกัเรียนไดเรียนเอหาจากแบบเรียนแลว โดยสรางข้ึนเพื่อเสริมสรางทักษะใหแกนกัเรียน มีลักษณะแบบฝกท่ีมีกิจกรรมใหนกัเรียนกระทํา โดยมีจุดมุงหมายเพ่ือพัฒนาความสามารถของนักเรียน” ออมนอย เจริญธรรม(2533 : 54 ; อางอิงมาจากสุนันทา สุนทรประเสริฐ. 2534 :1-2) กลาววา “แบบฝกเปนอุปกรณการสอนอยางหนึ่งท่ีสรางข้ึนมาเพื่อฝกทักษะนักเรียนหลังจากเรียนเนื้อหาไปแลว ชวยทําใหเด็กมีพัฒนาการทางภาษาดีข้ึน เพราะทําใหนักเรียนมีโอกาสนําความรูทีไดเรียนมาแลว ฝกใหเกิดความเขาใจกวางขวางมากข้ึน แบบฝกสามารถฝกทักษะทางภาษาไดทุกๆดาน ถานักเรียนมีโอกาสฝกหัดจนเกดิความเขาใจจริง แบบฝกชวยใหการสอนของครูและการเรียนของนักเรียนประสบผลสําเร็จ” ศศิธร สุทธิแพทย (2517 : 63 ; อางอิงมาจากสุนันทา สุนทรประเสริฐ. 2534 :1-2) กลาววา “ แบบฝกหัดเปนส่ิงท่ีจําเปนอยางยิ่ง ครูตองใหแบบฝกหัดท่ีเหมาะสม เพื่อฝกหลังจากท่ีเรียนเน้ือหาจากแบบเรียนไปแลวใหมีความรูกวางขวางจึงถือวาแบบฝกหดัเปนอุปกรณการเรียนการสอนอยางหนึ่ง ซ่ึงครูสามารถนําไปใชประกบกิจกรรมการสอนไดเปนอยางดี ชวยใหการเรียนการสอนของครูประสบผลสําเร็จ” จากความเห็นของนักวิชาการดังกลาวเกีย่วกับความหมายและความสําคัญของแบบฝกหรือแบบฝกหัดจึงพอสรุปไดวา “ แบบฝก หรือแบบฝกหัด คือ ส่ือการเรียนการสอน ท่ีใชฝกทักษะใหกับผูเรียนหลังจากเรียนจบในเนื้อหาในชวงนั้นๆ เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจรวมท้ังเกิดความชํานาญในเร่ืองนั้นๆ อยางกวางขวางมากข้ึน” ดังนั้น แบบฝกจึงมีความสําคัญตอผูเรียนไมนอย ในการที่จะชวยเสริมสรางทักษะใหกับผูเรียนไดเกดิการเรียนรูและเขาใจไดเร็วข้ึน ชัดเจนข้ึน กวางขวางข้ึน ทําใหการสอนของครูและการเรียนของนักเรียนประสบผลสําเร็จอยางมีประสิทธิภาพ 2. ประโยชนของแบบฝก รัชนี ศรีไพรวรรณ (2528 : 189) ไดกลาวถึงประโยชนของแบบฝกไววา

1. ทําใหเขาใจบทเรียนเร็วข้ึน เพราะเปนเคร่ืองอํานวยประโยชนในการเรียนรู 2. ทําใหครูทราบความเขาใจของนักเรียนท่ีมีตอบทเรียน 3. ฝกใหเด็กมีความเช่ือม่ันและสามารถประเมินผลของตนเองได 4. ฝกใหเด็กทํางานตามลําพัง โดยมีความรับผิดชอบในงานท่ีไดรับหมอบหมาย

สุนันทา สุนทรประเสริฐ. (2534 : 2-3) ไดกลาวถึงประโยชนของแบบฝกไวดังนี ้1. เปนสวนท่ีเพิ่มเติมหรือเสริมหนังสือเรียนในการเรียนทักษะ เปนอุปกรณการสอนท่ีชวยลด

ภาระครูไดมาก เพราะแบบฝกเปนส่ิงท่ีจัดทําข้ึนอยางเปนระบบและมีระเบียบ

Page 18: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

18

2. ชวยเสริมทักษะ แบบฝกหัดเปนเคร่ืองชวยเด็กในการฝกทักษะแตท้ังนีจ้ะตองอาศัยการสงเสริมและความเอาใจใสจากครูผูสอนดวย

3. ชวยในเร่ืองความแตกตางระหวางบุคคล เนื่องจากเด็กมีความสามารถทางภาษาแตกตางกัน การใหเด็กทําแบบึกหดัท่ีเหมาะสมกับความสามารถของเขาจะชวยใหเด็กประสบผลสําเร็จในดานจิตใจมากขึ้น ดังนั้น แบบฝกหัดจึงไมใชสมุดฝกท่ีครูจะใหแกเด็กบทตอบทหรือหนาตอหนา แตเปนแหลงประสบการณเฉพาะสําหรับเด็กท่ีตองการความชวยเหลือพิเศษและเปนเคร่ืองมือชวยท่ีมีคาของครูท่ีจะสนองความตองการเปนรายบุคคลในช้ัน

4. ชวยเสริมใหทักษะคงทน ลักษณะการฝกเพ่ือชวยใหเกิดผลดังกลาวนัน้ ไดแก ฝกทันทีหลังจากท่ีเด็กไดเรียนรูในเร่ืองนัน้ๆ ฝกซํ้าหลายๆคร้ัง เนนเฉพาะในเร่ืองท่ีผิด

5. แบบฝกหัดท่ีเปนเคร่ืองมือวดัผลการเรียนรูหลังจากจบบทเรียนในแตละคร้ัง 6. แบบฝกหัดท่ีจดัทําข้ึนเปนรูปเลม เด็กสามารถรักษาไวใชเปนแนวทางเพ่ือทบทวนดวยตนเอง

ไดตอไป 7. การใหเด็กทําแบบฝกหัด ชวยใหครูมองเห็นหรือปญหาตางๆของเด็กๆ ไดชัดเจน ซ่ึงจะชวย

ใหครูดําเนินการปรับปรุงแกไขปญหานั้นไดทันทวงที 8. แบบฝกท่ีจัดข้ึนนอกเหนือจากท่ีมีอยูในหนังสือแบบเรียน จะชวยใหเด็กไดฝกฝนอยางเต็มท่ี 9. แบบฝกหัดท่ีจดัพิมพไวเรียบรอยแลวจะชวยใหครูประหยดัท้ังแรงงานและเวลาในการท่ี

จะตองเตรียมสรางแบบฝกอยูเสมอ ดานผูเรียนก็ไมตองเสียเวลาในการลอกแบบฝกหัดจากกระดาน หรือตํารา ทําใหมีเวลาและโอกาสไดฝกฝนทักษะตางๆ มากข้ึน

10. แบบฝกหัดชวยประหยัดคาใชจาย เพราะการจัดพิมพข้ึนเปนรูปเลมท่ีแนนอนยอมลงทุนตํ่ากวา นอกจากนี้ยังมีประโยชนในการท่ีผูเรียนสามารถบันทึก และมองเห็นความกาวหนาของตนเองไดอยางมีระบบและเปนระเบียบ

3. จิตวิทยาการเรียนรูกับการสรางแบบฝก การศึกษา ในเรื่องจิตวิทยาการเรียนรู เปนส่ิงท่ีผูสรางแบบฝกไมควรละเลย เพราะการเรียนรูจะเกิดข้ึนไดข้ึนอยูกับปรากฏการณของจิต และพฤติกรรมท่ีจะตอบสนอง นานาประการ โดยอาศัยกระบวนการท่ีจะเหมาะสมและเปนวิธีท่ีดท่ีีสุด การศึกษาทฤษฏีการเรียนรูจากขอมูลท่ีนักจิตวทิยาไดทําการคนพบและทดลองไวแลว สําหรับการสรางแบบฝก ในสวนท่ีมีความสัมพันธกันดังนี ้

3.1 ทฤษฎีลองผิดลองถูกของธอรนไดค ซ่ึงไดสรุปเปนกฎเกณฑการเรียนรู 3 ประการคือ 3.1.1 กฎความพรอม หมายถึง การเรียนรูจะเกดิข้ึนเม่ือบุคคลพรอมท่ีจะกระทํา 3.1.2 กฎผลท่ีไดรับ หมายถึง การเรียนรูท่ีเกดิข้ึนเพราะบุคคลกระทําซํ้า และยิ่งทํา

มาก ความชํานาญจะเกิดข้ึนงาย

Page 19: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

19

ไพบูลย เทวรักษ ( 2540 : 23 ; อางอิงมาจากสุนันทา สุนทรประเสริฐ. 2534 : 4-5) ไดกลาวถึงกฎการฝกหัดไววา “ การฝกหัดใหบุคคลทํากิจกรรมตางๆนั้น ผูฝกจะตองควบคุมและจกัสภาพการใชใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของตนเอง บุคคลจะถูกกําหนดลักษณะพฤติกรรมท่ีแสดงออก” ดังนั้น ผูสรางแบบฝกจึงจะตองกําหนดกจิกรรมตลอดจนคําส่ังตางๆ ในแบบฝกใหผูฝกไดแสดงพฤติกรรมสอดคลองจุดประสงคท่ีผูสรางตองการ

3.2 ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม ของสกินเนอร ซ่ึงมีความเช่ือวา สามารถควบคุมบุคคลใหทําตามความประสงคหรือแนวทางที่กําหนดใหไดโดยไมตองคํานึงถึงความรูสึกทางจิตใจของบุคคลนั้นวาจะรูสึกนึกคิดอยางไรเขาจึงไดทดลองและสรุปไดวา บุคคลสามารถเรียนรูไดดวยการกระทํา โดยมีการเสริมแรงเปนตัวการเม่ือบุคคลตอบสนองการเราของส่ิงเราควบคูกนัในเวลาท่ีเหมาะสมส่ิงเรานั้นจะรักษาระดับหรือเพิ่มการตอบสองใหเขมข้ึน การสรางแบบฝกจึงควรยดึถือทฤษฏีสกินเนอรดวย เพราะบุคคลจะเกดิการเรียนรูไดดวยการกระทํา 3.3 วิธีการสอน ของกาเย ซ่ึงมีความเหน็วา การเรียนรูมีลําดับข้ัน แลวผูเรียนจะตองเรียนรูเนื้อหาจากเร่ืองท่ีงายไปหายาก พรรณี ช.เจนจิต (2538 : 434 ; อางอิงมาจากสุนันทา สุนทรประเสริฐ. 2534 : 4-5) ไดกลาวถึงแนวคิดของกาเยวา การเรียนรูมีลําดับข้ัน ดังนัน้กอนท่ีจะสอนเด็กแกปญหาไดนั้นเด็กจะตองเรียนรูความคิดรวบยอดหรือกฎเกณฑมากอน ซ่ึงการสอนใหเด็กไดความคิดรวบยอดหรือกฎเกณฑนั้นจะทําใหเดก็เปนผูสรุปความคิดรวบยอดดวยตนเอง แทนท่ีครูจะเปนผูบอก 3.4 สุนันทา สุนทรประเสริฐ. ( 2534 : 4-5) กลาวถึงแนวคิดของบลูม ซ่ึงกลาวถึงธรรมชาติผูเรียนแตละคนวามีความตกตางกัน ผูเรียนจะสามารถเรียนรูเนื้อหาในหนวยยอยตางๆ ไดโดยใชเวลาท่ีแตกตางกันตังนั้น การสรางแบบฝกจึงตองกําหนดเง่ือนไขท่ีจะชวยใหผูเรียนสามารถผานลําดับข้ันตอนทุกหนวยการเรียนได ถานกัเรียนไดเรียนตามอัตราการเรียนของตนก็จะทําใหนักเรียนประสบความสําเร็จมากข้ึน 4. จุดประสงคการเรียนรูกบัการสรางแบบฝก การสรางแบบฝกตองยดึจุดประสงคของการเรียนรูเปนสําคัญ เพราะจุดประสงคการเรียนรูคือเปาหมายสุดทายท่ีตองการใหผูเรียน ดังนัน้ การนําจดุประสงคมาเปนเคร่ืองนําทางจึงเปนส่ิงถูกตองหากจะกลาวถึงการแบงชนิดของจุดประสงคทางการเรียนสามารถแบงไดตามลักษณะของพฤติกรรม คือ พฤติกรรมทางดานพุทธพิสัย พฤติกรรมทางดานจิตพิสัย พฤติกรรมทางดานทักษะพิสัย (สุนันทา สุนทรประเสริฐ. 2534 : 5) 5. ลักษณะของแบบฝกท่ีดี

Page 20: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

20

แบบฝกเปนเคร่ืองมือท่ีดท่ีีชวยเสริมทางทักษะใหกับนักเรียน การสรางแบบฝกใหมีประสิทธิภาพจึงจําเปนจะตองศึกษาองคประกอบและลักษณะของแบบฝก เพื่อเลือกใชใหเหมะสมกบัระดับความสามารถของนักเรียน ศศิธร สุทธิแพทย (2517 :72 ; อางอิงมาจากสุนันทา สุนทรประเสริฐ. 2534 : 10-11) ไดกลาวถึงลักษณะของแบบฝกไวดังนี ้

1. ใชหลักจิตวิทยา 2. สํานวนภาษาไทย 3. ใหความหมายตอชีวติ 4. คิดไดเร็วและสนุก 5. ปลุกความสนใจ 6. เหมาะสมกับวยัและความสามารถ 7. อาจศึกษาไดดวยตนเอง

วรสุดา บุณยไวโรจน (2526 :37 ; อางอิงมาจาก สุนันทา สุนทรประเสริฐ. 2534 : 10-11) กลาวแนะนําใหผูสรางแบบฝกไดยดึลักษณะของแบบฝกไวดังนี ้

1. แบบฝกหัดท่ีดคีวรมีความชัดเจนท้ังคําส่ังและวิธีทําคําส่ังหรือตัวอยางแสดงวิธีการทําทีใชไมควรยากเกินไป เพราะจะทําใหเขาใจยาก ควรปรับใหงายเหมาะสมกับผูใช ท้ังนี้เพื่อใหนักเรียนสามารถศึกษาดวยตนเองไดถาตองการ

2. แบบฝกหัดท่ีดคีวรมีความหมายตอผูเรียน และตรงตามจดุมุงหมายของการฝกลงทุนนอยใชไดนานและใชไดเสมอ

3. ภาษาและภาพท่ีใชแบบฝกหดัควรเหมาะกับวัยและพื้นฐานความรูของผูเรียน 4. แบบฝกหัดท่ีดคีวรแยกฝกเปนเร่ืองๆ แตละเร่ืองไมควรยาวเกนิไปแตควรมีกิจกรรมหลาย

รูปแบบเพื่อรอเราใหนกัเรียนเกิดความสนใจและไมเบ่ือหนายในการทํา และเพื่อฝกทักษะใดทักษะหนึ่งจนเกิดความชํานาญ

5. แบบฝกหัดท่ีดคีวรมีท้ังกําหนดคําตอบแบบใหตอบโดยเสรี 6. แบบฝกท่ีดีควรเปดโอกาสใหผูเรียนไดศึกษาดวยตนเอง ใหรูจักคนควา 7. แบบฝกท่ีดีควรตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคล 8. แบบฝกท่ีดีควรสามารถเราความสนใจของนักเรียน ไดตัง้แตหนาปกไปจนถึงหนาสุดทาย 9. แบบฝกท่ีดีควรไดรับการปรบปรุงควบคูไปกับหนังสือและแบบเรียนอยูเสมอ และควรใหได

ดีท้ังในและนอกหองเรียน 10. แบบฝกหัดท่ีดคีวรเปนแบบฝกท่ีสามารถประเมิน และจําแนกความเจริญงอกงามของเด็กได

ดวย

Page 21: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

21

ดังนั้น ลักษณะของแบบฝกท่ีดี จึงควรคํานึงถึงหลักจิตวิทยาการเรียนรู ผูเรียนไดศึกษาดวยตนเอง ครอบคลุมและสอดคลองกับเนื้อหา รูปแบบนาสนใจ คําส่ังชัดเจนวรสุดา บุณยไวโรจน (สุนันทา สุนทรประเสริฐ. 2534 : 10-11) 6. สวนประกอบของแบบฝกหรือแบบฝกหัด

6.1 คูมือการใชแบบฝก 6.2 แบบฝก เปนส่ิงท่ีสรางข้ึน เพื่อใหผูเรียนฝกทักษะ เพื่อใหเกิดการเรียนรูท่ีถาวรควรมี

สวนประกอบดังนี้ 6.2.1 ช่ือชุดฝกในแตละชุดยอย 6.2.2 จุดประสงค 6.2.3 คําส่ัง 6.2.4 ตัวอยาง 6.2.5 ชุดฝก 6.2.6 ภาพประกอบ 6.2.7 ขอทดสอบกอนและหลังเรียน 6.2.8 แบบประเมินบันทึกผลการใช

( สุนันทา สุนทรประเสริฐ. 2534 : 11-12) 7. รูปแบบของการสรางแบบฝก การสรางแบบฝกรูปแบบตองเปนส่ิงสําคัญในการท่ีจะจูงใจใหผูเรียนไดทดลองปฏิบัติแบบฝกจึงควรมีรูปแบบท่ีหลากหลาย การปรับเปล่ียนรูปแบบของแบบฝกแลวแตเทคนิคของแตละคน ซ่ึงจะเรียงจากงายไปหายากดังนี ้ แบบถูกผิด แบบจับคู แบบเติมคําหรือเติมขอความ แบบหลายตัวเลือก แบบอัตนัย 8. ข้ันตอนในการสรางแบบฝก ข้ันตอนในการสรางแบบฝก จะคลายกับการสรางนวัตกรรมทางการศึกษาประเภทอ่ืนๆ

8.1 วิเคราะหปญหาและสาเหตุจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เชน 8.1.1 ปญหาท่ีเกิดในขณะทําการสอน 8.1.2 ปญหาการผานจุดประสงคของนักเรียน 8.1.3 ผลการสังเกตพฤติกรรมท่ีไมพึงประสงคของนักเรียน 8.1.4 ผลสําฤทธ์ิทางการเรียน

Page 22: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

22

8.2 ศึกษารายละเอียดในหลักสูตร เพื่อวิเคราะหเนื้อหาจุดปะสงคและกิจกรรม 8.3 พิจารณาแนวทางแกไขปญหาท่ีเกิดข้ึน โดยการสรางแบบฝกและเร่ิมเนื้อหาในสวนท่ีสราง

แบบฝกนั้นวาจะทําเร่ืองใดบาง กําหนดเปนโครงเร่ืองไว 8.4 ศึกษารูปแบบของการสรางแบบฝกจากเอกสารตัวอยาง 8.5 ออกแบบชุดฝกแตละชุดใหมีรูปแบบที่หลากหลาย นาสนใจ 8.6 ลงมือสรางแบบฝกในแตละชุด พรอมท้ังขอทดสอบกอนและหลังเรียนใหสอดคลองกบั

เนื้อหาและจุดประสงคการเรียนรู 8.7 สงใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบ 8.8 นําไปทดลองใชแลวบันทึกผล เพื่อนํามาปรบปรุงแกไขสวนท่ีบกพรอง 8.9 ปรับปรุงจนมีประสิทธิภาพตามเกณฑท่ีกาํหนดไว 8.10 นําไปใชจริงและแพรตอไป

(สุนันทา สุนทรประเสริฐ. 2534 : 14) งานวจิัยท่ีเกี่ยวของ 1.งานวิจยัในประเทศ วิชุดา คงนรัุตน ( 2539:บทคัดยอ ) ไดทําการวจิยั เร่ือง การสรางแบบฝกเสริมทักษะการอานในใจโดยใชแผนภาพ ( Mapping ) สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 อําเภอสนม จังหวดัสุรินทร มีจุดมุงเพื่อ พัฒนาการสรางแบบฝกเสริมทักษะการอานในใจโดยใชแผนภาพ ( Mapping ) สําหรับนกัเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 โดยมีกลุมตัวอยางคือ โรงเรียนสนมศึกษาคาร และโรงเรียนวดับึงบานสนม อําเภอสนม จังหวดัสุรินทร จํานวน2หองเรียน หองเรียนละ 25 คน รวมท้ังหมด 50 คน เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัยคือ แบบฝกเสริมทักษะการอานในใจโดยใชแผนภาพ( Mapping ) ท่ีผูวจิัยสรางข้ึนจํานวน 6 หนวย และแบบทดสอบวดัผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ผลการวิจัยพบวา แบบฝกเสริมทักษะการอานในใจโดยใชภาพ( Mapping ) มีประสิทธ์ิภาพ 81.93/81.05 สูงกวาเกณฑ 80/80 ชยาภรณ พิณพาทย(2542:บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาคนควา เร่ือง การพัฒนาแบบฝกภาษาไทยท่ีมีประสิทธ์ิภาพ เพื่อสอนซอมเสริม เร่ือง คําสะกดการันต ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 โดยมีจุดมุงหมายเพ่ือพัฒนาแบบฝก ภาษาไทย การพัฒนาแบบฝกภาษาไทยท่ีมีประสิทธ์ิภาพเพื่อสอนซอมเสริม เร่ือง คําสะกดการันต โดยมีกลุมตัวอยางคือ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 โรงเรียนบานโคกสระนอย กลุมโรงเรียนสําโรง อําเภอปกธงชัย จังหวัดนครราชสีมา เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษาคนควา คือแผนการซอมเสริมจํานวน 5 แผน แบบฝกทักษะภาษาไทยจํานวน 5 ชุด และแบบทดสอบวดัผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนชนดิเลือกคําคําตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 30 ขอ ผลของการศึกษาพบวา แบบฝกทักษะท่ีผูศึกษาคนควาพัฒนาขึ้น มีประสิทธ์ิภาพเทากับ 80.30/80.56 สูงกวาเกณฑ 80/80 ท่ีตั้งไว และคะแนนวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.1

Page 23: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

23

ธวัช บูชาจันทรกูล ( 2542 : บทคัดยอ ) ไดทําการวิจยัเร่ือง การสรางแบบฝกเสริมทักษะการอานในใจโดยใชแผนภาพ( Mapping ) สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 โดยมีกลุมตัวอยางคือ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 84 และโรงเรียนบานโคกนางามปลาเซียม อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน จํานวน 2 หองเรียน หองเรียนละ 25 คน รวม 50 คน เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัยคือ แบบฝกเสริมทักษะการอานในใจโดยใชแผนภาพ( Mapping ) จําวน 6 หนวย แบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ผลการวิจัยพบวา แบบฝกเสริมทักษะการอาในใจ โดนใชแผนภาพ( Mapping ) มีประสิทธ์ิภาพ 80.91/80.13 ตามเกณฑตั้งไว ผลตางหลังการสอนสูงกวากอนสอนอยางมีนยัสําคัญทางสถิติท่ีระดับ.01 มัณฑนา พันธประสิทธ์ิ( 2543 : บทคัดยอ )ไดทําการศึกษาคนควาเร่ือง การพัฒนาชุดฝกทักษะการอานภาษาไทยเพื่อจับใจความ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 มีจุดมุงหมายเพื่อพัฒนาชุดฝกทักษะการอานภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปท่ี 4 ท่ีมีประสิทธ์ิภาพตามเกณฑ 80/80 โดยมีกลุมตัวอยาง คือ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 จํานวน 21 คนโรงเรียนบานดงเรือง อําเภอกุมภวาป จังหวดัอุดรธานี เคร่ืองมือท่ีใชในกรคนควาคือ ชุดฝกทักษะการอานภาษาไทยเพื่อจับใจความจํานวน 6 ชุด ผลการศึกษาคนควาพบวามีประสิทธ์ิภาพเทากับ 87.06/81.26 ซ่ึงสูงกวาเกณฑ 80/80 ท่ีตั้งไวและดชันีประสิทธ์ิผลมีคาเทากับ .49 อรพิมพ เครือเนียม ( 2544 : บทคัดยอ ) ไดทําการศึกษาคนควาเร่ือง การสรางแบบฝกทักษะการเขียนโคลงของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 โรงเรียนสตรีชัยภูมิ อําเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ มีจุดมุงหมายเพ่ือสรางแบบฝกทักษะการเขียนโคลงสําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 และเพื่อเปรียบเทียบทางการเขียนโคลงของนักเรียนท่ีเรียนโดยใชแบบฝกทักษะกับนกัเรียนท่ีไมใชแบบฝกทักษะโดยมีกลุมตัวอยางคือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 โรงเรียนสตรีชัยภมิู อําเภอเมือง จังหวดัชัยภูมิ จํานวน 80 คน เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษาคนควาคือ แผนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนศูนยกลางจํานวน 10 แผน แบบฝกทักษะการเขียนโคลง 10 แบบฝก แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิในการเขียนโคลงซ่ึงมีท้ังปรนัยและอัตนัย ผลการวิจยัพบวา แบบฝกทักษะการเขียนโคลงของมัธยมศึกษาปท่ี 5 มีประสิทธ์ิภาพ 90.68/86.45 บัณฑิตา แจงจบ ( 2545 : 31-32,46 ) ไดทําการวจิัย เร่ือง ทําการสรางแบบฝกเสริมทักษะการเขียนสะกดคํา ในมาตราตัวสะกดท่ีมีพยัญชนะใชหลายตัว สําหรับนักเรียนบานตล่ิงชัน อําเภอเหนือคลอง จังหวดักระบ่ี โดยมีจุดมุงหมายเพื่อสรางแบบฝกเสริมทักษะการเขียนสะกดคําในมาตราตัวสะกดท่ีมีพยัญชนะหลายตัวสําหรับนกัเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 กลุมตัวอยางคือ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 จํานวน 25 คนเคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัยคือ แผนการสอนจํานวน 10 แผน แบบฝกเสรมิทักษะการเขียนสะกดคํา ในมาตราตัวสะกดที่มีพยัญชนะใชหลายตัวจํานวน 10 แบบฝก และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเขียนสะกดคํา ในมาตราตัวสะกดที่มีพยัญชนะใชหลายตัว จํานวน 40 ขอ ผลการวิจัยพบวา แบบฝกเสริมทักษะท่ีสรางข้ึนมีประสิทธ์ิภาพ 84.52/83.00 2. งานวิจยัตางประเทศ

Page 24: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

24

เบาชารด (Bouchard. 2002 : Web site )ไดศึกษาความรูเร่ืองคําของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 จากความผิดพลาดในการอานกับการสะกดคําแมวาเขามีความพยายามอยางมากระหวางการอาน และการสะกดคํา แตการปฎิบัติงาน การอานและการสะกดคําของนักเรียนก็มักจะยังแสดงใหเห็นความแตกตางอยางมีนัยสําคัญในความถูกตองและความผิดพลาดของคํา การวิจยัคร้ังนีไ้ดศึกษาการสะกดคําตามความรูเร่ืองคําเชิงพัฒนาใน 4 ดาน ผลการวิเคราะหพบวาการปฎิบัติงานการอานของนักเรียนดกีวาการปฏิบัตงิานการสะกดคําอยางมีนัยสําคัญและพบวามีผลของรายงานอยางมีนยัสําคัญตอระดับความรูเร่ืองคําของนักเรียน ความผิดพลาดดานการอานและการเขียนของนกัเรียนตอไปพบวาความผิดพลาดเกี่ยวของกับลักษณะทางอักขรวิธีท่ีเหมือนกันในทุกงานในท่ีสุด จากการศึกษาการใหคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการสะกดคําและความรูเร่ืองคําของทักษะ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ของครู พบวาการใหคะแนนมีความสัมพนัธอยางมีนัยสําคัญกับการปฏิบัติจริงของนักเรียนในผลสัมฤทธ์ิทางการสะกดคําและความรูเร่ืองคํา แตก็ยงัไมเพียงพอสําหรับการตัดสินใจในการสอน คาแบน ( Caban. 2001 : Web site ) ไดศึกษาเกีย่วกับองคประกอบท่ีสําคัญของรูปแบบการเรียนการสอนของครูในชุมชนเมืองทางตะวันตกของรัฐนิวยอรคโดยศึกษาจากกลุมตัวอยางท่ีเปนครูสอน 2 ภาษาคือภาสเปน หรือ ภาษาอังกฤษเปนภาษาท่ี 2 จํานวน 31 คน ผลการศึกษาพบวา ครูสอนภาษาท่ีไดรับการฝกฝนมาเปนอยางดกีับกลุมท่ีไมไดรับการฝกฝนนั้นมีความสามารถไมแตกตางกนั ทางดานความรูและการเขาใจ ผลของการเปล่ียนแปลงดานการฝกฝนของครูท้ังเปนประเภทไดรับการฝกฝนอบรบรมมาอยางดีและประเภทท่ีไดรับการอบรมในระดับพืน้ฐานนั้น มีความแตกอยางกันเล็กนอยปญหาในการวิจัยประการท่ี 2 คือ การขอใหกลุมตัวอยางท้ัง 31 คน สงแผนการสอนเพราะวาแผนการสอนน้ันจะทําใหทราบความแตกตางของครูท้ังทางดานความคิดรวบยอดและองคประกอบสําคัญเกี่ยวกับการเรียนการสอนปรากฏวามีครู 27 น จากจํานวน 31 คน สงแผนการสอนใหพิจารณาและครูท่ีมีความรูความเขาใจ และการนําแนวความคิดเกีย่วกับการเรียนการสอน องคประกอบสําคัญของรูปแบบการสอนไปใชไมแตกตางกันปญหาการวิจยัขอท่ี 3 คือ การใชบทเรียน วดีีทัศนในการสอนซ่ึงทําใหเหน็ขอแตกตางของกลุมตัวอยางท้ัง 3 กลุม คือ กลุมท่ีไดรับการฝกฝนมาอยางดีกลุมท่ีไดรับการฝกฝนมาอยางดีกับกลุมท่ีไมไดรับการฝกฝนมากอนโดยกลุมท่ีไดรับการฝกฝนมาอยางดีไดรับคะแนนสูงมากท่ีสุดตามท่ีคาดหวัง คอรี (Corey. 2001 : Web site) ไดทําการศึกษาการรูหนังสือของหญิงวัยรุนในตําบลแอปปาลาเชีย เขตชนบททางอินเดียแดง เปาหมายการศึกษาอยูท่ีการรูหนังสือของหญิงวัยรุน 6 คน จากช้ันประถมปท่ี 6 มัธยมปท่ี 3 และมัธยมปท่ี 5 ช้ันละ 2 คน เพื่อเปนตัวแทนของชวงวยัรุนจึงเลือกหญิง 6 คน ในฐานะท่ีเปนผูนําท่ีมีเพือ่นรวมช้ันและครูผูรูวิธีการใชสังเกตและการสัมภาษณตลอดเวลา 1 ภาคเรียนท้ังในหองเรียนและนอกหองเรียน ทําการสัมภาษณผูปกครอง ครู และ ผูบริหารโรงเรียนดวย การตรวจสอบการรูหนังสือของหญิงวัยรุนในการศึกษาคร้ังนี้ไดแก การปฏิบัติการอาน และการเขียนท่ีโรงเรียนเขาแทรกแซง รวมท้ังการสังเกตท่ีครูและผูบริหารโรงเรียน กระทําโดยไมใหวัยรุนเหลานั้นรูตัวดวย พบวา

Page 25: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

25

จากการศึกษาคนควาและรายงานการวิจยัท่ีเกี่ยวของท่ีกลาวมาแลว ทําใหทราบวาความสามารถในการอานและการเขียนของนักเรียน เกดิจากวิธีการสอนของครูและส่ือการเรียนการสอนท่ีชวยในการเรียนการสอนของครูประสบผลสําเร็จ คือแผนการเรียนรูและแบบฝกทักษะท่ีมีเนือ้หาตรงกับความสนใจของนักเรียนในการศึกษาคนควาคร้ังนี้ ผูศึกษาคนควาจึงมุงพัฒนาแผนการเรียนรูการอานและการเขียนภาษาไทยเร่ืองการแตงประโยค โดยใชแบบฝกทักษะประกอบการสอนใหนักเรียน ไดฝกทักษะการอานและการเขียนเพื่อเปนการพฒันาความสามารถทางการอานและการเขยีนของนักเรียนใหมีประสิทธ์ิภาพยิ่งข้ึน

Page 26: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

26

บทที่ 3 วิธีการดําเนินงานวิจัย

ในการศึกษาคร้ังนี้เปนการวิจัยในช้ันเรียนเพื่อศึกษาผลการสอนโดยใชแบบฝก ซ่ึงมีรายระเอียดในการดําเนินการศึกษา ดังนี ้

1. ประชากรและกลุมตัวอยาง 2. แบบแผนท่ีใชในการศึกษา 3. ระยะเวลาท่ีทําการศึกษา 4. เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษา 5. วิธีดําเนนิการสรางเคร่ืองมือ 6. การเก็บรวบรวมขอมูล 7. การวิเคราะหขอมูล 8. สถิติท่ีใชในการวัดขอมูล

ประชากรและกลุมตัวอยาง

ประกรในการศึกษาวจิัย ไดแก นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 โรงเรียนบานภูดนิ อําเภอปทุมรัตต สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึษารอยเอ็ดเขต 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2550 จํานวน 14 คน กลุมตัวอยางในการศึกษาวิจัย ไดแก นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 โรงเรียนบานภูดนิ อําเภอปทุมรัตต สํานักเขตพื้นท่ีการศึกษารอยเอ็ดเขต 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2550 จํานวน 14 คน

แบบแผนที่ใชในการศึกษา

การศึกษาคร้ังนี้เปนการวจิัย แบบ One Group Pretest Design. ดังตารางท่ี 2 (ชูศรี วงศรัตนะ 2528 : 62.)

สอบกอน ตัวแปรอิสระ สอบหลัง T1 X T 2

T1 การสอบกอนการทดลอง X การทดสอบ T2 การทดสอบหลังการทดลอง

Page 27: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

27

การทดสอบกระทําในเดือน

การทดสอบ ไดกระทําในเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2550 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2549 ( วันท่ี 1 กุมภาพนัธ 2550 - 27 กุมภาพนัธ 2550 )ใชเวลาสอนเปนเวลา 15 คาบ คาบละ 20 นาที สอนคร้ังละ 3 คาบ รวม 60 นาที จาํนวน 5 แผน แผนละ 1 ช่ัวโมง โดยไปรวมท่ีใชในการสอบกอนเรียน (Pre - Test) และหลังเรียน (Post – Test) ซ่ึงผูวิจัยเปนผูสอนเอง ดังแสดงตารางท่ี 3 และ 4 ตารางท่ี 3 การทดลองสอนโดยใบแบบฝกปฏิบัติเพื่อพฒันาการสอน การแตงประโยค ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2549

เวลาในการทดลอง วัน 09.00-10.00 10.00-11.00 11.00-12.00 12.00-13.00 13.00-14.00 14.00-15.00 15.00-16.00

จันทร X อังคาร พุธ X

พฤหัสบดี ศุกร X

หยุดพัก

กลางวัน

จากตาราง X คือชวงโมงที่ใชในการทดลองสอน ซ่ึงผูวิจัยไดดําเนินการทดลองในภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2549 ระหวางวนัท่ี 1 กุมภาพนัธ 2550 - 27 กุมภาพนัธ 2550 ตารางท่ี 4 กําหนดวันเวลาในการศึกษาภาคเรียนท่ี 2 จํานวน 5 แผน แผนละ 1 ช่ัวโมง 15 คาบ คาบละ 20 นาที แผนการจัดการเรียนรู ว / ด / ป เวลา ภาคเรียนท่ี

1 2 ก.พ. 49 11.00-12.00 น. 2 2 7 ก.พ. 49 10.00-11.00 น. 2 3 16 ก.พ. 49 11.00-12.00 น. 2 4 21 ก.พ. 49 10.00-11.00 น. 2 5 28 ก.พ. 49 10.00-11.00 น. 2

Page 28: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

28

เคร่ืองมือทีใ่ชในการศึกษา

เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษาคร้ังนี้ ดังนี ้ 1.เคร่ืองมือท่ีใชในการทดลอง ไดแก แผนการสอนการพัฒนาส่ือการเรียนการสอน เร่ือง การแตงประโยคคําถาม และประโยคคําตอบ จํานวน 5 แผน 15 คาบ 2.เคร่ืองมือท่ีใชเก็บรวบรวมขอมูล คือ 2.1 แบบทดสอบกอนเรียน (Pre-Test) และหลังเรียน (Post-Test) จํานวน 1 ชุดมี 30 ขอ ซ่ึงผูวิจัยไดหาคุณภาพของเคร่ืองมือแลว เพื่อใชวัดความรูโดยใชแบบฝก

วิธีการดําเนินการสรางเคร่ืองมือ

1.การสรางแผนการจัดการเรียนรู ผูวิจยัไดดําเนินตามข้ันตอนดังนี ้ 1.1 ศึกษาหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2539 ในดานจุดมุงหมายของหลักสูตร โครงสรางของหลักสูตร อัตราเวลาเรียน แนวการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน การวัดผลและประเมินผล และส่ือการเรียนการสอนภาษาไทยในระดบัประถมศึกษา 1.2 ศึกษาขอบขายและรายละเอียดของรายวิชาภาษาไทย ในหลักสูตรช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 1.3 วิเคราะหเนื้อหาและหลักการใชภาษาไทย นํามาทดลองจัดกิจกรรมการสอน 1.4 การเขียนแผนการจดัการเรียนรูท่ีเปนการใชประโยคคําถาม และประโยคคําตอบโดยใชกิจกรรมเสริมทักษะ เชน เนื้อเร่ือง หรือนิทาน ขาวหนังสือพิมพจํานวน 5 แผน 1.5 นําแผนการจัดการเรียนรูท่ีสรางและปรับปรุงแกไขแลวเสนออาจารยท่ีปรึกษา ตรวจเพื่อพจิารณาแกไข คือ อ. ชัชวาล เปานาเรียง 1.6 นําแผนไปพิมพเปนฉบับสมบูรณ 2.วิธีสรางเคร่ืองมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจยัมีข้ันตอนในการสราง ดังนี้ 2.1 การสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ กอนเรียน (Pre-Test) และหลังเรียน (Post-Test) วจิัยไดนําเนนิตามข้ันตอนดังนี้ 2.1.1 ศึกษาเอกสารตางๆ ท่ีเกี่ยวของกับแบบทดสอบในคร้ังนี้ 2.1.2 ศึกษาวิธีการสราง เคร่ืองมือแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิแบบอิงเกณฑ 2.1.3 วิเคราะหจุดประสงคเนื้อหาวิชาท่ีตองการใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและที่จะตองวัด 2.1.4 กําหนดรูปแบบของขอสอบ และศึกษาวิธีการเขียนขอสอบ 2.1.5 นําเคร่ืองมือท่ีสราง เสนออาจารยท่ีปรึกษา เพื่อพิจารณาขอบกพรองและใหขอเสนอเพ่ือนาํไปปรับปรุง

Page 29: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

29

2.1.6 นําเคร่ืองมือท่ีปรับปรุงแลวไปทดลองใช (Try Out) กับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 โรงเรียนบานภดูิน อําเภอปทุมรัตต สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษารอยเอ็ดเขต 2 จํานวน 14 คน โดยสอบกอนเรียน (Pre-Test) และหลังเรียน (Post-Test) แลวนําเอาผลสอบเปนรายขอมาวิเคราะหหาความยากงาย (P) และอานจําแนก (r) โดยใชเทคนิค 27 เปอรเซ็นต ( บุญชม ศรีสะอาด 2532 :87-88 ) แลวคัดเลือกขอสอบท่ีมีคาความยาก ( P ) อยูระหวาง .20 - .80 คาจํานวนจําแนกตั้งแต .20 ข้ึนไป จําแนก 30 ขอ ( บุญชม ศรีสะอาด 2532 : 90)

การเก็บรวบรวมขอมูล

1.ผูวิจัยไดทําการทดลองกบันักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 โรงเรียนบานภดูิน อําเภอปทุมรัตต สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึษารอยเอ็ดเขต 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2548 จํานวน 14 คน ใชแบบทดสอบกอนเรียน (Pre-Test) แลวผานกระบวนการสอนโดยใชแผนการสอนโดยใชแบบฝก 5 แผน หลังจากนั้นก็ใชแบบทดสอบฉบับเดิมใชทดสอบหลังเรียน (Post-Test) แลเก็บขอมูลดําเนินตามข้ันตอน

การวิเคราะหขอมูล

เม่ือผูวิจัยดําเนินการเก็บขอมูลเรียบรอยแลว ไดนําขอมูลมาวิเคราะหดังนี ้ 1.แบบทดสอบ 1.1ข้ันตรวจสอบความสมบรูณ ผูวิจยัไดตรวจสอบความสมบรูณของแบบทดสอบทํากอนเรียน (Pre-Test) และหลังเรียน 1.2ข้ันตรวจใหคะแนน นํากระดาษคําตอบของนักเรียน แตละคนทํากอนเรียน มาตรวจใหคะแนน ความเกณฑท่ีไดกําหนดและทําการวิเคราะหกอนเรียนท้ังฉบับ 1.3 นําคาคะแนนท่ีไดมาคํานวณหาคาสถิติพื้นฐาน โดยการหาคาเฉลี่ย ( X ) และเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.P.) ของขอสอบ 1.4 เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระหวางกอนเรียนและหลังเรียน โดยใช T-Test (Dependent Sample) (บุญชม ศรีสะอาด 2532:122)

สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

ในการวิเคราะหคร้ังนี้ ผูวิจัยดําเนนิการวิเคราะหขอมูลเพื่อหาคาสถิติดังนี้ 1.สถิติพื้นฐาน 1.1หาคาเฉล่ีย (Arithmetic mean) ใชสูตร(บุญชม ศรีสะอาด 2532:42 ) •x X = —— N เม่ือ X แทน คาเฉล่ีย

Page 30: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

30

แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมดในกลุม •x

N แทน จํานวนสมาชิกในกลุม

1.2 คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใชสูตร ( บุญชม ศรีสะอาด 2532:74 ) S = N• x2 - ( •x)2 N (N-1) เม่ือ S แทน สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน X แทน คะแนนแตละตัว N แทน จํานวนสมาชิกในกลุม • แทน ผลรวม 2. สถิติท่ีใชในการหาคุณภาพของเคร่ืองมือ 2.1 การหาความยากงาย (Difficulty) ของขอสอบแตละขอใชสูตร (บุญชม ศรีสะอาด 2532 : 90 )

Ru+Rl 2f

P =

เม่ือ p แทน ลําดบัความยาก Ru แทน จํานวนคนกลุมสูงท่ีตอบถูก Rl แทน จํานวนคนนกลุมตํ่าท่ีตอบถูก 2f แทน จํานวนคนในกลุมสูงและตํ่า 2.2การหาคาอํานาจจําแนก (Discrimination)ของขอสอบแตละขอใชสูตร (บุญชม ศรีสะอาด. 2532:90 )

r = f

RlRu −

เม่ือ r แทน อํานาจจําแนก Ru แทน จํานวนคนกลุมสูงท่ีตอบถูก Rl แทน จํานวนคนกลุมตํ่าท่ีตอบถูก f แทน จํานวนคนในกลุมสูงหรือกลุมตํ่าซ่ึงเทากัน

Page 31: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

31

2.3การหาความเช่ือม่ัน (Reliability) ของขอสอบท้ังฉบับโดยใชสูตร KR20 (Kuder - Richardson ) (บุญชม ศรีสะอาด 2532 : 95)

rtt = ⎟⎟⎠

⎞⎜⎜⎝

⎛−

−∑

211 s

ppk

k

เม่ือ r tt แทน ความเช่ือม่ันของแบบทดสอบ k แทน จํานวนขอสอบ p แทนสัตวสวนของผูตอบถูกในขอหนึ่ง ๆ

= NR เม่ือRแทนจํานวนผูตอบถูกในขอนั้นผูสอบ

q แทนสัดสวนผูตอบผิดในขอหนึ่งๆ=1-P S2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนสอบท้ังชุด 3. สถิติท่ีใชทดสอบสมมุติฐาน 3.1 คารอยละ(percentage) โดยใชสูตร(บุญชม ศรีสะอาด. 2532 : 112)

P =Nf × 100

เม่ือ p แทน รอยละ F แทน ความถี่ตองการแปลงใหเปนรอยละ N แทน จํานวนความถ่ีท้ังหมด 3.2 สถิติท่ีใชทดสอบสมมุติฐาน ใชคา t – test (dependent sample)ใชสูตร (บุญชม ศรีสะอาด. 2532:122)

t = ( )

( )1

22

−∑ ∑∑

nDDn

D

เม่ือ t แทน คาสถิติท่ีจะใชเปรียบเทียบกบัคาวิกฤตเพ่ือทราบ ความมีวนิัยสําคัญ D แทน คาผลตางระหวางคูคะแนน n แทน จํานวนกลุมตัวอยางหรือจํานวนคูคะแนน

Page 32: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

32

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล

แบบเสนอการวิเคราะหขอมูล การพัฒนาทักษะการแตงประโยคคําเพื่อแกปญหาการพูดและการเขียนโดยใชแบบฝกทักษะ ผูวิจัยไดดําเนนิการดังนี ้

1. สัญลักษณในการวิเคราะหขอมูล 2. การวิเคราะหขอมูล 3. ผลการวิเคราะหขอมูล

สัญลักษณท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล เพื่อใหเกิดความเขาใจตรงกนัในการแปลความหมายของการวิเคราะห ผูวิจัยกําหนดความหมายสัญลักษณท่ีใชในการวิเคราะหขอมูลดังนี ้ N แทน จํานวนนักเรียน X แทน คาเฉล่ีย S.D แทน คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน D แทน ผลตางระหวางคะแนนแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน • D2 แทน ผลรวมของผลตางแตละคะแนนกอนเรียนและหลังเรียน • D2 แทน ผลรวมของผลตางแตละคะแนนกอนเรียนและหลังเรียนท้ังหมด (• D)2 แทน ผลรวมของผลตางแตละคะแนนกอนเรียนและหลังเรียนท้ังหมดยกกําลังสองระหวางคะแนนแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน df แทน แทนระดับความเปนอิสระ (Degrees of freedom ) T แทน คาสถิติท่ีใชเปรียบเทียบกับคาวกิฤติ เพื่อทราบความมีนัยสําคัญ

การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยไดวเิคราะหมูลดังนี ้

1. หาคาเฉล่ียผลสัมฤทธ์ิของแบบทดสอบทางการเรียนการพัฒนาทักษะการ แตงประโยคโดยใชแบบฝกทักษะกอนและหลังสอน

2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ผลการวิเคราะหขอมูล

Page 33: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

33

1. การหาคาเฉล่ียคะแนนผลสัมฤทธ์ิ ของแบบฝกของแบบทดสอบการพัฒนาทักษะการแตงประโยค กอนและหลังการสอน

2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดยใชแบบฝกทักษะ การพัฒนาทักษะการแตงประโยคคํา T – test ( Dependent sample ) ผลการวิเคราะหขอมูล

1. การหาคาเฉลี่ย คะแนนผลสัมฤทธ์ิของแบบฝกทักษะการพัฒนาการแตงประโยค และทําการทดสอบหลังดําเนนิการสอน เพือ่ใชเปนขอมูลในการทดสอบสมมุติฐานการวิจัยแสดงตารางดังนี ้

ตารางการเปรียบเทียบคะแนนกอนเรียนและหลังเรียน

เลขท่ี คะแนนทดสอบกอนเรียน คะแนนทดสอบหลังเรียน 1 11 20 2 18 26 3 15 27 4 14 26 5 19 30 6 12 25 7 15 26 8 13 24 9 15 23 10 13 22 11 14 27 12 14 28 13 7 21 14 15 30 รวม 195 355

รวมเฉล่ีย 13.93 25.36 จากตารางจะเห็นวาคะแนนกอนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนท้ัง 14 คน มีคาเฉล่ียกอนเรียน 13.93และคาเฉล่ียหลังเรียน 25.36 ผูวิจัยใชเปนขอมูลในการทดสอบสมมุติฐานการศึกษา ดังตารางตอไปน้ี

Page 34: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

34

คาเฉล่ียและคาเบ่ียงเบนมาตรฐานของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนการแตงประโยคโดยใชแบบฝกปฏิบัติกอนและหลังดําเนินการศึกษา

กอนดําเนินการทดลอง หลังดําเนินการทดลอง กลุม

จํานวนคน

คะแนนเต็ม X S.D X S.D

กลุมทดลอง 14 30 13.93 2.97 25.36 3.04 จากตาราง แสดงใหเห็นวาคะแนนกอนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนท้ังหมด 14 คนมีคาเฉล่ีย13.93 และคาเฉล่ียรวม 25.36

Page 35: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

35

บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

จากการศึกษาผลการพัฒนาทักษะการแตงประโยคสรุปการศึกษาไดดงันี้ 1. วัตถุประสงคของการศึกษา 2. สมมุติฐานการวิจัย 3. วิธีดําเนนิการศึกษาคนควา

ประชากรในการศึกษาวจิัย เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษา การเก็บรวมรวมขอมูล

4. สรุปผลการศึกษา 5. การอภิปรายผล 6. ขอเสนอแนะ

วัตถุประสงคของการศกึษา 1. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลการใชแบบฝกทักษะการแตงประโยค 2. เพื่อศึกษาวิธีการใชและการแตงประโยคของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3

สมมุติฐานของการศึกษา นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 โรงเรียนบานภูดนิ อําเภอปทุมรัตต สํานักงานเขตพืน้ท่ีการศึกษารอยเอ็ด เขต 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2549 จํานวน 14 คน ท่ีเรียนดวยการใชแบบฝกทักษะการพัฒนาทักษะการแตงประโยค มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน

วิธีดําเนินการศึกษาคนควา การศึกษาคนควาคร้ังนี้ ผูศึกษาไดทําการทดลองกับนักเรียน โรงเรียนบานภดูิน อําเภอปทมุรัตตสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษารอยเอ็ดเขต 2 เปนกลุมตัวอยาง เพื่อทําการทดลองสอนกับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 จํานวน 14 คน ในการทดลองคร้ังนี้ ผูวิจัยดําเนินการดังนี ้

1. ทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิกอนเรียน ( pre-test ) โดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิท่ีผูวิจัยสรางข้ึน จํานวน 30 ขอ

2. ทดลองสอนโดยใชแผนการเรียนรูการอานและการเขียนภาษาไทยเร่ือง ประโยค ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ใชแบบฝกทักษะจํานวน 5 แผน รวมเวลาการสอน 5ช่ัวโมง

3. ทดสอบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ( post-test ) โดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ฉบับเดียวกับแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิกอนเรียน

Page 36: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

36

เคร่ืองมือทีใ่ชในการศึกษา 1.แผนการสอน จํานวน 5 แผน ใชเวลาสอนแผนละ 3 คาบ คาบละ 20 นาที รวม 60 นาที จํานวน 5 ช่ัวโมง 2. แบบฝกทักษะการพัฒนาทักษะการแตงประโยค จํานวน 30 ขอ 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนการสอนเรื่องการแตงประโยค

การเก็บรวมรวมขอมูล การศึกษาคร้ังนี้ผูวิจยัไดดําเนินการทดลองศึกษากับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 โรงเรียนบานภูดิน อําเภอปทุมรัตต สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษารอยเอ็ด เขต 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2549 ระหวางวนัท่ี 2 กุมภาพนัธ ถึง 27 กุมภาพันธ 2550 โดยใชเวลาในการทดลอง 5 ช่ัวโมง หรือ 15 คาบ คาบละ 20 นาที เปนเวลา 5วันไมรวมเวลาทดสอบกอนเรียน และหลังเรียน ซ่ึงดําเนินการดังนี ้

1. ช้ีแจงความเขาใจเกีย่วกับขบวนการสอน 2. ทําการทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน ดวยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน

3. ดําเนินการทดลองทําการสอนวิธีการแตงประโยคโดยใชบทบาทสมมุติซ่ึงเปนทักษะขบวนการที่ผูวิจัยสรางข้ึนจาํนวน 5 แผน 3. เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิกอนเรียนและหลังเรียนดวยแบบทดสอบวดัผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการใชภาษาและพฤติกรรมทางการเรียนของนักเรียน โดยครูเปนผูสังเกต แลวเก็บขอมูลไปวิเคราะหตอไป

การวิเคราะหขอมูล 1. หาคาเฉล่ียพื้นฐานโดยหาคาเฉล่ีย และคาเบ่ียงเบนมาตรฐานคะแนนผลสัมฤทธ์ิกอนเรียน ( pre – test ) และหลังเรียน ( post – test ) 2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดยใชแบบฝกทักษะโดยเนนการแตงประโยคโดยใช T-test ( Dependent Sample ) 3. นําขอมูลสังเกตการแตงประโยคและพฤติกรรมของนักเรียนมาวิเคราะหขอมูลดวยวิธีการหาคารอยละ 4. วัดความพึงพอใจของนกัเรียนท่ีมีตอการเรียนโดยใชบทบาทสมมุติเนนรูปแบบทางภาษาดวยวิธีการหาคารอยละ

Page 37: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

37

สรุปผลการศึกษา 1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ดานการแตงประโยค

โดยใชแบบฝกทักษะมีผลการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน 2. การวิเคราะหพฤติกรรมในการแตงประโยคผลการศึกษาพบวาหลังจากใชกจิกรรมบทบาทสมมุติ

ในรูปแบบการแตงประโยค (รอยละ 66.76 ) ดานการใชภาษา ( รอยละ 80 ) ความสามารถในการใชประโยค ( รอยละ 53.33 )

3. การวิเคราะหพฤติกรรมการเรียนของนกัเรียน ผลการศึกษาพบวา ขณะฝกปฏิบัติดวยกิจกรรม บทบาทสมมุติท่ีเนนรูปแบบทางการศึกษา นักเรียนสวนใหญมีพฤติกรรมการเรียนทักษะการแตงประโยคอยูในระดับมาก ท้ังดานความสนใจและต้ังใจเรียน ( รอยละ 93.33 ) พฤติกรรมการรวมมือการทํางานกลุม ( 53.33 ) และพฤติกรรมความสนุกสนานในการเรียนโดยใชบทบาทสมมุติ ( รอยละ 90 ) สวนพฤติกรรมดานความเหมาะสม อยูในระดับปานกลาง

3. ความพึงพอใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ตอการใชแบบฝกทักษะการแตง ประโยค พบวานักเรียนทุกคนมีความพึงพอใจตอการเรียนภาษาไทยอยูในระดบัดี ( รอยละ 90 )

อภิปรายผล การศึกษาคนควาเร่ืองการพัฒนาแผนการเรียนรู การอานและการเขียน ภาษาไทย เร่ือง การแตงประโยค ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 โดยใชแบบฝกทักษะ สามารถอภิปรายผลไดดังนี ้

1. การพัฒนาแผนการเรียนรู การอานและการเขียน ภาษาไทย เร่ือง ทักษะการแตงประโยค ช้ัน ประถมศึกษาปท่ี 3 โดยใชแบบฝกทักษะท่ีผูศึกษาคนควาพัฒนาข้ึน มีประสิทธิภาพเทากับ 66.67 เปนไปตามความมุงหมายของการศกึษาคนควา ท้ังนี้อาจเนื่องมาจากแบบฝกท่ีผูศึกษาคนควา ไดผานข้ันตอนการสรางอยางมีระบบและไดรับการตรวจสอบแกไขจากอาจารยท่ีปรึกษาการศึกษาคนควาอิสระ ตลอดจนผูเช่ียวชาญในการสรางแบบฝกกอนท่ีจะนําไปใชกับกลุมทดลองโดยเร่ิมจากการศึกษาหลักสูตรข้ันพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ชวงช้ันท่ี 2 ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 แลวดาํเนินการสรางแบบฝกทักษะการอานและการเขียน แตงประโยค แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดยเฉพาะการสรางแบบฝกทักษะการอานและการเขียน เร่ืองการแตงประโยค ผูศึกษาคนควาไดสรางตามหลักการ และข้ันตอนการสรางแบบฝกทักษะของสุนนัทา สุนทรประเสริฐ ( 2534 : 10-11 ) ซ่ึงสรางข้ึนตามหลักจิตวิทยาการเรียนรู ผูเรียนไดศึกษาคนควาดวยตนเองครอบคลุมและสอดคลองกับเนื้อหา รูปแบบนาสนใจคําส่ังชัดเจนจดักิจกรรมการเรียนการสอนใหเกิดความสนุกสนาน นาสนใจ ใชเวลาส้ัน ๆ นักเรียนจึงไมเบ่ือหนายท่ีจะเรียน อีกทั้งใหความรวมมือ ในการจดัทํากจิกรรมเปนอยางดี ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาคนควาของ อุษา จิตรถาวร ( 2541 : 89 ป เร่ืองการพัฒนาแบบฝกทักษะกิจกรรมข้ันตอนท่ี 5 ท่ีมีประสิทธิภาพเร่ืองเพื่อนรักประกอบการสอนภาษาไทยแบบมุงประสบการณการทางภาษาช้ันประถมศึกษาปท่ี 1 สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจงัหวัดมหาสารคามท่ีกลาววา การใชแบบฝกทักษะ

Page 38: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

38

2. ดัชนีประสิทธิผลของการพัฒนา แผนการเรียนรูการอานและการเขียนภาษาไทยเร่ืองการแตง ประโยค ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 มีคาเทากบั .05 ซ่ึงมีความหมายวาแบบฝกทักษะการพัฒนาการแตงประโยค ชุดนีมี้ความเปนไปไดท่ีจะทําใหผลการเรียนของนักเรียน เกดิการเปล่ียนแปลงในทางท่ีสูงข้ึน รอยละ 50 การศึกษาคนควาของหวานใจ บุญหยก ( 2545 : 104 ) ซ่ึงทําการคนควาวจิัยเกีย่วกับการพัฒนาแผนการสอนคํายากวิชาภาษาไทย โดยใชเกมและเพลง ช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 พบวาดัชนีประสิทธิผล 0.75 ซ่ึงแสดงวามีความกาวหนาทางการเรียนสูงข้ึนรอยละ 76 ซ่ึงเนื่องมาจาก การศึกษาคนควาพฒันาการเรียนรูการเขียนและการอานภาษาไทยโดยแบบฝกทักษะนักเรียนมีความกระตือรือรนในการทําแบฝกทักษะ เด็กมีสวนรวมในการแสดงออกในการวมกจิกรรม มีความคิดสรางสรรคในการใชภาษาส่ือสาร ทักษะท้ัง 4 ดานคือฟง พูด อาน เขียน เด็กเกิดความภาคภูมิใจในช้ินงาน สนองความแตกตางระหวางบุคคล แบบฝกทักษะเปนสวนเพิ่มเติมหนงัสือและยังชวยใหเด็กไดทํากิจกรรม ตามความสามารถของแตละบุคคล ซ่ึงจะทําใหการเรียนรูภาษาคงทนและสามารถฝกไดหลาย ๆ คร้ังโดยเนนฝกเฉพาะเร่ืองท่ีตองการ และส่ิงท่ีสําคัญนักเรียนมีทัศนคติท่ีดีตอภาษาไทย สามารถนําความรูท่ีไดไปใชในการเรียนรู และแสวงหาความรูดวยตนเอง

ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะเพื่อการนําไปใช

แผนการจัดการเรียนรูการอานและการเขียนภาษาไทยเร่ืองการพัฒนาทักษะการแตงประโยคช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 โดยใชแบบฝกทักษะน้ีเปนแผนและแบบฝกท่ีผูวิจัยไดศึกษาและสรางข้ึน ซ่ึงผูศึกษาคนควาขอเสนอแนะวิธีการในการนําแผนการจัดการเรียนรูไปใชดังนี ้ ครูผูสอนภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ควรนําแผนการเรียนรูและแบบฝกทักษะน้ีได สอนภาษาไทยเร่ือง การพัฒนาทักษะการแตงประโยคเพือ่แกปญหาการพูดและการเขียน

Page 39: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

39

ครูท่ีจะใชแผนการสอนและแบบฝกทักษะ ควรเพิ่มเติมกิจกรรมการฝกทักษะการอาน และการเขียนใหมากยิ่งข้ึน โดยเพิ่มเวลาและแบบฝก 2. ขอเสนอแนะในการศึกษาคนควาคร้ังนี้ 2.1 ควรสรางแผนการสอน และแบบฝกเร่ืองอ่ืน และช้ันอ่ืน ๆ เพื่อนําไปทดลองหาประสิทธิภาพ

Page 40: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

40

บรรณานุกรม กรมวิชาการ . คูมือการจัดการเรียนรูกลุมสาระภาษาไทย. กรุงเทพฯ : องคกรรับสงสินคาและพัสดุครุภัณฑ,2545 ก. . คูมือสําหรับใชควบคูกับหนังสือเรียนภาษาไทย ชุดพืน้ฐานภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี 5 เลม 1 ตามหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 ( ฉบับปรับปรุง 2533). กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพราว, 2539. . คูมือพัฒนาส่ือการเรียนรู. กรุงเทพฯ : องคการรับสงสินคาและพัสดภุัณฑ, 2545 ข. . แนวการสอนภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพราว, 2539. . แนวทางการวดัประเมินผลการเรียน. กรุงเทพฯ : องคการรับสงสินคาและพัสดุภณัฑ, 2545 ค. . แนวการสอนภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพราว, 2539. . แนวทางการวดัและประเมินผลการเรียน. กรุงเทพฯ : องคการรับสงสินคาและพัสดภุัณฑ, 2545 ง. . แนวการสอนภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี 5 . กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพราว, 2539. . แบบฝกหัดภาไทย ชุดพื้นฐานภาษา ช้ันประถมศึกษาปท่ี 5 เลม 1. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพราว, 2541. . หนงัสือเรียนภาไทย ชุดพื้นฐานภาษา ช้ันประถมศึกษาปท่ี 5 เลม 1. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพราว, 2538. . หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพราว, 2545 จ. . สาระและมาตรฐานการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย. กรุงเทพฯ : องคการรับสงสินคาและพัสดภุัณฑ, 2545 ฉ. กรรณิการ พวงเกษม. ปญหาและกลวิธีสอนภาษาไทยในโรงเรียนประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : ไทยวฒันาพานิช, 2534. เกสร รองเดช. การสรางแบบฝกเพื่อสอนส่ือมาสรางการอานออกเสียง พยัญชนะ “ง” “ฟ” “ฝ” “ค” และ “ขว” สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 5 ในจังหวดันครศรีธรรมราช. วิทยานิพนธ ศ.ศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2522. กอ สวัดิพานชิย. การสอนอานในช้ันประถม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพการศาสนา, 2509. จารุวรรณ พิมพะนิตย. เปรียบเทียบความสามารถการอานออกเสียงคําท่ีมีครบกลํ้าดวย ร ล ว วิชาภาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ท่ีสอนโดยใชเกมสในการฝกทักษะ ตามคูมือครู. วิทยานิพนธ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2540. ชลธิชา กลัดอยู และคนอ่ืนๆ. การใชภาษา. กรุงเทพฯ : เคล็ดไทย, 2517.

Page 41: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

41

นันทนา รณเกียรติ. สัทสาสตรเบ้ืองตนและการบันทึกเสียงในภาษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร, 2529 บัณฑิตา แจงจบ. การสรางแบบฝกเสริมทักษะการเขียนสะกดคําในมาตราตัวสะกดท่ีมีพยัญชนะ ใชหลายตัว สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3. วิยานพินธ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2543. บันลือ พฤษวัน. มิติใหมในการสอนอาน. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2532. . อุปเทศการสอนภาษาไทยระดับประถมศึกษาแนวบรูณาการทางการสอน กรุงเทพฯ : ไทยวฒันาพานิช, 2522. บุญชม ศรีสะอาด. การวิจยัเบ้ืองตน. พิมพคร้ังท่ี 7. กรุงเทพฯ : สุวิริยาสาสน, 2545. ประเทือง คลายสุบรรณ. อานเขียนคําไทย. พิมพคร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน, 2530. ประสงค รายณสุข. รายงานการวจิัยการศึกษาผลการทดลองใชแบบฝกเสริมทักษะการพดูภาษาไทย แกเด็กชาวเขา. กรุงเทพฯ : คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยประสานนกิาร 2532. เผชิญ กิจระการ. วารสารการวัดผลการศึกษามหาวิทยาลัยมหาสารคาม. กาฬสินธุ : ประสานการพิมพ, 2544. ผอบ โปษะกฤษะณะ. ลักษณะเฉพาะของภาษาไทย. กรุงเทพฯ : รวมสาสน, 2544. พยุง ญาณโกมุท. “ขอคิดในการสอนภาษาไทยวาดวยการพูด หรือการอานออกเสียงอักษรควบ,” ประชาศึกษา. 18 (1) : 624 - 626 ; มิถุนายน, 2510. พรรณธิภา ออนแสง. การเปรียบเทียบความสามารถในการอานออกเสียงควบกลํ้าของนักเรียน ท่ีพูดภาษาถิ่นไทยลาวในระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 2 ระหวางกลุมท่ีไดรับการสอนโดย ใชแบบฝกท่ัวไป. ปริญญานิพนธ กศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2532. พวงรัตน ทวรัีตน. วิธีการวจิัยทางพฤติกรรมศาสตรและสังคมสตร. พิมพคร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพเจริญผล, 2531. ไพเราะ วุฒิเจริญกุล. การพัฒนาชุดฝกทักษะการอานภาษาไทยเพื่อจับใจความของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 5. รายงานการศึกษาคนควาอิสระ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2540 มหาวิทยาลัย,สุโขทัยธรรมาธิราช. เอกสารการสอนชุดวชิาการสอนกลุมทักษะ (ภาษา) หนวยท่ี 1-8 พิมพคร้ังท่ี 4. นนทบุรี : โรงพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2539. มัฒฑนา พนัธประสิทธ์ิ. การพัฒนาชุดฝกทักษะการอานภาษาไทยเพื่อจับใจความช้ัน ประถมศึกษาปท่ี 4. รายงานการศึกษาคนควาอิสระ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2543. ยุพิน พลดร. การสรางแบบฝกทักษะท่ีมีประสิทธิภาพในการออกเสียงพยัญชนะ ช,ฉ สําหรับ

Page 42: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

42

นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 1 : ศึกษาเฉพาะกรณีท่ีพูดภาษาถิ่นสวย โรงเรียนบานเหลา หมากคํา. วิทยานิพนธ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2540. ราชบัณฑิตยฺสถาน. พจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2530. กรุงเทพฯ : วฒันาพานิช, 2530. รัชนี ศรีไพวรรณ. การสอนกลุมทักษะ. นนทบุรี : โรงพิมพมหาวทิยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2528. รุจิร ภูสาระ. การเขียนแผนการเรียนรู. กรุงเทพฯ : บุคพอยทจํากดั, 2545. ลวน สายยศ และ อังคณา สายยศ. เทคนิกการวจิัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน, 2538. วรรณี โสมประยูร. การสอนภาษาไทย ระดับประถมศึกษา. พิมพคร้ังท่ี 4. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช, 2544. วิชชุล คงนุรัตน. การสรางแบบฝกเสริมทักษะในการอานในใจโดยใชแผนภาพ (Mapping) สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 อําเภอสนม จังหวดัสุรินทร. วิทยานิพนธ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2539. วิมลรัตน สุนทรโรจน. สัมมนาหลักสูตรการสอนภาษาไทย. มหาสารคาม : ม.ป.พ. ศรีสุนทรโวหาร, พระยา. นิติสารสาธก. กรุงเทพฯ : คลังวิทยา, 2504. สงบ ลักษณะ. จากหลักสูตรสูแผนการสอน. พิมพคร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ : 2535. สนิท ตั้งทวี. ศิลปะการสอนภาษาไทยระดับช้ันมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, 2531. สนิท สัตโยภาส. การสอนภาษาไทยแกเด็กประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, 2526. . การสอนภาษาไทยแกเด็กประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : บรรณกิจเทรดดิง้, 2532. สมนึก ภัททิยธนี. การวัดผลการเรียน. มหาสารคาม : ภาควิชาการวัดผลและวิจยัทางการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม, 2537. สมนึก ศรีจามร. ผลสัมฤทธ์ิจากการใชแบบฝกคําควบกลํ้าของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 2 วิทยานิพนธ ศษ.ม. ขอนแกน : มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2539. สุดารัตน เอกวานิช. การสรางแบบฝกการอานคําท่ีใชอักษรควบ ร ล ว ควบกลํ้า สําหรับนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 4. วิทยานิพนธ ค.ม. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรมหาวทิยาลัย,, 2520. สุนันทา ม่ันเศรษวิทย. หลักและวีสอนอานภาษาไทย. พิมพคร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2539. สุนันทา สุนทรประเสริฐ. การสรางแบบฝกเลม 2. ชัยนาท : ชมรมพัฒนาดานความรูดาน ระเบียบกฎหมาย, 2534. สุรพล คํามณีจันทร. การศึกษาเจตคติของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ซ่ึงเรียนคณิตศาสตรโดย ใชเกมประกอบการสอน โรงเรียนชุมชนบานสวนกวาง จังหวดัขอนแกน. วิทยานิพนธ กศ.ม. ขอนแกน : มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2539. สุวิทย มูลคํา และอรทัย มูลคํา. 21 วิธีเทคนิกการจดัการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : 2545.

Page 43: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

43

สํานักงานประถมศึกษาจังหวดันครราชสีมา. ขอมูลพื้นฐานทางการศึกษา ปการศึกษา 2545. นครราชสีมา : 2545. สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ. รายงานการประเมินคุณภาพของนักเรียนท่ีมีความ ตองการพิเศษในสมรถภาพการใชคณิตศาสตรในชีวิตประจําวัน ปการศกึษา 2542. กรุงเทพฯ : โรงพิมพการศาสนา, 2544 ก. . แฟมนวัตกรรมพัฒนานักเรียนท่ีมีปญหาทางการเรียนรูภาษาไทยดานการฟงและการพดู (ฉบับทดลอง). กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภา, 2544 ข. . รายงานผลการดําเนินงานการศึกษาพิเศษ ปการศึกษา 2542- 2543. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภา, 2544 ค. . คูมือการอบรม เร่ือง แนวการใชหลักสูตรประถมศึกษา พทุธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533). กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภา, 2534. หวานใจ บุญยก. การพัฒนาแผนการสอนคํายากวิชาภาษาไทย โดยการใชเกมและเพลง ช้ันประถมศึกษาปท่ี 4. รายงานการศึกษาคนควาอิสระ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2544. อรพิมพ เครือเนียม. การสรางแบบฝกทักษะการเขียนโคลงของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 5 โรงเรียนสตรีชัยภมิู อําเภอเมือง จังหวดัชัยภูมิ. รายงานการศึกษาคนควาอิสระ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2544. อาทิตย มุรี. การพัฒนาส่ือการเรียนรู เร่ืองวรรณยกุต วิชาภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 โดยใชแผนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ. รายงานการศึกษาคนควาอิสระ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิลัยมหาสารคาม 2544. อุษา จิตถาวร. การพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะกิจกรรมข้ันตอนท่ี 5 ท่ีมีประสิทธิภาพ เร่ือง เพื่อนรัก ประกอบการสอนภาษาไทยแบบมุงประสบการณภาษาของนักเรียน ช้ันประศึกษาปท่ี 1. รายงานการศึกษาคนควาอิสระ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2541.

Page 44: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

44

Bouchard, Margarct Pray. “An Imvestigation of Students’ Word Knowledge as Demonstrated by Their Reading and Spelling Error,” Dissertation Abstracts International. 63(2) : 541-4; August, 2002. <http// wwwlib. Umi.com/dissertations/fullcit/3010800> February 15, 2004. Caban, David. “Astudy Of The Training Effects,” Dissertaion Abstracts International. 63(04) : 1304-A October, 2001. <http // wwwlib. Umi.com/dissertations/fullciit/3010800> March 3, 2004 Corey, Jean Thompson. The Gendering Of literacies : The Reading And With Essential Practices Of Adolescent Girls In Rural Appalachia,” Dissertation Abstracts International. 61 (07) : 2690-A ;January,2001. <http : // wwwlib.umi.com/ Dissertations/fullcit/9940759> March 3, 2004.

Page 45: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

45

แผนการจดัการเรียนรู กลุมสาระวิชาภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 แผนท่ี 1 เร่ือง การแตงประโยค เวลา 1 ช่ัวโมง สอนวันท่ี 2 เดือน กุมภาพนัธ พ.ศ. 2550 ภาคเรียนที 2 ปการศึกษา 2550 ..................................................................................................................................................................... สาระสําคัญ การมีความรูและเขาใจเร่ืองประโยคเปนพืน้ฐานท่ีจําเปนในการอานและเขียน ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง

1. อธิบายตัวอยางการใชประโยคได 2. บอกลักษณะของประโยคได

สาระการเรียนรู การแตงประโยค กิจกรรมการเรียนรู ข้ันนําเขาสูบทเรียน 1. แบงนักเรียนออกเปนกลุมกลุมละ 3-4 คน ครูแจกกระดาษกลุมละ 1 แผน โดยใหเลนเกม เธอไปไหนกับใคร ( ภาคผนวก ) ข้ันสอน

1. ครูแจกกระดาษใหกลุมเดิมเขียนคําลงไปในกระดาษท่ีครูแจกใหใหไดมาท่ีสุด เชน กิน หลับ ไป เปนตน 2. นักเรียนรวมกันแตงประโยค จากคําท่ีสมาชิกในกลุมชวยกันแตง แลวใหตัวแทนออกมารายงานหนาช้ัน และใหสมาชิกอีกคน เขียนประโยคลงบนกระดาน 2-3 ประโยคแลวชวยกันอานประโคท่ีเขียนบนกระดาน ข้ันสรุป

1. นักเรียนชวยกนัสรุปวาหลักเกณฑแตงประโยคมีดังน้ี ลักษณะของประโยค สวนประกอบของประโยค

2. เม่ือทราบหลักเกณฑใหนักเรียนบันทึกประโยคท่ีนักเรียนแตงลงในสมุดบันทึกโดย เปนประโยคท่ีครูแลนักเรียนชวยกันแกไขแลว ส่ือการเรียนการสอน

1. เกมเธอไปไหนกับใคร 2. บัตรคํา 3. กระดาษ ดินสอ 4. แบบทดสอบ

Page 46: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

46

การวัดผลประเมินผล 1. สังเกตการเลนเกม และการไหความรวมมือ 2. สังเกตการแตงประโยค 3. ตรวจแบบทดสอบ

ความคิดเหน็ของผูบริหาร ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... (ลงช่ือ)...................................... (.................................................) บันทึกผลหลังสอน ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ( ลงช่ือ ) ..................................... ครูผูสอน ( ....................................) การประเมิน เกณฑการผานจากวัดผลตั้งแตรอยละ 70 ข้ึนไป บันทึกผลหลังการการเรียนรู

Page 47: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

47

แผนการจดัการเรียนรู กลุมสาระวิชาภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 แผนท่ี 2 เร่ือง การแตงประโยค เวลา 1 ช่ัวโมง สอนวันท่ี 7 เดือน กุมภาพนัธ พ.ศ. 2550 ภาคเรียนที 2 ปการศึกษา 2550 ..................................................................................................................................................................... สาระสําคัญ การสรางประโยคจากคํางาย ๆ จะเปนการฝกทักษะการอานและการเขียน ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง

1. สามารถแตงประโยคจากคํางาย ๆ ได 2. สามารถแตงประโยคใหเปนประโยค 2 สวน และประโยค 3 สวนได 3. สามารถหาคําศัพทงาย ๆ และแตงเปนประโยคได

สาระการเรียนรู 1. อานจับใจความและนําไปเปนคําถามคําตอบได 2. การสรางประโยคจากคํางาย 3. การแตงประโยค 2 สวน และประโยค 3 สวน

กิจกรรมการเรียนรู ข้ันนําเขาสูบทเรียน 1.ครูแจกใบงานท่ีเปนนทิาน “เร่ือง ทําใจดีสูเสือ” (ภาคผนวก) ใหนักเรียนอานและทําความเขาใจ อานเสร็จแลวรวมกันสนทนาเก่ียวกับขอคิดท่ีไดอาน ข้ันสอน 1.นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น แลวใหฝกการถามตอบในเน้ือหานิทาน เพื่อฝกการอานจับใจความ การฟง กลาพูดกลาถาม โดยสรุปความคือ ใคร ทําอะไร ท่ีไหน เม่ือไร ผลเปนอยางไร 2. แบงนักเรียนออกเปนกลุมละ 3-4 คน ครูแจกกระดาษใหเสร็จแลวครูชูบัตรคําท่ีเปนคํางาย ๆ ส้ัน ๆท่ีอยูในเนื้อหานิทาน แลวใหนกัเรียนแตละกลุมแตงประโยค 3. นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนออกมารายงานผลแตละประโยคหนาช้ัน แลวเลือกประโยคเขียนลงบนกระดานคนละ 2-3 ประโยค แลวชวยกันอานประโยคบนกระดาษ ข้ันสรุป 1 .ครูและนักเรียนชวยกันสรุปสวนประกอบของประโยคคือ ประโยค 2 สวน 3 สวน (ใบงานภาคผนวก) 2. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปสวนขยายของประโยค 3.ทําแบบทดสอบ 5 ขอ

Page 48: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

48

ส่ือการเรียนการสอน

1. บัตรคํา 2. นิทาน “เร่ืองทําใจด”ี 3. กระดาษสําหรับเขียนประโยค 4. ใบความรูเกีย่วกับประโยค 5. แบบทดสอบ 5 ขอ

การวัดผลประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมในการทํางานรวมกนั 2. ตรวจแบบทดสอบ 5 ขอ

ความคิดเหน็ของผูบริหาร ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... (ลงช่ือ)...................................... ( ) บันทึกผลหลังสอน ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ( ลงช่ือ ) ..................................... ครูผูสอน ( ....................................) การประเมิน เกณฑการผานจากวัดผลตั้งแตรอยละ 70 ข้ึนไป บันทึกผลหลังการการเรียนรู

Page 49: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

49

แผนการจัดการเรียนรู กลุมสาระวิชาภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 แผนท่ี 3 เร่ือง การแตงประโยค เวลา 1 ช่ัวโมง สอนวันท่ี 16 เดือน กุมภาพนัธ พ.ศ. 2550 ภาคเรียนที 2 ปการศึกษา 2550 ……………………………………………………………………………………………………………... สาระสําคัญ การรูจักเขียนและอานคํางาย ๆ และนําคํานั้น ๆ มาเรียงกันจนเปนประโยคท่ีมีใจความสมบูรณ เปนประโยคตาง ๆ ได ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง

1. นักเรียนสามารถบอกสวนประกอบของประโยคได 2. นักเรียนสามารถแตงประโยคท่ีมีสวนขยายได 3. นักเรียนสามารถสรางคําใหม และนําคําใหมมาแตงประโยคท่ีมีความหมายได

สาระการเรียนรู 1. ประโยคบอกเลา 2. ประโยคปฎิเสธ 3. ประโยคคําถาม 4. ประโยคคําส่ัง 5. ประโยคแสดงความตองการ 6. ประโยคขอรอง ชักชวน และอนุญาต

กิจกรรมการเรียนรู ข้ันนําเขาสูบทเรียน 1.แบงนักเรียนออกเปน 2 กลุม ใหเลน เกมสืบสวน (ภาคผนวก) ข้ันสอน 1. ครูและนักเรียนชวยกันทบทวนถึงประโยคตาง ๆ ท่ีนักเรียนพูด ครูถาม และประสบการณท่ีเคยประสบมา แลวลงเขียนกระดาน รวมกันอานประโยคท่ีแตงข้ึน 2. นําประโยคเขียนลงในกระดานมาชวยกันแยกวาเปนประโยคชนดิใด แยกสวนประกอบของประโยคคือ เปนประโยคชนิดใด สวนไหนเปนประธาน กริยา กรรม สวนไหนเปนสวนขยาย และขยายสวนใด 3. ครูแจกใบความรูเกี่ยวกับประโยคตาง ๆ ใหนักเรียนศึกษา ข้ันสรุป 1. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปราย แสดงความคิดเหน็จากการแตงประโยค จากใบความรู (ภาคผนวก)

Page 50: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

50

2. นักเรียนจดบันทึกจากขอความท่ีประโยคตาง ๆ และสวนประกอบของประโยคลงในสมุด ซ่ึงใชขอความประโยคท่ีนักเรียนแตงข้ึนเอง และนํามาใหครูตรวจ 3. ทําแบบทดสอบ ส่ือและอุปกรณ

1. เกม 2. บัตรคํา 3. ใบความรู 4. แบบทดสอบ

การวัดผลประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมการรวมมือในการเลนเกม 2. สังเกตพฤติกรรมการใชภาษา การแตงประโยคของนักเรียน 3. ตรวจแบบฝกหัด

ความคิดเหน็ของผูบริหาร ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... (ลงช่ือ)...................................... ( ) บันทึกผลหลังสอน ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ( ลงช่ือ ) ..................................... ครูผูสอน ( ....................................) การประเมิน เกณฑการผานจากวัดผลตั้งแตรอยละ 70 ข้ึนไป บันทึกผลหลังการการเรียนรู

Page 51: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

51

แผนการจดัการเรียนรู กลุมสาระวิชาภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 แผนท่ี 4 เร่ือง การแตงประโยค เวลา 1 ช่ัวโมง สอนวันท่ี 21 เดือน กุมภาพนัธ พ.ศ. 2550 ภาคเรียนที 2 ปการศึกษา 2550 ....................................................................................................................................................................... สาระการเรียนรู ประโยคเกดิจากคําหลาย ๆ คํา หรือวลีท่ีนํามาเรียงตอกันอยางมีระเบียบในแตละคําจะมีความสําพันธกัน มีใจความสมบูรณ แสดงใหรูวา ใคร ทําอะไร ท่ีไหน อยางไร ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง

1. บอกชนิดของประโยคได 2. อธิบายความหมาย และบอกสวนประกอบของประโยคได 3. จําแนกประโยคชนิดตาง ๆ ได

สาระการเรียนรู ชนิดและหนาท่ีของประโยค กิจกรรมการเรียนการสอน ข้ันนําเขาสูบทเรียน 1.ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายถึงประโยคตาง ๆ เชนประโยคคําถาม ประโยคปฏิเสธ ประโยคบอกเลา ประโยคคําส่ัง ประโยคแสดงความตองการ ประโยคขอรอง โดยอภปิรายถึงความแตกตาง และความหมาย (ภาคผนวก) ข้ันสอน 1. ครูนําแถบประโยค ซ่ึงเปนประโยคตาง ๆ ท้ัง 6 ชนิด มาใหนักเรียนอานแลวใหนักเรียนบอกวาเปนประโยคชนิดใด ครูคอยแนะนําอธิบายเพ่ิม 2. นักเรียนชวยกันแตงประโยคปากเปลาท้ัง 6 ชนิด แลวเขียนลงในใบกระดานใหนักเรียนอาน ข้ันสรุป 1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปสวนประกอบของประโยคแตละประโยคมีหนาท่ีอยางไร โดยนําประโยคท่ีเขียนลงกระดาน มาจําแนกถึงหนาท่ีตาง ๆ ในประโยค 2. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปถึงชนิดของประโยค หนาท่ีของประโยคและบันทึกลงใน สมุดงาน 3. ทําแบบทดสอบ ส่ือการเรียนการสอน

1. แถบประโยค 2. บัตรคํา

Page 52: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

52

3. แบบทดสอบ การวัดผลการประเมิน

1. สังเกตพฤติกรรมการใหความรวมมือ 2. สังเกตการณสนทนาการตอบถามประโยค 3. ตรวจแบบฝกหัด

ความคิดเหน็ของผูบริหาร ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... (ลงช่ือ)...................................... ( ) บันทึกผลหลังสอน ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ( ลงช่ือ ) ..................................... ครูผูสอน ( ....................................) การประเมิน เกณฑการผานจากวัดผลตั้งแตรอยละ 70 ข้ึนไป บันทึกผลหลังการการเรียนรู

Page 53: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

53

แผนการจดัการเรียนรู กลุมสาระวิชาภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 แผนท่ี 5 เร่ือง การแตงประโยค เวลา 1 ช่ัวโมง สอนวันท่ี 28 เดือน กุมภาพนัธ พ.ศ. 2550 ภาคเรียนที 2 ปการศึกษา 2550 ....................................................................................................................................................................... สาระสําคัญ ประโยคหนึ่ง ๆ จะตองมีภาคประธาน และภาคแสดงเปนหลัก และอาจตองมีคําขยายสวนตาง ๆ เพือ่ความชัดเจนยิ่งข้ึน ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง

1. สามารถแยกสวนตาง ๆ ของประโยคได 2. สามารถแตงประโยคท้ัง 6 ชนิดได 3. สามารถนําสํานวน และคําพังเพยมาแตงประโยคใหไดใจความ

กิจกรรมการเรียนการสอน ข้ันนําเขาสูบทเรียน 1.ครูนําบัตรคําสํานวน หรือสํานวนมาใหนักเรียนหาความหมาย เชน อยางชิงสุกกอนหาม ตกน้ําไมไหล ตกไฟไมไหม ใจปลาซิว งัดขอ คอตก กบเลือกนาย ไขสือ (ภาคผนวก) เม่ือหาความหมายไดแลวใหนําไปแตงประโยคคนละ 1 ประโยค หรือจะเปนคําท่ีนักเรียนคิดข้ึนเองกไ็ด แลวนํามาอานใหเพื่อนฟง ข้ันสอน 1. แบงนักเรียนสองกลุมใหเลนเกมตอคําโดยใชสํานวน หรือคําพังเพย หรือคําท่ีนักเรียนคิดข้ึนเอง ลงในกระดาษท่ีครูแจกให แลวเขียนตอกันเปนเร่ืองราวนําเสนอหนาช้ัน 2.ใหนกัเรียนชวยกันแตงประโยคจากเนื้อเร่ืองท่ีนักเรียนเขียนใหได 6 ประโยค กลุมใดเสร็จกอนเปนฝายชนะ ข้ันสรุป 1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปสวนตาง ๆ ของประโยค โดยใชประโยคท่ีนักเรียนแตงท้ัง 6 ประโยค 2. นําประโยคที่รวมกันแตงบันทึกลงในสมุดงาน 5.ทําแบบทดสอบ 5 ขอ ส่ือการเรียนการสอน

1. เกม 2. ใบงาน 3. บัตรคํา 4. แบบทดสอบ

Page 54: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

54

การวัดผลประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน 2. ความสามัคคีรวมมือ 3. ตรวจแบบทดสอบ

ความคิดเหน็ของผูบริหาร ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... (ลงช่ือ)...................................... ( ) บันทึกผลหลังสอน ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ( ลงช่ือ ) ..................................... ครูผูสอน ( ....................................) การประเมิน เกณฑการผานจากวัดผลตั้งแตรอยละ 70 ข้ึนไป บันทึกผลหลังการการเรียนรู

ใบความรู

Page 55: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

55

ความรูทางภาษา เร่ืองประโยค ประโยคคือ คําหลาย ๆ คําหรือวลีท่ีนาํมาเรียงตอกันอยางเปนระเบียบใหแตละคํามีความสัมพันธกัน มีใจความสมบูรณ แสดงใหรูวา ใคร ทําอะไร ท่ีไหน อยางไร เชน ตํารวจจับผูราย มานีไปโรงเรียน ครูตีนักเรียน นกบิน สุนัขไลกัดแมว เปนตน ประโยคทุกชนิด จะตองมีภาคประธานและภาคแสดงเปนหลัก และอาจมีคําขยายสวนตาง ๆ ได เชน ตานุงกางเกงพ้ืนบาน ตาเปนประธาน นุงเปนกริยา กางเกง เปนกรรม พื้นบานขยายกรรม เปนตน ภาคประธาน คือสวนท่ีเปนผูแสดงอาการ สวนมากเปนคํานาม หรือเปนคําสรรพนาม

ภาคแสดง คือสวนท่ีแสดงอาการหรือความเปนไปของประธาน บางประโยคนอกจากจะมีประธานและกริยาแลวยังอาจตองการบทกรรมหรือขอความอ่ืน ๆ มาขยายอีก เพื่อใหไดใจความสมบูรณชัดเจนยิ่งข้ึน ขอความท่ีมาขยายประโยคนี้ เรียกวา สวนขยายของประโยค เชน ไกขันเวลาเชา ( เวลาเชา ขยายกริยา คือคําวา ขัน ) ประโยค 2 สวน คือประโยคท่ีประกอบดวยสวนประธาน และสวนของกริยา เชน ไกขัน มาวิ่ง สุนัขเหา ประโยค 3 สวน คือประโยคท่ีประกอบดวยสวนของประธาน สวนของกริยา และ สวนกรรม เชน ฉันเด็ดดอกไม, ทหารยงิปน, ฉันกินขาว บางประโยคเปนประโยคท่ีใชกริยาอาศัยสวนเติมเต็ม ซ่ึงเปนกริยาท่ีไมมีเนื้อความในตนเอง จะตองมีคําหรือขอความอ่ืนมาขยายจึงจะไดใจความที่สมบูรณ คําหรือขอความท่ีมาขยายนีไ้มถือวาเปนกรรมเพาะไมไดถูกกระทํา แตทําหนาท่ีขยาย เชน เธอเหมือนแม, เขาเปนตํารวจ ( แม, ตาํรวจ ไมถือเปนกรรม )

Page 56: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

56

ใบความรู เร่ืองประโยค

ประโยคท่ีใชเพื่อการส่ือสาร มี 6 ชนิด คือ 1. ประโยคบอกเลา 2. ประโยคปฏิเสธ 3. ประโยคคําถาม 4. ประโยคคําส่ัง 5. ประโยคแสดงความตองการ 6. ประโยคขอรอง ชักชวน และ อนุญาต

1. ประโยคบอกเลา เปนประโยคท่ีมีใจความบอกใหทราบวา ใคร ทําอะไร ทําท่ีไหน ทําอยางไร เปนการแจงเร่ืองราว หรือบอกเร่ืองราวตาง ๆ ไมตองการคําตอบ ตัวอยาง เชน กางเกงมีราคาตางกัน ตาของผมมีอาชีพทําไร เม่ือชางปนตุกตาเสร็จแลวจะนําไปผ่ึงแดด 2. ประโยคปฏิเสธ เปนประโยคท่ีมีใจความไมตอบรับ จะมีใจความตรงขามกับประโยคบอกเลา มักใชคําวา ไม ไมใช มิได ไมได ประกอบอยูในประโยคนั้น เชน ผมไมเคยมาท่ีนี่เลย เขาไมไดเดนิเลนกับผม เธอไมใชนักแสดงอาชีพ เขามิไดมาท่ีนีห่ลายปแลว ตาของผมไมไดมีอาชีพทําไร 3. ประโยคคําถาม เปนประโยคท่ีมีใจความเปนการถามเพื่อตองการคําตอบ จะมีท่ีแสดงการถามอยูหนาประโยคหรือหลังประโยคก็ได ประโยคคําถามมี 2 ลักษณะ คือ 3.1 ประโยคคาํถามท่ีตองการคําตอบ มักมีคําท่ีใชถามวา ใคร อะไร ใด ไหน เม่ือไร อยางไร เหตุใด เทาใด อยูหนาประโยคหรือหลังประโยค และเมือเขียนประโยคคําถามจบแลวจะมีหรือไมมีเคร่ืองหมายคําถาม ( เคร่ืองหมายปรัศนี ) อยูทายประโยคก็ได เชน ตําถาม คําตอบ ใครทํากับขาวอยูในครวั คุณแมทํากับขาวอยูในครัว อะไรอยูในตู เส้ือผาของผมอยูในตู

แมสวมเส้ือสีอะไร แมสวมเสือสีฟา คุณจะไปจังหวัดลพบุรีอยางไร ผมจะไปโดยรถไฟ

3.2 ประโยคคาํถามท่ีไมตองการตอบรับหรือปฏิเสธ มักมีคําวา หรือ หรือไม ไหม อยู ทายประโยค ตัวอยางเชน

Page 57: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

57

คําถาม คําตอบ หนังสือเลมนี้เปนของคุณหรือ ครับ หนังสือเลมนี้เปนของผม

ไมใชครับหนงัสือเลมนี้ไมใชของผม คุณจะไปกับผมหรือไม ไปครับ ผมจะไปกับคุณ ไมไปครับ ผมจะไมไปกับคุณ เธอจะไปกับฉันไหม ไปคะ ฉันจะไปกับเธอ ไมไปคะ ฉันจะไปกับพี ่ 4. ประโยคคําส่ัง เปนประโยคบอกใหทําส่ิงใดส่ิงหนึ่ง หรือไมทําส่ิงใดส่ิงหนึ่ง มักจะละประธานไว ประโยคคําส่ังมี 2 ลักษณะคือ 4.1 ประโยคสัง่ใหทํา ใชกริยาเปนคําข้ึนตนของประโยค หรือใชคําวา จง เปนคําข้ึนตน หากมีประธานเปนคําข้ึนตนมักมีคําวา ซิ นะ หนอย ตอทายประโยค เชน นัง่ดี ๆ เดินเร็ว ๆ พูดดังๆ หนอยซิ เธอจงทําดี ๆ นะ นองเดินเร็วหนอย จงทําตามท่ีเขาบอก 4.2 ประโยคหามหรือส่ังไมใหทํา มักละประธานไวและใชคําวา อยา หาม เปนคําข้ึนตนประโยค เชน อยาไปพดูกับเขานะ อยาเดินลดสาม หามท้ิงขยะบริเวณนี้ หามจบัปลาฤดูวางไข 5. ประโยคแสดงความตองการ เปนประโยคท่ีมีใจความแสดงความอยากได อยากมี อยากเปน หรือตองการส่ิงใดส่ิงหนึ่ง มักมีคําวา อยาก ตองการ ปรารถนา ประสงคอยูในประโยค ตัวอยางเชน ฉันอยากเปนนก จะไดโผผินบินไปในทองฟา แมตองการใหฉันเปนเด็กดี ฉันปรารถนาจะใหนองเรียนหนังสือเกง แมประสงคจะใหผมเปนทหาร 6. ประโยคขอรอง ชกัชวน และอนุญาต เปนประโยคท่ีมีใจความเชิงขอรอง ชักชวน หรืออนุญาต อาจละประธานไวกไ็ด จะมีคําวา ซิ หนอย นะ นา อยูทายประโยค และมักมีคําวา โปรด ชวย วาน กรุณา อยูหนาประโยค ตัวอยางเชน ชวยหยิบหนังสือเลมสีแดงใหหนอย ( ของรอง ) โปรดพูดเบา ๆ หนอย ( ขอรอง ) กรุณาอ้ือเฟอท่ีนั่งแกคนชรา ( ของรอง ) ขอใหชวยกนัรักษาความสะอาดบริเวณน้ี ( ขอรอง ) พักกันเถอะนะ ( ชักชวน ) เราไปเดินเลนกนัดีดวา ( ชักชวน ) เธอเขาไปเถอะ ( อนุญาต ) เขามาซิ ( อนุญาต )

Page 58: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

58

เกม สืบสวน

จุดประสงค ใหนกัเรียนเลนเกมเพื่อฝกการต้ังคําถาม – คําตอบได อุปกรณในการเลน มีดังนี ้ บัตรคํา ใคร ทําอะไร ท่ีไหน เม่ือไร กับใคร วิธีการเลนเกม

1. แบงนักเรียนออกเปน 2 กลุมเทา ๆ กัน 2. ใหตวัแทนออกมาจับฉลากลุมใดจะไดเลนกอน 3. แตละกลุมนั่งรวมกันเปนแถวหนากระดานซอนกัน2 แถว 4. ครูชูบัตรคําท่ีเปนคําถามทีละใบแลวใหผูเลนท้ัง 2 ฝายผลัดกันโตตอบใหตรงกับบัตรคําถามที

ครูชูข้ึน 5. ใหนกัเรียนโตตอบอยางเร็ว ถาครูบัตรลงหมดสิทธ์ิตอบ 6. ถาฝายใดตอบชาตองออกจากการแขงขันท่ีละคนฝายใดเหลือจํานวนคนมากกวาเปนฝายชนะ

ตัวอยาง 1 ใคร ทําอะไร ท่ีไหน เม่ือไร ฝาย ก ข ก ข ลิง กินกลวย บนตนไม กลางวัน ไก กินขาว ลานบาน ตอนเชา ตัวอยาง 2 อะไร ของใคร เปนอะไร เพราะอะไร ฝาย ก ข ก ข ปากกา สมพร หัก โตะลมทับ กางเกง วิชาญ ขาด เกี่ยวตะปู ขอแนะนําในการเลนเกมสืบสวน กอนเลนจะตองสาธิต และซักซอมเพื่อความเขาใจกอนเพื่อความสนุกสนานและโตตอบไหตรงคําถาม

Page 59: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

59

ใบความรู

แถบประโยค พอพามานีไปบานญาติที่รอยเอ็ด

ตาของผมไมไดรับราชการครู ใครเดินเลนอยูในสนามหญา คุณแมทํากบัขาวอยูในครัว หามเดินลัดสนาม จงทําตามทีเ่ขาบอก แมตองการใหฉันเปนเด็กดี โปรดพูดเบา ๆ หนอย

Page 60: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

60

ใบงาน

ช่ือ ....................................................เลขท่ี ............. ช้ัน................ คําช้ีแจง ใหนักเรียนเติมสวนตางๆลงในชองวางท่ีกําหนดให

ท่ี ประโยค ประธาน ขยายประธาน กริยา ขยายกริยา กรรม ขยายกรรม 1 ตานุงกางเกงพ้ืนบาน ตา - นุง - กางเกง พื้นบาน 2 ทหารข่ีมาขาวอยางสงางาม 3 ชาวบานทํานาเม่ือใกลส้ินป 4 เรามีมรดกลํ้าคา 5 นักเรียนช้ัน ป.6 ไปเท่ียวท่ี

รอยเอ็ด

6 ฝนตกหนกัมาก 7 นกกระสาจิกปลากระด่ี 8 เขาจับปลาชอนตัวใหญ 9 เด็กๆ วิ่งเลนท่ีสนามหญา 10 นองนอนหลับอยางสบาย

เกณฑการตัดสินอยูในดุลยพินิจของครู

Page 61: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

61

ใบงาน ช่ือ ....................................................เลขท่ี ...........ช้ัน..............

คําชี้แจง จงแตงประโยค 2 สวน และประโยค 3 สวน อยางละ 5 ประโยค ....................................................................................................................................................................... ตัวอยาง ประโยค 2 สวน เชน นองรองให นกบิน ประโยค 3 สวน เชน นกจิกปลา คนตีหมา

ประโยค 2 สวน ................................................................................... ………………………………………………………. ………………………………………………………. ……………………………………………………….. ……………………………………………………….. ………………………………………………………….

ประโยค 3 สวน ................................................................................................... .................................................................................................... .................................................................................................... ..................................................................................................... ..................................................................................................... ..................................................................................................... .....................................................................................................

Page 62: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

62

นิทานเร่ืองทําใจดีสูเสือ

เชาวันหนึ่ง แมแพะตัวหนึ่ง มัวแตกินหญาและใบไมระหวางทางเดนิ ทําใหพลัดหลงจากฝูงแมแพะจึงรีบออกเดินทางหาฝูงของตน จนมาพบกับเสือรายตัวหนึ่ง แมแพะจึงพดูกับเสือกอนวา “คุณลุงเจาขา คุณลุงสบายดีหรือจะ” “เอ็งคงนึกวา การท่ีเอ็งเรียกขาวาคุณลุง จะทําใหแกพนจากความตายฉะนั้นหรือ” เสือตอบเสียงดัง “ฉันทําผิดอะไรจึงตองตายละคะคุณลุง” แมแพะถาม “อุวะ กแ็กบังอาจเดินขามหางขานะสิ” เสือตะหวาด แมแพะไดยินดังนั้น จึงอธิบายวา “เวลานี้คุณลุง หันหนาไปทางทิศตะวนัออก ซ่ึงเปนทางท่ีดิฉันเดนิมา ฉะนั้นหางของคุณลุงก็ตองอยูทางทิศตะวนัตก จะวาดิฉันเดินขามหางคุณลุงไดอยางไร” “เฮย! หางของขา วางรอบทุกทิศ ไมมีทางท่ีเอ็งจะเดินเล่ียงไดเลย” เสือกลาว “พอ แมดิฉันสอนไววา หางของผูรายใจพาลมักจะยาวอยางหางของคุณลุง ดิฉันไมประสงคจะเดนิขามหางของคุณลุง จึงเหาะมากลางหาวเจาคะ” แมแพะบอก เสือยิ้มแลวพดูวา “มินาละ ขาจึงไมเหน็สัตวปาสักตัวเดยีว พวกมันคงตกใจเพราะเสียงเหาะมาของเอ็ง วันนี้ขาจึงไมมีอาหารกิน” แมแพะไดยินดังนั้น จึงคิดวา วิสัยพาลอยางเสือตัวนี้ ไมมีทางท่ีจะใชคําพูดดี ๆ เอาชนะได จึงใชสติปญญาท่ีมี มองหาทางที่พอจะเอาชีวิตรอดได และเห็นวาถากลับหลังวิ่งหนีกด็ี วิ่งออกทางซายหรือทางขวาก็ดี ไมมีทางรอดพนจากกรงเล็บของเสือพาลไดแน มีอยูทางเดียวท่ีควรลองเส่ียงดู นั่นคือ วิ่งเขาไปหาเสือ โดยแฉลบเฉียดออกทางดานขางของเสือ ฉับพลัน แมแพะก็รวบรวมกําลังกระโจนใสเสือ ซ่ึงเสือไมทันคิดวาแมแพะจะวิ่งมาทางท่ีตนยืนอยู มัวมองแตดานอ่ืน แมแพะจึงหนีกลับเขาฝูงได

( นิทานชาดก )

Page 63: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

63

แถบประโยค

พอพามานีมาถึงบานปาที่จังหวัดรอยเอ็ดในวันเสาร

เธอไมใชนักแสดงอาชีพ

ใครอยูในหองนํ้า หนังสือเลมน้ีเปนของคุณหรือ คุณพูดเสียงดัง ๆ หนอยซิ อยาเดินลัดสนาม ฉันอยากเปนนกจะไดบินไปบนทองฟา ชวยหยิบหนังสือสีแดงใหฉันหนอ

แบบประเมินพฤติกรรมการเรียน

Page 64: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

64

ช่ือ ........................................เลขท่ี ............ ช้ัน................ .......………………………………………………………………………………………………………… เกณฑการใหคะแนน ดีให 2 พอใชให 1 ปรับปรุงให 0

สรุป ขอ

รายการประเมิน

คะแนน ผาน ไมผาน

หมายเหต ุ

1 พูดทักทายแนะนําตัวได 2 ออกเสียงไดถูกตองชัดเจน 3 กลาแสดงออก 4 มีความสนุกสนาน 5 ความรวมมือในการทํางานกลุม 6 มีความสนใจต้ังใจ รวมคะแนน ขอเสนอแนะเพิ่มเติม .............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

( ลงช่ือ ) .................................... ครูผูสอน

Page 65: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

65

แบบสังเกตพฤติกรรมการรายงานการแตงประโยค

สรุป ขอ

รายการประเมิน

คะแนนท่ีได ผาน ไมผาน

หมายเหต ุ

1 มีความสามัคคี 2 รูจักวางแผนรวมกัน 3 กลาแสดงความคิดเห็น 4. มีมารยาทในการพูด 5 มีมารยาทในการฟง 6 มีความกระตือรือรนใน

การศึกษาคนควา

ขอเสนอแนะเพ่ิมเติม ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

( ลงช่ือ ) ......................................... ครูผูสอน

Page 66: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

66

ใบงาน

สํานวน คาํพังเพย

สํานวน ความหมาย

กบเลือกนาย ตองการเปล่ียนผูบังคับบัญชาเร่ือย ๆ กายหนาผาก คิดหนัก เปนทุกขกังวล แกลํา ตอบแทนใหเทาเทียม คิดสูใหม เขาปง อยูในความลําบากแกไขยาก ไขสือ รูแลวทําเปนไมรู เขาเนื้อ เสียทรัพย เขาหมอ ลืมวิชาความรูท่ีเรียนมา คูหู เพื่อนรวมใจ คันไมคันมือ อยากตี อยากตบ ควันหลง เกิดเร่ืองแลวไมยุติ กลับปรากฏกระเส็นกระสายอีก คอตก ผิดหวังอยางแรง คิดบัญชี แกแคน งัดขอ โตเถียงกัน ใจปลาซิว ไมอดทน

Page 67: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

67

คําพังเพย ความหมาย ชิงสุขกอนหาม การกระทําในส่ิงท่ียังไมถึงเวลา ซ่ือเหมือนแมวนอนหวด ทําเปนซ่ือ ตกน้ําไมไหลตกไฟไมไหม คนดีไปอยูท่ีไหนก็ไมลําบาก ไมอันตราย ตอความยาวสาวความยืด พูดวากันไปมา ไมรูจักจบ ตัดชองนอยแตพอตัว หนีความสําบากไปคนเดียว ตอหนามะพลับลับหลังตะโก ตอหนาทําตัวเปนคนดี ลับหลังกลับเปนคนเลว ตกน้ําไมวาย เจ็บไขไมรักษา ไมชวยตัวเอง ทําคุณบูชาโทษ โปรดสัตวไดบาป ปฏิบัติเพื่อท่ีจะใหพอเขาใจ แตกลายเปนผิด น้ําทวมทุง ผักบุงโหรงเหรง เปนการเปรียบเปรยผูพูดมาก แตหาสาระไมไดเลย น้ํารอนปลาเปน น้ําเยน็ปลาตาย บางคนไมชอบพูดรุนแรง ถาพูดดีๆจะไดผล แตถา

พูดรุนแรงไมไดผล น้ําขุนไวไน น้าํใสไวนอก รูจักเก็บความรูสึกท่ีไมดีไว นอนหลับไมรู นอนคูไมเหน็ ไมรูเร่ืองรูราวดวย ผีซํ้าด้ําพลอย เม่ือตกอับหรือเคราะหรายก็ถูกซํ้าเติมหนกัข้ึน ปากเหยี่ยวปากกา อันตราย พล้ังปากเสียศีล พล้ังตีนตกตนไม พูดไมเสียคําพดู ไมระมัดระวังตองเจ็บตัว ความรูทวมหวัเอาตัวไมรอด มีความรูมากแตใชความรูใหเปนประโยชนกับตน

ไมได หมูเขาจะหามเอาคานเขาไปสอด ขัดขวางประโยชนท่ีเขาควรไดรับ

Page 68: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

68

แบบทดสอบวิชาภาษาไทย ( 1 ) ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2549

1. ขอใดไมใชประโยค ก. กหุลาบเหลือง ข. กุหลาบแหง ค. กุหลาบโรย ง. กุหลาบบาน

2. ประโยคคําถามจะมีคําในขอใดในประโยค ก. ใคร ข. โปรด ค. หาม ง. กรุณา 3. ประโยคในขอใดตองการคําตอบ ก. ประโยคบอกเลา ข. ประโยคคําถาม ค. ประโยคปฏิเสธ ง. ประโยคคําตอบ 4. ขอใดไมใชประโยค ก. แมวนอยสีขาวกําลังกนิปลา ค. นองรองใหเสียงดังเพราะอยากไดของเลน ค. เด็กชายสมคิด สวางจติร ผมขาวผิวดํา ง.สุดาทํากับขาวใหแมกนิ 5. ประโยคในขอใดท่ีประทับใจผูฟงนอยท่ีสุด ก. ดิฉันขอขอบใจในความมีน้ําใจอันดีงามของเพ่ือนๆทุกคน ข. ดิฉันขอแสดงความเสียใจและขอมีสวนรวมในความทุกขในครั้งนี้ดวย ค. ดิฉันขอแสดงความยินดีในความสําเร็จของคุณ ง. ดิฉันรูสึกวาชีวิตมีรสชาติอยางประหลาดหลังจากไดรับขาวนี ้

เฉลย 1. ก 2. ก 3. ข 4. ค 5. ง 6.

Page 69: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

69

แบบทดสอบวิชาภาษาไทย ( 2 ) ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2549

1. ขอใดคือประโยค 2 สวน ก. คุณตาเดินชา ข. พอขนทราย ค. น้ําทวมบาน ง. นองข่ีจักรยาน 2. ขอใดคือประโยค 3 สวน ก. แกวน้ําแตก ข. นองยิ้มเกง ค. แมหุงขาว ง. ฝนตก 3. ขอใดเปนประโยคคําถาม ก. เขาคามฉันวาใครมา ข. ใครจะไปใครจะมาฉันไมสน ค. ใครก็ตามท่ีทําดีกบัฉันฉันก็ดีตอบ ง. ใครนั่งอยูในหอง 4. ฝนตกหนกัมาก ขอใดเปนประธานของประโยค ก. ฝน ข. ตก ค. หนัก ง. มาก 5. ประโยคคําถามมีลักษณะอยางไร ก. ไมตองการคําตอบ ข. เปนประโยคท่ีมีลักษณะขอรอง ค. เปนประโยคท่ีบังคับใหทําตาม ง. เปนประโยคท่ีตองการคําตอบ

เฉลย 1. ก 2. ค 3. ก 4. ง 5. ง

Page 70: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

70

แบบทดสอบวิชาภาษาไทย ( 3 )

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2549 1. ขอใดเปนประโยคขอรอง ก. หามเขาหองประชุม ข. วานซ้ือน้ําใหหนอย ค. ฉันอยากเรียนศิลปะ ง. ทําการบานเสร็จแลวใหไปเลนได 2. ประโยคในขอใดมีคําขยายกริยา ก. นักเรียนอานหนังสือ ข. สมยศกินขาวผัดปู ค. คุณแมซ้ือรองเทาสีแดง ง. เด็กคนนั้นแตงตัวสกปรก 3. แกวน้ําแตก ขอใดเปนภาคแสดงของประโยค ก.แตก ข. แกวน้ํา ค. แกว ง. น้ํา 4. ประโยคในขอใดมีคําขยายประธาน ก. นายแพทยรักษาคนไขโรคเอดส ข. คุณตาไปโรงพยาบาลทุกวนัศุกร ค. ตํารวจจับผูรายขายยาบา ง. นักเรียนโรงเรียนบานภูดินไปเท่ียวท่ีรอยเอ็ด 5. พอของมานีปลูกผักซ่ึงเปนพันธุดี ขอใดเปนคําขยายกรรม ก. ปลูกผัก ข. ซ่ึง ค. เปนพันธุดี ง. มานี

เฉลย 1. ข 2. ง 3. ก 4. ง 5. ค

Page 71: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

71

แบบทดสอบวิชาภาษาไทย ( 4 ) ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2549

1. ประโยคในขอใดไมมีกริยาแตอาศัยสวนเตมิเต็ม ก. นกเหมือนไก ข.นกคลายเปด ค. นกตัวนี้บินเร็ว ง. นกเปนสัตวชนดิหนึ่ง 2. ขอใดเปนประโยคเพื่อส่ือสารแสดงความตองการ ก. กรุณามาใหตรงเวลานะคะ ข. อยาเด็ดดอกไมในสวนสาธารณะ ค. ผมอยากมีบานสวย ๆ อยางนี้บาง ง. ใหทุกคนสงการบานภายในสัปดาหนี ้3. คนแกขามถนนไมได ขอใดคือกรรมของประโยค ก. ถนน ข. คนแก ค. ขาม ง. ไมได 4. นักเรียน ป.6 แตงกลอนเกง ขอใดคือกริยาของประโยค ก. นักเรียน ข. ป.6 ค. แตง ง. กลอน 5. ขอใดคือประโยคปฏิเสธ ก. ฉันไมเคยมาท่ีนี่เลย ข. ใครทํากับขาวอยูในครวั ค. พูดเบา ๆ หนอยซิ ง. อยาไปพูดกับเขานะ

เฉลย

1. ง 2. ค 3. ก 4. ค 5. ก

Page 72: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

72

แบบทดสอบวิชาภาษาไทย ( 5 ) ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2549

1. นองนอนหลับสบาย ขอใดคือกริยาของประโยค ก. นอง ข. นอน ค. อยาง ง. สบาย 2. ตาของผมมีอาชีพทําไร เปนประโยคชนิดใด ก. ประโยคกฏิเสธ ข. ประโยคคําถาม ค. ประโยคบอกเลา ง. ประโยคขอรอง 3. ประโยคหน่ึงจะมีสวนใดเปนหลัก ก. ประธาน และ กริยา ข. กริยา และ กรรม ค. คําขาย และประธาน ง. กรรม และ ประธาน 4. ประโยคในขอใดตางจากพวก ก. อยาใหอาหารสัตว ข. โปรดท้ิงขยะลงถัง ค. กรุณาตอคิวคะ ง. ชวยเปดไฟหนอยนะคะ 5. ดอกไมสีเหลืองปกอยูในแจกันทรงเต้ีย ขอใดคือประธานของประโยค ก. ดอกไม ข.สีเหลือง ค. ปก ง. แจกนั

เฉลย 1. ข 2. ค 3. ก 4. ค 5. ก

Page 73: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

73

แบบทดสอบวิชาภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2549

คําชี้แจง 1. ขอสอบชุดนี้มีจํานวน 30 ขอ คะแนนเต็ม 30 คะแนน ใชเวลาในการสอบ 45 นาที

2. แตละขอมี 4 ตัวเลือก นกัเรียนเลือกตอบขอท่ีถูท่ีสุดเพียงขอเดยีว 3. ใหนกัเรียนกาเคร่ืองหมาย x ลงใน ( ) ในกระดาษตําตอบ 3. หามขีดเขียนหรือทําเคร่ืองหมายใด ๆ ลงในแบบทดสอบน้ี %%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%

1. ขอใดเปนประโยคคําถาม ก. เขาถามฉันวาใครมา ข. ใครจะไปใครจะมาฉันไมสน ค. ใครก็ตามท่ีทําดีกับฉันฉันก็ดีตอบ ง. ใครนั่งอยูท่ีนั่น

2. ประโยคในขอใดตางจากพวก ก. ฉันอยากไปกับเธอดวย ข. ดวงใจปรารถนาจะเปนครูในอนาคต ค. ครูตองการใหนกัเรียนต้ังใจเรียน ง. พอแมรักลูกและปรารถนาดีตอลูก 3. ขอใดเปนประโยคคําถามท่ีไมตองการคําตอบ ก. ฉันจะถามครูเร่ืองอะไร ข. เม่ือไหรโรงเรียนจะปด ค. แกวตาตอบคําถามถูกหมดใชไหม ง. ปนี้เธออายุเทาไร 4. ขอใดไมใชประโยค ก. กุหลาบเหลือง ข. กุหลาบแหง ก. กุหลาบโรย ง. กุหลาบบาน 5. ขอใดเปนประโยคเพือ่ส่ือสารแสดงความตองการ ก. กรุณามาใหตรงเวลานะคะ ข. อยาเด็ดดอกไมในสวนสาธารณะ ค. ผมอยากมีบานสวย ๆ อยางนี้บาง ง. ใหทุกคนสงการบานภายในสัปดาหนี ้ 6. ขอใดคือประโยคคําตอบ ก. ทําอะไรกนั ข. คะฉันเปนคนทํา ค. ยอมรับผิดแลวหรือ ง. ใครอยูในนัน้ 7. ประโยคคําถามมีลักษณะอยางไร ก. ไมตองการคําตอบ ข. เปนประโยคท่ีตองการคําตอบ ค. มีคําวา โปรด กรุณา ง. เปนลักษณะรองขอ

Page 74: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

74

8. ประโยคคําถามจะมีคําในขอใดในประโยค ก. ใคร ทําอะไร ท่ีไหน เม่ือไหร ข. ไดโปรด กรุณา ค. หยุด หาม ง. เพื่อ และ ท่ี 9. ประโยคในขอใดท่ีประทับใจผูฟงนอยท่ีสุด ก. ดิฉันขอขอบใจในนํ้าใจอันดีงามของเพ่ือน ๆ ทุกคน ข. ดิฉันขอแสดงความเสียใจและขอมีสวนรวมในความทุกขคร้ังนี้ดวย ค. ดิฉันขอแสดงความยนิดใีนความสําเร็จของคุณ ง. ดิฉันรูสึกวาชีวิตมีรสชาติอยางประหลาดหลังจากไดรับขาววันนี ้ 10. ขอใดเปนมารยาทท่ีไมสมควรกระทํามากท่ีสุดในขณะคุยกนั ก. พยายามพูดใหผูอ่ืนฟงตน ข. แยงพดูกลางครันหรือพูดขัดคอ ค. ใชภาษาไมถูกตองหรือพดูไมชัดเจน ง. พูดเร่ืองสวนตัวของผูอ่ืน 11. การจดบันทึกจากการฟงควรใชวิธีการอยางไร ก. จดเฉพาะประเด็นสําคัญ ข. จดทุกคําพดู ค. จดใหยอท่ีสุด ง. จดโดยใชอักษรยอ 12. ประโยคใดมีเนื้อความใหเลือกเอาอยางใดอยางหนึ่ง ก. เขารักพี่และเสียดายนอง ข. ถาฝนตกหนักฉันจะอยูบาน ค. เขาตองต้ังใจอยางรีบดวน ง. เธอจะอยูบานหรือจะไปโรงเรียน 13. ขอใดคือประโยคคําตอบ ก. หนูสอบไดเกรด 4 ทุกวิชาหรือ ข. หามสูบบุหร่ี ค. บานนี้อยูสองคนหรือคะ ง. หนูช่ือนองสายไหมคะ 14. ประโยคใดท่ีตองการคําตอบ ก. ประโยคบอกเลา ข. ประโยคคําถาม ค. ประโยคปฏิเสธ ง. ประโยคคําตอบ 15. ประโยคในขอใดมีเนือ้ความคําถามแลวใหตอบ ก. เราไมไดสงขาวมานาน ข. เม่ือคืนคุณไปไหนมา ค. นั่นมิใชความผิดของเธอ ง. ฉันไปพบเขาแลว 16. ประโยคตอไปนี้ขอใดคือคํากริยา นองนอนหลับอยางสบาย ก. นอง ข. นอน ค. อยาง ง. สบาย 17. ประโยคทุกภาคประโยคแบงเปน 2 ภาคประโยคคือขอใด ก. ภาคแสดง และ ภาคประธาน ข. ภาคประธาน และ ภาคกรรม ค. ภาคกรรม และ ภาคกริยา ง. ภาคขยายและภาคประธาน

Page 75: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

75

18. ความหมายของประโยคคือขอใด ก. วลีท่ีกลาวมาลอย ๆ ข. ถอยคําท่ีเรียงกันเพื่อกลาวเปรียบเทียบ ค. กลุมคําซ่ึงรวมกันเขาแลวไดใจความสมบูรณ ง. ถอยคําท่ีกลาวเปนคติเตือนใจ 19. นักเรียนช้ัน ป. 6 แตงกลอนเกง ขอใดคือกริยา ก. นักเรียน ข. ป. 6 ค. แตง ง. กลอน 20. คนแกขามถนนไมได ขอใดคือกรรม ก. ถนน ข. คนแก ค. ขาม ง. ไมได 21. ขอใดไมใชประโยค ก. แมวนอยสีขาวกําลังกินปลา ข. นองรองใหเสียงดังเพราะอยากไดของเลน ข. เด็กชายสมคิด สวางจิต ผิวขาวผมดํา ง. สุดาทํากับขาวใหแมกนิ 22. ประโยคในขอใดตางจากพวก ก. อยาใหอาหารสัตว ข. โปรดท้ิงขยะลงถัง ค. กรุณาตอคิวคะ ง. ชวยปดไฟหนอยนะคะ 23. จากขอความ เขามาได เปนประโยคชนิดใด ก. ประโยคคําถาม ข. ประโยคคําส่ัง ค. ประโยคขอรอง ชักชวนและอนุญาต ง. ประโยคปฏิเสธ 24. จากประโยค ดอกไมสีเหลืองปกอยูในแจกนัทรงเต้ีย ขอใดคือประธานของประโยค ก. ดอกไม ข. สีเหลือง ค. ปก ง. แจกนั 25. จากประโยคขอ 24 มีคําขยายอะไรบาง ก. ขยายประธาน ขยายกริยา ข. ขยายประธาน ขยายกรรม ค. ขยายประธาน ขยายกริยา ขยายกรรม ง. ขยายกริยา ขยายกรรม 26. ขอใดคือกรรมของประโยค สาวสวยผมยาวนัง่อยูใตตนไม ก. สาวสวย ข. ผมยาว ข. นั่ง ง. ตนไม 27. ขอใดมีคําขยายกริยา ก. นักเรียนอานหนังสือ ข. นกนางนวลบินฉวัดเฉวียนไปมา ข. ครูทําโทษนักเรียนท่ีมาสาย ง. แมไปตลาดสด

Page 76: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

76

28. “เทวดาไมสามารถบันดาลทุกขสุขใหเราหรอก” ควรแตงประโยคคําถามตามขอใด ก. ผูบันดาลทุกขสุขคือเทวดา ข. ทุกขหรือสุขไมเกี่ยวกับเทวดา ค. เทวดาใชไหมทีบั่นดาลทุกขสุขใหเรา ง. ใครคือเทวดา 29. สวนประกอบที่สําคัญของประโยคมีอะไรบาง ก. ประธาน กริยา กรรม ข. กรรม ขยายกรรม ค. กริยา กรรม ง. ประธาน กรรม 30. ประโยค 2 สวนประกอบดวยขอใด ก. ประธาน ขยายประธาน ข. ประธาน กริยา กรรม ข. ประธาน กริยา ง. กริยา กรรม

*********************** เฉลย

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 ง ง ก ก ค ข ข ก ง ง ก ง ง ข ข

16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 ข ก ค ค ก ข ก ค ก ค ง ข ค ก ข

Page 77: ยน กษาป ที่ 3 · เพื่ ป อแกญหาการอ านและการเขี ยน ชั้นประถมศึกษาป ที่

77

เกม เธอไปไหนกับใคร

จุดประสงค 1.เพื่อใหนักเรียนฝกการแตงประโยคคําถามและประโยคคําตอบ 2. เพื่อฝกความกลาแสดงออก กลาพูด อุปกรณ

1. บัตรคํา 2. กระดาษ, ดินสอ

วิธีเลน 1. แบงนักเรียนออกเปนกลุม กลุมละ 3 – 4 คน 2. ครูแจกกระดาษดินสอใหทุกกลุม 3. ครูชูบัตรคํา เธอไปไหนกับใคร ใหนกัเรียนดู 3 นาที นกัเรียนในกลุม

ชวยกันแตงประโยคใหมจากประโยคท่ีครูกําหนดให เม่ือหมดเวลาใหแตละกลุมนําสงครูกลุมใดหาประโยคใหมจากประโยคเดมิไดมากท่ีสุดจะเปนฝายชนะ การอาจดําเนนิในรอบตอไปโดยครูจัดประโยคใหมใหดู หรือนักเรียนชวยกนัคิดประโยคแลวนามาแขงขันกันอีกโดยไมตองเนนวาเปนประโยคอะไร แลวนํามาสรุปเปนประโยค