ข้อก าหนดการท าวิจัย ( terms of reference...

20
- 1 - ข้อกาหนดการทาวิจัย (Terms of reference – TOR) ชื่อแผนงานวิจัย : โครงการวิจัยท้าทายไทย กลุ่มเรื่องกระบวนการยุติธรรมรองรับ 4.0 ชื่อโครงการวิจัย : การวิจัยเพื่อพัฒนาและส่งเสริมนวัตกรรมทางกฎหมาย นิติวิทยาศาสตร์ และฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องในกระบวนการยุติธรรม เพื่อแก้ไขปัญหาเร่งด่วน ของการอานวยความยุติธรรมและการบริหารงานยุติธรรม 1. หลักการและเหตุผล ในปัจจุบันเป็นยุคที่สังคมโลกสามารถเชื่อมต่อกันได้อย่างไร้พรมแดน มีนวัตกรรมทางเทคโนโลยี ที่เจริญรุดหน้าแบบก้าวกระโดด โดยผิวเผินเสมือนว่าจะเป็นยุคแห่งความสมบูรณ์แบบของสังคมในอุดมคติ แต่ในความเป็นจริงแล้วก็ไม่อาจปฏิเสธได้ว่ายังมีรอยด่างที่แฝงอยู่ในด้านมืดของความศิวิไลซ์ทางวัตถุนิยมอยูนั่นก็คือ ปัญหาอาชญากรรม ซึ่งนับวันยิ่งมีรูปแบบที่แยบยล ซับซ้อน และอันตรายมากขึ้นเรื่อยๆ บทบาทด้าน การจัดการกับปัญหาอาชญากรรมจึงตกเป็นของหน่วยงานด้านกระบวนการยุติธรรมทุกหน่วยงาน ฉะน้นจึงมี ความจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการปฏิรูปและพัฒนาวิทยาการด้านการอานวยความยุติธรรมให้เกิดการบูรณาการ ที่ทันสมัยอยู่เสมอ มิเช่นนั้นแล้ว อาชญากรผู้เป็นภัยคุกคามแก่สังคมก็จะก้าวลากว่ากระบวนการยุติธรรมอยู่เรื่อยไป การอานวยความยุติธรรมถือเป็นภารกิจสาคัญพื้นฐานของรัฐ ซึ่งรัฐจะต้องดาเนินการอานวย ความยุติธรรมโดยการจัดการบริหารองค์การในกระบวนการยุติธรรมให้เป็นที่พึงพอใจของประชาชนและเป็นสากล ตามหลักนิติธรรม ทั้งนี้ จุดมุ่งหมายหลักในการอานวยความยุติธรรม คือการให้ประชาชนที่เข้าสู่กระบวนการ ยุติธรรมได้รับความสะดวก รวดเร็ว ประหยัด และเป็นธรรม ซึ่งปัจจัยที่จะทาให้บรรลุจุดมุ่งหมายดังกล่าว ประกอบด้วย กฎหมาย ระบบการพิจารณาคดี ระเบียบปฏิบัติ ตลอดจนการปฏิบัติงานของหน่วยงานและบุคคล ที่เกี่ยวข้อง เช่น ตารวจ พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ ทนายความ พยาน เจ้าหน้าที่ของศาล และผู้พิพากษา ระบบการพิจารณาคดีและสืบพยานของไทย ศาลจะต้องวางตัวเป็นกลางในคดีอาญา ซึ่งเริ่มคดีโดยโจทก์ เป็นผู้กล่าวหาและโจทก์ต้องนาพยานหลักฐานมาพิสูจน์ความผิดของจาเลย ทั้งนี้ จาเลยในคดีอาญาจะได้รับ การสันนิษฐานว่าเป็นผู้บริสุทธิ์จนกว่าจะพิสูจน์ให้ศาลเห็นเป็นที่สิ้นสงสัยว่าจาเลยเป็นผู้กระทาความผิด จากบริบทการเปลี่ยนแปลงของพลวัตทางสังคม ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี และนโยบายการพัฒนาประเทศและแผนแม่บทบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ จึงเกิดประเด็นที่น่าสนใจเกี่ยวกับ การอานวยความยุติธรรมและการบริหารงานยุติธรรมในหลายประเด็น โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระบวนการยุติธรรม

Upload: others

Post on 07-Mar-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ข้อก าหนดการท าวิจัย ( Terms of reference TOR¸‚้อกำหนดการทำวิจัย... · - 1 - ข้อก าหนดการท

- 1 -

ข้อก าหนดการท าวิจัย (Terms of reference – TOR)

ชื่อแผนงานวิจัย : โครงการวิจัยท้าทายไทย กลุ่มเรื่องกระบวนการยุติธรรมรองรับ 4.0 ชื่อโครงการวิจัย : การวิจัยเพื่อพัฒนาและส่งเสริมนวัตกรรมทางกฎหมาย นิติวิทยาศาสตร์

และฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องในกระบวนการยุติธรรม เพื่อแก้ไขปัญหาเร่งด่วน ของการอ านวยความยุติธรรมและการบริหารงานยุติธรรม

1. หลักการและเหตุผล ในปัจจุบันเป็นยุคที่สังคมโลกสามารถเชื่อมต่อกันได้อย่างไร้พรมแดน มีนวัตกรรมทางเทคโนโลยี

ที่เจริญรุดหน้าแบบก้าวกระโดด โดยผิวเผินเสมือนว่าจะเป็นยุคแห่งความสมบูรณ์แบบของสังคมในอุดมคติ แต่ในความเป็นจริงแล้วก็ไม่อาจปฏิเสธได้ว่ายังมีรอยด่างที่แฝงอยู่ในด้านมืดของความศิวิไลซ์ ทางวัตถุนิยมอยู่ นั่นก็คือ ปัญหาอาชญากรรม ซึ่งนับวันยิ่งมีรูปแบบที่แยบยล ซับซ้อน และอันตรายมากขึ้นเรื่อยๆ บทบาทด้าน การจัดการกับปัญหาอาชญากรรมจึงตกเป็นของหน่วยงานด้านกระบวนการยุติธรรมทุกหน่วยงาน ฉะนั้นจึงมี ความจ าเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการปฏิรูปและพัฒนาวิทยาการด้านการอ านวยความยุติธรรมให้เกิดการบูรณาการ ที่ทันสมัยอยู่เสมอ มิเช่นนั้นแล้ว อาชญากรผู้เป็นภัยคุกคามแก่สังคมก็จะก้าวล้ ากว่ากระบวนการยุติธรรมอยู่เรื่อยไป

การอ านวยความยุติธรรมถือเป็นภารกิจส าคัญพ้ืนฐานของรัฐ ซึ่งรัฐจะต้องด าเนินการอ านวย ความยุติธรรมโดยการจัดการบริหารองค์การในกระบวนการยุติธรรมให้เป็นที่พึงพอใจของประชาชนและเป็นสากลตามหลักนิติธรรม ทั้งนี้ จุดมุ่งหมายหลักในการอ านวยความยุติธรรม คือการให้ประชาชนที่เข้าสู่กระบวนการยุติธรรมได้รับความสะดวก รวดเร็ว ประหยัด และเป็นธรรม ซึ่งปัจจัยที่จะท าให้บรรลุจุดมุ่ง หมายดังกล่าวประกอบด้วย กฎหมาย ระบบการพิจารณาคดี ระเบียบปฏิบัติ ตลอดจนการปฏิบัติงานของหน่วยงานและบุคคล ที่เก่ียวข้อง เช่น ต ารวจ พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ ทนายความ พยาน เจ้าหน้าที่ของศาล และผู้พิพากษา ระบบการพิจารณาคดีและสืบพยานของไทย ศาลจะต้องวางตัวเป็นกลางในคดีอาญา ซึ่งเริ่มคดีโดยโจทก์ เป็นผู้กล่าวหาและโจทก์ต้องน าพยานหลักฐานมาพิสูจน์ความผิดของจ าเลย ทั้งนี้ จ าเลยในคดีอาญาจะได้รับ การสันนิษฐานว่าเป็นผู้บริสุทธิ์จนกว่าจะพิสูจน์ให้ศาลเห็นเป็นที่สิ้นสงสัยว่าจ าเลยเป็นผู้กระท าความผิด

จากบริบทการเปลี่ยนแปลงของพลวัตทางสังคม ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี และนโยบายการพัฒนาประเทศและแผนแม่บทบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ จึงเกิดประเด็นที่น่าสนใจเกี่ยวกับ การอ านวยความยุติธรรมและการบริหารงานยุติธรรมในหลายประเด็น โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระบวนการยุติธ รรม

Page 2: ข้อก าหนดการท าวิจัย ( Terms of reference TOR¸‚้อกำหนดการทำวิจัย... · - 1 - ข้อก าหนดการท

- 2 -

ส าหรับเด็กและเยาวชน ที่จะต้องมีการศึกษาและพัฒนาแนวทางการปรับสมดุลให้บริบทของขั้นตอนตาม ข้อกฎหมายสอดคล้องกับการด าเนินการในเชิงปฏิบัติ การแสวงหาหรือการสร้างสรรค์นวัตกรรมทางเทคโนโลยีส าหรับการยกระดับศักยภาพการด าเนินงานและการส่งเสริมความเชื่อมั่นของกระบวนการยุติธรรม ตลอดจน การเชื่อมโยงฐานข้อมูลระหว่างหน่วยงานที่จะเอ้ือประโยชน์ต่อการอ านวยความยุติธรรม ทั้งในแง่ของการปูองกัน การปราบปราม การแก้ไขฟ้ืนฟู และการสอดส่องดูแลเมื่อได้รับการปล่อยตัวคืนสู่สังคม ซึ่งจะต้องมีจุดมุ่งหมายให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโดยอาศัยแนวคิดและวิธีการทางวิทยาศาสตร์เข้ามาสนับสนุนและการเปิดโอกาสให้เครือข่ายภาคประชาชนได้มีบทบาทในการมีส่วนร่วม

ดังนั้น เพ่ือให้สอดคล้องกับแนวทางการขับเคลื่อนประเทศตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ทุกภาคส่วนจึงต้องให้ความส าคัญต่อการพัฒนาวิทยาการทางด้านกระบวนการยุติธรรมในทุกมิติ เนื่ องจากความยุติธรรมเปรียบเสมือนความหวังและเปูาหมายสูงสุดของประชาชนในการอยู่ร่วมกันอย่างปกติสุขและปราศจากความขัดแย้ง การวิจัยเพื่อพัฒนาและส่งเสริมนวัตกรรมทางกฎหมาย นิติวิทยาศาสตร์ และฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องในกระบวนการยุติธรรมเพื่อแก้ไขปัญหาเร่งด่วนของการอ านวยความยุติธรรมและการบริหารงานยุติธรรมในกลุ่มเด็กและเยาวชน จึงเป็นประเด็นส าคัญท่ีต้องมีการผลักดันให้มีการศึกษาวิจัยเพ่ือพัฒนาองค์ความรู้จากผู้ทรงคุณวุฒิและนักวิชาการจากหลายฝุาย เพราะการอ านวยความยุติธรรมที่สมบูรณ์แบบนั้น จะต้องอาศัยทั้งหลักความยุติธรรมทางกฎหมาย หลักความยุติธรรมทางสังคม และนวัตกรรมด้านการสืบสวนสอบสวนที่ล้ าสมัยควบคู่กันไป การเข้าถึงความยุติธรรม ที่มีประสิทธิภาพ เสมอภาค และเท่าเทียม จึงถือเป็นเปูาหมายสูงสุดของกระบวนการยุติธรรมอย่างแท้จริง และเป็นกลไกในการสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ าทางสั งคมในทุกมิติ อันจะเป็นการส่งเสริม การเคารพในสิทธิหน้าที่และการตระหนักในคุณค่าและศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์ของคนในสังคมต่อไป

2. วัตถปุระสงค์ 1) เพ่ือให้เกิดมิติใหม่แห่งองค์ความรู้และข้อเสนอแนะที่จ าเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนากฎหมายให้

สอดคล้องกับการปฏิบัติงานจริง และลดข้อจ ากัดจากเงื่อนไขทางกฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการยุติธรรมส าหรับเด็กและเยาวชน

2) เพ่ือผลักดันให้มีการเพ่ิมบทบาทของกระบวนการทางนิติวิทยาศาสตร์ต่องานด้านการสืบสวนสอบสวนและการพิสูจน์หลักฐาน เพ่ือลดช่องว่างของข้อกฎหมายและสร้างภาพลักษณ์ เชิงบวกต่อกระบวนการยุติธรรมส าหรับเด็กและเยาวชน

3) เพ่ือสร้างนวัตกรรมทางนิติวิทยาศาสตร์ที่สอดคล้องกับสภาวการณ์ของอาชญากรรมในยุค ไทยแลนด์ 4.0 โดยมุ่งไปที่การแสวงหาหลักฐานและข้อมูลเชิงประจักษ์ทางนิติวิทยาศาสตร์ที่ส่งเสริมประสิทธิภาพของกระบวนการสืบสวนสอบสวนและการพิสูจน์หลักฐานในกระบวนการยุติธรรมส าหรับเด็กและเยาวชน

4) เพ่ือสร้างมาตรการส าหรับการก ากับติดตามเด็กและเยาวชนที่ได้รับการปล่อยตัวคืนสู่สังคม เพ่ือการปูองปรามไม่ให้เด็กและเยาวชนหวนกลับมากระท าผิดซ้ า

5) เพ่ือสร้างมาตรการส าหรับการผสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และชุมชน ในการปูองกันเด็กและเยาวชนที่ไม่เคยกระท าผิดไม่ให้เป็นผู้กระท าผิดรายใหม่

Page 3: ข้อก าหนดการท าวิจัย ( Terms of reference TOR¸‚้อกำหนดการทำวิจัย... · - 1 - ข้อก าหนดการท

- 3 -

3. ขอบเขตการวิจัย/โจทย์การวิจัย กรอบการวิจัยท่ี 1 นวัตกรรมทางกฎหมาย

กรอบการวิจัยด้านนวัตกรรมทางกฎหมาย เน้นเรื่องการทบทวนข้อจ ากัดทางกฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการยุติธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกระบวนการสืบสวนสอบสวนของเจ้าหน้าที่ต ารวจในกลุ่มผู้กระท าความผิดและผู้เสียหายที่เป็นเด็กและเยาวชน เพ่ือให้ได้ข้อเสนอแนะส าหรับ การพัฒนากฎหมายให้สอดคล้องกับการน าไปปฏิบัติจริงและลดข้อจ ากัดจากเงื่อนไขทางกฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่กับกลุ่มเด็กและเยาวชน นอกจากนี้ยังเน้นเรื่องการพัฒนากฎหมายที่สนับสนุนให้กระบวนการทางนิติวิทยาศาสตร์เข้าไปมีบทบาทในงานด้านการสืบสวนสอบสวนและการพิสูจน์หลักฐานมากยิ่งขึ้น เพ่ือลดช่องว่างของข้อกฎหมายและสร้างภาพลักษณ์เชิงบวกต่อกระบวนการยุติธรรมส าหรับเด็กและเยาวชน โดยอาศัยแนวคิดและวิธีการทางวิทยาศาสตร์เข้ามาสนับสนุน ซึ่งประกอบด้วยโครงการวิจัย เช่น

- การทบทวนข้อจ ากัดทางกฎหมายที่ เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ต ารวจ ในการสืบสวนสอบสวนคดีเด็กและเยาวชนที่เกี่ยวกับการกระท าผิด

- การศึกษาแนวทางการบูรณาการอุดมการณ์การท างานและการประสานความร่วมมือเพ่ือสนับสนุนการด าเนินงานที่เป็นไปในทิศทางเดียวกันของหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ต ารวจ อัยการ ศาล ราชทัณฑ์ คุมประพฤติ เป็นต้น

- การพัฒนากฎหมายที่สอดคล้องกับการสร้างความเชื่อมั่นแก่ประชาชนต่อระบบกระบวนการยุติธรรมไทยโดยอาศัยหลักการและวิธีการทางนิติวิทยาศาสตร์

- การจัดการความรู้ด้านการสืบสวนสอบสวนคดีที่ เกี่ยวข้องกับเด็กและเยาวชนกระท าผิด เพ่ือน ามาจัดท าเป็นคู่มือในการปฏิบัติงานส าหรับผู้มีหน้าที่ในการบังคับใช้กฎหมาย ให้มีรูปแบบและมาตรฐาน ในการด าเนินงานที่มีความรวดเร็วและเป็นธรรมสอดคล้องกับบริบทสังคมไทย

กรอบการวิจัยท่ี 2 นวัตกรรมทางนิติวิทยาศาสตร์

กรอบการวิจัยด้านนวัตกรรมทางนิติวิทยาศาสตร์ เน้นเรื่องการสร้างนวัตกรรมทางนิติวิทยาศาสตร์ที่สอดคล้องกับสภาวการณ์ของอาชญากรรมในยุคไทยแลนด์ 4.0 โดยมุ่งไปที่นวัตกรรมที่สนับสนุนประสิทธิภาพ การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการสืบสวนสอบสวนและการพิสูจน์หลักฐานในคดีเด็กและเยาวชนที่ต้องอาศัยข้อมูลเชิงประจักษ์ทางวิทยาศาสตร์ การสร้างโปรแกรมประยุกต์ (Application) ส าหรับการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลทางอาชญากรรม ตลอดจนการน าเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ เพ่ือการอ านวยความยุติธรรมและคลี่คลายคดี ซ่ึงประกอบด้วยโครงการวิจัย เช่น

- การพัฒนากลไก เครื่องมือ และการปฏิบัติงานทางนิติวิทยาศาสตร์ นับตั้งแต่กระบวนการเก็บรวบรวม การตรวจพิสูจน์ และการน าไปใช้ในฐานะพยานหลักฐานในชั้นศาลในคดีเด็กและเยาวชน

- การประยุกต์ใช้นวัตกรรมทางนิติวิทยาศาสตร์เพ่ือสนับสนุนประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการสืบสวนสอบสวนและการพิสูจน์หลักฐานในคดีเด็กและเยาวชน โดยการใช้ Digital

Page 4: ข้อก าหนดการท าวิจัย ( Terms of reference TOR¸‚้อกำหนดการทำวิจัย... · - 1 - ข้อก าหนดการท

- 4 -

forensic ในการด าเนินการกับอาชญากรรมท่ีสร้างความเสียหายร้ายแรงและมีความล้ าสมัย เช่น อาชญากรรมทางไซเบอร์ อาชญากรรมเก่ียวกับกระบวนการสร้างพยานหลักฐานเท็จและการบิดเบือนข้อมูลทางคดี เป็นต้น

- การตรวจสารเสพติดจากเส้นผมของเด็กและเยาวชนโดยใช้นวัตกรรมสมัยใหม่ - การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ (Application) ส าหรับการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลอาชญากรรม

เพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการยุติธรรมส าหรับเด็กและเยาวชน

กรอบการวิจัยท่ี 3 นวัตกรรมทางฐานข้อมูล กรอบการวิจัยด้านนวัตกรรมทางฐานข้อมูล เน้นเรื่องของการวิเคราะห์สถานการณ์ทางด้าน

อาชญากรรมในกลุ่มเด็กและเยาวชนที่สร้างความเสียหายร้ายแรงและมีความจ าเป็นอย่างเร่งด่วนที่ต้อง หาทางแก้ไข โดยใช้มิติของการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพ่ือประโยชน์ต่อการสืบสวนสอบสวนและการรวบรวมพยานหลักฐาน นอกจากนี้ยังมุ่งไปที่การพัฒนาฐานข้อมูลของเด็กและเยาวชนที่ได้รับการปล่อยตัวจากสถานพินิจหรือศูนย์ฝึกอบรมและการสร้างมาตรการส าหรับการติดตามเด็กและเยาวชนที่ได้รับการปล่อยตัวคืนสู่สังคม โดยพยายามส่งเสริมให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม เพ่ือปูองปรามไม่ให้เด็กและเยาวชนหวนกลับมากระท าผิดซ้ าและปูองกันไม่ให้มีผู้กระท าผิดรายใหม่ๆ เกิดขึ้น ซึ่งประกอบด้วยโครงการวิจัย เช่น

- การวิเคราะห์ปัญหาของกระบวนการยุติธรรมไทยและสถานการณ์ทางด้านปัญหาอาชญากรรม ในกลุ่มเด็กและเยาวชน โดยเน้นการรวบรวมและจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบเพ่ือการวิเคราะห์ส าหรับเสนอ แนวทางแก้ไขโดยเร่งด่วนทั้งในเชิงนโยบายและเชิงปฏิบัติ

- การพัฒนาระบบการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพ่ือยกระดับประสิทธิภาพของงานสืบสวนสอบสวนและการรวบรวมพยานหลักฐานในคดีเด็กและเยาวชน

- การพัฒนาฐานข้อมูลอัตลักษณ์บุคคลหรือฐานข้อมูลแผนประทุษกรรมและข้อมูลทางคดี เพ่ือส่งเสริมประสิทธิภาพของกระบวนการยุติธรรมส าหรับเด็กและเยาวชน

- การพัฒนาฐานข้อมูลของเด็กและเยาวชนหลังได้รับการปล่อยตัวและการเชื่อมโยงฐานข้อมูลระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

- การสร้างมาตรการส าหรับการติดตามเด็กและเยาวชนหลังได้รับการปล่อยตัวโดยส่งเสริมให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม เพ่ือปูองปรามไม่ให้เด็กและเยาวชนหวนกลับมากระท าผิดซ้ าและปูองกันไม่ให้มีผู้กระท าผิด รายใหม่ๆ เกิดข้ึน

Page 5: ข้อก าหนดการท าวิจัย ( Terms of reference TOR¸‚้อกำหนดการทำวิจัย... · - 1 - ข้อก าหนดการท

- 5 -

4. กรอบแนวคิดในการวิจัย

กรอบการวิจัยท่ี 1 กฎหมาย

กรอบการวิจัยท่ี 2 นิติวิทยาศาสตร์

กรอบการวิจัยท่ี 3 ฐานข้อมูล

กลุ่มเด็กและเยาวชน

ทบทวนข้อจ ากัด ทางกฎหมายที่เป็นอุปสรรคการอ านวยความยุติธรรม

และการบริหารงานยุติธรรม

การเชื่อมโยงฐานข้อมูลทางนิติวิทยาศาสตร์

การพัฒนาฐานข้อมูล เด็กและเยาวชนหลังได้รับ

การปล่อยตัว

มาตรการก ากับ เด็กและเยาวชนหลังได้รับ

การปล่อยตัว

ประสิทธิภาพการบริหารงานยุติธรรมส าหรับเด็กและเยาวชน ที่มีมาตรฐานและมีแนวทางการปฏิบัติงานที่ดี (Best Practice)

ท าให้ประชาชนได้รับการบริการด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง เสมอภาค และเป็นธรรม

ส ารวจปัญหาอาชญากรรมเร่งด่วนที่

เกี่ยวกับเด็กและเยาวชน

ของงานสืบสวนสอบสวนและ การพิสูจน์หลักฐาน

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ที่ทันสมัย (Digital Forensic) เพ่ือสนับสนุนการด าเนินงานของกระบวนการยุติธรรมส าหรับเด็กและเยาวชน

การบูรณาการอุดมการณ์ การท างานและการประสาน ความร่วมมือของหน่วยงาน ในกระบวนการยุติธรรม

ศึกษาปัญหา สาเหตุ และผลกระทบที่จ าเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนากระบวนการยุติธรรมส าหรับเด็กและเยาวชน เพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการบริหารงานยุติธรรมท่ีมีมาตรฐาน

และมีแนวทางการปฏิบัติงานที่ดี (Best Practice)

Page 6: ข้อก าหนดการท าวิจัย ( Terms of reference TOR¸‚้อกำหนดการทำวิจัย... · - 1 - ข้อก าหนดการท

- 6 -

5. ความเชื่อมโยงของแต่ละกรอบการวิจัย/โครงการวิจัย ความเชื่อมโยงของกรอบการวิจัยเริ่มตั้งต้นจากกรอบการวิจัยที่ 1 ด้านนวัตกรรมทางกฎหมาย

ที่ต้องมีการทบทวนข้อจ ากัดหรือความยุ่งยากของข้อกฎหมายกับการปฏิบัติงานจริงของเจ้าหน้าที่ โดยเฉพาะ การบังคับใช้กฎหมายและการอ านวยความยุติธรรมในกลุ่มเด็กและเยาวชน เนื่องจากเป็นกลุ่มเปราะบางที่ขาดศักยภาพที่จะเข้าถึงการอ านวยความยุติธรรม ประกอบกับขั้นตอนทางกฎหมายบางประเด็นที่ไม่ได้เอ้ือต่อ การปฏิบัติงานจริง จึงส่งผลให้เกิดความยุ่งยากทั้งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติและความไม่เสมอภาคของการอ านวย ความยุติธรรม

ประเด็นปัญหาที่ตามมาจากการที่เด็กและเยาวชนหรือผู้ปกครองไม่ได้รับการอ านวยความยุติธรรมตามท่ีคาดหวังไว้ คือการขาดความเชื่อมั่นศรัทธาในกระบวนการยุติธรรม อีกทั้งในหลายหน่วยงานยังมีอุดมการณ์ของการด าเนินงานภายใต้ข้อกฎหมายที่แตกต่างกัน ขาดการประสานงานและความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน แม้จะเป็นหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมด้วยกันเองก็ตาม ซึ่งผู้ที่ได้รับผลกระทบโดยตรงคือเด็กและเยาวชนหรือผู้ปกครองผู้ที่จะได้รับการอ านวยกระบวนการยุติธรรม ฉะนั้นแล้ว สิ่งหนึ่งที่จะช่วยเพ่ิมความเชื่อมั่นศรัทธา แก่ประชาชนต่อกระบวนการยุติธรรมไทยได้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องบูรณาการด้านความร่วมมือในทุกมิติ โดยยึดถือประโยชน์ด้านการอ านวยความยุติธรรมแก่ประชาชนได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรมเป็นที่ตั้ง

กรอบการวิจัยที่ 2 ด้านนวัตกรรมทางนิติวิทยาศาสตร์ จึงเริ่มเชื่อมโยงแนวทางการเพ่ิมประสิทธิภาพของการอ านวยความยุติธรรมที่สอดคล้องกับพลวัตทางสังคมยุคปัจจุบัน ต้องอาศัยเทคนิคและวิธีการ ทางวิทยาศาสตร์เข้ามาเป็นตัวช่วย เนื่องจากสามารถชี้ให้เห็นถึงรายละเอียดของข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่ การด าเนินงานได้ในเชิงประจักษ์ บทบาทของกระบวนการนิติวิทยาศาสตร์ต่อการด าเนินงานของกระบวนการยุติธรรมส าหรับเด็กและเยาวชนจึงมีความส าคัญและมีความจ าเป็นเร่งด่วนที่จะต้องน ามาประยุกต์ใช้ในทุกขั้นตอนของการด าเนินงาน โดยเฉพาะในกระบวนการสืบสวนสอบสวนและการพิสูจน์หลักฐาน การใช้เทคโนโลยีทางด้าน Digital Forensic เพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ทั้งในมิติของการรวบรวมฐานข้อมูล การวิ เคราะห์ข้อมูล และการเก็บรักษาข้อมูลเพื่อใช้ในชั้นศาลหรือส าหรับการใช้ประโยชน์ในอนาคต เป็นต้น

กรอบการวิจัยที่ 3 ด้านนวัตกรรมทางฐานข้อมูล จะเป็นการต่อยอดจากกรอบการวิจัยที่ผ่านมา โดยจะเน้นการบริหารจัดการฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพเพ่ือน าไปใช้ส าหรับการพิสูจน์หลักฐานและการคลี่คลายคดี รวมทั้งเน้นการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างกันของหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ จุดมุ่งหมายส าคัญของนวัตกรรมทางฐานข้อมูลคือการน าข้อมูลไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อกระบวนการยุติธรรม ดังนั้น การจัดรวบรวมฐานข้อมูล เด็กและเยาวชนที่ได้รับการปล่อยตัวจากสถานพินิจหรือศูนย์ฝึกอบรม เพ่ือการจัดท ามาตรการส าหรับการก ากับติดตามไม่ให้เด็กและเยาวชนเหล่านั้นหวนกลับมากระท าผิดซ้ าได้อีก โดยให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม ก็ถือเป็นประเด็นเร่งด่วนที่กระบวนการยุติธรรมจะต้องเร่งด าเนินการ

จุดมุ่งหมายสุดท้ายของกรอบการวิจัยทั้ง 3 ด้าน ข้างต้น คือการรับทราบปัญหา สาเหตุ และผลกระทบ เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารงานยุติธรรมที่มีมาตรฐานและมีแนวทางการปฏิบัติ งานที่ดี (Best Practice) ท าให้ประชาชนได้รับการบริการด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง เสมอภาค และเป็นธรรม

Page 7: ข้อก าหนดการท าวิจัย ( Terms of reference TOR¸‚้อกำหนดการทำวิจัย... · - 1 - ข้อก าหนดการท

- 7 -

6. ระยะเวลาในการด าเนินงาน ระยะเวลาในการด าเนินงานวิจัย 12 เดือน หลังลงนามในสัญญา

7. หลักเกณฑ์เพ่ือการจัดสรรงบประมาณให้แก่โครงการวิจัย 1) เป็นโครงการวิจัยที่มุ่งศึกษาเพ่ือพัฒนาและส่งเสริมนวัตกรรมทางกฎหมาย นิติวิทยาศาสตร์

และฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องในกระบวนการยุติธรรม ส าหรับแก้ไขปัญหาเร่งด่วนของการอ านวยความยุติธรรม และการบริหารงานยุติธรรมในกลุ่มเด็กและเยาวชน

2) เป็นเรื่องที่น่าสนใจและเป็นประเด็นส าคัญใหม่ๆ ที่สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนากระบวนการยุติธรรมตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ซึ่งมีความท้าทายของโจทย์วิจัยและสามารถน าไปสู่การปฏิบัติได้จริง

3) โครงการวิจัยต้องก่อให้เกิดผลผลิตที่สามารถน าไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเป็นรูปธรรม สามารถน าไปสู่การแก้ไขปัญหาด้านการอ านวยความยุติธรรมและการบริหารงานยุติธรรมในกลุ่มเด็กและเยาวชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

4) โครงการวิจัยต้องมีการประสานร่วมมือจากหลายฝุาย เพ่ือให้เกิดองค์ความรู้ที่ครอบคลุมและหลากหลาย รวมถึงต้องมีกระบวนการในการประเมินความเสี่ยงของการด าเนินโครงการในแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน

8. คุณสมบัติของผู้ยื่นข้อเสนอ/ผู้วิจัย

1) เป็นผู้มีความรู้ความสามารถ มีประสบการณ์วิจัย และมีความเชี่ยวชาญจนเป็นที่ยอมรับในกลุ่มเรื่องท่ีก าหนด

2) มีศักยภาพและความสามารถในการปฏิบัติงานได้ตลอดระยะเวลาของการด าเนินโครงการให้บรรลุเปูาหมายที่วางไว้ภายในเวลาที่ก าหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยต้องท าสัญญาเพ่ือการด าเนินโครงการและต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขสัญญาโดยเคร่งครัด

3) ต้องไม่เป็นผู้ที่เคยติดค้างงานวิจัยของหน่วยงานใดๆ

9. การเสนอโครงการวิจัย

ผู้สนใจเสนอโครงการวิจัยภายใต้กรอบการวิจัยข้างต้น โปรดส่งเอกสารข้อเสนอโครงการวิจัย (Concept Paper) จ านวน 2 ชุด พร้อมข้อมูลในรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ (PDF และ MS Word) ที่บันทึกในแผ่นซีดีหรือแผ่นดีวีดี จ านวน 1 ชุด โดยมีรายละเอียดตามแบบเสนอโครงการวิจัย (Research Project) ประกอบ การเสนอของบประมาณของส านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ดังนี้

Page 8: ข้อก าหนดการท าวิจัย ( Terms of reference TOR¸‚้อกำหนดการทำวิจัย... · - 1 - ข้อก าหนดการท

- 8 -

ชื่อโครงการวิจัย (ภาษาไทย) ...................................................................................................... ....................... (ภาษาอังกฤษ) ......................................................................................................... .............. ส่วน ก : องค์ประกอบของข้อเสนอโครงการวิจัย 1. ผู้รับผิดชอบประกอบด้วย (กรณีเป็นทุนความร่วมมือกับต่างประเทศให้ระบุผู้รับผิดชอบทั้ง “ฝ่ายไทย” และ “ฝ่ายต่างประเทศ” 1.1 หัวหน้าโครงการ .................................................................................................................................................. 1.2 ผู้ร่วมงานวิจัย .................................................................................................................................................. 1.3 หน่วยงานหลัก .................................................................................................................................................. 1.4 หน่วยงานสนับสนุน ................................................................................................................................................. 2. ประเภทการวิจัย.............................................................................................................................. 3. สาขาวิชาการและกลุ่มวิชาที่ท าการวิจัย............................................................................................

4. มาตรฐานการวิจัย (ถ้ามี).................................................................................................... ............ 5. ค าส าคัญ (Keyword) ของการวิจัย............................................................................................... 6. ความส าคัญ และท่ีมาของปัญหา................................................................................................... 7. วัตถุประสงค์ของการวิจัย............................................................................................................... 8. ขอบเขตของการวิจัย....................................................................................................................... 9. ทฤษฎี สมมติฐานและ/หรือกรอบแนวความคิดของการวิจัย........................................................ 10. การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ (Information)................................................................. 11. เอกสารอ้างอิง............................................................................................................................... 12. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ........................................................................................................... 13. แผนการถ่ายทอดเทคโนโลยีหรือผลการวิจัยสู่กลุ่มเป้าหมายเมื่อสิ้นสุดการวิจัย....................... .............................................................................................................................................................. 14. วิธีการด าเนินการวิจัย และสถานที่ท าการทดลอง/เก็บข้อมูล..................................................... 15. ระยะเวลาท าการวิจัย และแผนการด าเนินงานตลอดโครงการวิจัย............................................ 16. เป้าหมายของผลผลิต (Output) และตัวชี้วัด............................................................................ 17. เป้าหมายของผลลัพธ์ (Outcome) และตัวชี้วัด........................................................................ 18. ปัจจัยท่ีเอื้อต่อการวิจัยท่ีมีอยู.่....................................................................................................... 19. งบประมาณของโครงการวิจัย....................................................................................................... 20. ผลส าเร็จและความคุ้มค่าของการวิจัยตามแผนการบริหารงานและแผนการด าเนินงาน.......... ..............................................................................................................................................................

Page 9: ข้อก าหนดการท าวิจัย ( Terms of reference TOR¸‚้อกำหนดการทำวิจัย... · - 1 - ข้อก าหนดการท

- 9 -

ระดับความส าเร็จของงาน................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. 21. ข้อเสนอการวิจัยหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของข้อเสนอการวิจัยนี้ (เลือกได้เพียง 1 ข้อ) o ไม่ได้เสนอต่อแหล่งทุนอื่น o เสนอต่อแหล่งทุนอื่นคือ (ระบุชื่อแหล่งทุน)

22. ค าชี้แจงอ่ืนๆ................................................................................................................................ 23. ลงลายมือชื่อหัวหน้าโครงการและนักวิจัยร่วมโครงการเพื่อให้ค ารับรองในการจัดท าข้อเสนอ

การวิจัยและด าเนินการวิจัยตามประกาศส านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เรื่องการรับข้อเสนอการวิจัยเพื่อขอรับการสนับสนุนทุนอุดหนุนการวิจัย

(ลงมือชื่อ)......................................................

หวัหน้าโครงการวิจัย วันที่.............เดือน...................พ.ศ.............

(ลงชื่อ)............................................... (ลงชื่อ)..................................................... (........................................................) (........................................ .....................) ผู้ร่วมวิจัย ผู้ร่วมวิจัย วันที่................เดือน..................พ.ศ....... วันที่................เดือน..................พ .ศ.......

ส่วน ข : ประวัติคณะผู้วิจัยและท่ีปรึกษาโครงการวิจัย 1. ชื่อ – นามสกุล (ภาษาไทย) นาย นาง นางสาว ยศ ชื่อ – นามสกุล (ภาษาอังกฤษ) Mr, Mrs, Miss, Rank 2. เลขหมายบัตรประจ าตัวประชาชน 3. ต าแหน่งปัจจุบัน 4. หน่วยงานและสถานที่อยู่ติดต่อได้สะดวก พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ โทรศัพท์มือถือ โทรสาร และ E-mail 5. ประวัติการศึกษาต้องระบุสถาบันการศึกษา สาขาวิชา และปีท่ีจบการศึกษา 6. สาขาวิชาที่มีความช านาญพิเศษ (แตกต่างจากวุฒิการศึกษา) ระบุสาขาวิชาการ 7. ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศ (โดยระบุสถานภาพในการท าการวิจัยว่าเป็นผู้อ านวยการแผนงานวิจัย หัวหน้าโครงการวิจัย หรือผู้ร่วมวิจัยในแต่ละข้อเสนอการวิจัย) 7.1 หัวหน้าโครงการวิจัย : ชื่อโครงการวิจัย 7.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและท าเสร็จแล้ว : (ชื่อผลงานวิจัย ปีที่พิมพ์ การเผยแพร่ และแหล่งทุนย้อนหลังไม่เกิน 5 ปี )

Page 10: ข้อก าหนดการท าวิจัย ( Terms of reference TOR¸‚้อกำหนดการทำวิจัย... · - 1 - ข้อก าหนดการท

- 10 -

7.3 งานวิจัยที่ก าลังท า : (ชื่อโครงการวิจัย แหล่งทุน และสถานภาพในการท าวิจัย (ผู้บริหาร โครงการ หัวหน้าโครงการ และ/หรือผู้ร่วมวิจัย) ระบุเดือน และปีท่ีเริ่มต้นและสิ้นสุด) หมายเหตุ : ต้องระบุข้อมูลโดยละเอียดในแต่ละหัวข้ออย่างถูกต้องและครบถ้วนสมบูรณ์ เพ่ือประโยชน์ในการประเมิน

ข้อเสนอโครงการ

10. ก าหนดการรับข้อเสนอโครงการวิจัย

ผู้สนใจสามารถส่งข้อเสนอโครงการ (Concept Paper) ได้ตั้งแต่บัดนี้ ถึง 15 พฤศจิกายน 2561 โดยส่งถึง ศาสตราจารย์ พลต ารวจตรีหญิง ดร.พัชรา สินลอยมา คณบดีคณะนิติวิทยาศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยต ารวจ เลขที่ 90 หมู่ 7 ต าบลสามพราน อ าเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 73110

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทรศัพท์ 0 2412 3284, 08 1826 3932 หรือ ดาบต ารวจหญิง ริน จันทร์นาค โทรศัพท์ 08 1560 8905 นายวิชิต แย้มยิ้ม โทรศัพท์ 09 4481 5465

ประกาศ ณ วันที่ 16 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2561

พล.ต.ต.หญิง

( ศ.พัชรา สินลอยมา ) ผู้บริหารจัดการโครงการวิจัย

Page 11: ข้อก าหนดการท าวิจัย ( Terms of reference TOR¸‚้อกำหนดการทำวิจัย... · - 1 - ข้อก าหนดการท
Page 12: ข้อก าหนดการท าวิจัย ( Terms of reference TOR¸‚้อกำหนดการทำวิจัย... · - 1 - ข้อก าหนดการท
Page 13: ข้อก าหนดการท าวิจัย ( Terms of reference TOR¸‚้อกำหนดการทำวิจัย... · - 1 - ข้อก าหนดการท
Page 14: ข้อก าหนดการท าวิจัย ( Terms of reference TOR¸‚้อกำหนดการทำวิจัย... · - 1 - ข้อก าหนดการท
Page 15: ข้อก าหนดการท าวิจัย ( Terms of reference TOR¸‚้อกำหนดการทำวิจัย... · - 1 - ข้อก าหนดการท
Page 16: ข้อก าหนดการท าวิจัย ( Terms of reference TOR¸‚้อกำหนดการทำวิจัย... · - 1 - ข้อก าหนดการท
Page 17: ข้อก าหนดการท าวิจัย ( Terms of reference TOR¸‚้อกำหนดการทำวิจัย... · - 1 - ข้อก าหนดการท
Page 18: ข้อก าหนดการท าวิจัย ( Terms of reference TOR¸‚้อกำหนดการทำวิจัย... · - 1 - ข้อก าหนดการท
Page 19: ข้อก าหนดการท าวิจัย ( Terms of reference TOR¸‚้อกำหนดการทำวิจัย... · - 1 - ข้อก าหนดการท
Page 20: ข้อก าหนดการท าวิจัย ( Terms of reference TOR¸‚้อกำหนดการทำวิจัย... · - 1 - ข้อก าหนดการท