คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข ั้นต...

18
คูมือการทําโครงงานคุณธรรมขั้นตน โครงการการประกวดโครงงานคุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ ประจําป ๒๕๔๙ กคพ. ⌫⌫ รวมตั้งชื่อตัวการตูนสัญลักษณโครงการ ทั้ง พรอมระบุบุคลิกนิสัยมาไดทีE-mail: [email protected]

Upload: others

Post on 30-Oct-2019

9 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข ั้นต น · คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข

คูมือการทํ าโครงงานคุณธรรมขั้นตน

โครงการการประกวดโครงงานคุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ

ประจํ าป ๒๕๔๙

กค

พ.

๗ ๖ ๕

รวมตั้งชื่อตัวการตูนสัญลักษณโครงกาทั้ง ๘ พรอมระบุบุคลิกนิสัยมาไดที่E-mail: [email protected]
Page 2: คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข ั้นต น · คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข
Page 3: คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข ั้นต น · คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข

โครงงานคุณธรรม (Moral Project)

โครงงานคุณธรรม เปนกิจกรรมการเรียนรูเชิงบูรณาการ (Integral Learning Activity) ที่พัฒนาผูเรียนอยางเปนองครวม (Holistic Development) ทีมี่คุณธรรมหรือความดีงามเปนพ้ืนฐานหรือแกนหลัก (Moral based) โดยใชเทคนิควิธีการเรียนรูแบบโครงงาน (Project Approach) ที่เกิดขึ้นมาจากความสนใจความคิดริเริ่มสรางสรรคของผูเรียนเอง (Learner centered) เพ่ือแกไขปญหาดานความเสื่อมทรามทางศีลธรรมและสงเสริมการทํ าดีมีคุณธรรมอยางเปนรูปธรรมและเปนระบบ (Pragmatic & Systematic) ในสถานศึกษาและชุมชนของตนเองหรือชุมชนอ่ืนที่เกี่ยวของ

การพัฒนาการเรียนรูและคุณธรรมของผูเรียนผานการทํ าโครงงานคุณธรรมนั้น จะเกิดขึ้นควบคูกนัไป จากกระบวนการกัลยาณมิตร, กระบวนการรวบรวมประมวลขอมูลความรู, กระบวนการคิดพิจารณาอยางแยบคาย (โยนิโสมนสิการ) เพ่ือใหเกิดปญญาตระหนักรูในสถานการณหรือสภาพปญหาและสืบสาวถึงสาเหตุ ปญญาคิดสรางสรรควางแผนรางโครงงาน และปญญาแกไขปญหา, จากกระบวนการลงมือปฏิบัติงานจริง (Learning by doing) ดวยความพากเพียรจดจอตอเน่ืองในชวงระยะเวลาที่ยาวนานตามสมควร, กระบวนการขยายความมีสวนรวมไปสูบุคคลตางๆในสถานศึกษาและชุมชน และจากกระบวนการสรุปประเมินผลโครงงาน ตลอดจนกระบวนการนํ าเสนอโครงงานสูสาธารณชน

ข้ันตอนในการทํ าโครงงานคุณธรรมโครงงานคุณธรรมนั้นเปนกิจกรรมที่จะตองคิดและดํ าเนินการอยางตอเน่ือง ควบคูไปกับ

การเรียนรูและการพัฒนาคุณธรรม โดยอาศัยพระสงฆ ครู หรือ ผูบริหารเปนกัลยาณมิตรตั้งแตเริ่มตนไปจนเสร็จสิ้นโครงงาน ในการใหคํ าปรึกษา เสริมสรางพลังและแรงบันดาลใจ สนับสนุนปจจัยทรัพยากรขอมูลและองคความรูตางๆ ใหแกผูดํ าเนินการโครงงานอยางใกลชิด ในทุกขั้นตอนของการทํ าโครงงาน ซ่ึงมี ๖ ขั้นตอนสํ าคัญ ดังน้ี

ขั้นตอนที่ ๑ การตระหนักรูและพิจารณาเลือกหัวเรื่องหรือประเด็นปญหาขั้นตอนที่ ๒ การรวบรวมประมวลขอมูลและองคความรูทีเ่กี่ยวของขั้นตอนที่ ๓ การจัดทํ ารางโครงงานขั้นตอนที่ ๔ การดํ าเนินการโครงงานขั้นตอนที่ ๕ การสรุปประเมินผลและเขียนรายงานขั้นตอนที่ ๖ การนํ าเสนอโครงงาน

ข้ันตอนที่ ๑ การตระหนักรูและพิจารณาเลือกหัวเรื่องหรือประเด็นปญหาขัน้ตอนนี้เปนขั้นตอนที่สํ าคัญที่สุด ที่ตองอาศัยภาวะการตระหนักรูในสถานการณหรือ

สภาพปญหาดวยสติปญญา หรือภาวะที่มีแรงบันดาลใจที่จะทํ าสิ่งดีงามอะไรบางอยางที่เปนความฝนหรืออุดมคติ ซ่ึงอาจจะเกิดจากผูเรียนเองโดยตรง หรืออาจจะเกิดจากการแนะนํ าหรือชี้ชวน

Page 4: คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข ั้นต น · คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข

จากผูอ่ืนเปนเง่ือนไขภายนอกที่กระตุนใหผูเรียนเกิดความตระหนักรูหรือแรงบันดาลใจขึ้นก็ได การสรางความตระหนักรูน้ันเปนขั้นตอนที่ยาก เพราะโดยทั่วไปสภาพการณที่เปนปญหาตางๆน้ันมักจะเกิดขึ้นอยูแลวแตมักจะถูกละเลยมองขามหรือชาชินเคยชินจนมองไมเห็นปญหาหรือไมรูสึกวาตนเองมีสวนเกี่ยวของกับปญหานั้นอยางไรในทํ านอง “เสนผมบังภูเขา” หรือ “ปลาอยูในนํ้ ามองไมเห็นนํ้ า” จึงตองอาศัยเหตุปจจัยภายนอก จากกัลยาณมิตรที่กระตุนปจจัยภายในใจของผูเรียนไดถูกตรงกับจริตนิสัย ในเง่ือนไขสถานการณแวดลอม และจังหวะเวลาที่พอเหมาะพอดี จนเกิดฉันทะรวมกันที่จะรวมกันเปนกลุมเพ่ือดํ าเนินการโครงงาน

ข้ันตอนที่ ๒ การรวบรวมประมวลขอมูลและองคความรูที่เก่ียวของเม่ือสมาชิกทุกคนในกลุมเห็นพองกันและตัดสินใจเลือกประเด็นปญหาหรือหัวเรื่องไดแลว

และไดรับความเห็นชอบจากที่ปรึกษาแลว ก็จะเปนขั้นตอนของการระดมความคิดวางแผนงานในเบือ้งตน โดยเริ่มจากการรวมกันพิจารณาวิเคราะหสภาพปญหาแลวสืบสาวไปหาสาเหตุและปจจัยรวมตางๆ การวางเปาหมายและวิธีการแกปญหา ซ่ึงจะพบวายังมีขอมูลของสภาพปญหาและปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวของไมเพียงพอหรือยังมีรายละเอียดที่ไมชัดเจน ตัวแปรสนับสนุนและองคความรูตางๆ ที่จะนํ ามาใชในการวางแผนแกปญหาก็ยังมีไมครบถวนหรือยังไมชัดเจนเปนตน จึงตองมีการรวบรวมขอมูลและองคความรูเพ่ิมเติม (ซ่ึงอาจจะไดมาจากการสํ ารวจโดยละเอียดหรือประมาณการโดยคราวๆ ก็ได) จากการพบปะสนทนาขอความรวมมือจากบุคคลตางๆ และจากการคนควาหาความรูจากหนังสือตํ าราและแหลงเรียนรูตางๆ แลวนํ าขอมูลที่รวบรวมไดทั้งหมดมาประมวลเพื่อจัดเตรียมสํ าหรับคิดวางแผนทํ ารางโครงงานตอไป

ข้ันตอนที่ ๓ การจัดทํ ารางโครงงานขั้นตอนนี้เปนการคิดพิจารณาวางแผนงานในรายละเอียดและภาพรวมทั้งหมด โดยนํ าขอ

มูลที่รวบรวมและประมวลไดทั้งหมดนั้นมาจัดหมวดหมูและเรียบเรียงจัดลํ าดับเนื้อหา แลวนํ ามาจัดทํ าเปนเอกสารรางโครงงานที่มีหัวขอตางๆ ตามที่กํ าหนดไว อยางนอย ๑๒ หัวขอ ดังน้ี(๑) ชื่อโครงงาน (ชือ่โครงงานเปนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)(๒) กลุมเยาวชนผูรับผิดชอบโครงงาน

แสดงชื่อกลุม รายชื่อสมาชิกในกลุม ตํ าแหนง ชั้นเรียน หมายเลขโทรศัพทและ E-mail(ถามี),ชือ่สถานศึกษา ที่ตั้ง หมายเลขโทรศัพท และ E-mail(ถามี)

(๓) ที่ปรึกษาโครงงานชือ่-นามสกุล โทรศัพท และ E-mail(ถามี) (กรณีเปนพระภิกษุใหระบุฉายาและชื่อวัดดวย)

(๔) ผังสรุปมโนทัศนสรุปภาพรวมของเนื้อหารางโครงงานทั้งหมดเปนผังมโนทัศน และมีคํ าอธิบายโครงงานโดยยอ ๕ - ๑๐ บรรทัด ใน ๑ หนากระดาษ (ตามแบบฟอรมที่กํ าหนด)

Page 5: คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข ั้นต น · คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข

(๕) วตัถุประสงคแสดงความมุงหมายในการทํ าโครงงานเปนรายขอ (ไมควรเกิน ๕ ขอ)

(๖) สถานที่และกํ าหนดระยะเวลาดํ าเนินการพ้ืนที่ที่เลือกดํ าเนินการจะเปนภายในหรือภายนอกสถานศึกษาก็ได สวนกํ าหนดระยะเวลาดํ าเนินการนั้นควรอยูในชวงเดือน พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๔๙

(๗) การศึกษาวิเคราะหแสดงความเขาใจดวยทักษะการคิดพิจารณาอยางแยบคาย ดังน้ี(๗.๑) ปญหาและสาเหตุ (ประมวลขอมูลสภาพปญหา แลววิเคราะหสืบสาวหาสาเหตุและ

ปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวของกับปญหา)(๗.๒) เปาหมายและทางออก (วางเปาหมายของการแกปญหา แลวอธิบายเชื่อมโยงกับหลัก

ธรรมและหลักวิธีการที่เปนหนทางไปสูเปาหมายนั้น อยางเปนเหตุเปนผล)(๗.๓) หลักการและหลักธรรมที่นํ ามาใช (แสดงหลักธรรมและแนวพระราชดํ าริ หรือหลักวิชา

การตางๆ ที่นํ ามาใช)(๘) ลํ าดับข้ันตอนและวิธีการดํ าเนินงาน (แสดงเปนขอๆ หรือเปนแผนผังที่มีคํ าอธิบายที่ชัดเจน)(๙) งบประมาณและแหลงที่มาของงบประมาณ (หากมีการระดมทุนเพ่ิม ใหบอกแผนงาน

หรือวิธีการระดมทุนดวย)(๑๐) ผลที่คาดวาจะไดรับ (ผลโดยตรงและผลกระทบที่ตอเน่ืองออกไป)(๑๑) ความคดิเห็นเชิงวิเคราะหและขอเสนอแนะของครูผูบริหารหรือพระสงฆที่ปรึกษา(๑๒) ความคิดเห็นและความรูสึกของประธานกลุมเยาวชนผูรับผิดชอบโครงงาน

ข้ันตอนที่ ๔ การดํ าเนินการโครงงานขั้นตอนนี้เปนการนํ ารางโครงงานมาปฏิบัติจริงไปตามลํ าดับขั้นตอนและวิธีการดํ าเนินงาน

ซ่ึงจะมีทั้งในสวนที่แบงงานและดํ าเนินงานกันในระหวางสมาชิกในกลุมผูรับผิดชอบโครงงาน และงานในสวนที่สรางการมีสวนรวมใหกับเพ่ือนนักเรียนอ่ืนหรือบุคคลตางๆ ที่เขามาชวยทํ างานในดานตางๆ ตลอดจนการจัดกิจกรรมรณรงคขยายการมีสวนรวมออกไปสูชุมชน การดํ าเนินงานในชวงนี้อาจมีขอมูลยอนกลับมาที่เปนเรื่องใหมที่เพ่ิงทราบ หรือคลาดเคลื่อนไปจากที่คาดการณไว หรือเกิดสถานการณที่ยุงยากเปนอุปสรรคขอขัดของหรือขอขัดแยงใหตองเผชิญหนาและแกปญหาอยูเสมอๆ อันอาจจะนํ ามาซึ่งความออนลา ความเหนื่อยหนายทอแท ไดบอยๆ ซ่ึงทั้งหมดน้ีลวนเปนแบบฝกหัดสํ าคัญของการเรียนรูและการพัฒนาคุณธรรมของผูรับผิดชอบโครงงานและผูมาชวยงานทั้งสิ้น และจํ าเปนอยางยิ่งที่จะตองมีการติดตาม สนับสนุน ดูแล ใหความชวยเหลือทั้งทางทรัพยากรภายนอกและทางจิตใจ จากคณะที่ปรึกษาอยางใกลชิด ตลอดระยะเวลา ๓-๔ เดือนที่ดํ าเนินการโครงงาน

ผูรับผิดชอบโครงงานพึงระลึกไววา การทํ างานจริงอาจมีหลายสิ่งที่ไมเปนไปตามที่คาดการณและระบุไวในรางโครงงาน และหลายครั้งอาจตองมีการปรับเปลี่ยนแผนงานไปจากเดิม ก็ไม

Page 6: คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข ั้นต น · คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข

เปนไร แตตองเขาใจวาเพราะอะไร สามารถอธิบายไดถึงเหตุผลของการที่ผิดพลาดไปจากแผนงานที่วางไวได อยาทํ างานเพียงเพ่ือใหไดผลตามรางโครงงานที่วางแผนไวเทานั้น แตทํ างานเพื่อกอใหเกิดการเรียนรูและพัฒนาคุณธรรมของตนเองและทุกคนที่เกี่ยวของเปนหลัก ทํ าแลวคุณธรรมความดีตองเพ่ิมขึ้นและควรมีความสุขจากการทํ าความดีน้ัน ทํ าโครงงานและความดี เพ่ือนอมเกลาฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว มิใชเพ่ือรางวัลการประกวด

ข้ันตอนที่ ๕ การสรุปประเมินผลและเขียนรายงานจัดพิมพ รายงานโครงงานฉบับสมบูรณ ใหมีจํ านวนหนา ๒๐–๔๐ หนากระดาษขนาด

A4 ไมรวมปก โดยมีหัวขอตางๆ ตามที่กํ าหนด ดังน้ี (ดูรายละเอียดในภาคผนวก)(๑) ปกหนา(๒) กิตติกรรมประกาศ(๓) บทคัดยอ(๔) ผังสรุปมโนทัศน(๕) บทที่ ๑ บทนํ า(๖) บทที่ ๒ การดํ าเนินการโครงงาน(๗) บทที่ ๓ ผลการดํ าเนินงาน(๘) บทที่ ๔ การศึกษาวิเคราะห(๙) บทที่ ๕ บทสรุปและขอเสนอแนะ(๑๐) เอกสารอางอิง (ถามี)(๑๑) ภาคผนวก (ถามี)

ข้ันตอนที่ ๖ การนํ าเสนอโครงงานนอกจากการจัดทํ ารายงานโครงงานฉบับสมบูรณแลว สถานศึกษาตองสนับสนุนใหกลุม

เยาวชนผูรับผิดชอบโครงงาน จัดทํ าสื่อนํ าเสนอโครงงาน อีก ๓ รายการ ดังน้ี(๑) แผนพับสรุปยอโครงงาน (๑ แผนกระดาษขนาด A4) จํ านวน ๓ ชุด(๒) สื่อ CD (นํ าเสนอในระยะเวลาไมเกิน ๑๐ นาที) จํ านวน ๓ ชุด(๓) แผนปายนิทรรศการโครงงาน จํ านวน ๑ ชุด (ดูรายละเอียดในภาคผนวก)โดยสมาชิกทุกคนในกลุมเยาวชนผูรับผิดชอบโครงงานควรทํ าความเขาใจในรายละเอียด

และภาพรวมของโครงงานทั้งหมด แลวซักซอมการนํ าเสนอในประเด็นสํ าคัญๆ ไวเพ่ือเตรียมตัวสํ าหรับการสัมภาษณและการนํ าเสนอหนาแผนปายนิทรรศการใหคณะกรรมการและผูมาชมนิทรรรศการโครงงานสามารถเขาใจไดในระยะเวลาอันจํ ากัด

Page 7: คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข ั้นต น · คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข

ภาคผนวก ก.ก. รายงานโครงงานฉบับสมบูรณ จัดพิมพใหมีจํ านวนหนา ๒๐–๔๐ หนากระดาษขนาด A4 ไมรวมปก

โดยแสดงเนื้อหา บทและหัวขอตางๆ ตามที่กํ าหนด ดังนี้(๑) ปกหนา

(๑.๑) ปกนอก (แสดงชื่อโครงงานเปนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ, ชื่อกลุมเยาวชนผูรับผิดชอบโครงงาน, ชื่อสถานศึกษา, ชื่อสังกัด สพท./สอศ./สํ านักการศึกษาฯ โดยระบุเขต, และพิมพระบุวา รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของโครงการการประกวดโครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ ประจํ าป ๒๕๔๙ ระดับมัธยมศึกษาหรือเทียบเทาที่จัดโดย กลุมกัลยาณมิตรเพ่ือการเสริมสรางเครือขายวิถีพุทธ (กคพ.) )(๑.๒) ปกใน (แสดงชื่อโครงงานเปนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ, รายชื่อสมาชิกกลุมเยาวชนผูรับผิดชอบโครงงานโดยระบุ ชื่อ-นามสกุล ตํ าแหนง ชั้นเรียน หมายเลขโทรศัพท/E-mail(ถามี), ชื่อ-ฉายา-นามสกุลพระสงฆที่ปรึกษาโดยระบุวัดและที่ต้ังของวัด หมายเลขโทรศัพท/E-mail(ถามี), ชื่อผูบริหารและครูที่ปรึกษาโดยระบุตํ าแหนง หมายเลขโทรศัพท/E-mail(ถามี), ชื่อสถานศึกษา ที่ต้ัง หมายเลขโทรศัพท/โทรสาร/E-mail(ถามี))

(๒) กิตติกรรมประกาศ (แสดงการขอบคุณบุคคล คณะ องคกรตางๆ ที่สนับสนุนการทํ าโครงงาน เปนตน)(๓) บทคัดยอ (สรุปยอเนื้อหาและประเด็นสํ าคัญของโครงงานเปนความเรียงใน ๑ หนากระดาษ)(๔) ผังสรุปมโนทัศน (สรุปภาพรวมของโครงงานทั้งหมดเปนผังมโนทัศน ใน ๑ หนากระดาษ)(๕) บทที่ ๑ บทนํ า

๑.๑ ที่มาและความสํ าคัญ (อธิบายความเปนมา แรงบันดาลใจ หรือเหตุผล ที่ทํ าใหคิดทํ าโครงงานขึ้น)๑.๒ วัตถุประสงค (แสดงจุดมุงหมายของการทํ าโครงงาน เปนรายขอ ไมควรเกิน ๕ ขอ)๑.๓ ขอบเขตการศึกษาเรียนรู (ระบุ กลุมเปาหมาย กํ าหนดระยะเวลาและสถานที่ ในการดํ าเนินการโครงงาน)

(๖) บทที่ ๒ การดํ าเนินการโครงงาน๒.๑ วิธีการดํ าเนินงาน (อธิบายวิธีการดํ าเนินงาน, แสดงแผนผังขั้นตอนการดํ าเนินงาน ,แสดงปฏิทินหรือกํ าหนดการดํ าเนินงาน และ/หรือ มีรูปภาพประกอบ)๒.๒ งบประมาณ (แสดงรายการคาใชจายโดยแยกเปนรายหมวดและยอดรวม)๒.๓ แหลงที่มาของงบประมาณ (กรณีที่มีการระดมทุนหรือหางบประมาณเพิ่มเติมขึ้นเอง ใหอธิบายถึงวิธีการระดมทุนหรือการเขาถึงแหลงงบประมาณนั้นโดยยอดวย)๒.๔ อุปสรรคความผิดพลาดและการแกปญหา (อธิบายถึงอุปสรรคปญหาหรือขอขัดของตางๆ ที่เกิดขึ้นในการดํ าเนินการโครงงาน และการแกปญหาเฉพาะหนา แลวสรุปเปนบทเรียนที่ไดจากการเผชิญปญหานั้นๆ)

(๗) บทที่ ๓ ผลการดํ าเนินงาน(แสดงผลการดํ าเนินงานโดยการอธิบายพรอม รูปภาพ และ/หรือ มีสถิติ ตาราง หรือแผนภูมิ ประกอบ)

(๘) บทที่ ๔ การศึกษาวิเคราะห๔.๑ ปญหาและสาเหตุ (ประมวลขอมูลสภาพปญหา แลววิเคราะหสืบสาวหาสาเหตุของปญหา)๔.๒ เปาหมายและทางออก (วิเคราะหเชื่อมโยงเปาหมายของโครงงานกับวิธีการดํ าเนินงาน วาเปนหนทาง

ไปสูเปาหมายที่วางไวอยางไร อยางเปนเหตุเปนผล)๔.๓ หลักการและหลักธรรมที่นํ ามาใช (แสดงหลักธรรมและแนวพระราชดํ าริตางๆ ที่นํ ามาใช)๔.๔ ประเมินผลการดํ าเนินงาน (อธิบายแสดงผลสัมฤทธิ์ วาเปนไปตามวัตถุประสงคและเปาหมายของโครง

งานหรือไม เพียงใด เพราะเหตุใด และ/หรือแสดงสถิติประกอบ(ถามี))๔.๕ การประเมินตนเอง (สมาชิกกลุมเยาวชนผูรับผิดชอบโครงงานทุกคน แสดงความคิดเห็นและความรูสึก

ตอการพัฒนาตนเอง หรือความประทับใจตอส่ิงที่ไดเรียนรูระหวางการดํ าเนินการโครงงาน)๔.๖ การประเมินและวิจารณโดยผูอ่ืน (แสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห คํ าวิจารณ และขอเสนอแนะ ของผู

บริหารสถานศึกษา อาจารยและพระสงฆที่ปรึกษาโครงงาน และ/หรือ บุคคลอื่นที่เกี่ยวของไมเกิน ๓คน เชน ผูปกครอง, เพ่ือนนักเรียนคนอื่นที่ไมไดเปนสมาชิกกลุม, คนในชุมชน)

Page 8: คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข ั้นต น · คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข

(๙) บทที่ ๕ บทสรุปและขอเสนอแนะ๕.๑ สรุปผลการดํ าเนินการโครงงาน (อธิบายสรุปภาพรวมของโครงงานทั้งหมดเชื่อมโยงสูกระบวนการเรียน

รูและพัฒนาคุณธรรมตามวัตถุประสงคของโครงการการประกวดโครงงานคุณธรรม)๕.๒ แผนการดํ าเนินงานในอนาคตและขอเสนอแนะ

(๑๐) เอกสารอางอิง (ถามี)(๑๑) ภาคผนวก (ถามี)

ข. แผนพับ (Brochure) สรุปยอโครงงานสรุปยอโครงงานทั้งหมดลงใน ๑แผนกระดาษขนาด A4 ที่พับ ๓ สวน โดยมีเนื้อที่พิมพไดทั้งดานหนาและดานหลัง โดยออกแบบและพิจารณาเลือกประเด็น หัวขอ เนื้อหา/สาระสํ าคัญของโครงงาน พรอมรูปภาพ และ/หรือ ตารางหรือแผนภูมิประกอบ ตามที่เห็นวาเหมาะสมไดเอง

ค. สื่อ CD นํ าเสนอโครงงานเลาเรื่องแสดงภาพรวมและเจาะประเด็นสํ าคัญของโครงงานทั้งหมดลงในสื่อ CD ในระยะเวลาไมเกิน๑๐ นาที โดยสามารถจัดทํ าเปนภาพเคลื่อนไหววีดิทัศน (VCD) หรือ เปนแผนภาพการนํ าเสนอ ดวยโปรแกรมจํ าพวก presentation เชน Powerpoint ก็ได

ง. แผนปาย (Board) นิทรรศการโครงงานแสดงภาพรวมและสรุปยอเนื้อหาและประเด็นสํ าคัญของโครงงานทั้งหมด ประกอบกับการจัดแสดงรูปภาพ แผนผัง แผนภูมิ ตาราง สัญลักษณ รูปวาด ฯลฯ โดยใชความคิดสรางสรรคและเทคนิคทางศิลปะมาชวยในการนํ าเสนอใหเกิดการสื่อความไดงาย ชัดเจน และนาสนใจ ดังตัวอยางตอไปนี้

วัสดุท่ีแนความหนาเมตร แลวกรีดสลับดประมาณ

หมายเหตุ * ในกร

๑๒๐ ซม.๖๐ ซม.๖๐ ซม.

วิธ

สรุปผลขอเสนอแนะ

ผลการดํ าเนินงาน การศึกษาวิเคราะห- ปญหาและสาเหตุ

บทคัดยอผังสรุปมโนทัศน

ะนํ า*: ใชพลาสติกลูกฟูกแผนให ๓ หรือ ๕ มิลลิเมตร แบงครจึงนํ ามาแบงระยะที่ดานยาวเปานกัน แตไมใหขาดออกจากกัน๖๐ x ๖๕ เซนติเมตร ดังรูป

ณีจํ าเปน อาจใชวัสดุอ่ืนทดแทน

ีการดํ าเนินงาน

ปกหนาโครงงาน

ชื่อโครงงานคุณธรร

ญ ขนาด ๑.๓๐ x ๒.๔๐ เมตร (ขนาดจากโรงงาน) ชนิดที่มีึ่งที่ดานกวางไปตามยาวจะไดแผนปายขนาด ๐.๖๕ x ๒.๔๐น ๔ สวนเทาๆ กัน แลวกรีดตามรอยระหวางสวนที่แบง โดย จนทํ าใหแผนปายสามารถพับสลับกันไดเปน ๔ ทบ ขนาด

ได

๖๕ ซม.ผูรับผิดชอบโครงงานท่ีปรึกษา

- เปาหมายและทางออก

ปกหลังโครงงาน

๖๕ ซม.

๖๐ ซม.

Page 9: คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข ั้นต น · คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข

ภาคผนวก ข.ตัวอยางกรณีศึกษา

ปานวาดเปนคนที่รักเพื่อนและมีน้ํ าใจตอคนรอบขางเสมอจึงไดรับเลือกใหเปนรองประธานนักเรียนของระดับชั้น เธอมีเพ่ือนสนิทมากที่รูจักกันมาตั้งแตเรียนอยูชั้นประถมชื่อ อริสา แตเม่ือเลื่อนชั้นมาเรียนอยูชั้นมัธยมปที่ ๔ ดวยกัน เธอเริ่มรูสึกวาอริสาเปลี่ยนไป จากที่เคยปรึกษาพูดคุยกันไดทุกเร่ืองทํ าอะไรดวยกันกลับบานดวยกันตลอด อริสาเริ่มแยกตัวออกหางและขอกลับบานทีหลัง และมักจะไปนัดพบกับรุนพ่ีผูชายตางโรงเรียน ที่รานอินเตอรเนตหนาโรงเรียน ปานวาดทราบจากพอแมของเธอวา อริสามักจะกลับบานผิดเวลา บางครั้งอางวาทํ ารายงานจนกลับบานเกือบเที่ยงคืน เริ่มคุยโทรศัพทนานๆ และแสดงกิริยากาวราวเม่ือพอแมบอกเตือน นอกจากนี้อริสายังมีผลการเรียนตกตํ่ าลงจากเดิมมาก เธอเคยขอคุยเรื่องนี้กับอริสาแตอริสามักจะหลบเลี่ยง และมักจะไปรวมกลุมกับกลุมเพ่ือนที่ชอบแตงตัวตามแฟชั่นและอานหนังสือการตูนญี่ปุนที่มีเน้ือหาลอแหลมเชิงชูสาว

เม่ือเหตุการณผานไปจนขึ้นชั้น ม.๕ อริสาเปลี่ยนไปมีอาการเครียดและเซื่องซึม ปานวาดจึงมีโอกาสอีกครั้งที่จะเขาไปพูดคุยกับเธอ และพบวาอริสากํ าลังตั้งทองกับรุนพ่ีผูชายคนนั้นแตเขามีแฟนอยูแลวและบีบบังคับใหเธอไปทํ าแทงอยางไมใยดี ปานวาดพยายามปลอบใหกํ าลังใจเธอและชวยเธอคดิแกปญหา แตสุดทายปานวาดตองเสียใจมากที่สุดครั้งหน่ึงในชีวิตเม่ือเธอไดทราบวา อริสาไดแอบไปทํ าแทงเถื่อนแตปรากฎวาเธอเสียเลือดมากและมีภาวะติดเชื้อจนนอนลมปวยอยางทุกขทรมานอยู ๓ วันแลวก็ตายจากเธอไปในที่สุด

(ขั้นตอนที่ ๑)ปานวาดเศราเสียใจอยางที่สุด เธอรองไหออกมาเพื่อระบายความอัดอ้ัน เธอรูสึกสับสนฟุงซาน

มาก จึงไดเลาเรื่องราวทั้งหมดใหรัฐภูมิซ่ึงเปนประธานนักเรียนที่เธอคุนเคยจากการทํ างานรวมกันฟงรัฐภูมิเปนผูฟงที่ดีที่รับฟงอยางตั้งใจและคิดวานาจะทํ าอะไรสักอยางที่จะไมใหเรื่องอยางนี้เกิดขึ้นซํ้ ามาอีก เขาจึงพาเธอไปพบและขอคํ าปรึกษากับครูกัลยา ที่ทั้งสองคนสนิทและไวใจมาก ครูกัลยา ไดรับฟงเรื่องราวจากเธอทั้งหมดและใหกํ าลังใจเธอ เม่ือเห็นวาปานวาดเริ่มตั้งสติไดและวางใจกับเรื่องนี้ไดดีขึ้นแลวจึงถือโอกาสใหเธอและรัฐภูมิไดเรียนรูจากปญหานี้วามีสาเหตุมาจากอะไรบาง จากที่พูดคุยกันในวนัน้ัน รัฐภูมิและปานวาดเกิดความตระหนักในปญหาดังกลาวเปนอยางยิ่งและเห็นวา สภาพแวดลอมหนาโรงเรียนในชวง ๕ ปมานี้เสื่อมทรามลงมากเต็มไปดวยรานการตูนลามก รานเกมคอมพิวเตอรและอินเตอรเนตที่กลายเปนแหลงม่ัวสุมของนักเรียนที่หนีเรียน และที่น่ีเองที่อริสาไดเริ่มรูจักกับคนที่ทํ าใหเธอตองเสียคนและเสียชีวิตไปในที่สุด ทั้งสองคนจึงปรึกษากับครูกัลยาวาจะนํ าเรื่องนี้เขาที่ประชุมของผูนํ านักเรียนทุกระดับชั้น

ทีป่ระชุมไดอภิปรายเรื่องนี้กันอยางเต็มที่และทุกคนรูสึกประหลาดใจวา สภาพแวดลอมและแหลงม่ัวสุมที่ไมดีรอบโรงเรียนนั้นมีมานานกวา ๕ ปแลว แตทํ าไมเราถึงเพ่ิงจะเร่ิมรูสึกวาเปนปญหาจริงๆ เอาเวลานี้ และทํ าไมทุกคนทั้งผูบริหาร ครูอาจารย พอแมผูปกครอง นักเรียน ผูใหญในชุมชนจึงยอมปลอยใหเกิดสภาพแวดลอมที่เลวรายอยางนี้เกิดขึ้นมารอบโรงเรียนไดมากขึ้นเรื่อยๆ โดยไมมีใครทํ าอะไรอยางจริงจังรวมกัน ซ่ึงครูกัลยาไดตั้งประเด็นตางๆ และชี้ชวนใหนักเรียนไดขบคิด และไดใหคํ าแนะนํ าตางๆ ในตอนทาย จนที่ประชุมเห็นพองกันที่จะจัดทํ าเปนโครงงานคุณธรรมเพ่ือแกไขปญหานี้อยางจริงจังใหสํ าเร็จใหจงได

Page 10: คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข ั้นต น · คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข

(ขั้นตอนที่ ๒)จากการประชุมนักเรียนทุกคนในกลุมไดเกิดความตระหนักชัดในปญหามากขึ้น ทุกคนเริ่มมี

เปาหมายที่วางไวตรงกัน เริ่มมีการเสนอแนวคิดวิธีการในการแกปญหาขึ้นมาบางแลว แตอยางไรก็ดีทีป่ระชุมเห็นวายังมีขอมูลบางอยางไมชัดเจนในสวนของปญหา เชนจํ านวนประเภทและที่ตั้งของรานคาและแหลงม่ัวสุมที่ไมดีตางๆ นักเรียนที่ไปใชบริการมีจํ านวนคน จํ านวนครั้ง และพฤติกรรมที่ไปใชบริการหรือม่ัวสุมอยางไร มีเหตุผลอยางไร ในสวนของเปาหมายและการแกปญหานั้น ก็ยังไมคอยทราบวาจะสรางความมีสวนรวมในสวนของพอแมผูปกครองหรือหนวยงานอื่นๆ ในชุมชน โดยผานใครที่จะเปนแกนนํ าชวยเชื่อมประสาน จะหาทุนมาสนับสนุนการทํ างานจากที่ใด ที่ประชุมจึงมีมติรวมกันวาจะชวยกันสํ ารวจสืบหาและรวบรวมขอมูลที่ตองการดังกลาวใหไดกอน แลวจะนํ ามาประชุมหารือวางแผนงานในรายละเอียดอีกครั้ง

ครูกัลยาไดนํ าเรื่องนี้ไปปรึกษากับทานผูอํ านวยการ ทานผูอํ านวยการก็เห็นดีดวยและใหการสนับสนุนการทํ าโครงงานดังกลาวอยางเต็มที่ ครูกัลยาจึงไดพารัฐภูมิและปานวาดไปพบปะและขอคํ าแนะนํ าเพิ่มเติมจากบุคคลตางๆ เชนพระสงฆ นายกสมาคมผูปกครอง ผูใหญบาน ตํ ารวจ เปนตนและไดขอใหประธานนักเรียนในแตละระดับชั้นชวยกันสืบหาขอมูลโดยการแอบลองถามจากเพื่อนนักเรียนที่ไปใชบริการ ไมนานก็ไดขอมูลทั้งหมดที่ตองการ

พระอาจารยสุเมธซ่ึงเปนพระอาจารยที่ปรึกษาโครงการโรงเรียนวิถีพุทธและครูพระสอนศีลธรรมของโรงเรียน ไดแนะนํ าใหครูกัลยาจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการขึ้นเปนการเฉพาะใหกับกลุมผูนํ าเยาวชนที่จะทํ าโครงงานดังกลาวนี้ เพ่ือชวยกันวิเคราะหประมวลขอมูลองคความรูทั้งหมดอยางเปนระบบ พระอาจารยไดใหปานวาดและรัฐภูมิเลาเรื่องราวทั้งหมดใหเพ่ือนๆ ในกลุมฟงอีกครั้งหน่ึง แลวใหทํ ากิจกรรมระดมความคิดโดยตั้งคํ าถามกับทุกคนในกลุม ดังน้ี

๑. จากเรื่องราวทั้งหมด มีประเด็นปญหาอะไรที่เกิดขึ้นบาง? และปญหาเหลานั้นเชื่อมโยงกันอยางไร?*

๒. อะไรเปนสาเหตุตนตอที่แทจริง อะไรเปนปจจัยรวม และตอเน่ืองไปสูปญหาอ่ืนใด? ไดอีก*๓. เปาหมายของการแกปญหาวาคืออะไร? ทั้งเปาหมายระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว*๔. จากเปาหมายที่ไดวางไว จะกํ าหนดเปนหัวขอหรือชื่อโครงงานวาอะไร? มีแนวคิด แผนงาน

วิธีการดํ าเนินงานอยางไรบาง ที่จะสามารถทํ าไดเฉพาะหนา และในระยะเวลา ๓ - ๔ เดือน*๕. การดํ าเนินงานโครงงานดังกลาวนั้น มีการใชหลักธรรมและแนวพระราชดํ าริอะไรบาง?*

จากนั้น พระอาจารยสุเมธจึงใหทุกคนไดชวยกันสรุปวา โครงงานดังกลาวนี้ จะชวยทํ าใหพวกเราทุกคนเกิดการเรียนรูและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมทั้งแกตนเองและผูอ่ืน หรือไม อยางไรบาง?*

และพระอาจารยไดใหหลักของการทํ าโครงงานในครั้งน้ีวา ไมวาโครงงานนี้จะทํ าไดสํ าเร็จมากนอยแคไหนก็ตาม จะไดรับรางวัลจากการประกวดหรือไมก็ตาม ไมใชสิ่งสํ าคัญ สิ่งสํ าคัญคือการที่ทุกคนไดเกิดการเรียนรูและพัฒนาตนเอง ไดคิดดีและทํ าดีออกมา แลวความดีเหลานี้น่ันเองที่พวกเราทุกคนจะนอมเกลาฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว อันเปนที่รักยิ่งของพวกเราชาวไทยทุกคน..*

หมายเหตุ * วิทยากรผูจัดอบรมควรใชคํ าถามของพระอาจารยสุเมธทั้ง ๕ ขอนี้เปนแบบฝกใหกับกลุมเยาวชนเปนกิจกรรมกลุมยอย โดยถามและใหเวลาตอบทีละคํ าถามไปตามลํ าดับ แลวสรุปตามที่พระอาจารยไดกลาวไว

Page 11: คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข ั้นต น · คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข

ภาคผนวก ค.ตัวอยางรางโครงงาน

(หนาที่ ๑)๑. ชื่อโครงงาน การสรางชุมชนรอบโรงเรียนใหปลอดภัย รวมใจ ถวายในหลวง

Making Good Community around Our School๒. ชื่อกลุม ตนกลาอาสาวิถีพุทธ๓. เยาวชนผูรับผิดชอบโครงงาน

ชื่อ-สกุล ตํ าแหนง ชั้น โทรศัพท อีเมล(๑) นายรัฐภูมิ สุขใจดี ประธาน ม.๕/๑ ๐๑ ๙๒๔ xxxx [email protected](๒) น.ส.ปานวาด ศิลปาทร รองประธาน ม.๕/๒ ๐๙ ๖๒๓ xxxx [email protected](๓) นายสุทัศน โสตารักษ รองประธาน ม.๕/๓ ๐๙ ๖๒๓ xxxx [email protected](๔) น.ส.สติมา อธิปฏฐ เลขานุการ ม.๔/๓ ๐๒ ๒๒๓ xxxx [email protected](๕) น.ส.สุภนารี สนใจธรรม เหรัญญิก ม.๔/๒ ๐๒ ๖๑๑ xxxx(๖) น.ส.วิริยา สัมมาใจ ประชาสัมพันธ ม.๓/๓(๗) นายเอกรัตน สาธุกรณ สวัสดิการ ม.๔/๑ [email protected](๘) นายมานะ รักสิกขา สวัสดิการ ม.๓/๑ ๐๕ ๕๘๘ xxxx

๔. สถานศึกษา โรงเรียนมัธยมวัดธรรมอาสาราม ต.ติสิกขา อ.จตุภาวนา จ.นครปฐมโทร. ๐๒ ๔๔๔ ๕๕๗๘ โทรสาร ๐๒ ๔๔๔ ๕๕๘๘ อีเมล [email protected]

๕. พระสงฆที่ปรึกษา พระสุเมธ โพธิสตฺโตวัดธรรมอาสาราม ต.ติสิกขา อ.จตุภาวนา จ.นครปฐม โทร. ๐๑ ๙๒๔ xxxxโทรสาร ๐๒ ๔๔๔ xxxx อีเมล [email protected]

๖. ผูบริหารที่ปรึกษา นางสาวมนสิการ สัมมาใจ ผูอํ านวยการสถานศึกษาโทร. ๐๖ ๘๘๘ xxxx อีเมล [email protected]

๗. ครูที่ปรึกษา นางกัลยา มิตรประเสริฐครผููสอนวิชาวิทยาศาสตร โทร. ๐๔ ๙๕๖ xxxx

๘. วัตถุประสงค๘.๑ เพ่ือเฉลิมพระเกียรติแดองคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เน่ืองในมหามงคลวโรกาสทรงครอง

สริิราชสมบัติครบ ๖๐ ป และจะทรงมีพระชนมายุครบ ๘๐ พรรษา๘.๒ เพ่ือสรางจิตสํ านึก ความสามัคคีและการมีสวนรวมใหกับทุกฝายในการปองกันและรักษาชุมชน

ใหเขมแข็งและปลอดจากอบายมุขและสิ่งมอมเมาเด็กและเยาวชน๘.๓ เพ่ือเสริมสรางภูมิคุมกันทางจิตและปญญาใหแกเยาวชนใหรูเทาทันและรูจักหลีกเลี่ยงสิ่งยั่วยุภาย

นอกทีม่ากระตุนกิเลสภายในใจ และเพิ่มพูนทักษะในการควบคุมพฤติกรรมของตนเอง

๙. สถานที่และกํ าหนดระยะเวลาดํ าเนินงานโรงเรียนมัธยมวัดธรรมอาสาราม และชุมชนโดยรอบโรงเรียน ต.ติสิกขา อ.จตุภาวนา จ.นครปฐมในชวงเดือนพฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๔๙

Page 12: คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข ั้นต น · คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข

๑๐

(หนาที่ ๒)

๑๐. ผังสรุปมโนทัศน

โครงงาน การสรางชุมชนรอบโรงเรียนใหปลอดภัย รวมใจ ถวายในหลวงโดย กลุมตนกลาอาสาวิถีพุทธ โรงเรียนมัธยมวัดธรรมอาสาราม สพท.นครปฐม ๒

คํ าอธิบายโครงงานโดยยอ

Page 13: คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข ั้นต น · คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข

๑๑

(หนาที่ ๓-๔)

๑๑. การศึกษาวิเคราะห๑๑.๑ ปญหาและสาเหตุ

๑๑.๒ เปาหมายและทางออก

๑๑.๒ หลักการและหลักธรรมที่นํ ามาใช

(หนาที่ ๕-๖)

๑๒. ลํ าดับข้ันตอนและวิธีการดํ าเนินงาน

(หนาที่ ๗)

๑๓. งบประมาณและแหลงที่มาของงบประมาณ

๑๔. ผลที่คาดวาจะไดรับ

Page 14: คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข ั้นต น · คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข

๑๒

(หนาที่ ๘–๙)

๑๕. ความคิดเห็นเชิงวิเคราะหและขอเสนอแนะ๑๕.๑ พระสงฆที่ปรึกษา: พระสุเมธ โพธิสตฺโต

๑๕.๒ ผูบริหารที่ปรึกษา: นางสาวมนสิการ สัมมาใจ ผูอํ านวยการสถานศึกษา

๑๕.๓ ครูที่ปรึกษา: นางกัลยา มิตรประเสริฐ

(หนาที่ ๑๐)

๑๖. ความคิดเห็นและความรูสึกของประธานกลุมเยาวชนผูรับผิดชอบโครงงาน

(หนาที่ ๑๑–๑๕)

ภาคผนวก*การประมวลขอมูลที่ไดจากการสํ ารวจเบื้องตน

หมายเหตุ * ภาคผนวก อาจจะมีหรือไมก็ได และสามารถมีหัวขอที่แตกตางออกไปจากตัวอยางดังกลาวนี้

Page 15: คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข ั้นต น · คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข

๑๓

ภาคผนวก ง.แบบการประเมินรางโครงงาน

โครงงาน กลุม สถานศึกษา สังกัด

คะแนนรายการประเมินคะแนนเต็ม คะแนนที่ได

๑. เน้ือหาสาระและคุณลักษณะของโครงงาน๑.๑ มาจากความคิดริเริ่มสรางสรรคของเยาวชนเอง ผาน/ไมผาน๑.๒ การใชหลักธรรมในทางพระพุทธศาสนา ๑๐๑.๓ การอัญเชิญแนวพระราชดํ าริ/พระราชดํ ารัส มาใช ๑๐๑.๔ สงเสริมศีลธรรม/วินัยในตนเอง/การกินอยูดูฟงเปน ๕๑.๕ สงเสริมคานิยมจิตอาสา/ความเมตตากรุณา/ชวยเหลือสวนรวม ๕๑.๖ สงเสริมการเรียนรูทางจิตและปญญา ๕๑.๗ เอกสารรางโครงงาน

ก. ความถูกตองครบถวนของหัวขอตางๆ ๒ข. ความชัดเจนของผังสรุปมโนทัศน ๕ค. ความคิดความเขาใจในการศึกษาวิเคราะห ๘

๒. คุณประโยชนในการแกปญหาดานความเสื่อมทรามทางศีลธรรม ๑๐๓. ความเปนไปไดของรางโครงงาน ภายใตขอจํ ากัดของปจจัยตางๆ ๑๐๔. การสรางความมีสวนรวมแกบุคคลตางๆ (บวร) ๑๐๕. การจัดหางบประมาณ ที่สะทอนศักยภาพในการพึ่งตนเองไดตอไป ๕๖. เทคนิควิธีการ และความคิดสรางสรรค ในการดํ าเนินการโครงงาน ๕๗. บุคลิกภาพของผูนํ าเสนอ

๗.๑ กิริยามารยาท-การทักทาย ๔๗.๒ การพูด-การใชภาษา ๓๗.๓ การแบงงาน-ทํ างานเปนกลุม ๓

รวม ๑๐๐หมายเหตุ -ในรอบคัดเลือก ๒๐๐ โครงงานคุณธรรมดีเดนระดับเขตพ้ืนที่หรือสังกัด คณะกรรมการจะใหคะแนนโดยพิจารณาจาก เอกสารรางโครงงาน และการสัมภาษณกลุมเยาวชนผูสมัคร

-เกณฑและหลักวิธีการประเมินโครงงาน อาจมีการปรับเปล่ียนไดตามความเหมาะสม คณะกรรมการกลางขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงแกไข รวมท้ังการกํ าหนดสัดสวนคะแนนไดโดยมิตองแจงใหทราบลวงหนา

-การตัดสินผลการประกวดโครงงานในแตละรอบ ใหถือตามมติของคณะกรรมการตัดสินเปนที่สุด

กรรมการคนที่ ……….

Page 16: คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข ั้นต น · คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข

๑๔

ภาคผนวก จ.กํ าหนดการ โครงการการประกวดโครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ

๒๐ ม.ค. – ๑๐ ก.พ. ๒๕๔๙ เปดรับสมัคร สถานศึกษา เขารวมโครงการจัดประกวดโครงงานคุณธรรมภายในสถานศึกษา และรับสมัคร กลุมเยาวชน เขารับการอบรมการจัดทํ าโครงงาน ที่ สพท.ทุกแหง สอศ. และสํ านักการศึกษา กทม.

เดือนมีนาคม ๒๕๔๙ สพท. สอศ. สํ านักการศึกษาฯ ประสานกับสถานศึกษา จัดประชุมอบรมการจัดทํ าโครงงานคุณธรรมขั้นตน แกกลุมเยาวชนผูสมัครและครูผูแทนสถานศึกษา

มีนาคม – พฤษภาคม ๒๕๔๙ กลุมเยาวชนผูรับการอบรม ทดลองรางโครงงาน เตรียมงาน ทดลองปฏิบัติงานเรียนรู และปรับปรุง เพ่ือจัดทํ าเอกสารรางโครงงาน

๑๕ - ๒๕ พ.ค. ๒๕๔๙ สถานศึกษาที่มีกลุมเยาวชนสมัครมากกวา ๑ โครงงาน ดํ าเนินการจัดประกวดภายในสถานศึกษาเพื่อคัดเลือกโครงงานที่ดีที่สุด ๑ โครงงาน หรือจะใชการพิจารณาปรับโครงงานและประสานรวมกลุมเยาวชนใหเหลือ ๑ โครงงาน ก็ได เพ่ือสงเขาประกวดในระดับเขตพ้ืนที่หรือสังกัด ในนามสถานศึกษา

๒๕ - ๓๐ พ.ค. ๒๕๔๙ สถานศึกษาสนับสนุนใหกลุมเยาวชนที่ไดรับคัดเลือก ปรับปรุงและจัดพิมพเอกสารรางโครงงานและกรอกใบสมัครสงโครงงานเขาประกวด

๓๑ พ.ค. ๒๕๔๙ วันสุดทายของการสงเอกสารรางโครงงาน(พรอมแผนดิสกบันทึกขอมูล)และใบสมัครท่ีกรอกขอมูลสมบูรณแลวพรอมหลักฐานการสมัคร มาที่ สพท.สอศ. หรือ สํ านักการศึกษาฯ ที่ตนสังกัด

๑ - ๗ มิ.ย. ๒๕๔๙ สพท. สอศ. สํ านักการศึกษาฯ ต้ังกรรมการพิจารณาคัดเลือก โครงงานคุณธรรมดีเดนระดับเขตพ้ืนที่หรือสังกัด

๗ มิ.ย. ๒๕๔๙ วันสุดทายที่ผูประสานงานโครงการของ สพท. สอศ. สํ านักการศึกษาฯ ตองรีบแจงผลการตัดสินโครงงานคุณธรรมระดับเขตพ้ืนที่หรือสังกัด ของตน มาที่ กคพ. ทางE-mail: [email protected]

๑๕ มิ.ย. ๒๕๔๙ วันสุดทายที่ สพท. สอศ. สํ านักการศึกษาฯ ตองสงเอกสารรางโครงงาน(พรอมแผนดิสก) ๑ ชุด ใบสมัครและหลักฐานการสมัคร มาที่ กคพ.

๑๖ - ๓๐ มิ.ย. ๒๕๔๙ กคพ. ประกาศรับรองผล และสงมอบทุนสนับสนุนการดํ าเนินการโครงงานคุณธรรมมิถุนายน – สิงหาคม ๒๕๔๙ กลุมเยาวชนผูรับผิดชอบโครงงาน ดํ าเนินการโครงงานมิถุนายน – กันยายน ๒๕๔๙ สพท.และสถานศึกษารวมกันสนับสนุนติดตามและประเมินผลการดํ าเนินการโครงงาน๑๕ ส.ค. - ๑๐ ก.ย. ๒๕๔๙ สถานศึกษาสนับสนุนให กลุมเยาวชนผูรับผิดชอบโครงงานจัดทํ ารายงานโครงงาน

ฉบับสมบูรณ แผนพับ แผนปายนิทรรศการฯ และส่ือ CD๑๕ ก.ย. ๒๕๔๙ วันสุดทายของการสงเอกสารและสื่อนํ าเสนอโครงงานทั้ง ๔ รายการ มาที่

สพท./สอศ./สํ านักการศึกษาฯ ที่ตนสังกัด๑ - ๑๕ ต.ค. ๒๕๔๙ กรรมการในแตละภาคสงฆ พิจารณาคัดเลือกโครงงานคุณธรรมดีเดนระดับภาค

สงฆและในสังกัดตางๆ ตามสัดสวน เพ่ือเขาสูรอบรองชนะเลิศระดับประเทศ๒๔ - ๒๗ ต.ค. ๒๕๔๙ - ตัวแทนกลุมเยาวชนผูรับผิดชอบโครงงาน ๔๘ โครงงาน ๑๔๔ คน เขาคายสุด

ยอดผูนํ ายุวชนวิถีพุทธ (Buddhist Youth Leadership Summit)- กรรมการกลางพิจารณาใหคะแนนเพื่อคัดเลือก ๖ โครงงานที่ไดคะแนนสูงสุด เขาสูรอบชิงชนะเลิศระดับประเทศ

ตนเดือนพฤศจิกายน ๒๕๔๙ สพท.แตละภาคสงฆ รวมกันจัดนิทรรศการแสดงโครงงานและจัดพิธีมอบรางวัลโครงงานคุณธรรมดีเดนระดับภาคสงฆ

Page 17: คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข ั้นต น · คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข

๑๕

และเริ่มการประชาสัมพันธการประกวดโครงงานคุณธรรม ป ๒๕๕๐ชวงเดือนพฤศจิกายน ๒๕๔๙ กรรมการกลางไปตรวจเยี่ยม ๖ โครงงานที่เขารอบชิงชนะเลิศในพ้ืนที่และประเมิน

ผลเชิงประจักษ เพ่ือให คะแนน๑ปลาย พ.ย. – ตน ธ.ค. ๒๕๔๙ งานสมัชชาคุณธรรมแหงชาติและตลาดนัดคุณธรรมครั้งที่ ๒

- คณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิพิจารณาให คะแนน๒ แก ๖ โครงงานที่เขาชิงชนะเลิศระดับประเทศ โดยพิจารณาจากการจัดแสดงนิทรรศการ เอกสารและสื่อนํ าเสนอโครงงาน การนํ าเสนอบนเวที และ/หรือ การทํ ากิจกรรมที่กํ าหนด(อีก ๔๒ โครงงานที่เขารอบรองชนะเลิศระดับประเทศทั้งหมดมารวมจัดนิทรรศการนํ าเสนอโครงงาน (ยังไมแนนอน) )

๑๕ - ๒๐ ธ.ค. ๒๕๔๙ คณะกรรมการกลางชุดใหญประชุมพิจารณารวมคะแนนทั้งสองสวน(คะแนน๑+คะแนน๒) แลวตัดสินผลการประกวดโครงงานคุณธรรมดีเดนระดับประเทศ

๒๔ - ๒๖ ธ.ค. ๒๕๔๙ งานมหกรรมโรงเรียนวิถีพุทธ ฉลองครบรอบ ๔ ป- กคพ. ประกาศผลการประกวดโครงงานอยางเปนทางการและจัดพิธีมอบรางวัลโครงงานคุณธรรมดีเดนระดับประเทศ- กคพ. จัดแถลงขาวการประกวดโครงงานคุณธรรม ป ๒๕๔๙ และป ๒๕๕๐

(หมายเหตุ วันเวลาและสถานที่ตามกํ าหนดการดังกลาวขางตน อาจมีการปรับเปล่ียนตามความเหมาะสม)

******************************

คณะธรรมอาสาสมัครฝายวิชาการ โครงการการประกวดโครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ๑. พระมหาเดชาธร กนกรัตนาพรรณ วัดปากนํ้ า๒. พระมหาพชร อคฺคปฺโญ วัดสุทัศนเทพวราราม๓. นางสาวศศิธร เล็กสุขศรี ศูนยสงเสริมและพัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม๔. อาจารยวิศาล เครือคลาย คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภฏัวลัยอลงกรณ๕. ผศ. ขวัญฟา รังสิยานนท คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต๖. ผศ. กนกกร บุษยะกนิษฐ คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภฏัสวนดุสิต๗. นางสรณีย อาศรัยราษฎร สํ านักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ

สํ านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา๘. นางสาวณุตตรา แทนขํ า สํ านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา๙. อาจารยณัฐนันท วงศประจันต คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภฏัสวนดุสิต๑๐. นางสิริพรรณ ตันติรัตนไพศาล คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภฏัสวนดุสิต๑๑. อาจารยกฤษณี ภูพัฒน คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภฏัสวนดุสิต๑๒. นายวิสูตร ปฐมโรจนฤทธิ์ สพท.นครปฐม เขต ๑๑๓. นายเชวงเวช เผือกผอง สพท. นครปฐม เขต ๑๑๔. นางเพ็ญพร พุมกุมาร สพท. นครปฐม เขต ๑๑๕. นางเอื้ออํ าไพ สุวรรณยืน โรงเรียนอนุบาลจันทรเจา๑๖. คุณสกุณี บุญญะบัญชา โรงเรียนรุงอรุณ๑๗. คุณพัชนา มหพันธ โรงเรียนทอสี๑๘. นางปนทอง ใจสุทธิ โรงเรียนมัธยมวัดดุสิตาราม๑๙. นางสาวสุภาภรณ เสนีวงศ ณ อยุธยา โรงเรียนมัธยมวัดบึงทองหลาง๒๐. นางสุพัตรา ธรรมประดิษฐ โรงเรียนมัธยมวัดบึงทองหลาง๒๑. นางการุณ พูลเพิ่ม โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย๒๒. นายบัณฑิต วงศรัตน โรงเรียนพัฒนาวิทยา๒๓. นายคัมภีร สุขศรี โรงเรียนสระกะเทียมวิทยาคม๒๔. นางจํ าเนียร แกวขาว โรงเรียนกํ าแพงแสนวิทยา

Page 18: คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข ั้นต น · คู มือการทําโครงงานค ุณธรรมข

๑๖

คณะทีป่รกึษา โครงการการประกวดโครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ๑. พระธรรมโกศาจารย อธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๒. พระอาจารยชยสาโรภิกฺขุ อดีตเจาอาวาสวัดปานานาชาติ๓. นายไพบูลย วัฒนศิริธรรม ประธานกรรมการ ศูนยสงเสริมและพัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม๔. ศาสตราจารยกิตติคุณ สุมน อมรวิวัฒน ผูทรงคุณวุฒ ิและที่ปรึกษาคณะธรรมอาสาสมัคร ฝายวิชาการ๕. ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา๖. ดร.มนูญ มกุขประดิษฐ รองเลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา๗. นายจาตุรนต ฉายแสง รฐัมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ๘. นายปยะบุตร ชลวิจารณ ผูชวยรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ๙. ดร.ชินภัทร ภูมิรตัน รองเลขาธิการ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

กระทรวงศึกษาธิการ

คณะกรรมการกลาง โครงการการประกวดโครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ๑. พระอาจารยดุษฎี เมธังกุโร พระวิทยากรผูทรงคุณวุฒิ สํ านักปฏิบัติธรรมทุงไผ จังหวัดชุมพร๒. พระมหาวิชาญ สุวิชาโน หัวหนาพระวิทยากร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดยานนาวา กรุงเทพฯ๓. พระมหาพงศนรินทร ฐิตวํโส นกัวิจยัและพระวิทยากรโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพฯ

รกัษาการ ประธาน กคพ.๔. พระมหานภันต สนฺติภทฺโท พระวิทยากรหัวหนากลุมพัฒนาจิต “เพ่ือชีวิตดีงาม” วัดสระเกศ กรุงเทพฯ๕. พระเจษฎา สมาหิโต พระวิทยากรแกนนํ าโครงการโรงเรียนวิถีพุทธอางทอง วัดลานชาง จังหวัดอางทอง๖. รศ.บุญนํ า ทานสัมฤทธิ์ ผูทรงคณุวุฒิ และผูรวมกอต้ังโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ๗. รศ.ประภาภัทร นิยม ผูอ ํานวยการโรงเรียนรุงอรุณและสถาบันอาศรมศิลป รกัษาการ เหรัญญิก กคพ.๘. ดร.สิริกร มณีรินทร ผูทรงคณุวุฒิ และผูรวมกอต้ังโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ๙. ดร.ศรีสมร พุมสะอาด ผูอํ านวยการสํ านักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา๑๐. นางสาวนราทิพย พุมทรัพย ผูอ ํานวยการศูนยสงเสริมและพัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม๑๑. นายพงษชัย ศรีพันธุ ผูชวยผูอํ านวยการ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย๑๒. นางสาววิไลวรรณ ถึกไทย ผูแทนศนูยสงเสริมและพัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม๑๓. คุณบุบผาสวัสดิ์ รัชชตาตะนนัท ผูบรหิารโรงเรียนทอสี และเครือขาย ๓ ประสาน ร.ร.วิถีพุทธ๑๔. คุณอนินทิตา โปษะกฤษณะ ผูบริหารโรงเรียนอนุบาลหนูนอย-บานพุทธประถม๑๕. ดร.ไพรัช สูแสนสุข อาจารยวิทยาลัยการฝกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภฎัพระนคร๑๖. ดร.บรรเจอดพร สูแสนสุข ผูประสานงานสวนกลาง โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ สํ านักพัฒนานวัตกรรมการจัด

การศึกษา สพฐ. กระทรวงศึกษาธิการ เลขานุการ กคพ.

กลุมกัลยาณมิตรเพื่อการเสริมสรางเครือขายวิถีพุทธ (กคพ.)ศูนยประสานงานการประกวดโครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติโครงการโรงเรียนวิถีพุทธสํ านักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สพฐ.กระทรวงศึกษาธิการ กทม. ๑๐๓๐๐โทร. ๐๒-๒๘๐-๕๕๖๐ โทรสาร ๐๒–๒๘๑–๕๒๑๖E-mail: [email protected]

ศูนยประสานงานดานการเงินและบัญชีมูลนิธิโรงเรียนรุงอรุณ๙/๙ หมู๕ ซอย๓๓ ถ.พระราม๒ แขวงทาขามเขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ ๑๐๑๕๐โทร. ๐๒-๘๔๐-๒๕๐๑-๔โทรสาร. ๐๒-๘๗๐-๗๕๑๔

Website โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ: http://inno.obec.go.th/project/bud/Website โครงการการประกวดโครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ: http://www.moralproject.net