วิชา ee07 high voltage engineering เป นที่ทราบดีว าไฟฟ า...

192
สาขา: ไฟฟาแขนงไฟฟากําลัง วิชา: EE07 High Voltage Engineering ขอที: 1 เปนที่ทราบดีวาไฟฟาแรงสูงมีอันตรายมากยิ่งกวาไฟฟาแรงต่ํา แตทําไมการไฟฟาจึงตองใชไฟฟาแรงสูงในการสงจายพลังงานไฟฟา คําตอบ 1 : คําตอบ 2 : เพื่อลดกําลังไฟฟาสูญเสียไดอิเล็กตริกในระบบสงจาย คําตอบ 3 : เพื่อปองกันผลของฟาผาไดงาย เพราะมีคา BIL สูงขึ้น คําตอบ 4 : เพื่อลดคาเสิรจอิมพีแดนซ ชวยใหสงกําลังไฟฟาธรรมชาติไดสูงขึ้น ขอที: 2 การสงจายไฟฟาแรงสูงมีการใชระบบแรงดันหลายระดับ การเลือกระดับแรงดันจะพิจารณาจาก คําตอบ 1 : หมอแปลงไฟฟากําลังมีขนาดแรงดันปอนเขา และจายออกตางๆ กัน คําตอบ 2 : ขึ้นอยูกับระยะทางและขนาดกําลังไฟฟาที่สงจาย คําตอบ 3 : ขึ้นอยูกับความหนาแนนของฟาผาที่เกิดขึ้นในแถบนั้น คําตอบ 4 : ขึ้นอยูกับการใชตัวนําสายเดียว หรือตัวนําสายควบ (bundle conductor) ตอเฟส ขอที: 3 คําตอบ 1 : สายสงตัวนํามีคาความตานทานไมเทากัน คําตอบ 2 : ขึ้นอยูกับขนาดกระแสเสิรจทรานเซียนตที่ไหลผาน คําตอบ 3 : ขึ้นอยูกับคาความเหนี่ยวนํา L และคาเก็บประจุ C ของสายสง คําตอบ 4 : ขึ้นอยูกับความยาวของสายสงจาย ขอที: 4 ในการสงกําลังไฟฟาระบบสงจายไฟฟาแรงสูง การแปลงแรงดันใหสูงขึ้นหรือลดลงทําไดอยางไร คําตอบ 1 : ใชหมอแปลงไฟฟากําลัง คําตอบ 2 : ใชหมอแปลงแรงดัน (voltage transformer) 1 of 192 สภาวิศวกรขอสงวนสิทธิห้ามจำหน่าย

Upload: others

Post on 27-Dec-2019

754 views

Category:

Documents


16 download

TRANSCRIPT

สาขา: ไฟฟาแขนงไฟฟากําลัง วิชา: EE07 High Voltage Engineering

ขอที่ : 1 เปนที่ทราบดีวาไฟฟาแรงสูงมีอันตรายมากยิ่งกวาไฟฟาแรงต่ํา แตทําไมการไฟฟาจึงตองใชไฟฟาแรงสูงในการสงจายพลังงานไฟฟา

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 : เพื่อลดกําลังไฟฟาสูญเสียไดอิเล็กตริกในระบบสงจาย คําตอบ 3 : เพื่อปองกันผลของฟาผาไดงาย เพราะมีคา BIL สูงขึ้น คําตอบ 4 : เพื่อลดคาเสิรจอิมพีแดนซ ชวยใหสงกําลังไฟฟาธรรมชาติไดสูงขึ้น

ขอที่ : 2 การสงจายไฟฟาแรงสูงมีการใชระบบแรงดันหลายระดับ การเลือกระดับแรงดันจะพิจารณาจาก

คําตอบ 1 : หมอแปลงไฟฟากําลังมีขนาดแรงดันปอนเขา และจายออกตางๆ กัน คําตอบ 2 : ขึ้นอยูกับระยะทางและขนาดกําลังไฟฟาที่สงจาย คําตอบ 3 : ขึ้นอยูกับความหนาแนนของฟาผาที่เกิดขึ้นในแถบนั้น คําตอบ 4 : ขึ้นอยูกับการใชตัวนําสายเดียว หรือตัวนําสายควบ (bundle conductor) ตอเฟส

ขอที่ : 3

คําตอบ 1 : สายสงตัวนํามีคาความตานทานไมเทากัน คําตอบ 2 : ขึ้นอยูกับขนาดกระแสเสิรจทรานเซียนตที่ไหลผาน คําตอบ 3 : ขึ้นอยูกับคาความเหนี่ยวนํา L และคาเก็บประจุ C ของสายสง คําตอบ 4 : ขึ้นอยูกับความยาวของสายสงจาย

ขอที่ : 4 ในการสงกําลังไฟฟาระบบสงจายไฟฟาแรงสูง การแปลงแรงดันใหสูงขึ้นหรือลดลงทําไดอยางไร

คําตอบ 1 : ใชหมอแปลงไฟฟากําลัง คําตอบ 2 : ใชหมอแปลงแรงดัน (voltage transformer) 1 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 3 : ใชเครื่องกําเนิดไฟฟา คําตอบ 4 : ใชวงจรรีโซแนนซ

ขอที่ : 5 การใชงานของหมอแปลงทดสอบ (test transformer) เพื่อใหอายุการใชงานไดยาวนาน ควรปฏิบัติอยางไร

คําตอบ 1 : ใชงานทดสอบที่ไมเกิดเบรกดาวน หรือวาบไฟตามผิวที่วัสดุทดสอบ คําตอบ 2 : ใชงานที่แรงดัน และกระแสไมเกิน 85% ของพิกัด (rating) คําตอบ 3 : ใชงานทดสอบที่โหลดกินกระแสประจุเทานั้น คําตอบ 4 : ไมทดสอบลูกถวยฉนวนเปรอะเปอน

ขอที่ : 6 ในโรงงานผลิตเคเบิลแรงสูงขนาดใหญ การทดสอบประจําเคเบิลทั้งมวนชนิดความคงทนตอแรงดันกระแสสลับความถี่ต่ํา จะนิยมใชแรงดันทดสอบสูงที่ไดจาก

คําตอบ 1 : หมอแปลงทดสอบ เพราะใชกําลังไฟฟาทดสอบนอย คําตอบ 2 : หมอแปลงไฟฟากําลัง เพราะมีกําลังไฟฟาสูง คําตอบ 3 : วงจรรีโซแนนซ เพราะใชกําลังไฟฟาจายใหกับวงจรทดสอบมีคาต่ําเทากับกําลังไฟฟาสูญเสียในวงจรทดสอบ คําตอบ 4 : เครื่องกําเนิดไฟฟาขับเคลื่อนดวยมอเตอร เพราะปรับความถี่ไดงาย

ขอที่ : 7

การกอสรางสถานีไฟฟายอย GIS (gas insulated substation) จะมีคาใชจายสูงกวาแบบ AIS (Air insulated substation) หลายเทา แตในบางกรณีมีความจําเปนตองใชแบบ GIS เนื่องจาก

คําตอบ 1 : เปนยานที่มีชุมชนหนาแนน มีพื้นที่วางจํากัด และมีความตองการใชกําลังไฟฟาปริมาณมาก คําตอบ 2 : เปนยานที่มีฟาผาหนาแนน (high lightning density) คําตอบ 3 : เปนยานที่มีมลภาวะสูง คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 3 ถูกตอง

ขอที่ : 8 เปรียบเทียบการสงจายกําลังไฟฟาดวยระบบสายขึงอากาศ OL (overhead line) กับแบบเคเบิลใตดิน (underground cable) มีขอดีขอเสียตางกันอยางไร

คําตอบ 1 : แบบ OL มีคาใชจายประหยัดกวาคาแบบเคเบิล แตแบบ OL ตองใชที่วางมากกวาแบบเคเบิล มีผลกระทบตอสภาพแวดลอม คําตอบ 2 : แบบ OL มีโอกาสถูกฟาผาได มีผลกระทบจากสภาพแวดลอม เชน ความเปรอะเปอน คําตอบ 3 : แบบเคเบิลเดินใตดินใชเดินในทองทะเลได ไมมีผลกระทบจากสภาพแวดลอม ใหความปลอดภัยสูงแกคนและสิ่งแวดลอม คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

2 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 9 การสงจายไฟฟากําลังดวยระบบกระแสตรงมีขอดีกวาการสงดวยระบบกระแสสลับ คือ

คําตอบ 1 : สายสงแรงสูงแบบ DC ไมมีโคโรนารบกวนระบบสื่อสาร และไมมีกําลังไฟฟาสูญเสียจากความตานทานในสายตัวนํา คําตอบ 2 : สายสงแรงสูงแบบ DC ไมมีกําลังไฟฟาสูญเสียไดอิเล็กตริก คําตอบ 3 : สายสงระยะทางไกลแบบ DC ไมตองใชตัวรีแอกเตอรแบบเก็บประจุเพื่อชดเชยแกแฟกเตอรกําลัง โดยเฉพาะเคเบิลที่เดินในทะเล คําตอบ 4 : การใชแรงสูงระบบ DC สามารถปรับระดับแรงดันระบบไดงาย โดยใชความตานทานแบงแรงดัน (resistor voltage divider)

ขอที่ : 10 การสรางหมอแปลงเทสลาสรางแรงดันสูง ความถี่ 100-250 kHz ทําไมจึงตองใชแกนเปนอากาศ คับปลิง(coupling) ผานอากาศ

คําตอบ 1 : เพื่อลดน้ําหนักใหนอยลง คําตอบ 2 : เพื่อมิใหเกิดการอิ่มตัวในการสรางฟลักซแมเหล็ก คําตอบ 3 : เพื่อปองกันมิใหเกิดเบรกดาวนระหวางขดลวดแรงสูงกับแรงต่ํา คําตอบ 4 : เพื่อใหการคับปลิงดีขึ้น

ขอที่ : 11 การสรางแรงดันสูงกระแสตรง โดยแปลง AC เปน DC ดวยวงจรเร็กติฟายเออร ตองการลด แฟกเตอรระลอก (ripple factor) ใหนอยลงอีกอาจทําไดโดย

คําตอบ 1 : ลดความถี่ใหนอยลง คําตอบ 2 : เพิ่มกระแสโหลด DC ใหสูงขึ้น คําตอบ 3 : เพิ่มคาเก็บประจุกรอง (filter capacitor) ใหสูงขึ้น คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 3 ถูกตอง

ขอที่ : 12

หมอแปลงทดสอบมีขนาดแรงดันและกระแสพอดีที่จะใชปอนทดสอบความคงทนอยูไดตอแรงดันกระแสสลับ 50 Hz ของหมอแปลงกระแส (CT) ใชกับระบบ 115 kV 50 Hz มีความจุไฟฟา 600 pF อยากทราบวาถาจะนําหมอแปลงทดสอบนี้ไปทดสอบเคเบิล 115 kV 50 Hz ยาว 10 เมตร มีความจุไฟฟา 200 pF/m ไดหรือไม เพราะอะไร คําตอบ 1 : ได เพราะทดสอบที่แรงดันระบบใชงาน 115 kV เทากัน คําตอบ 2 : ได เพราะคาความจุไฟฟาของเคเบิลนอยกวาหมอแปลงกระแส คําตอบ 3 : ไมได เพราะแรงดันทดสอบเคเบิลสูงกวา และกินกระแสสูงกวา คําตอบ 4 : ไมได เพราะความจุไฟฟาของเคเบิลสูงกวา จะกินกระแสเกินพิกัด

ขอที่ : 13

3 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 14

คําตอบ 1 : ทดสอบได เพราะเครื่องกําเนิดมีพิกัดแรงดันและพลังงานมากพอ คําตอบ 2 : ทดสอบได เพราะเครื่องกําเนิดมีพิกัดแรงดันและคาความจุไฟฟามากกวาของเคเบิล

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 3 ถูกตอง

ขอที่ : 15

4 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : ใชเครื่องกําเนิดเพียง 5 ขั้น ก็จะไดตามเงื่อนไข คําตอบ 2 : ใชเครื่องกําเนิดเพียง 6 ขั้น ก็จะไดตามเงื่อนไข คําตอบ 3 : ใชเครื่องกําเนิดเพียง 7 ขั้น ขึ้นไปก็ไดตามเงื่อนไข คําตอบ 4 : จะใชเครื่องกําเนิดนี้กี่ขั้นก็ไมไดตามเงื่อนไข

ขอที่ : 16

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : แรงดันอิมพัลสที่สรางไดตามเกณฑมาตรฐานกําหนด

ขอที่ : 17

5 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : ไมเปลี่ยนแปลง เพราะปลอกฉนวนตัวนําทนแรงดันได คําตอบ 2 : เปลี่ยนแปลง คือ หนาคลื่นคงเดิมแตหางคลื่นยาวขึ้น คําตอบ 3 : เปลี่ยนแปลง คือ หนาคลื่นยาวขึ้นแตหางคลื่นอาจยาวขึ้นเล็กนอย คําตอบ 4 : เปลี่ยนแปลง คือ หนาคลื่นสั้นลงและหางคลื่นก็สั้นลงดวย

ขอที่ : 18 แรงดันอิมพัลสหนาคลื่นชันคืออะไร ใชทําอะไร

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 2 ถูกตอง

ขอที่ : 19

วัสดุทดสอบ มีคา C = 3000 pF ทดสอบที่แรงดัน 1000 kV 50 Hz ตองใชหมอแปลงทดสอบที่มี กําลังอยางนอย 1000 kVA ถานําหมอแปลงนี้ไปทดสอบที่ แรงดัน 100 kV จะสามารถทดสอบวัสดุที่ ใชกําลังไฟฟาอยางมาก ไดเทาไร

คําตอบ 1 : 100 kVA คําตอบ 2 : 1000 kVA คําตอบ 3 : 500 kVA คําตอบ 4 : 50 kVA

ขอที่ : 20 เครื่องกําเนิดแรงดันกระแสตรง คําวา “ จํานวนขั้นบันไดที่พอเหมาะ” คืออะไร

6 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : จํานวนขั้นบันไดที่ดีที่สุด คําตอบ 2 : จํานวนขั้นบันไดที่ไดแรงดันออกสูงสุดขณะไมมีโหลด คําตอบ 3 : จํานวนขั้นบันไดที่ไดแรงดันออกสูงสุดขณะมีโหลด คําตอบ 4 : จํานวนขั้นบันไดที่ไดแรงดันตกสูงสุด

ขอที่ : 21

คําตอบ 1 : ไมไดเพราะ kJ ของเครื่อง < kJ ของเคเบิล คําตอบ 2 : ไมไดเพราะ คาตัวเก็บประจุ ของเครื่องมากกวาคา ตัวเก็บประจุของเคเบิล คําตอบ 3 : ไดเพราะ คาตัวเก็บประจุ ของเครื่องกําเนิดมากกวาคา ตัวเก็บประจุของเคเบิล ไมนอยกวา 10 เทา และมีพลังงานเพียงพอ คําตอบ 4 : ไมไดเพราะคาแรงดันของตัวเก็บประจุของเครื่อง 100 kV < 115 kV ของเคเบิล

ขอที่ : 22 ไฟฟาแรงสูงตามความหมายที่ระบุไวในมาตรฐานสากล IEC Publ. No. 60 หมายถึงไฟฟาที่มีแรงดันตั้งแตกี่โวลตขึ้นไป

คําตอบ 1 : 380 โวลต คําตอบ 2 : 800 โวลต คําตอบ 3 : 1000 โวลต คําตอบ 4 : 4000 โวลต

ขอที่ : 23 โดยทั่วไปการทดสอบทางไฟฟาแรงสูงแบงออกเปน 2 ประเภทตามขอใด

คําตอบ 1 : การทดสอบกับแรงดันต่ํา และแรงดันสูง คําตอบ 2 : การทดสอบกับแรงดันทรานเซียนต (transient overvoltage) และแรงดันกระแสสลับ คําตอบ 3 : การทดสอบความทนทาน (endurance test) และการทดสอบความคงทนอยูไดตอแรงดัน (withstand voltage test) คําตอบ 4 : การทดสอบแบบไมทําลาย (non-destructive test) และการทดสอบแบบทําลาย (destructive test)

ขอที่ : 24 แรงดันเกินชั่วครู (temporary overvoltage = TOV) มีความสําคัญยิ่งตอการเลือกคาที่กําหนดของกับดักแรงดันเกินเสิรจ (arrester) อยางไร

คําตอบ 1 : เนื่องจากกับดักตองทําหนาที่ปองกัน TOV คําตอบ 2 : เนื่องจากกับดักตองไมทํางานที่แรงดัน TOV

7 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 3 : เนื่องจากกับดักตองทํางานที่แรงดัน TOV คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และ คําตอบ 3 ถูกตอง

ขอที่ : 25

หมอแปลงทดสอบออกแบบไวสําหรับทดสอบประจําลูกถวยฉนวน (insulator) ในโรงงาน ถามวาจะนําหมอแปลงทดสอบนี้ไปทดสอบประจําสายเคเบิลแรงสูง ในโรงงาน ที่ระบบแรงดันเดียวกันไดหรือไม จงใหเหตุผล

คําตอบ 1 : ได เนื่องจากแรงดันของระบบมีคาเทากัน คําตอบ 2 : ได เนื่องจากกระแสที่ใชในการทดสอบมีคาเทากัน คําตอบ 3 : ไมได เนื่องจากกระแสที่ใชในการทดสอบลูกถวยฉนวนมีคานอยกวา เมื่อเทียบกับการทดสอบเคเบิล ที่แรงดันเดียวกัน คําตอบ 4 : ไมได เนื่องจากกระแสที่ใชในการทดสอบเคเบิลมีคานอยกวา เมื่อเทียบกับการทดสอบลูกถวยฉนวน ที่แรงดันเดียวกัน

ขอที่ : 26 เคเบิลทดสอบมีคาเก็บประจุขึ้นอยูกับความยาวของเคเบิล การทดสอบดวยวงจรรีโซแนนซ จะปรับวงจรอยางไร เพื่อใหไดรีโซแนนซ

คําตอบ 1 : ปรับคากระแสของหมอแปลงทดสอบ คําตอบ 2 : ปรับคาความเหนี่ยวนําของรีแอกเตอรแรงสูง คําตอบ 3 : ปรับคาชองแกปแกนเหล็กของรีแอกเตอร คําตอบ 4 : คําตอบ 2 และคําตอบ 3 ถูกตอง

ขอที่ : 27 การใชหมอแปลงเทสลาทดสอบลูกถวยฉนวนพอรซเลนที่ผลิตในโรงงาน มีจุดประสงคเพื่ออะไร มีขอดีอยางไร

คําตอบ 1 : ใชทดสอบหาคาแรงดันคงทนอยูไดของเนื้อพอรซเลน เนื่องจากสามารถตรวจพบการวาบไฟตามผิวไดโดยงาย คําตอบ 2 : ใชทดสอบหาคากําลังไฟฟาสูญเสียที่เกิดจากเนื้อพอรซเลน เนื่องจากสามารถตรวจพบการวาบไฟตามผิวไดโดยงาย คําตอบ 3 : ใชทดสอบหาความบกพรองในเนื้อพอรซเลน ซึ่งหากบกพรองจะเกิดการเจาะทะลุลูกถวยฉนวน และหากเปนลูกถวยที่ดีจะสังเกตเห็นประกายวาบไฟตามผิวภายนอก คําตอบ 4 : ใชทดสอบหาความบกพรองในเนื้อพอรซเลน ซึ่งหากบกพรองจะเกิดการวาบไฟตามผิว และหากเปนลูกถวยที่ดีจะไมเกิดการวาบไฟตามผิว

ขอที่ : 28 ขอใดคือรูปคลื่นแรงดันอิมพัลสฟาผา ตามคาเวลาหนาคลื่นและหางคลื่น

คําตอบ 1 : 1.2/50 ไมโครวินาที คําตอบ 2 : 12/50 ไมโครวินาที คําตอบ 3 : 8/20 ไมโครวินาที คําตอบ 4 : 250/2500 ไมโครวินาที

8 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 29 ขอใดคือรูปคลื่นแรงดันอิมพัลสสวิตชิ่ง ตามคาเวลาหนาคลื่นและหางคลื่น

คําตอบ 1 : 1.2/50 ไมโครวินาที คําตอบ 2 : 12/50 ไมโครวินาที คําตอบ 3 : 8/20 ไมโครวินาที คําตอบ 4 : 250/2500 ไมโครวินาที

ขอที่ : 30 ขอใดคือรูปคลื่นกระแสอิมพัลสมาตรฐาน ที่ใชในการทดสอบกับดักฟาผาแรงสูง

คําตอบ 1 : 1.2/50 ไมโครวินาที คําตอบ 2 : 12/50 ไมโครวินาที คําตอบ 3 : 8/20 ไมโครวินาท ีคําตอบ 4 : 250/2500 ไมโครวินาที

ขอที่ : 31 ขอใดเปนชวงเวลาหนาคลื่นของแรงดันอิมพัลสฟาผาตามเกณฑที่มาตรฐานกําหนด

คําตอบ 1 : 0.84 – 1.56 ไมโครวินาท ีคําตอบ 2 : 0.96 – 1.44 ไมโครวินาที คําตอบ 3 : 1.08 – 1.32 ไมโครวินาที คําตอบ 4 : 40 – 60 ไมโครวินาที

ขอที่ : 32 ขอใดเปนชวงเวลาหางคลื่นของแรงดันอิมพัลสฟาผาตามเกณฑที่มาตรฐานกําหนด

คําตอบ 1 : 35 – 65 ไมโครวินาที คําตอบ 2 : 40 – 60 ไมโครวินาท ีคําตอบ 3 : 45 – 55 ไมโครวินาที คําตอบ 4 : 8 – 20 ไมโครวินาที

ขอที่ : 33 หมอแปลงทดสอบขนาด 1,000 kV, 1,000 kVA, 50 Hz ใชทดสอบตัวเก็บประจุแรงสูงขนาด 280 kVar พิกัด 72.5 kV จะทดสอบไดหรือไม

คําตอบ 1 : ทดสอบได เพราะหมอแปลงทดสอบมีกําลัง kVA พอ คําตอบ 2 : ทดสอบได เพราะหมอแปลงทดสอบมีแรงดันพอ

9 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 3 : ทดสอบไมได เพราะกระแสทดสอบเกินพิกัด คําตอบ 4 : ทดสอบไมได เพราะโหลดเปนกิโลวาร

ขอที่ : 34

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 35

10 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 36

ในการสรางแรงดันสูงกระแสตรงโดยการใชวงจรแรงดันแบบทวีคูณ(multiplier circuit)โดยแปลงจากกระแสสลับ 50 Hz เมื่อกําหนดคากระแสโหลด Id แรงดันตอขั้นและคาเก็บประจุตอขั้นจะสามารถสรางแรงดันสูงสุดไดเทาใด

คําตอบ 1 : จะสรางสูงสุดเทาใดก็ไดโดยเพิ่มจํานวนขั้น คําตอบ 2 : จะสรางไดสูงสุดเพียง 67 % ของแรงดันที่ไมมีโหลด คําตอบ 3 : จะสรางไดสูงสุดเพียง 76 % ของแรงดันที่ไมมีโหลด คําตอบ 4 : จะสรางไดสูงสุดเพียง 85 % ของแรงดันที่ไมมีโหลด

ขอที่ : 37 รูปคลื่นแรงดันอิมพัลสมาตรฐานที่ ใชในปจจุบัน คือรูปคลื่นใด

คําตอบ 1 :

11 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 38 ความยาวหนาคลื่นของแรงดันอิมพัลส รูปคลื่นฟาผาคือชวงเวลาระหวาง

คําตอบ 1 : จุดกําเนิดรูปคลื่นไปจนถึงจุดสูงสุดของรูปคลื่น คูณดวย 1.67 คําตอบ 2 : จุดกําเนิดรูปคลื่นไปจนถึง 90%ของจุดสูงสุดของรูปคลื่น คูณดวย 1.67 คําตอบ 3 : จาก 10 % ของรูปคลื่นไปที่ จุดสูงสุดของรูปคลื่น คูณดวย 1.67 คําตอบ 4 : จาก 30 % ของจุดสูงสุดของรูปคลื่นไปที่ 90%ของจุดสูงสุดของรูปคลื่น คูณดวย 1.67

ขอที่ : 39

ในการสรางแรงดันอิมพัลสตามวงจรในรูป เวลาหางคลื่นจะขึ้นอยูกับ องคประกอบ

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

12 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 40 ถาตัวเก็บประจุอิมพัลสแตละขั้นของเครื่องกําเนิดแรงดันอิมพัลส 10 ขั้นมีคา 0.1 ไมโครฟารัด ถามวาคาเก็บประจุรวมของเครื่องกําเนิดนี้จะมีคาเทาใด

คําตอบ 1 : 0.10 ไมโครฟารัด คําตอบ 2 : 0.01 ไมโครฟารัด คําตอบ 3 : 1.00 ไมโครฟารัด คําตอบ 4 : 10.0 ไมโครฟารัด

ขอที่ : 41 ทําไมหมอแปลงทดสอบจึงตองมีขดลวด 3 ชุด คือ primary winding, secondary winding และ coupling winding

คําตอบ 1 : เพื่อเพิ่มกําลังไฟฟาพิกัดของหมอแปลงใหสูงขึ้น คําตอบ 2 : เพื่อเพิ่มพิกัดกระแสไฟฟาของหมอแปลงใหสูงขึ้น คําตอบ 3 : เพื่อลดคาอิมพีแดนซของหมอแปลงลง คําตอบ 4 : เพื่อสามารถใชตอแบบขั้นบันไดใหไดพิกัดแรงดันสูง

ขอที่ : 42 คาแรงดันแบบใด ที่ใชในการกําหนดนิยามคุณสมบัติของรูปคลื่นแรงดันสูงกระแสสลับ (AC high-voltage) ตามขอกําหนดในมาตรฐาน IEC

คําตอบ 1 : peak voltage คําตอบ 2 : rms voltage คําตอบ 3 : average voltage คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 2 ถูกตอง

ขอที่ : 43 หมอแปลงทดสอบ (testing transformer) ขนาดพิกัด 10 kVA, 50 Hz, 220 V / 100 kV พิกัดกระแสจายออกสูงสุดดานแรงสูงมีคาเทากับขอใด

คําตอบ 1 : 1 A คําตอบ 2 : 0.1 A คําตอบ 3 : 10 mA 13 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 4 : 57.7 mA

ขอที่ : 44 หมอแปลงทดสอบ (testing transformer) ขนาดพิกัด 10 kVA, 50 Hz, 220 V / 100 kV พิกัดกระแสขาเขาสูงสุดดานแรงต่ํามีคาเทากับขอใด

คําตอบ 1 : 45.45 mA คําตอบ 2 : 26.24 A คําตอบ 3 : 45.45 A คําตอบ 4 : 32.14 A

ขอที่ : 45 หมอแปลงทดสอบที่จะใชตอแบบขั้นบันได (cascaded) จะตองมีขดลวดอะไรบาง

คําตอบ 1 : มีขดลวด primary และขดลวด secondary คําตอบ 2 : มีขดลวด primary และขดลวดดาน secondary มี center tap คําตอบ 3 : มีขดลวด primary , ขดลวด secondary และขดลวดตอควบ คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

ขอที่ : 46

หมอแปลงทดสอบแบบ 3-winding ขนาดพิกัด 10 kVA, 50 Hz, 220 V / 100 kV / 220 V ถาปอนแรงดันเขาทางดาน primary เทากับ 220 V ถามวาแรงดันจายออกดานแรงสูงจะมีคาเปนเทาใด เมื่อทดสอบเคเบิลXLPE ที่โหลดเต็มพิกัด

คําตอบ 1 : 100 kV คําตอบ 2 : นอยกวา 100 kV คําตอบ 3 : มากกวา 100 kV คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 47

ถาใชหมอแปลงทดสอบยอยแบบ 3-winding ขนาดพิกัด 10 kVA, 220 V / 100 kV / 220 V จํานวน 3 ลูก มาตอแบบขั้นบันได ถามวาจะไดแรงดันและกําลังไฟฟาจายออกเปนเทาใด

คําตอบ 1 : 300 kV, 30 kVA คําตอบ 2 : 200 kV, 20 kVA คําตอบ 3 : 100 kV, 30 kVA คําตอบ 4 : 300 kV, 10 kVA

ขอที่ : 48

14 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

หมอแปลงทดสอบแบบ 3-winding ขนาดพิกัด 10 kVA, 50 Hz, 220 V / 100 kV / 220 เมื่อปอนแรงดันทางดาน primary เทากับ 220 V ถามวาที่ขดตอควบจะมีแรงดันเมื่อเทียบกับ ground เปนเทาใด

คําตอบ 1 : 220 V คําตอบ 2 : 100 kV ถาวัดที่ปลายลางของขดลวดตอควบ คําตอบ 3 : 100 kV + 220 V ถาวัดที่ปลายบนของขดลวดตอควบ คําตอบ 4 : คําตอบ 2 และคําตอบ 3 ถูกตอง

ขอที่ : 49

หมอแปลงทดสอบแบบ 3-winding จํานวน 3 ลูก มีพิกัดแรงดัน 220 V / 100 kV / 220 และมีพิกัดกําลังเปน 10 kVA, 20 kVA, 30 kVA ตามลําดับ ถานําหมอแปลงทั้ง 3 ลูก มาตอใชงานแบบขั้นบันได โดยใหลูกที่มีกําลังสูงกวาอยูดานลาง ถามวาจะไดแรงดันและกําลังไฟฟาจายออกเปนเทาใด

คําตอบ 1 : 300 kV, 30 kVA คําตอบ 2 : 200 kV, 20 kVA คําตอบ 3 : 100 kV, 30 kVA คําตอบ 4 : 300 kV, 10 kVA

ขอที่ : 50 ชนิดของแรงดันสูงที่ใชงานเพื่อการทดสอบวัสดุฉนวน ตามขอกําหนดมาตรฐานสากล มีกี่ชนิด อะไรบาง

คําตอบ 1 : มี 2 ชนิด คือ แรงดันสูงกระแสตรง และ แรงดันสูงกระแสสลับความถี่พลังงาน คําตอบ 2 : มี 2 ชนิด คือ แรงดันสูงกระแสสลับความถี่พลังงาน และ แรงดันสูงความถี่สูง คําตอบ 3 : มี 3 ชนิด คือ แรงดันสูงกระแสตรง, แรงดันสูงกระแสสลับความถี่พลังงาน และ แรงดันสูงอิมพัลส คําตอบ 4 : มี 3 ชนิด คือ แรงดันสูงกระแสสลับ, แรงดันสูงความถี่สูง และ แรงดันสูงอิมพัลสฟาผา

ขอที่ : 51 ขอดีของการตอหมอแปลงทดสอบแบบขั้นบันได (cascaded transformers) คือ

คําตอบ 1 : ทําใหสามารถสรางแรงดันไดสูงขึ้น คําตอบ 2 : ทําใหสเตรยฟลักซ (stray flux) มีคาเพิ่มสูงขึ้น คําตอบ 3 : ทําใหคาแรงดันลัดวงจรมีคาเพิ่มสูงขึ้น คําตอบ 4 : ทําใหสามารถจายกระแสทดสอบไดสูงขึ้น

ขอที่ : 52

ตองการทดสอบความคงทนอยูไดของสายเคเบิล (withstand voltage test) ที่ขนาดแรงดันทดสอบ 50 kV, 50 Hz ถาเคเบิลยาว 20 เมตร มีคาเก็บประจุเปน 250 pF/m ใหคํานวณหาขนาดพิกัดกําลังของหมอแปลงทดสอบที่จะใชเปนตัวจายแรงดันทดสอบ โดยใชแฟกเตอรปลอดภัยเทากับ 1.25

คําตอบ 1 : อยางนอยเทากับ 4.0 kVA 15 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 2 : อยางนอยเทากับ 10.0 kVA คําตอบ 3 : อยางนอยเทากับ 5.0 kVA คําตอบ 4 : อยางนอยเทากับ 15.0 kVA

ขอที่ : 53

คําตอบ 1 : Transformer #1 มีพิกัดกําลังเปน 5 kVA และ Transformer #2 มีพิกัดกําลังเปน 5 kVA คําตอบ 2 : Transformer #1 มีพิกัดกําลังเปน 5 kVA และ Transformer #2 มีพิกัดกําลังเปน 2.5 kVA คําตอบ 3 : Transformer #1 มีพิกัดกําลังเปน 2.5 kVA และ Transformer #2 มีพิกัดกําลังเปน 2.5 kVA 16 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 4 : Transformer #1 มีพิกัดกําลังเปน 2.5 kVA และ Transformer #2 มีพิกัดกําลังเปน 5 kVA

ขอที่ : 54

แหลงจายไฟแรงดันสูงกระแสสลับในหองปฏิบัติการไฟฟาแรงสูงออกแบบสรางโดยใชหมอแปลงแบบ 3-winding, 220V/100kV/220V, 50 Hz จํานวน 2 ลูกตอซอนกันแบบขั้นบันไดดังรูป ถา Transformer #1 และ Transformer #2 มีพิกัดกําลังเปน 10 kVA เทากัน ถามวาหมอแปลงทดสอบทั้งระบบจะสามารถจายพิกัดกําลังขาออกไดสูงสุดเทาใด

คําตอบ 1 : 5.0 kVA คําตอบ 2 : 7.5 kVA คําตอบ 3 : 10.0 kVA คําตอบ 4 : 20.0 kVA

ขอที่ : 55

แหลงจายไฟแรงดันสูงกระแสสลับในหองปฏิบัติการไฟฟาแรงสูง ออกแบบสรางโดยใชหมอแปลงทดสอบแบบ 3-winding, 220V/100kV/220V, 50 Hz จํานวน 2 ลูกตอซอนกันแบบขั้นบันไดดังรูป ถา ปรับแรงดันปอนเขาดาน input เปน 165 V จะไดแรงดันขาออกดาน output เปนเทาใด

17 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : แรงดันดาน output = 75 kV คําตอบ 2 : แรงดันดาน output = 100 kV คําตอบ 3 : แรงดันดาน output = 200 kV คําตอบ 4 : แรงดันดาน output = 150 kV

ขอที่ : 56

แหลงจายแรงดันสูงกระแสสลับในหองปฏิบัติการไฟฟาแรงสูง ออกแบบสรางโดยใชหมอแปลงทดสอบแบบ 3-winding, 220V/100kV/220V, 50 Hz จํานวน 2 ลูกตอซอนกันแบบขั้นบันไดดังรูป ถาตองการควบคุมแรงดันดานจายออกใหได 200 kV, 15 kVA โดยปรับแรงดันปอนเขา ถามวาจะตองปอนกําลังเขาเทาใด

18 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : ใชกําลังปอนเขาอยางนอย 7.5 kVA คําตอบ 2 : ใชกําลังปอนเขาอยางนอย 10 kVA คําตอบ 3 : ใชกําลังปอนเขาอยางนอย 15 kVA คําตอบ 4 : ใชกําลังปอนเขาอยางนอย 20 kVA

ขอที่ : 57

วงจรสรางแรงดันสูงกระแสตรง (Cockcroft – Walton Type) แบบ multi-stage ดังรูป อยากทราบวาประกอบดวยจํานวนขั้นการตอ cascade ทั้งหมดกี่ขั้น

19 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : 6 ขั้น คําตอบ 2 : 5 ขั้น คําตอบ 3 : 4 ขั้น คําตอบ 4 : 3 ขั้น

ขอที่ : 58

คําตอบ 1 : 200 kV คําตอบ 2 : 400 kV คําตอบ 3 : 282.8 kV คําตอบ 4 : 141.4 kV

ขอที่ : 59

20 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

เครื่องกําเนิดแรงดันสูงกระแสตรงแบบ Cockcroft – Walton Type ขนาดพิกัด 300 kV, 10 mA สามารถจายแรงดันสูงกระแสตรงที่ no-load ได 300 kV แตเมื่อใชงานที่ full-load จะเกิดแรงดันตกไป 80 kV และเกิดแรงดันระลอก (ripple) ประมาณ 20 kV (peak) ใหคํานวณหาคาแรงดันกระแสตรงขาออกเฉลี่ยที่พิกัด full-load มีคาประมาณเทากับขอใด

คําตอบ 1 : 300 kV คําตอบ 2 : 220 kV คําตอบ 3 : 210 kV คําตอบ 4 : 200 kV

ขอที่ : 60 คาแรงดันสูงกระแสตรง (DC high-voltage) ตามนิยามในมาตรฐาน IEC กําหนดดวยคุณสมบัติใด

คําตอบ 1 : คายอด(peak) คําตอบ 2 : คาแฟกเตอรระลอก(ripple factor) คําตอบ 3 : คาเฉลี่ย(average) คําตอบ 4 : ถูกทั้งคําตอบ 2 และคําตอบ 3

ขอที่ : 61 คาแรงดันระลอก (ripple voltage) ในการสรางแรงดันสูงกระแสตรง (DC high-voltage) ขึ้นอยูกับแฟกเตอรใดบาง

คําตอบ 1 : คากระแสจายออก คําตอบ 2 : ความถี่ของแหลงจายแรงดันกระแสสลับที่ใชแปลงเปนแรงดันกระแสตรง คําตอบ 3 : ขนาดความจุไฟฟาของตัวเก็บประจุกรองที่ใช คําตอบ 4 : ถูกทุกคําตอบ

ขอที่ : 62 ถาตองการกลับขั้วแรงดันสูงกระแสตรง (DC high-voltage) จากขั้วบวกเปนขั้วลบ สามารถทําดวยวิธีใดไดบาง

คําตอบ 1 : กลับขั้วไดโอด คําตอบ 2 : กลับขั้วที่หมอแปลงตัวจาย คําตอบ 3 : กลับขั้วของตัวเก็บประจุกรอง คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 2 ถูกตอง

ขอที่ : 63

21 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : 200 kV

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : 400 kV

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 64

22 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : 2 kV คําตอบ 2 : 3 kV คําตอบ 3 : 4 kV คําตอบ 4 : 5 kV

ขอที่ : 65

คําตอบ 1 : 2 kV 23 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 2 : 3 kV คําตอบ 3 : 4 kV คําตอบ 4 : 5 kV

ขอที่ : 66

คําตอบ 1 : 60 kV คําตอบ 2 : 84.85 kV คําตอบ 3 : 56 kV คําตอบ 4 : 54 kV

ขอที่ : 67

24 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : 0.7 % คําตอบ 2 : 1.2 % คําตอบ 3 : 1.7 % คําตอบ 4 : 2.2 %

ขอที่ : 68

25 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : C = 0.5 ไมโครฟารัด คําตอบ 2 : C = 0.9 ไมโครฟารัด คําตอบ 3 : C = 0.1 ไมโครฟารัด คําตอบ 4 : C = 0.2 ไมโครฟารัด

ขอที่ : 69

คําตอบ 1 : 200 kV ขั้วบวก คําตอบ 2 : 200 kV ขั้วลบ

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : 300 kV ขั้วบวก

ขอที่ : 70

26 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : กระแสจายออกเปนขั้วบวก และตัวเก็บประจุทนแรงดันขั้นต่ําได 100 kV คําตอบ 2 : กระแสจายออกเปนขั้วลบ และตัวเก็บประจุทนแรงดันขั้นต่ําได 100 kV คําตอบ 3 : กระแสจายออกเปนขั้วลบ และตัวเก็บประจุทนแรงดันขั้นต่ําได 200 kV คําตอบ 4 : กระแสจายออกเปนขั้วบวก และตัวเก็บประจุทนแรงดันขั้นต่ําได 200 kV

ขอที่ : 71 ขนาดของแรงดันอิมพัลส (impulse voltage) ตามขอกําหนดในมาตรฐาน IEC กําหนดดวยคาพารามิเตอรใด

คําตอบ 1 : แรงดันคายอด (peak) คําตอบ 2 : แรงดันคา r.m.s คําตอบ 3 : คาเฉลี่ย (average) คําตอบ 4 : คา 50% (critical)

ขอที่ : 72 ตามขอกําหนดในมาตรฐาน IEC แบงประเภทของแรงดันอิมพัลสออกเปนกี่ประเภท อะไรบาง

คําตอบ 1 : 2 ประเภท คือ แรงดันอิมพัลสฟาผา และ แรงดันอิมพัลสหนาคลื่นชัน คําตอบ 2 : 2 ประเภท คือ แรงดันอิมพัลสฟาผา และ แรงดันอิมพัลสสวิตชิ่ง คําตอบ 3 : 3 ประเภท คือ แรงดันอิมพัลสฟาผา, แรงดันอิมพัลสสวิตชิ่ง และ แรงดันอิมพัลสหนาคลื่นชัน

27 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 4 : 3 ประเภท คือ แรงดันอิมพัลสฟาผา, แรงดันอิมพัลสสวิตชิ่ง และ แรงดันอิมพัลสชวงคลื่นสั้น

ขอที่ : 73 ขอใดไมใชรูปคลื่นแรงดันอิมพัลสฟาผามาตรฐาน (standard lightning impulse) ตามขอกําหนดในมาตรฐาน IEC

คําตอบ 1 : T1 / T2 = 1.2 / 40 ไมโครวินาที คําตอบ 2 : T1 / T2 = 0.9 / 58 ไมโครวินาที คําตอบ 3 : T1 / T2 = 1.5 / 42 ไมโครวินาที คําตอบ 4 : T1 / T2 = 0.8 / 55 ไมโครวินาที

ขอที่ : 74 ขอใดไมใชรูปคลื่นแรงดันอิมพัลสสวิตชิ่ง (switching impulse) มาตรฐาน ตามขอกําหนดมาตรฐาน IEC

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 75 เกณฑความคลาดเคลื่อนของคายอดแรงดันอิมพัลส ตามขอกําหนดในมาตรฐาน IEC กําหนดไว

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

28 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 76

คําตอบ 1 : 2.5 kJ คําตอบ 2 : 5.0 kJ คําตอบ 3 : 10.0 kJ คําตอบ 4 : 15.0 kJ

ขอที่ : 77

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

29 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 78

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 79

วงจรเครื่องกําเนิดแรงดันสูงอิมพัลสแบบมารกซ (Marx’s circuit) ดังรูป ถาสมมติวาทั้งระบบมีประสิทธิภาพเปน 100% เมื่อปอนแรงดันอัดประจุกระแสตรงขนาด +100 kV เขาที่ input ของเครื่อง ใหคํานวณหาขนาดแรงดันที่ไดทางดาน output เมื่อเทียบกับ ground จะมีคาเทากับขอใด

30 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : 100 kV คําตอบ 2 : 400 kV คําตอบ 3 : -400 kV คําตอบ 4 : -300 kV

ขอที่ : 80

วงจรเครื่องกําเนิดแรงดันสูงอิมพัลสแบบมารกซ (Marx’s circuit) ดังรูป ถาสมมติวาทั้งระบบมีประสิทธิภาพเปน 100% เมื่อปอนแรงดันอัดประจุกระแสตรงขนาด -100 kV เขาที่ input ของเครื่อง ใหคํานวณหาขนาดแรงดันที่ไดทางดาน output เมื่อเทียบกับ ground จะมีคาเทากับขอใด

31 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : 400 kV คําตอบ 2 : 300 kV คําตอบ 3 : -300 kV คําตอบ 4 : -400 kV

ขอที่ : 81

วงจรเครื่องกําเนิดแรงดันสูงอิมพัลสแบบมารกซ (Marx’s circuit) ดังรูป ถาสมมติวาทั้งระบบมีประสิทธิภาพเปน 90% เมื่อตองการสรางแรงดันสูงอิมพัลสรูปคลื่นมาตรฐานขนาด 540 kV เพื่อใชทดสอบอุปกรณในหองปฏิบัติการ จะตองปอนแรงดันกระแสตรงอัดประจุใหกับตัวเก็บประจุอิมพัลสแตละขั้นดวยขนาดแรงดันเทาใด จึงจะเหมาะสม

32 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : -135 kV คําตอบ 2 : 135 kV คําตอบ 3 : -150 kV คําตอบ 4 : 150 kV

ขอที่ : 82

วงจรเครื่องกําเนิดแรงดันสูงอิมพัลสแบบมารกซ (Marx’s circuit) ดังรูป ถาขนาดตัวเก็บประจุตอขั้นเปน 1.0 ไมโครฟารัด และมีพิกัดแรงดันอัดประจุตอขั้นเปน 100 kV ถามวาพิกัดพลังงานของเครื่องกําเนิดแรงดันอิมพัลสนี้มีคาเปนเทาใด

33 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : 5 kJ คําตอบ 2 : 19 kJ คําตอบ 3 : 20 kJ คําตอบ 4 : 40 kJ

ขอที่ : 83

วงจรเครื่องกําเนิดแรงดันสูงอิมพัลสแบบมารกซ (Marx’s circuit) ดังรูป ประกอบดวยวงจรพื้นฐาน A หรือ B

34 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : วงจรพื้นฐานแบบ A คําตอบ 2 : วงจรพื้นฐานแบบ B คําตอบ 3 : วงจรพื้นฐานแบบ A และ แบบ B ผสมกัน คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบใดถูกตอง

ขอที่ : 84

ถาตองการออกแบบสรางตัวเก็บประจุแรงดันสูงขนาดพิกัด 100 nF / 30 kV โดยใชตัวเก็บประจุยอยขนาด 100 nF / 5 kV ตออันดับกัน มีแฟกเตอรปลอดภัยเทากับ 150% ถามวาจะตอตัวเก็บประจุยอยอยางไร จึงจะไดคาเก็บประจุตามที่ตองการ

คําตอบ 1 : ตองใชตัวเก็บประจุยอย 6 ตัวตออนุกรมกัน และนําทั้งหมดมาตอขนานกันอีก 6 แถว คําตอบ 2 : ตองใชตัวเก็บประจุยอย 9 ตัวตออนุกรมกัน และนําทั้งหมดมาตอขนานกันอีก 9 แถว คําตอบ 3 : ตองใชตัวเก็บประจุยอย 9 ตัวตออนุกรมกัน

35 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 4 : ตองใชตัวเก็บประจุยอย 6 ตัวตออนุกรมกัน

ขอที่ : 85

ระบบไฟฟาที่มีแรงดันใชงาน (operating voltage) 500 kV สงจายพลังงานผานสายสงไฟฟากําลังที่มีคา เสิรจอิมพีแดนซ เทากับ 250 โอหม จะสามารถสงจายกําลังไฟฟาธรรมชาติ (natural power) ไดเทาใด

คําตอบ 1 : 0.25 MW คําตอบ 2 : 0.5 MW คําตอบ 3 : 1000 MW คําตอบ 4 : 2000 MW

ขอที่ : 86 เสิรจอิมพีแดนซของสายสงสามารถหาไดโดยใชสูตรอะไร

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 87

คําตอบ 1 : 400 โอหม คําตอบ 2 : 250 โอหม 36 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 3 : 500 โอหม คําตอบ 4 : 1000 โอหม

ขอที่ : 88 การทดสอบสายเคเบิลกระแสสลับที่มีคาเก็บประจุมากๆ นั้น บางกรณีอาจทดสอบดวยแรงดันกระแสตรง เนื่องจากเหตุผลในขอใด

คําตอบ 1 : การทดสอบดวยแรงดันกระแสสลับตองใชกระแสของหมอแปลงทดสอบสูง คําตอบ 2 : การทดสอบดวยแรงดันกระแสตรงใชกระแสทดสอบต่ําไดโดยคอยๆเพิ่มแรงดันขึ้น คําตอบ 3 : การทดสอบดวยแรงดันกระแสสลับมีความยุงยากในการจัดเตรียมการทดสอบ คําตอบ 4 : เพื่อลดคากําลังสูญเสียไดอิเล็กตริก

ขอที่ : 89

หมอแปลงทดสอบพิกัด 100 kV, 10 kVA ถาตองการใชทดสอบสายเคเบิลที่มีคาความจุ 1000 pF/m ยาว 100 เมตร ที่ระดับแรงดันทดสอบ 26 kV 50 Hz จะสามารถทําการทดสอบไดหรือไม

คําตอบ 1 : ทําไดเพราะแรงดันที่ใชในการทดสอบเพียงพอ คําตอบ 2 : ทําไดเพราะกระแสของหมอแปลงทดสอบที่ใชในการทดสอบมีคาเพียงพอ คําตอบ 3 : ทําไมไดเพราะหมอแปลงทดสอบไมสามารถจายกระแสที่ใชในการทดสอบไดเพียงพอ คําตอบ 4 : ทําไมไดเพราะหมอแปลงทดสอบไมสามารถจายแรงดันเพียงพอที่จะทําใหเกิดการเบรกดาวนได

ขอที่ : 90

ในการทดสอบสายเคเบิลที่มีคาความจุ 1000 pF/m สายมีความยาว 100 ม. ทดสอบที่ระดับแรงดัน 26 kV 50 Hz โดยใชหมอแปลงทดสอบพิกัด 220 V/100 kV 50 kVA เพื่อใหการทดสอบสามารถทําไดจะตองนําตัวนําอินดักเตอรเขามาตอทางดานแรงดันสูงของหมอแปลง จงคํานวณขนาดของตัวอินดักเตอรอยางนอยที่จะตองตอเขาไปเพื่อใหสามารถทดสอบสายเคเบิลดวยหมอแปลงทดสอบตัวนี้

คําตอบ 1 : 88 Henry คําตอบ 2 : 176 Henry คําตอบ 3 : 262 Henry คําตอบ 4 : 393 Henry

ขอที่ : 91 การผลิตแรงดันกระแสตรงดวยวงจรเรียงกระแส อางอิงตามมาตรฐาน IEC และ IEEE กําหนดใหคา แฟกเตอรระลอก (ripple factor) ไมเกินกี่เปอรเซ็นต

คําตอบ 1 : 1 % คําตอบ 2 : 2 % คําตอบ 3 : 3 % คําตอบ 4 : 4 %

37 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 92

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 93

38 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 94

คําตอบ 1 : 5 ชั้น คําตอบ 2 : 10 ชั้น คําตอบ 3 : 12 ชั้น คําตอบ 4 : 15 ชั้น

39 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 95

คําตอบ 1 : 71 kV คําตอบ 2 : 100 kV คําตอบ 3 : 141 kV คําตอบ 4 : 200 kV

ขอที่ : 96

คําตอบ 1 : 1000 kV คําตอบ 2 : 1414 kV คําตอบ 3 : 1500 kV คําตอบ 4 : 2000 kV

ขอที่ : 97

คําตอบ 1 : 1000 kV คําตอบ 2 : 1375 kV คําตอบ 3 : 1440 kV คําตอบ 4 : 2000 kV

40 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 98

ใชหมอแปลงทดสอบ (test transformer) ทดสอบลูกถวยแขวนที่มีคาเก็บประจุไมเกิน 50 pF กําหนดใหทดสอบที่แรงดัน 100 kV 50 Hz จงคํานวณหากําลังไฟฟาที่ปอนใหกับลูกถวยทดสอบ

คําตอบ 1 : 90 VA คําตอบ 2 : 100 VA คําตอบ 3 : 150 VA คําตอบ 4 : 157 VA

ขอที่ : 99

ออกแบบหมอแปลงทดสอบ (test transformer) ใหสามารถทดสอบลูกถวยแขวนที่มีคาเก็บประจุไมเกิน 50 pF กําหนดใหทดสอบที่แรงดัน 100 kV จงคํานวณหากระแสที่หมอแปลงทดสอบจายใหลูกถวยทดสอบ

คําตอบ 1 : 0.9 mA คําตอบ 2 : 1 mA คําตอบ 3 : 1.57 mA คําตอบ 4 : 2.0 mA

ขอที่ : 100

หมอแปลงทดสอบ 3 ลูกตอแบบขั้นบันได (cascade transformer) 3 ขั้น โดยหมอแปลงแตละลูกมีขนาด 15 kVA 100 kV จงคํานวณหาแรงดันและกําลังไฟฟาหลังจากทําการตอแบบ cascade คําตอบ 1 : 300 kV, 5 kVA คําตอบ 2 : 300 kV, 15 kVA คําตอบ 3 : 300 kV, 30 kVA คําตอบ 4 : 300 kV, 45 kVA

ขอที่ : 101

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

41 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 102

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 103

42 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 104

43 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 105

คําตอบ 1 : 75% คําตอบ 2 : 80% คําตอบ 3 : 91% คําตอบ 4 : 95%

ขอที่ : 106 หมอแปลงตอไปนี้หมอแปลงชนิดใดที่ความถี่ดานจายไฟเขากับจายไฟออก มีคาไมเทากัน

คําตอบ 1 : หมอแปลงขดลวดแยก คําตอบ 2 : หมอแปลงเทสลา คําตอบ 3 : หมอแปลงแบบขดลวดรวม(autotransformer)

44 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 4 : หมอแปลงแรงดัน

ขอที่ : 107 การสงจายกําลังไฟฟาดวยระบบแรงดันสูง HVDC มีขอดีคือ

คําตอบ 1 : สามารถสงกําลังไฟฟาระยะไกลๆได คําตอบ 2 : เชื่อมตอระบบที่มีความถี่ตางกันได คําตอบ 3 : คากําลังไฟฟาสูญเสียไดอิเล็กตริกต่ํากวา คําตอบ 4 : ถูกตองทุกคําตอบ

ขอที่ : 108

คําตอบ 1 : เพิ่มระดับแรงดันในระบบใหสูงขึ้น คําตอบ 2 : เพิ่มกระแสในสายสงใหสูงขึ้น คําตอบ 3 : เพิ่มจํานวนสายตัวนําตอเฟส คําตอบ 4 : ทําไมได

ขอที่ : 109

การสงกําลังไฟฟาดวยระบบไฟดวยระบบแรงสูง 3 phase 50 Hz ถากําหนดให เสิรจอิมพีแดนซ ของสายสงมีคา 230 โอหม กรณีที่สงดวยแรงดัน 230 kV จะสามารถสงกําลังไฟฟาไดสูงสุดกี่ MW ตอหนึ่งวงจร คําตอบ 1 : 420 MW คําตอบ 2 : 310 MW คําตอบ 3 : 230 MW คําตอบ 4 : 170 MW

ขอที่ : 110 ในการใชหองปฏิบัติการไฟฟาแรงสูงทานมีวิธีปฏิบัติตัวอยางไร จึงจะเกิดความปลอดภัยสูงสุดขณะทําการทดลอง

คําตอบ 1 : อยูหางจากสวนที่มีไฟฟาอยางนอย 1 cm ตอ 1 kV คําตอบ 2 : กราวนดอุปกรณทุกชนิดกอนสัมผัสทุกครั้ง คําตอบ 3 : ในขณะทําการทดลองจะตองมีผูรวมปฏิบัติงานอยางนอย 1 คน คําตอบ 4 : ถูกตองทุกคําตอบ

45 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 111 ถาตองการปรับความถี่ของหมอแปลงเทสลา(Tesla) ใหไดแรงดันจายออกสูงสุด จะตองทําการปรับคาดังตอไปนี้

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 112 วิธีการลดโคโรนาในสายสง(overhead line) ทําไดโดย

คําตอบ 1 : ทําสายสงใหโตขึ้นเพื่อทําใหแฟกเตอรสนามไฟฟาสูงกวา 30% คําตอบ 2 : เปลี่ยนชนิดของตัวนํา คําตอบ 3 : เลือกสายสงเปนแบบสายควบ (bundle) คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 3 ถูกตอง

ขอที่ : 113

คําตอบ 1 : 57 cm คําตอบ 2 : 70 cm คําตอบ 3 : 85 cm คําตอบ 4 : ผิดทุกคําตอบ

46 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 114 ระดับแรงดันไฟฟาแรงสูง (High Voltage) ตามความหมายที่ระบุไวในมาตรฐานสากลของ IEC หมายถึง ไฟฟาที่มีแรงดันตั้งแตเทาใดขึ้นไป

คําตอบ 1 : 380 โวลต คําตอบ 2 : 500 โวลต คําตอบ 3 : 750 โวลต คําตอบ 4 : 1000 โวลต

ขอที่ : 115

การสรางแรงดันสูงไฟฟาสถิต อาศัยหลักการเก็บสะสมประจุลักษณะเดียวกับปรากฎการณธรรมชาติ เชนเครื่องกําเนิดไฟฟาสถิต นั้น เปนทฤษฏีและหลักการของนักวิทยาศาสตรทานใด

คําตอบ 1 : Faraday’s law คําตอบ 2 : Nikola Tesla คําตอบ 3 : Van de graaff คําตอบ 4 : Maxwell

ขอที่ : 116 ระบบสงจายแรงดันสูงสุดของประเทศไทย ณ ปจจุบันมีแรงดันอยูที่เทาใด

คําตอบ 1 : 115 kV คําตอบ 2 : 230 kV คําตอบ 3 : 500 kV คําตอบ 4 : 750 kV

ขอที่ : 117 ขอใดไมใชองคประกอบในการปองกันฟาผาลงบนเสาสงแรงดันสูง

คําตอบ 1 : Overhead lines คําตอบ 2 : Surge Arrester คําตอบ 3 : Ground Rod Conductors คําตอบ 4 : Line Insulator

ขอที่ : 118 แรงดันเกินแบบใด? ที่เกิดขึ้นในชวงระยะเวลาสั้น และเกิดจากความผิดพรองในระบบ มีลักษณะเปนออสซิลเลชั่นที่มีความถี่พลังงานหรือเปนฮารโมนิกส ขอใดถูกตองมากที่สุด

คําตอบ 1 : transient overvoltage คําตอบ 2 : temporary overvoltage

47 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 3 : lightning overvoltage คําตอบ 4 : switching overvoltage

ขอที่ : 119

หมอแปลงทดสอบ (testing transformer) ที่ใชในหองปฏิบัติการไฟฟาแรงสูง เมื่อนํามาตอแบบคาสเคด (Cascade) กันระหวางลูกที่ 1 และลูกที่ 2 จะตองตอขดลวดชุดใดเพื่อควบคุมแรงดันสูงในการใชงาน

คําตอบ 1 : Primary winding คําตอบ 2 : Secondary winding คําตอบ 3 : Tertiary winding คําตอบ 4 : Coupling winding

ขอที่ : 120 การใชหมอแปลงทดสอบสายเคเบิลแรงดันสูงที่มีคาคาปาซิแตนซสูงมากๆ ขอใดเปนวิธีการแกปญหาที่เหมาะสมและประหยัดคาใชจายมากที่สุด

คําตอบ 1 : การขนานหมอแปลงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งลูก คําตอบ 2 : การออกแบบพิกัดของหมอแปลงทดสอบไวที่พิกัดสูงๆ คําตอบ 3 : การใชรีแอกเตอรตออนุกรมเขากับสายเคเบิล คําตอบ 4 : การใชรีแอกเตอรตอขนานเขากับสายเคเบิล

ขอที่ : 121

การทดสอบลูกถวยฉนวนไฟฟาดวยแรงดันสูงและความถี่สูง ที่ใชในโรงงานอุตสาหกรรมที่ผลิตลูกถวยฉนวนพอรซเลนมีวัตถุประสงคที่จะตองการตรวจสอบสภาพฉนวนตางดังนี้ ขอใดไมเกี่ยวของ

คําตอบ 1 : การตรวจสอบเพื่อหาความบกพรองของเนื้อฉนวนเนื่องจากการวาบไฟตามผิว คําตอบ 2 : การตรวจสอบเพื่อหาความบกพรองของเนื้อฉนวนเนื่องจากการเกิดความรอน คําตอบ 3 : การตรวจสอบเพื่อหาความบกพรองของเนื้อฉนวนเนื่องจากการเกิดเจาะทะลุ คําตอบ 4 : การตรวจสอบเพื่อหาความบกพรองของเนื้อฉนวนเนื่องจากการฟาผาตามธรรมชาต ิ

ขอที่ : 122 มาตรฐานการทดสอบที่ใชหมอแปลงแรงดันสูงและความกี่สูง ของประเทศไทยไดกําหนดคาความถี่สูงไวไมต่ํากวาคาใด

คําตอบ 1 : 50 kHz คําตอบ 2 : 200 kHz คําตอบ 3 : 400 kHz คําตอบ 4 : 1000 kHz

48 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 123 การทดสอบดวยแรงดันสูงเพื่อทําใหเกิดการเจาะทะลุบนลูกถวยฉนวนไฟฟาตองใชแรงดันใดในการทดสอบ

คําตอบ 1 : Lightning Impulse Voltage คําตอบ 2 : Switching Impulse Voltage คําตอบ 3 : Chopped Wave Impulse Voltage คําตอบ 4 : Steep front Impulse Voltage

ขอที่ : 124

คําตอบ 1 : Ripple factor คําตอบ 2 : Dissipation factor คําตอบ 3 : Power factor คําตอบ 4 : Quality factor

49 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 125

คําตอบ 1 : สามารถสรางแรงดันสูงได 20-50 เทา ของแรงดันที่ปอน คําตอบ 2 : กําลังไฟฟาที่จายใหกับวงจรทดสอบมีคาต่ํา เทากับกําลังไฟฟาสูญเสียในวงจรทดสอบ คําตอบ 3 : ถาเกิดวาบไฟตามผิวหรือเกิดเบรกดาวนที่วัสดุทดสอบแรงดันสูงจะยุบตัวทันที แยกออกจากวงจรไป คําตอบ 4 : ทําใหแรงดันตกครอมอุปกรณทดสอบมีคาเทากับแรงดันที่จายจากหมอแปลงทดสอบ

ขอที่ : 126

50 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : อิมพัลสรูปคลื่นเต็ม (Full wave impulse) คําตอบ 2 : อิมพัลสครึ่งรูปคลื่น (Half wave impulse) คําตอบ 3 : อิมพลัสแบบตัดหางคลื่น (Chopped Wave Impulse Voltage) คําตอบ 4 : อิมพัลสแบบหนาคลื่นชัน (Steep front Impulse Voltage)

ขอที่ : 127

51 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : อิมพัลสรูปคลื่นเต็ม (Full wave impulse) คําตอบ 2 : อิมพัลสครึ่งรูปคลื่น (Half wave impulse) คําตอบ 3 : อิมพลัสแบบตัดหนาคลื่น (Chopped Wave Impulse Voltage) คําตอบ 4 : อิมพัลสแบบหนาคลื่นชัน (Steep front Impulse Voltage)

ขอที่ : 128

52 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : การกระจัดกระจายของแรงดันที่จายออนอยลง คําตอบ 2 : การควบคุมแรงดันทดสอบใหมีคาคงที่ คําตอบ 3 : ชวยในการบังคับออสซิโลสโคปหรือเครื่องบันทึกภาพสัญญานรูปคลื่นอิมพัลส คําตอบ 4 : ทําใหเกิดคาแรงดันทดสอบอิมพัลสสูงขึ้นในวงจร

ขอที่ : 129 สนามไฟฟาระหวางทรงกลมที่ขนาดเทากัน จะมีลักษณะเกือบสม่ําเสมอ ถาระยะชองแกปเปนเทาไรของขนาดเสนผานศูนยกลางของทรงกลม (D)

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

53 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 130 การกําหนดคาแรงดันอิมพัลสเปนการระบุคาเบรกดาวนกี่เปอรเซ็นต

คําตอบ 1 : 48% คําตอบ 2 : 50% คําตอบ 3 : 60% คําตอบ 4 : 80%

ขอที่ : 131 โวลเตจดิไวเดอรตองอยูหางจากวัสดุทดสอบหรือแรงดันสูงที่ตองการวัด มีระยะเทาไร และเพื่อ

คําตอบ 1 : เทากับสองเทาของความสูงของโวลเตจดิไวเดอรเพื่อลดการรบกวนของสนามแมเหล็ก คําตอบ 2 : เทากับครึ่งหนึ่งของความสูงของโวลเตจดิไวเดอรเพื่อลดการรบกวนของสนามไฟฟา คําตอบ 3 : อยางนอยเทากับความสูงของโวลเตจดิไวเดอรเพื่อลดสนามไฟฟาที่รบกวนและ stray capacitance คําตอบ 4 : อยางนอยเทากับความสูงของโวลเตจดิไวเดอรเพื่อความปลอดภัยของผูปฏิบัติงาน

ขอที่ : 132 ในการวัดแรงดันสูงดวยแกปทรงกลม เหตุใดมาตรฐานจึงกําหนดใหใชระยะแกป d นอยกวาหรือเทากับ 0.5 เทาของเสนผานศูนยกลาง D

คําตอบ 1 : เนื่องจากระยะแกปที่มากกวานี้จะไมทําใหเกิดการเบรกดาวนระหวางทรงกลมโลหะ คําตอบ 2 : เนื่องจากระยะแกปที่มากกวานี้จะทําใหเกิดความไมสม่ําเสมอของสนามไฟฟาระหวางทรงกลมโลหะ คําตอบ 3 : เนื่องจากระยะแกปที่มากกวานี้จะทําใหกระแสที่เกิดจากการเบรกดาวนมีคานอยเกินไป คําตอบ 4 : เนื่องจากระยะแกปที่มากกวานี้จะทําใหเกิดการเบรกดาวนที่รุนแรง อาจเกิดอันตรายได

ขอที่ : 133 คาความถูกตองของการวัดแรงดันสูงดวยอิมพีแดนซตออันดับขึ้นอยูกับอะไร

คําตอบ 1 : ความถูกตองของแอมมิเตอร คําตอบ 2 : ความถูกตองของโวลตมิเตอรแรงสูง คําตอบ 3 : คาความคงตัวของอิมพีแดนซที่ไมขึ้นกับอุณหภูมิ คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 3 ถูกตอง

ขอที่ : 134

54 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ความตานทานสมคูกัน (matching resistor) ที่ใชในการวัดแรงดันอิมพัลสดวยโวลเตจดิไวเดอร ทําหนาที่อะไร คําตอบ 1 : จํากัดกระแสภายในโวลเตจดิไวเดอร คําตอบ 2 : จํากัดกระแสระหวางภาคแรงต่ําของโวลเตจดิไวเดอร กับสายเคเบิลวัด คําตอบ 3 : ปองกันการเกิดคลื่นสะทอนกลับภายในสายเคเบิลวัดที่ตอระหวางภาคแรงต่ําของโวลเตจดิไวเดอร กับโวลตมิเตอร คําตอบ 4 : ปองกันการเกิดออสซิลเลชันในสายเคเบิลวัดที่ตอระหวางภาคแรงต่ําของโวลเตจดิไวเดอร กับโวลตมิเตอร

ขอที่ : 135 การวัดกระแสอิมพัลสดวยโรกอฟสกี้คอยล มีหลักการอยางไร

คําตอบ 1 : ใชหลักการของหมอแปลงกระแส (CT) คําตอบ 2 : ใชหลักการเดียวกันกับโวลเตจดิไวเดอร คําตอบ 3 : ใชหลักการเหนี่ยวนําของแรงดันที่เกิดขึ้นในภายขดลวด คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 3 ถูกตอง

ขอที่ : 136 การวัดแรงดันดวยโวลเตจดิไวเดอร มีขอดี เมื่อเทียบกับการวัดดวยอิมพีแดนซตออนุกรม

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : คาการผิดพลาดอันเนื่องมาจากอัตราสวนของอิมพีแดนซอนุกรมและแอมมิเตอร ซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงไปเมื่อความถี่เปลี่ยน จะหมดไป คําตอบ 4 : คาการผิดพลาดอันเนื่องมาจากอัตราสวนของอิมพีแดนซอนุกรมและโวลตมิเตอร ซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงไปเมื่อความถี่เปลี่ยน จะหมดไป

ขอที่ : 137 การวัดกระแสอิมพัลสดวยชั้นท (shunt) มีหลักการอยางไร

คําตอบ 1 : โดยการปลอยใหกระแสที่ตองการวัดนั้น ไหลผานความตานทานชั้นทที่มีคาสูง แลววัดกระแสที่ไหลผานออกมายังแอมมิเตอรทางดานแรงต่ํา คําตอบ 2 : โดยการปลอยใหกระแสที่ตองการวัดนั้น ไหลผานความตานทานชั้นทที่มีคาต่ํา แลววัดแรงดันที่ตกครอมชั้นทนั้นดวยออสซิลโลสโคป คําตอบ 3 : โดยการปลอยใหกระแสที่ตองการวัดนั้น ไหลผานตัวตานทานชั้นทหรือตัวเก็บประจุชั้นท แลววัดแรงดันที่ตกครอมชั้นทนั้นดวยออสซิลโลสโคป คําตอบ 4 : โดยการปลอยใหกระแสที่ตองการวัดนั้น ไหลผานเคเบิลแรงดันสูงที่มีตัวตานทานสมคูกันตอแบบอนุกรม แลววัดแรงดันที่ตกครอมดวยออสซิลโลสโคป

55 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 138 การวัดแรงดันสูงกระแสสลับความถี่ต่ําดวยวิธีของ Chubb & Fortescue เปนการวัดคาอะไร

คําตอบ 1 : คายอด(peak value) คําตอบ 2 : คาเฉลี่ย(average value) คําตอบ 3 : คาประสิทธิผล(effective value) คําตอบ 4 : คายอดและคาเฉลี่ย

ขอที่ : 139

คําตอบ 1 : 199.8 nF คําตอบ 2 : 190.8 nF คําตอบ 3 : 189.2 nF คําตอบ 4 : 180.2 nF

ขอที่ : 140

ในการตอ matching resistor R ที่ตนทางสายเคเบิลเพื่อใหสัญญาณวัดของดิไวเดอรแบบเก็บประจุมีความตานทานหนวง (damped capacitive voltage divider) ไมผิดเพี้ยนนั้นจะตองเลือกคา R มีคาเทาไร

56 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 141

ในการทดสอบดวยแรงดันไฟฟากระแสตรงที่สรางดวยวงจรเรกติฟายเออรมีตัวเก็บประจุกรองกระแส(half wave rectifier circuit) ขณะทําการทดสอบฉนวนนั้น ถาวัดดวย โวลเตจดิไวเดอรแบบตัวเก็บประจุ(capacitive voltage divider)ผลของการวัดจะไดแรงดันคาใด

คําตอบ 1 : อานคาแรงดันไมไดเลย คําตอบ 2 : อานไดคาแรงดันกระแสตรง คาเฉลี่ย คําตอบ 3 : อานไดคาแรงดันระลอก (ripple voltage) คาเฉลี่ย คําตอบ 4 : อานไดคาแรงดันระลอก (ripple voltage) คา r.m.s.

ขอที่ : 142 การวัดแรงดันสูงกระแสตรงคาเฉลี่ย (average value) วิธีในขอใดใชวัดไมได

คําตอบ 1 : วิธีความตานทานตออันดับ คําตอบ 2 : วิธีโวลเตจดิไวเดอรแบบตัวความตานทาน คําตอบ 3 : วิธีโวลเตจดิไวเดอรแบบตัวเก็บประจุมีความตานทานหนวง คําตอบ 4 : วิธีโวลตมิเตอรแบบไฟฟาสถิต

ขอที่ : 143

ในการวัดแรงดันสูงดวยแกปทรงกลมเพื่อที่จะรักษาใหสนามไฟฟาระหวางทรงกลมมีลักษณะเกือบสม่ําเสมอ อัตราสวนระหวาง ระยะชองแกปตอเสนผานศูนยกลางของทรงกลมมีคาสูงสุดไดเทาใด

คําตอบ 1 : ไมเกิน 0.3 คําตอบ 2 : ไมเกิน 0.4 คําตอบ 3 : ไมเกิน 0.5 คําตอบ 4 : ไมเกิน 0.6

57 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 144 จากตารางมาตรฐานการวัดแรงดันสูงดวยแกปทรงกลมของ IEC คาแรงดันที่ไดแสดงดังในตารางดังกลาวเปนคาแรงดันที่สภาวะใด

คําตอบ 1 : 20 องศาเซลเซียส 760 mmHg คําตอบ 2 : 25 องศาเซลเซียส 760 mmHg คําตอบ 3 : 273 เคลวิน 760 mmHg คําตอบ 4 : 300 เคลวิน 760 mmHg

ขอที่ : 145 โดยทั่วไปนิยมใชโวลเตจดิไวเดอรชนิดใดวัดแรงดันสูงแบบกระแสตรง

คําตอบ 1 : แบบความตานทาน คําตอบ 2 : แบบตัวเก็บประจุ คําตอบ 3 : แบบความตานทานรวมกับตัวเก็บประจุ คําตอบ 4 : ถูกตองทุกคําตอบ

ขอที่ : 146 เครื่องวัดแรงต่ําที่ควรจะนํามาตอเขาตรงรอยตอระหวางภาคแรงสูงกับแรงต่ําของโวลเตจดิไวเดอรนั้นควรมีคุณลักษณะอยางใด

คําตอบ 1 : อิมพีแดนซทางเขาสูงมากๆ คําตอบ 2 : ใชกําลังไฟฟาสูงๆ คําตอบ 3 : อิมพีแดนซทางเขาต่ํามากๆ คําตอบ 4 : คําตอบ 2 และคําตอบ 3 ถูกตอง

ขอที่ : 147 ในการวัดกระแสอิมพัลสดวยชั้นท(shunt) คาของความตานทานจะถูกกําหนดดวยสิ่งใด

คําตอบ 1 : ชนิดของแรงดันอิมพัลส คําตอบ 2 : การระบายความรอนที่เกิดขึ้นเนื่องจากกระแสที่ไหลผานความตานทานของชั้นท คําตอบ 3 : คุณลักษณะของเครื่องวัด เชนออสซิลโลสโคป คําตอบ 4 : คําตอบ 2 และคําตอบ 3 ถูกตอง

ขอที่ : 148

58 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : 10 โวลต คําตอบ 2 : 100 โวลต คําตอบ 3 : 1000 โวลต คําตอบ 4 : 200 โวลต

ขอที่ : 149

คําตอบ 1 : 10 โวลต คําตอบ 2 : 100 โวลต คําตอบ 3 : 1000 โวลต คําตอบ 4 : 200 โวลต

ขอที่ : 150

คําตอบ 1 : 515 kV คําตอบ 2 : 364.2 kV คําตอบ 3 : 530.4 kV คําตอบ 4 : 381.9 kV

ขอที่ : 151

การใชแกปทรงกลม(sphere-gap) ทําการปรับเทียบ (calibration) โวลเตจดิไวเดอรวัดแรงดันอิมพัลสเพื่อการทดสอบ BIL คาแรงดันอิมพัลลที่แกปทรงกลมวัดไดเปนคาอะไรตอไปนี้

คําตอบ 1 : คายอดเบรกดาวน 0% คําตอบ 2 : คายอดเบรกดาวน 3% คําตอบ 3 : คายอดเบรกดาวน 50% คําตอบ 4 : คายอดเบรกดาวน 100% 59 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 152

คําตอบ 1 : 315.5 kV คําตอบ 2 : 460 kV คําตอบ 3 : 446.2 kV คําตอบ 4 : 474.2 kV

ขอที่ : 153 โวลเตจดิไวเดอรแบบความตานทานวัดแรงดันสูง DC เพื่อปองกันปญหาจากอุณหภูมิและความ ผิดพลาดคาที่วัด จึงควรเลือกความตานทาน R ที่วัดใหสูงพอเหมาะ โดยใชเงื่อนไขคือ

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 3 ถูกตอง

ขอที่ : 154

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

60 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 2 ถูกตอง

ขอที่ : 155 ถาตองการวัดแรงดันสูงกระแสตรง เราควรเลือกใชโวลเตจดิไวเดอรแบบใด จึงจะเหมาะสม

คําตอบ 1 : โวลเตจดิไวเดอรแบบความตานทาน คําตอบ 2 : โวลเตจดิไวเดอรแบบตัวเก็บประจุ คําตอบ 3 : โวลเตจดิไวเดอรแบบตัวเก็บประจุมีความตานทานหนวง คําตอบ 4 : โวลเตจดิไวเดอรแบบผสม R-C

ขอที่ : 156 ถาตองการวัดแรงดันสูงกระแสสลับ เราควรเลือกใชโวลเตจดิไวเดอรแบบใด จึงจะเหมาะสม

คําตอบ 1 : โวลเตจดิไวเดอรแบบความตานทาน คําตอบ 2 : โวลเตจดิไวเดอรแบบตัวเก็บประจ ุคําตอบ 3 : โวลเตจดิไวเดอรแบบตัวเก็บประจุมีความตานทานหนวง คําตอบ 4 : โวลเตจดิไวเดอรแบบผสม R-C

ขอที่ : 157 แฟกเตอรที่ตองคํานึงถึง ในการพิจารณาเลือกใชงานโวลเตจดิไวเดอรสําหรับวัดแรงดันสูงอิมพัลส มีอะไรบาง

คําตอบ 1 : คาอิมพีแดนซของโวลเตจดิไวเดอรจะตองไมสูงหรือต่ําจนเกินไป คําตอบ 2 : ผลตอบสนองทางเวลาและยานความถี่ตอบสนองของโวลเตจดิไวเดอร คําตอบ 3 : อัตราสวนแรงดันของโวลเตจดิไวเดอร คําตอบ 4 : ถูกทุกคําตอบ

ขอที่ : 158

61 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 3 ถูกตอง

ขอที่ : 159

62 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 160

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

63 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 161

เครื่องกําเนิดแรงดันสูงกระแสตรงขนาดพิกัด 600 kV, 30 mA ใชเทคนิควัดแรงดันสูงขาออกดวยตัวตานทานตออันดับมีขนาดพิกัด 600 เมกะโอหม ขณะทดสอบวัสดุฉนวนชนิดหนึ่งที่แอมมิเตอรวัดกระแสไหลผานตัวตานทานตออันดับอานคาได 0.2 mA ใหคํานวณหาคาแรงดันที่วัดในขณะนั้น มีคาเทาใด

คําตอบ 1 : 150 kV คําตอบ 2 : 40 kV คําตอบ 3 : 120 kV คําตอบ 4 : 180 kV

ขอที่ : 162

คําตอบ 1 : เพื่อลดผลของแรงดันเกินที่อาจเกิดขึ้นที่ภาคแรงต่ํา คําตอบ 2 : เพื่อใหผลการวัดมีความถูกตองแมนยํามากขึ้น คําตอบ 3 : เพื่อชดเชยผลของ burden ในวงจรการวัดดานแรงต่ําของหมอแปลงแรงดัน (VT)

64 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 4 : เพื่อปรับอัตราสวนแรงดันของหมอแปลงแรงดัน (VT)

ขอที่ : 163

ระบบวัดแรงดันสูงอิมพัลสดวยโวลเตจดีไวเดอรแบบความตานทานขนาดพิกัด 1500 kV ประกอบดวยความตานทานภาคแรงสูงเปนแบบ non-inductive ขนาด 20 กิโลโอหม สวนภาคแรงต่ําทําจากความตานทานแบบฟลมโลหะขนาด 200 โอหม, 2 Watt. จํานวน 10 ตัวตอขนานกัน ใหคํานวณหาคา scale factor ของระบบวัดดวยโวลเตจดีไวเดอรนี้ มีคาเทากับขอใด

คําตอบ 1 : 101 : 1 คําตอบ 2 : 285.7 : 1 คําตอบ 3 : 1001 : 1 คําตอบ 4 : 1401 : 1

ขอที่ : 164

การวัดแรงดันสูงกระแสสลับความถี่ 50 Hz โดยใชเทคนิค “Chubb and Fortescue method” ภาคแรงสูงใชตัวเก็บประจุขนาด 320 pF ที่แอมมิเตอรดานแรงต่ําอานคากระแสเฉลี่ยได 4 mA ใหคํานวณหาคาแรงดันสูงกระแสสลับที่วัดไดมีคาเทากับขอใด โดยสมมติวาแรงดันที่วัดเปนรูปคลื่นไซน

คําตอบ 1 : 125 kV คําตอบ 2 : 88.4 kV คําตอบ 3 : 176.8 kV คําตอบ 4 : 62.5 kV

ขอที่ : 165

คําตอบ 1 :

65 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 166 การวัดแรงดันสูงดวยแกปทรงกลมนั้นยังเปนที่นิยมใชอยูในหองปฏิบัติการไฟฟาแรงสูงทั่วๆ ไปเนื่องจากเหตุผลในขอใด

คําตอบ 1 : high accuracy คําตอบ 2 : high reliability คําตอบ 3 : simplicity คําตอบ 4 : คําตอบ 2 และคําตอบ 3 ถูกตอง

ขอที่ : 167 การวัดแรงดันสูงดวยชองวางทรงกลมนั้นระยะหางระหวางชองวางทรงกลมS มาตรฐานจํากัดไวเทาใด คิดเทียบกับเสนผานศูนยกลางของทรงกลม D

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 168

66 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ในการวัดแรงดันสูงกระแสสลับดวยอิเล็กโตรสแตติกโวลตมิเตอร (electrostatic voltmeter) นั้นคาแรงดันสูงที่อานไดเปนคาอะไร คําตอบ 1 : คายอด(peak) คําตอบ 2 : คายอดถึงยอด(peak to peak) คําตอบ 3 : คา r.m.s. คําตอบ 4 : คา เฉลี่ย(average)

ขอที่ : 169

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 170 นอกจากแบนวิดทแลว สิ่งที่จะตองพิจารณาในการวัดแรงดันอิมพัลสดวยโวลเตจดิไวเดอรชนิดตัวตานทาน คือ เวลาตอบสนองT (response time) ซึ่งสามารถคํานวณไดอยางไร

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

67 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 171

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 172

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

68 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 173

คําตอบ 1 : 0.93 , 362 .0 kV คําตอบ 2 : 0.95 , 370.5 kV คําตอบ 3 : 1.05 , 409.5 kV คําตอบ 4 : 0.9, 351.0 kV

ขอที่ : 174

คําตอบ 1 : 5 ns คําตอบ 2 : 10 ns คําตอบ 3 : 15 ns คําตอบ 4 : 20 ns

ขอที่ : 175

69 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : 4.6 MHz คําตอบ 2 : 10 MHz คําตอบ 3 : 12.2 MHz คําตอบ 4 : 14.6 MHz

ขอที่ : 176

คําตอบ 1 : 9.99 V คําตอบ 2 : 19.9 V คําตอบ 3 : 99.90 V คําตอบ 4 : 199.90 V

ขอที่ : 177

อิมพัลสโวลเตจดิไวเดอรชนิดความตานทานพิกัด 600 kV และมีสเกลแฟกเตอรแรงดัน (voltage ratio) เทากับ 1000:1 เมื่อใชโวลเตจดิไวเดอรวัดแรงดันอิมพัลส 450 kV โวลมิเตอรดานแรงต่ําจะอานไดเทาไร

คําตอบ 1 : 300 V คําตอบ 2 : 450 V คําตอบ 3 : 600 V คําตอบ 4 : 1200 V

ขอที่ : 178

คําตอบ 1 : คือแรงดันอิมพัลสที่ปอนแลวเกิดเบรกดาวนครึ่งหนึ่งของจํานวนครั้งที่ปอน คําตอบ 2 : คือการใชอิมพัลสที่แรงดัน 50% ของแรงดันทดสอบทั้งหมด คําตอบ 3 : คือการปอนแรงดันอิมพัลส 50% แลวเกิดเบรกดาวนทุกครั้ง คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

ขอที่ : 179 การตอตัวเก็บประจุอันดับของวงจร Chubb Fortescue เปนการวัดคาของแรงดันชนิดใด

70 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : คายอดของแรงดันกระแสตรง คําตอบ 2 : คายอดของแรงดันกระแสสลับ คําตอบ 3 : วัดคา r.m.s. ของกระแสสลับ คําตอบ 4 : วัดคาแรงดันอิมพัลส

ขอที่ : 180

คําตอบ 1 : สูงกวาคาที่ถูกตอง คําตอบ 2 : ต่ํากวาคาที่ถูกตอง คําตอบ 3 : ไมมีผลตอคาที่ถูกตอง คําตอบ 4 : ไมสามารถระบุได

ขอที่ : 181

คําตอบ 1 : 2 ระดับ คําตอบ 2 : 3 ระดับ คําตอบ 3 : 4 ระดับ คําตอบ 4 : กี่ระดับก็ได

ขอที่ : 182

71 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : เพิ่มขึ้น คําตอบ 2 : ลดลง คําตอบ 3 : เทาเดิม คําตอบ 4 : ไมเกิดเบรกดาวน

ขอที่ : 183

คําตอบ 1 : 10 ครั้ง คําตอบ 2 : 20 ครั้ง คําตอบ 3 : 30 ครั้ง คําตอบ 4 : 40 ครั้ง

ขอที่ : 184 โวลเตจดิไวเดอรแบบความตานทานเหมาะสําหรับใชวัดแรงดันสูงแบบใดมากที่สุด?

คําตอบ 1 : แรงดันสูงกระแสตรง คําตอบ 2 : แรงดันสูงกระแสสลับ คําตอบ 3 : แรงดันสูงอิมพัลส คําตอบ 4 : แรงดันสูงความถี่สูง

ขอที่ : 185 ขอใดไมใชลักษณะสมบัติของชองวางทรงกลม (Gap) วัดแรงดันสูง

คําตอบ 1 : เปนการวัดแรงดันคายอด (Peak Voltage) คําตอบ 2 : ใชวัดคาแรงดันสูง AC และ DC ได

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : เปนอุปกรณที่มีตัวชี้วัดบอกคาแรงดันเบรกดาวน

ขอที่ : 186

72 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 187

73 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : ตัวเก็บประจุยอยแรงสูง คําตอบ 2 : ตัวเก็บประจุมาตรฐาน คําตอบ 3 : ตัวเก็บประจุคาบเกี่ยว คําตอบ 4 : ตัวเก็บประจุสเตรย

ขอที่ : 188

74 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : เพิ่มคาคาปาซิแตนซใหโวลเตจดิไวเดอร คําตอบ 2 : ลดคาคาปาซิแตนซใหโวลเตจดิไวเดอร คําตอบ 3 : ปองกันฝุนละอองและกันฝนใหโวลเตจดิไวเดอร คําตอบ 4 : ลดความเครียดสนามไฟฟาบริเวณหัวและจุดตอใหโวลเตจดิไวเดอร

ขอที่ : 189

75 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : ตัวเก็บประจุแบบโวลเตจดิไวเดอร คําตอบ 2 : ตัวเก็บประจุมาตรฐาน คําตอบ 3 : ตัวเก็บประจุคาบเกี่ยว คําตอบ 4 : ตัวเก็บประจุสเตรย

ขอที่ : 190

76 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : ตัวเก็บประจุยอยแรงสูง คําตอบ 2 : ตัวเก็บประจุมาตรฐาน คําตอบ 3 : ตัวเก็บประจุคาบเกี่ยว คําตอบ 4 : ตัวเก็บประจุสเตรย

ขอที่ : 191

77 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : เครื่องกําเนิดแรงดันอิมพัลส คําตอบ 2 : โวลเตจดิไวเดอร คําตอบ 3 : วัสดุทดสอบ คําตอบ 4 : ออสซิโลสโคป

ขอที่ : 192

78 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : สายนําแรงดันสูง คําตอบ 2 : อิมพีแดนซภาคแรงดันต่ํา คําตอบ 3 : สายโคแอกเชียลวัดสัญญาณ คําตอบ 4 : ออสซิโลสโคป

ขอที่ : 193 ในสถานีไฟฟายอยระบบ 115/22 kV ใชอุปกรณใด? ในการวัดคาแรงดันสูงดานเขา

คําตอบ 1 : Capacitance Voltage Divider คําตอบ 2 : Resistance Voltage Divider คําตอบ 3 : Current Transformer คําตอบ 4 : Voltage Transformer

ขอที่ : 194 ในการวัดกระแสอิมพัลสที่มีคาสูงๆ อุปกรณการวัดใดที่เหมาะสมที่สุด

คําตอบ 1 : ชั้นทกระแสแบบความตานทาน คําตอบ 2 : ชั้นทกระแสแบบทรงกระบอกซอนแกนรวม คําตอบ 3 : หมอแปลงกระแส

79 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 4 : โรกอฟสกี้คอยล

ขอที่ : 195 ขอใดไมใชขอกําหนดของหมอแปลงกระแสสําหรับมิเตอรวัด

คําตอบ 1 : การเปลี่ยนแปลงของคากระแสตามคาเวลาในการวัด คําตอบ 2 : อัตราสวนของกระแส คําตอบ 3 : คาโหลดหรือเบอรเดน คําตอบ 4 : ระดับความแมนยําถูกตอง

ขอที่ : 196 การหาสเกลแฟกเตอรของโวลเตจดิไวเดอรสามารถหาไดหลายวิธี ขอใดตอไปนี้ไมเกี่ยวของ

คําตอบ 1 : การวัดคาแรงดันขาเขาและขาออกพรอมกัน คําตอบ 2 : การใชวงจรบริดจ คําตอบ 3 : การคํานวณจากคาอิมพีแดนซที่วัดได คําตอบ 4 : การวัดสัญญาณตอบสนองของฟงชันยูนิตสเต็ป

ขอที่ : 197 ขอใดไมใชปญหาในการออกแบบและสรางโวลเตจดิไวเดอรสําหรับวัดแรงดันสูง

คําตอบ 1 : เทคนิคการฉนวนภายใน คําตอบ 2 : โครงสรางของฉนวนภายนอก คําตอบ 3 : สนามไฟฟาที่เกิดขึ้นรอบองคประกอบ คําตอบ 4 : รูปแบบของการจัดวางและตอเชื่อมการวัด

ขอที่ : 198 การวัดแรงดันสูงและความถี่สูง ควรเลือกเทคนิคการวัดแบบใดที่เหมาะสม

คําตอบ 1 : หมอแปลงแรงดัน (VT) คําตอบ 2 : โวลเตจดิไวเดอรแบบความตานทาน คําตอบ 3 : ชองวางทรงกลมวัดแรงดันสูง คําตอบ 4 : วัดแรงดันตกครอมขดลวดอิมพีแดนซภาคแรงต่ําที่อนุกรมกับขดลวดคาอิมพีแดนภาคแรงสูง

ขอที่ : 199

80 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 200

เคเบิลแรงสูง XLPE ตัวนําในมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 4 cm. ตัวนํานอกเปนชีลดมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 12 cm. มีฟองกาซเล็กๆ 2 จุด จุดที่ 1 อยูที่รัศมี 2.5 cm. จุดที่ 2 อยูที่รัศมี 5 cm. ถาปอนแรงดันเพิ่มสูงขึ้นถึงระดับหนึ่งจะเกิด PD ที่ฟองกาซไหนกอน

คําตอบ 1 : เกิดขึ้นที่ฟองกาซทั้งสองพรอมกัน คําตอบ 2 : เกิดที่ฟองกาซจุดที่ 1 กอน คําตอบ 3 : เกิดที่ฟองกาซจุดที่ 2 กอน คําตอบ 4 : ไมเกิด PD ทั้งสองจุดจนกวาจะเกิดเบรกดาวน

ขอที่ : 201

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

81 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 202

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 203

คําตอบ 1 :

82 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 204

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 205

83 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : เกิดโคโรนาที่ผิวทรงกลมใน แลวเบรกดาวนเปนโคโรนาเบรกดาวน

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : คําตอบ 2 และคําตอบ 3 ถูกตอง

ขอที่ : 206

ระบบสงจายไฟฟากําลังแรงสูงระดับ EHV และ UHV สายตัวนําแตละเฟสจะเปนแบบสายควบ (bundled conductor) เชน ระบบ 500 kV จะใชสายควบ 4 เสน เปนตน ถามวาการใชสายควบมีวัตถุประสงคหลักสําคัญคืออะไร

คําตอบ 1 : เพื่อลดความเครียดสนามไฟฟาที่ผิวตัวนําควบใหนอยลง มิใหเกิดโคโรนาที่แรงดันใชงาน คําตอบ 2 : เพื่อลดคาความเหนี่ยวนํา L เพิ่มคาความจุไฟฟา C ของสายสง คําตอบ 3 : เพื่อลดคาความหนาแนนกระแส (current density, J) ใหนอยลง

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 207 การใชสายควบ (bundled conductor) ในการสงจายไฟฟากําลังที่ระดับแรงดันสูงกวา 300 kV มีผลดีอยางไร

คําตอบ 1 : กําลังไฟฟาสูญเสียเนื่องจากโคโรนาจะลดลง

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : แรงดันควบคุม (voltage regulation) และเสถียรภาพ (stability) ของระบบดีขึ้น คําตอบ 4 : ถูกทุกคําตอบ 84 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 208

คําตอบ 1 : เคเบิล 1 เก็บพลังงานอัดประจุไดมากกวาเคเบิล 2 คําตอบ 2 : เคเบิล 1 มีกําลังไฟฟาสูญเสียไดอิเล็กตริกสูงกวาเคเบิล 2

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 2 ถูกตอง

ขอที่ : 209 ปลอกฉนวนตัวนํา (bushing) แบบเก็บประจุจะใสแผนโลหะเปลวฝงแทรกเปนชั้นๆ ในลักษณะทรงกระบอกซอนแกนรวมตัวนําไวเพื่ออะไร

คําตอบ 1 : เพื่อใหปลอกฉนวนมีความจุไฟฟาสูงขึ้น คําตอบ 2 : เพื่อใหปลอกฉนวนมีความคงทนตอแรงดันเจาะทะลุเนื้อฉนวนไดสูงขึ้น คําตอบ 3 : เพื่อควบคุมการกระจายแรงดันตามผิวฉนวนใหสม่ําเสมอ ปองกันมิใหเกิด PD ตามผิวฉนวน คําตอบ 4 : เพื่อใหคาวาบไฟตามผิวปลอกฉนวนมีคาสูงกวาคาแรงดันเจาะทะลุตามแนวรัศมี

ขอที่ : 210 ลูกถวยฉนวนที่ใชยึดหรือรองรับตัวนําสายสงจายแรงสูง จะไดรับการออกแบบใหเกิดวาบไฟตามผิวงายกวาการเกิดเจาะทะลุเนื้อฉนวน เพราะอะไร

คําตอบ 1 : เพราะชวยใหสังเกตการเกิดผิดพรองบนลูกถวยไดงาย

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : เพราะถาใหเกิดเจาะทะลุผานเนื้อฉนวนลูกถวยแลว ลูกถวยฉนวนจะเสียสภาพการฉนวนอยางถาวร คําตอบ 4 : เพราะการเกิดวาบไฟตามผิวจะใชพลังงานนอยกวา

ขอที่ : 211

พวงลูกถวยแขวนที่ใชยึดหรือรองรับตัวนําสายสงแรงสูงระบบ 230 kV 50 Hz มีจํานวนลูกถวยในพวง 14 ลูก ยึดอยูกับแขนเสาไฟฟาที่ตอลงดิน พบวาแรงดันกระจายบนพวงลูกถวยไมเปนเชิงเสนทําใหคาแรงดันวาบไฟตามผิวของพวงต่ํากวาคาพิกัด เปนผลจากอะไร ในทางปฏิบัติแกไขปญหานี้อยางไร

85 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : เปนผลจากคาความจุไฟฟาของลูกถวยแตละลูกไมเทากัน แกโดยใชลูกถวยมีความจุแตละลูกเทากัน คําตอบ 2 : เปนผลจากคาความจุไฟฟาสเตรยของลูกถวยแตละลูกกับเสาไฟฟาและดิน แกโดยใสแหวนชีลด (shielding ring) ที่พวงลูกถวยยึดตัวนําแรงสูง คําตอบ 3 : เปนผลจากที่ลูกถวยแตละลูกอยูหางจากตัวนําแรงสูงไมเทากัน แกโดยใสเขาอารก (arcing horn) ที่พวงลูกถวยติดกับแขนเสาไฟฟา คําตอบ 4 : คําตอบ 2 และคําตอบ 3 ถูกตอง

ขอที่ : 212

พวงลูกถวยแขวน 14 ลูก ที่ใชยึดหรือรองรับตัวนําสายสงแรงสูงระบบ 230 kV 50 Hz ยึดอยูกับแขนเสาไฟฟาที่ตอลงดิน ถาเกิดแรงดันเกินเสิรจบนสายเฟสที่พวงลูกถวยยึดอยู เกิดวาบไฟตามผิวบนพวงลูกถวย ถามวาลูกถวยแขวนลูกใดเกิดวาบไฟตามผิวกอน

คําตอบ 1 : ลูกถวยแขวนลูกที่อยูติดกับแขนโครงเสาไฟฟาเกิดวาบไฟกอน คําตอบ 2 : ลูกถวยแขวนกลางพวงเกิดวาบไฟกอน คําตอบ 3 : ลูกถวยแขวนลูกที่อยูติดกับตัวนําแรงสูงเกิดวาบไฟกอน คําตอบ 4 : ลูกถวยทุกลูกในพวงเกิดวาบไฟพรอมกัน

ขอที่ : 213

พวงลูกถวยแขวน 14 ลูก ยึดหรือรองรับตัวนําสายสงแรงสูงระบบ 230 kV 50 Hz ยึดอยูกับแขนเสาไฟฟาที่ตอลงดิน ถาเกิดฟาผาลงที่ยอดเสาไฟฟาทําใหเกิดวาบไฟตามผิวยอนกลับ (backflashover) เปนผลใหลูกถวยแขวนในพวงเกิดเจาะทะลุ ถามวาลูกถวยแขวนลูกใดเกิดเจาะทะลุ

คําตอบ 1 : ลูกถวยแขวนลูกที่อยูติดกับแขนโครงเสาไฟฟาเกิดเจาะทะลุ คําตอบ 2 : ลูกถวยแขวนกลางพวงเกิดเจาะทะลุ คําตอบ 3 : ลูกถวยแขวนลูกที่อยูติดกับตัวนําแรงสูงเกิดเจาะทะลุ คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 3 ถูกตอง

ขอที่ : 214

ทรงกลมที่จะใชเปน ชีลดปองกันไมใหเกิด โคโรนา ที่ปลายขั้วของอุปกรณแรงสูง 115 kV รัศมีของ ชีลด ทรงกลมจะเปนเทาไรเปนอยางนอย ถาสนามไฟฟาเบรกดาวนคายอดของอากาศ = 25 kV/cm คําตอบ 1 : มากกวาหรือเทากับ 4.6 cm คําตอบ 2 : มากกวาหรือเทากับ 6.5 cm คําตอบ 3 : มากกวาหรือเทากับ 5.2 cm คําตอบ 4 : มากกวาหรือเทากับ 7.1 cm

ขอที่ : 215

86 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 216

คําตอบ 1 : 1/4 เทา คําตอบ 2 : 4 เทา คําตอบ 3 : 2 เทา คําตอบ 4 : เทากัน

ขอที่ : 217 ถานําแผนกระจกหนา 1.0 cm ไปคั่นระหวางอิเล็กโตรดทรงกลมกับระนาบทองแดงที่ตอลงดินจะทําใหเกิดอะไรขึ้น

คําตอบ 1 : ทําใหเกิดดิสชารจตามผิวกระจก คําตอบ 2 : มีผลใหฉนวนโดยรวมดีขึ้น คําตอบ 3 : มีผลทําใหเกิดโคโรนา คําตอบ 4 : มีผลทําใหเกิด PD ภายในเนื้อกระจก

ขอที่ : 218 ปลอกฉนวนตัวนําแบบตัวเก็บประจุ จะมีแผนโลหะเปลวฝงแทรกอยูเปนชั้นๆในเนื้อฉนวน เพื่อประโยชนอะไร 87 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : เพื่อไมใหเกิดโคโรนาดิสชารจ คําตอบ 2 : เพื่อทําใหทนแรงดันเจาะทะลุไดสูงขึ้น คําตอบ 3 : เพื่อกระจายแรงดันตามผิวฉนวนใหสม่ําเสมอดีขึ้น คําตอบ 4 : เพื่อทําใหไมเกิด ดิสชารจ ภายใน

ขอที่ : 219 สนามไฟฟาอาจแบงเปนแบบสม่ําเสมอ แบบไมสม่ําเสมอเล็กนอย และแบบไมสม่ําเสมอสูง อะไรเปนตัวกําหนดลักษณะสนามไฟฟาทั้ง 3 แบบดังกลาว

คําตอบ 1 : แรงดันที่ตกครอมอิเล็กโตรด คําตอบ 2 : กระแสที่ไหลผานฉนวน คําตอบ 3 : ลักษณะของอิเล็กโตรด คําตอบ 4 : ชนิดของฉนวน

ขอที่ : 220 ระบบอิเล็กโตรดที่พอเหมาะเมื่อความเครียดสนามไฟฟาถึงคาวิกฤตจะเกิดอะไรขึ้น

คําตอบ 1 : จะเกิดเบรกดาวนแบบโดยตรง คําตอบ 2 : จะเกิดเบรกดาวนแบบโคโรนา คําตอบ 3 : จะเกิดโคโรนาแตไมเกิดเบรกดาวน คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบที่ถูกตอง

ขอที่ : 221 สายควบคืออะไร ทําไมจึงตองใชสายควบ

คําตอบ 1 : สายตัวนําของแตละเฟสของสายสงแรงสูงที่ประกอบดวยสายตัวนําหลายเสน เพี่อใหสงกําลังไฟฟาไดสูงขึ้น คําตอบ 2 : สายตัวนําของแตละเฟสของสายสงแรงสูงที่ประกอบดวยสายตัวนําหลายเสน ใชสําหรับลดคาความตานทาน คําตอบ 3 : สายตัวนําของแตละเฟสของสายสงแรงสูงที่ประกอบดวยตัวนําหลายเสน ใชสําหรับลดการเกิดโคโรนาที่ผิวตัวนํา คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 3 ถูกตอง

ขอที่ : 222 ทําไมแรงดันกระจายบนพวงลูกถวยจึงไมเทากันทุกลูก ในทางปฏิบัติมีวิธีแกไขอยางไร

คําตอบ 1 : เนื่องจากลูกถวยแตละลูกมีคุณสมบัติทางไฟฟาเปนตัวเก็บประจุที่ตางกัน แกไขโดยการใชสายดิน คําตอบ 2 : เนื่องจากลูกถวยแตละลูกมีคุณสมบัติทางไฟฟาเปนตัวเก็บประจุ แกไขโดยการใชสายควบ คําตอบ 3 : เนื่องจากลูกถวยแตละลูกมีคุณสมบัติทางไฟฟาเปนตัวเก็บประจ ุแกไขโดยการใสแหวนชีลด คําตอบ 4 : เนื่องจากลูกถวยแตละลูกมีคุณสมบัติทางไฟฟาเปนตัวประจุ แกไขโดยการใสเขาอารก 88 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 223 ทําไมขดลวดหมอแปลงจึงมีแรงดันกระจายไมสม่ําเสมอเมื่อไดรับแรงดันเกินเสิรจฟาผา มีวิธีแกไข อยางไร

คําตอบ 1 : เนื่องจากขดลวดหมอแปลงมีคุณสมบัติทางไฟฟาเสมือนเปนวงจรตาขายคาอิมพีแดนซ แกไขโดยการใชเพิ่มจํานวนรอบของขดลวดรอบตนๆ คําตอบ 2 : เนื่องจากขดลวดหมอแปลงมีคุณสมบัติทางไฟฟาเสมือนเปนวงจรตาขายคาเก็บประจ ุแกไขโดยการใสชีลดไวที่ขอบบนสุดของขดลวดแรงสูง คําตอบ 3 : เนื่องจากขดลวดหมอแปลงมีคุณสมบัติทางไฟฟาเสมือนเปนวงจรตาขายคาเก็บประจุ แกไขโดยการเพิ่มฉนวนของขดลวดรอบตนๆ คําตอบ 4 : คําตอบ 2 และคําตอบ 3 ถูกตอง

ขอที่ : 224 ในสนามไฟฟาหนึ่ง ที่ใดความหนาแนนของฟลักซไฟฟา D มากที่สุด ที่นั้นคือ

คําตอบ 1 : ฉนวนที่นั้นมีความคงทนทางไฟฟา(dielectric strength)สูงที่สุด คําตอบ 2 : ฉนวนที่นั้นมีความเครียดสนามไฟฟา(electric field stress)สูงที่สุด คําตอบ 3 : ฉนวนที่นั้นมีศักยไฟฟา(electric potential)สูงที่สุด คําตอบ 4 : ฉนวนที่นั้นมีแฟกเตอรสนามไฟฟา(field factor)สูงที่สุด

ขอที่ : 225

คําตอบ 1 : 15.12 kV/cm คําตอบ 2 : 19.59 kV/cm คําตอบ 3 : 21.38 kV/cm คําตอบ 4 : 37.04 kV/cm

ขอที่ : 226 การลดการเกิดโคโรนาที่ผิวขั้วไฟฟาแรงสูง วิธีใดเปนไปไดมากที่สุด

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 : ลดพื้นที่ผิวของขั้วไฟฟาใหไดมากที่สุด คําตอบ 3 : เพิ่มพื้นที่ผิวของขั้วไฟฟาใหไดมากที่สุด

89 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 4 : เปลี่ยนชนิดของโลหะที่ใชทําขั้วไฟฟา

ขอที่ : 227

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 228 สนามไฟฟาเฉลี่ยของแกปคืออะไร

คําตอบ 1 : อัตราสวนระหวางความตางศักยไฟฟาของแกปตอระยะหางของแกป คําตอบ 2 : อัตราสวนระหวางระยะหางของแกปตอความตางศักยไฟฟา คําตอบ 3 : ผลคูณระหวางระยะหางของแกปกับความตางศักยไฟฟา คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 229 สนามไฟฟาของแกปชนิดใดตอไปนี้ เปนสนามไฟฟาแบบไมสม่ําเสมอมากที่สุด เมื่อรัศมีอิเล็กโตรดและระยะแกปเทากัน

คําตอบ 1 : conductor-plane คําตอบ 2 : rod-plane คําตอบ 3 : rod-rod คําตอบ 4 : sphere-sphere

ขอที่ : 230 90 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอใดตอไปนี้ถูกตองเมื่อระยะแกปเทากันและเกิดเบรกดาวนโดยตรง

คําตอบ 1 : สนามไฟฟาแบบสม่ําเสมอและแบบไมสม่ําเสมอ ไมมีผลกับขนาดของแรงดันในการเกิดเบรกดาวน คําตอบ 2 : สนามไฟฟาแบบสม่ําเสมอตองการแรงดันสูงกวาในการเกิดเบรกดาวนเมื่อเทียบกับสนามไฟฟาแบบไมสม่ําเสมอ คําตอบ 3 : สนามไฟฟาแบบไมสม่ําเสมอตองการแรงดันสูงกวาในการเกิดเบรกดาวนเมื่อเทียบกับสนามไฟฟาแบบสม่ําเสมอ คําตอบ 4 : ไมสามารถระบุได

ขอที่ : 231 ฉนวนในขอใดตอไปนี้เมื่อเสียสภาพการเปนฉนวนแลวจะเสียสภาพอยางถาวร

คําตอบ 1 : อากาศ คําตอบ 2 : PTFE คําตอบ 3 : น้ํามัน คําตอบ 4 : SF6

ขอที่ : 232 ขอใดตอไปนี้ถูกตองสําหรับการหักเหแนวสนามไฟฟาที่มีรอยตอของฉนวนตางชนิด

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : ถูกทั้ง คําตอบ 2 และคําตอบ 3

ขอที่ : 233 นิยามความสัมพันธระหวางความเครียดสนามไฟฟา (E) และความหนาแนนของฟลักซไฟฟา (D) มีความสัมพันธกันอยางไร

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

91 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 234

คําตอบ 1 : แบบทรงกลมซอนศูนยกลางรวม คําตอบ 2 : แบบทรงกระบอกซอนแกนรวม คําตอบ 3 : แบบทรงกลมเดี่ยวในอากาศหรือที่วาง คําตอบ 4 : แบบทรงกระบอกคูขนาน

ขอที่ : 235

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 236

92 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 237

ในการออกแบบขั้วหมอแปลงแรงสูง 200 kV 50 Hz ถาตองการใสชีลดปองกันการเกิดดิสชารจที่ขั้วแรงสูง จงคํานวณหาขนาดเสนผานศูนยกลางของชีลดทรงกลม โดยกําหนดใหอากาศมีคาความคงทนตอแรงดันเบรกดาวน (electric breakdown strength) = 25 kV/cm คําตอบ 1 : 8.0 ซม. คําตอบ 2 : 11.3 ซม. คําตอบ 3 : 16.0 ซม. คําตอบ 4 : 22.6 ซม.

ขอที่ : 238

คําตอบ 1 : 38.19 % คําตอบ 2 : 48.19 % คําตอบ 3 : 58.19 % คําตอบ 4 : 68.19 %

93 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 239 สายเคเบิลแกนเดี่ยวขนาด 12 kV มีเสนผานศูนยกลางของชีลด 10 เซนติเมตร ใหคํานวณหาเสนผานศูนยกลางของตัวนําทองแดงเปนเซนติเมตร

คําตอบ 1 : 10/e คําตอบ 2 : e/10 คําตอบ 3 : 10 e คําตอบ 4 : 1e

ขอที่ : 240

สายเคเบิลใชกับแรงดันพิกัด 12 kV มีเสนผานศูนยกลาง 12 เซนติเมตร ถาเสนลวดตัวนําทองแดงมีเสนผานศูนยกลาง 4 เซนติเมตร ใหคํานวณหาคาสนามไฟฟาสูงสุดของฉนวนเคเบิล

คําตอบ 1 : 5.46 kV/m คําตอบ 2 : 6.59 kV/m คําตอบ 3 : 4.0 kV/m คําตอบ 4 : 12.0 kV/m

ขอที่ : 241 สายเคเบิลใชกับแรงดันขนาด 12 kV มีเสนผานศูนยกลาง 12 เซนติเมตร ถาเสนลวดตัวนําทองแดงมีเสนผานศูนยกลาง 4 cm ใหคํานวณหาคาสนามไฟฟาต่ําสุดของฉนวนเคเบิล

คําตอบ 1 : 1.82 kV/m คําตอบ 2 : 2.0 kV/m คําตอบ 3 : 1.33 kV/m คําตอบ 4 : 4.0 kV/m

ขอที่ : 242 สายเคเบิลใชกับแรงดันขนาด 12 kV มีเสนผานศูนยกลาง 12 เซนติเมตร ถาเสนลวดตัวนําทองแดงมีเสนผานศูนยกลาง 4 cm ใหคํานวณหาคาสนามไฟฟาต่ําสุดของฉนวนเคเบิล

คําตอบ 1 : 1.82 kV/m คําตอบ 2 : 2.0 kV/m คําตอบ 3 : 1.33 kV/m คําตอบ 4 : 4.0 kV/m

ขอที่ : 243

94 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : 776.5 kV คําตอบ 2 : 989.8 kV คําตอบ 3 : 1098 kV คําตอบ 4 : 1500 kV

ขอที่ : 244

คําตอบ 1 : แรงดันที่ใกลถึงจุดเบรกดาวน คําตอบ 2 : แรงดันที่ทําใหโคโรนาเริ่มเกิด คําตอบ 3 : แรงดันที่เริ่มเกิดแสงสลัว คําตอบ 4 : แรงดันที่เริ่มเกิดแสงและเสียงฮีสซิ่ง

ขอที่ : 245 off – set inception voltage หมายถึง

คําตอบ 1 : แรงดันที่ใกลถึงจุดเบรกดาวน คําตอบ 2 : แรงดันที่โคโรนาเกิดขึ้นแลวหายไปเมื่อลดแรงดันถึงระดับหนึ่ง คําตอบ 3 : แรงดันที่เริ่มเกิดแสงสลัว คําตอบ 4 : แรงดันที่เริ่มเกิดเสียงฮีสซิ่ง

ขอที่ : 246 การออกแบบอิเล็กโตรดที่ใชกาซอัดความดันเปนฉนวนเพื่อมิใหเกิดดีสชารจบางสวน(PD)จะตองมีเงื่อนไขอยางไรไดบาง

คําตอบ 1 : ใหอิเล็กโตรดมีมิติที่พอเหมาะ (optimum dimension) คําตอบ 2 : ใหความเครียดสนามไฟฟาสูงสุดที่เกิดขึ้นต่ํากวาคาวิกฤต คําตอบ 3 : ใหความดันกาซสูงกวา ความดันที่ PD เริ่มเกิด(PC) คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 247

95 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

เพื่อปองกันไมใหเกิดโคโรนาควรเลือกใชอิเล็กโตรดแบบใด

คําตอบ 1 : แบบ rod- plate คําตอบ 2 : แบบ conductor – plate คําตอบ 3 : แบบ sphere – plate

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 248

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 249

คําตอบ 1 : ไมได เพราะเกิดเบรกดาวนโดยตรงกอน คําตอบ 2 : ไมได เพราะเกิดโคโรนาเบรกดาวนกอน

96 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 3 : ได แตเกิดโคโรนาไมเกิดเบรกดาวน คําตอบ 4 : ได ไมเกิดอะไรขึ้นในแกป

ขอที่ : 250

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 251

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

97 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 252

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 253

คําตอบ 1 : โคโรนาเบรกดาวน คําตอบ 2 : เบรกดาวนโดยตรง คําตอบ 3 : ระบุไมไดเพราะขึ้นอยูกับอุณหภูมิ คําตอบ 4 : ระบุไมไดเพราะขึ้นอยูกับความสูงเหนือระดับน้ําทะเล

98 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 254 จากการทดสอบคาสนามไฟฟาพบวาทรงกลมกับแผนระนาบนั้นจัดอยูในกลุมสนามไฟฟาแบบใด

คําตอบ 1 : สนามไฟฟาสม่ําเสมอ คําตอบ 2 : สนามไฟฟาสม่ําเสมอสูง คําตอบ 3 : สนามไฟฟาไมสมําเสมอเล็กนอย คําตอบ 4 : สนามไฟฟาไมสม่ําเสมอสูง

ขอที่ : 255

ในการทดสอบเปรียบเทียบกัน 2 กรณี คือ กรณีที่ 1 ปรับคาแรงดันกระแสสลับ 10 kV ที่ระนาบอิเล็กโตรดหางกัน 1 cm และกรณีที่ 2 ปรับคาแรงดันกระแสสลับ 20 kV ที่ระนาบอิเล็กโตรดแบบเดียวกัน ระยะหาง 2 cm โดยกําหนดใหมีความสม่ําเสอของอิเล็กโตรดเปนแบบสม่ําเสม อยากทราบวาคาสนามไฟฟาทั้งสองกรณีเปนอยางไร

คําตอบ 1 : กรณีที่ 1 มากกวากรณีที่ 2 คําตอบ 2 : กรณีที่ 2 มากกวากรณีที่ 1 คําตอบ 3 : กรณีที่ 1 เทากับกรณีที่ 2 คําตอบ 4 : ไมสามาคํานวณได

ขอที่ : 256

เมื่อเงื่อนไขของแรงดันเริ่มตนเปลี่ยนแปลงจะไมเกิดเบรกดาวนหากแตเริ่มเกิดโคโรนา ถาจะใหเกิดการเบรกดาวนจะตองเพิ่มแรงดันเริ่มตนใหสูงขึ้นอีก การเกิดเบรกดาวนนี้คือสมการขอใด?

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 257

99 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอใดคือนิยามของ “ฉนวนกาซ”

คําตอบ 1 : ฉนวนเปลี่ยนเปนสภาพนําไฟฟาและคงอยู เสียสภาพแบบไมถาวร คําตอบ 2 : ฉนวนจะเสียสภาพการเปนฉนวนและกลับคืนสูสภาพฉนวน แตอาจมีสิ่งเจือปนอยู คําตอบ 3 : ฉนวนจะเสียสภาพเมื่อเกิดการเบรกดาวนและไมสามารถคืนสภาพฉนวน เปนการเสียสภาพแบบถาวร คําตอบ 4 : ฉนวนจะเสียสภาพเมื่อเกิดการเบรกดาวนและคืนสูสภาพฉนวน และเกิดสภาวะสุญญากาศเปลี่ยนแปลง

ขอที่ : 258 ขอใดคือนิยามของ “ฉนวนแข็ง”

คําตอบ 1 : ฉนวนเปลี่ยนเปนสภาพนําไฟฟาและคงอยู เสียสภาพแบบไมถาวร คําตอบ 2 : ฉนวนจะเสียสภาพการเปนฉนวนและกลับคืนสูสภาพฉนวน แตอาจมีสิ่งเจือปนอยู คําตอบ 3 : ฉนวนจะเสียสภาพเมื่อเกิดการเบรกดาวนและไมสามารถคืนสภาพฉนวน เปนการเสียสภาพแบบถาวร คําตอบ 4 : ฉนวนจะเสียสภาพเมื่อเกิดการเบรกดาวนและคืนสูสภาพฉนวน และเกิดสภาวะสุญญากาศเปลี่ยนแปลง

ขอที่ : 259 ขอใดคือนิยามของ “ฉนวนเหลว”

คําตอบ 1 : ฉนวนเปลี่ยนเปนสภาพนําไฟฟาและคงอยู เสียสภาพแบบไมถาวร คําตอบ 2 : ฉนวนจะเสียสภาพการเปนฉนวนและกลับคืนสูสภาพฉนวน แตอาจมีสิ่งเจือปนอยู คําตอบ 3 : ฉนวนจะเสียสภาพเมื่อเกิดการเบรกดาวนและไมสามารถคืนสภาพฉนวน เปนการเสียสภาพแบบถาวร คําตอบ 4 : ฉนวนจะเสียสภาพเมื่อเกิดการเบรกดาวนและคืนสูสภาพฉนวน และเกิดสภาวะสุญญากาศเปลี่ยนแปลง

ขอที่ : 260

100 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 261

101 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 262

102 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : คากระแสที่ไหลในเนื้อฉนวนแตละชั้น คําตอบ 2 : อัตราสวนความเครียดสนามไฟฟาสูงสุด คําตอบ 3 : แรงดันไฟฟาที่กระจายในแตละชั้น คําตอบ 4 : สนามไฟฟาที่กระจายในแตละชั้นฉนวน

ขอที่ : 263

103 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : คาความเครียดสนามไฟฟาทั้งสองขางเทากัน คําตอบ 2 : คาความเครียดสนามไฟฟามีคาเทากับศูนย คําตอบ 3 : คาความเครียดสนามไฟฟาต่ําที่สุด คําตอบ 4 : คาความเครียดสนามไฟฟาสูงที่สุด

ขอที่ : 264

104 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : เบรกดาวนพรอมกันทั้งสองชั้น

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : ไมมีชั้นใดเบรกดาวนเลย

ขอที่ : 265

คําตอบ 1 : Glass คําตอบ 2 : Mica foil คําตอบ 3 : Mineral Oil คําตอบ 4 : Epoxy Casting Resin

ขอที่ : 266 ขอใดไมใชลักษณะสมบัติที่สําคัญนอยที่สุด ในการออกแบบรูปทรงของลูกถวยฉนวนไฟฟา

คําตอบ 1 : ระยะรั่ว คําตอบ 2 : ระยะปองกัน คําตอบ 3 : ระยะอารก คําตอบ 4 : ระยะ Cap และ Pin

ขอที่ : 267 เนื้อฉนวนแบบใดที่ใชทําลูกถวยฉนวนไฟฟาในประเทศไทยมากที่สุด

คําตอบ 1 : โพลิเมอร คําตอบ 2 : ซิลิกอน คําตอบ 3 : แกวเหนียว คําตอบ 4 : พอรสเลน

105 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 268 ปจจุบันสายใตดินที่ใชในระบบจําหนายกําลังไฟฟาในประเทศไทย มักเลือกสายใตดินที่ฉนวนดวยวัสดุใด

คําตอบ 1 : HDPE คําตอบ 2 : Polymer คําตอบ 3 : Oil Filled คําตอบ 4 : XLPE

ขอที่ : 269

ในระบบจําหนายแรงดันสูงในอากาศ ระดับแรงดัน 115 kV จะใชลูกถวยแขวนเสนผานศูนยกลาง 25 cm. จํานวนลูกถวยที่ใชคือ 7 ลูก อยากทราบวาลูกถวยลูกใดรับแรงดันตกครอมสูงสุด

คําตอบ 1 : ลูกถวยลูกที่ 4 คําตอบ 2 : ลูกถวยลูกที่ติดกับแขนของทาวเวอร คําตอบ 3 : ลูกถวยลูกที่ติดกับสายจําหนาย คําตอบ 4 : ลูกถวยทุกลูกรับแรงดันตกครอมเทากันหมด

ขอที่ : 270

คําตอบ 1 : 115 kV คําตอบ 2 : 161 kV คําตอบ 3 : 228 kV คําตอบ 4 : 69 kV

ขอที่ : 271 ขบวนการอะไรตอไปนี้เปนกระบวนการ ที่เกิดขึ้นที่ผิวคะโถด

คําตอบ 1 : ขบวนการ Townsend ionization ขั้นตน คําตอบ 2 : ขบวนการ Townsend ionization ขั้นสอง คําตอบ 3 : โฟโตไอออไนเซชัน คําตอบ 4 : เทอรมัลไอออไนเซชัน

ขอที่ : 272

106 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

กฎของ Paschen’s law กลาวไววา คําตอบ 1 : แรงดัน เบรกดาวน จะมีคาเพิ่มขึ้น เมื่อความดันเพิ่มขึ้น คําตอบ 2 : แรงดัน เบรกดาวน จะมีคาลดลง เมื่อระยะหางลดลง คําตอบ 3 : แรงดัน เบรกดาวน จะมีคาคงที่ เมื่อผลคูณของความดันและระยะหางคงที ่คําตอบ 4 : แรงดัน เบรกดาวน จะมีคาคงที่ เมื่อผลคูณของอุณหภูมิและระยะหางคงที่

ขอที่ : 273 กลไกเบรกดาวนของ Townsend ไมสามารถอธิบายปรากฏการณฟาผาได เพราะวากลไกเบรกดาวนของTownsend

คําตอบ 1 : ใชกับระยะแกปกวางมากๆ ไมได คําตอบ 2 : ใชกับสนามไฟฟาสม่ําเสมอเทานั้น คําตอบ 3 : ใชกับคาความดันคงที่ คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 2 ถูกตอง

ขอที่ : 274

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 275 107 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

เมื่ออุณหภูมิของกาชสูงขึ้นแรงดันเบรกดาวนมีคาลดลงหรือเพิ่มขึ้นเพราะเหตุใด

คําตอบ 1 : ลดลง เพราะ กาซมีพลังงานจลนเพิ่มขึ้น ทําใหโมเลกุลของกาซเคลื่อนที่ชนกันแลวมีโอกาสเกิดไอออไนเซชันมากขึ้น คําตอบ 2 : ลดลง เพราะ กาซมีพลังงานจลนลดลงทําใหโมเลกุลของกาซเคลื่อนที่ชนกันแลวมีโอกาสเกิดไอออไนเซชันลดลง คําตอบ 3 : เพิ่มขึ้น เพราะ กาซมีพลังงานจลนเพิ่มขึ้น ทําใหโมเลกุลของกาซเคลื่อนที่ชนกันแลวมีโอกาสเกิดไอออไนเซชันมากขึ้น คําตอบ 4 : ไมมีผลตอแรงดันเบรกดาวน

ขอที่ : 276 เมื่อความดันของอากาศสูงขึ้นกวาความดันบรรยากาศ(หรือมากกวาจุดต่ําสุดของ Paschen) แรงดันเบรกดาวนของกาซมีคาเพิ่มขึ้นหรือลดลงเพราะเหตุใด

คําตอบ 1 : ลดลง เพราะกาซมีระยะทางอิสระเฉลี่ยเพิ่มขึ้น ความเร็วในการชนกันของโมเลกุลของกาซกับอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น มีโอกาสเกิดไอออไนเซชันลดลง คําตอบ 2 : เพิ่มขึ้น เพราะกาซมีระยะทางอิสระเฉลี่ยลดลง ความเร็วในการชนกันของโมเลกุลของกาซกับอิเล็กตรอนลดลง มีโอกาสเกิดไอออไนเซชันลดลง คําตอบ 3 : เพิ่มขึ้น เพราะกาซมีระยะทางอิสระเฉลี่ยเพิ่มขึ้น ความเร็วในการชนกันของโมเลกุลของกาซกับอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น มีโอกาสเกิดไอออไนเซชันเพิ่มขึ้น คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ เพราะความดันอากาศไมมีผลตอการเกิดเบรกดาวนของอากาศ

ขอที่ : 277

คําตอบ 1 : คาเฉลี่ยของการชนแลวเกิดเมตาสเตเบิ้ล คําตอบ 2 : คาเฉลี่ยของการชนของอิเล็กตรอน 1 ตัวกับโมเลกุลของกาซแลวเกิดไอออไนเซชันตอระยะทาง 1 ซม. คําตอบ 3 : คาเฉลี่ยของการเกิดไอออนบวกในแกป จากพลังงานควอนตัม (quantum) คําตอบ 4 : คาเฉลี่ยของการชนของไอออนบวกกับโมเลกุลที่เปนกลาง แลวทําใหเกิดไอออไนเซชันตอระยะทาง 1 ซม.

ขอที่ : 278

คําตอบ 1 : คาเฉลี่ยของการชนของอิเล็กตรอน 1 ตัวกับโมเลกุลของกาซ แลวเกิดไอออไนเซชันตอระยะทาง 1 ซม. คําตอบ 2 : คาเฉลี่ยของการเกิดไอออนบวกในแก็ปจากพลังงานควอนตัม คําตอบ 3 : คาเฉลี่ยของการชนของโมเลกุลของอิออนบวกกับอะตอมที่เปนกลาง แลวทําใหเกิดไอออไนเซชันตอระยะทาง 1 ซม. คําตอบ 4 : คาเฉลี่ยของการเกิดอิเล็กตรอนขั้น 2 จากการชนของไอออนบวก 1 ตัวที่คะโถดแลวทําใหเกิดไอออไนเซชันตอการเกิดอิเล็กตรอน 1 ตัวในแกป

ขอที่ : 279 เพราะเหตุใดทฤษฎีของทาวนเซนดไมสามารถอธิบายปรากฎการณเบรกดาวนของรูปคลื่นอิมพัลสที่ระยะชองวางแบบกวางได

คําตอบ 1 : เวลาที่เกิดการเบรกดาวนนอยกวาเวลาที่อิเล็กตรอนวิ่งจากคะโถดไปอะโนดโดยที่ไมชนโมเลกุลของกาซเลย

108 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 2 : เพราะทฤษฎีทาวเซนดใชอธิบายเฉพาะแรงดันกระแสตรงเทานั้น คําตอบ 3 : การชนของไอออนบวกที่คะโถดไมสามารถทําใหเกิดการปลดปลอยอิเล็กตรอนออกมาได คําตอบ 4 : ถูกทั้งคําตอบ 1 และคําตอบ 2

ขอที่ : 280 เบรกดาวนโดยตรง (direct breakdown) คืออะไร

คําตอบ 1 : เบรกดาวนโดยตรงเกิดกับอิเล็กโตรดที่ใหสนามไฟฟาที่มีความสม่ําเสมอหรือไมสม่ําเสมอเล็กนอย คําตอบ 2 : เบรกดาวนโดยตรงคือเบรกดาวนที่ไมมีโคโรนา คําตอบ 3 : เบรกดาวนโดยตรงคือเบรกดาวนของแรงดันกระแสตรง(DC)เทานั้น คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 2 ถูกตอง

ขอที่ : 281 โคโรนาเบรกดาวน(corona breakdown) คืออะไร

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 : โคโรนาเบรกดาวนเกิดกับอิเล็กโตรดที่ใหสนามไฟฟาที่มีความสม่ําเสมอหรือไมสม่ําเสมอสูง จะมีโคโรนาเกิดกอนเบรกดาวน คําตอบ 3 : โคโรนาเบรกดาวนคือเบรกดาวนของสนามไฟฟาไมสม่ําเสมอในอากาศเทานั้น คําตอบ 4 : คําตอบ 2 และคําตอบ 3 ถูกตอง

ขอที่ : 282 อนุภาคประจุ (charge carrier) คือ

คําตอบ 1 : อิเล็กตรอนอิสระ คําตอบ 2 : ไอออนบวก หรือ ไอออนลบ คําตอบ 3 : นิวตรอน คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 2 ถูกตอง

ขอที่ : 283 กระบวนการหลักที่ทําใหเกิดอนุภาคประจุ นําไปสูเบรกดาวนในสุญญากาศคือ

คําตอบ 1 : photo ionization คําตอบ 2 : collision ionization คําตอบ 3 : field emission คําตอบ 4 : thermal emission

109 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 284 เหตุใดกาซไฟฟาลบ(electro negative gas)จึงเปนฉนวนไฟฟาที่ดี

คําตอบ 1 : โมเลกุลกาซไฟฟาลบสามารถจับอิเล็กตรอนอิสระไดกลายเปนไอออนลบยับยั้งการเกิดไอออไนเซชัน คําตอบ 2 : สัมประสิทธิ์การไอออไนเซชันประสิทธิผล(effective value)ที่ความเขมสนามไฟฟาต่ําๆมีคาเปนลบ คําตอบ 3 : เปนกาซเฉื่อยที่ไมมีการไอออไนเซชันจึงไมมีอะวาลานชอิเล็กตรอน คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 2 ถูกตอง

ขอที่ : 285

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : คําตอบ 2 และคําตอบ 3 ถูกตอง

ขอที่ : 286 การเกิดดีสชารจเบรกดาวนในแกปกาซที่เรียกวาเบรกดาวนสมบูรณ คืออะไร

คําตอบ 1 : คือการเกิดเบรกดาวนตลอดแกปที่เชื่อมโยงระหวางอิเล็กโตรด คําตอบ 2 : คือการเกิดเบรกดาวนที่มีกระแสประจุไหลผานแกปเปน ไมโครแอมแปร มีแรงดันครอมแกปเปนศูนย คําตอบ 3 : คือการเกิดเบรกดาวนในสนามไฟฟาสม่ําเสมอเทานั้น คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 287 เบรกดาวน (BD) สมบูรณที่เปนเบรกดาวนโดยตรงคืออะไร

คําตอบ 1 : คือ BD ในแกปที่มีสนามไฟฟาสม่ําเสมอหรือไมสม่ําเสมอเล็กนอย คําตอบ 2 : คือ BD ที่มีโคโรนาเกิดขึ้นกอนในสนามไฟฟาไมสม่ําเสมอสูง

110 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 3 : คือ BD ที่เกิดขึ้นในแกปใดๆเมื่อปอนแรงดัน AC 50 Hz หรือ DC คําตอบ 4 : คือ BD ที่เกิดขึ้นในแกปที่มิติพอเหมาะ (optimum dimension) เทานั้น

ขอที่ : 288 เบรกดาวน (BD) แบบโคโรนา (corona breakdown) คือ

คําตอบ 1 : คือ BD สมบูรณโดยมีโคโรนาเกิดขึ้นกอน BD คําตอบ 2 : คือ BD ที่เกิดในสนามไฟฟาไมสม่ําเสมอเล็กนอย คําตอบ 3 : คือ BD ที่มีโคโรนา คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 289 เบรกดาวน (BD) เพียงบางสวน (partial breakdown) ที่เกิดขึ้นในกาซที่ความดันบรรยากาศ คืออะไร

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 : คือ BD ที่ไมเชื่อมโยงระหวางอิเล็กโตรด คําตอบ 3 : คือ BD ที่เกิดขึ้นในสนามไฟฟาที่มีมิติอิเล็กโตรดที่พอเหมาะ คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 2 ถูกตอง

ขอที่ : 290

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

111 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 291

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 292 โดยอาศัยกฎแหงความคลายคลึงกัน (similarity law) มิติเชิงเสนและความดันกาซเปลี่ยน แตแรงดันเริ่มตน (inception voltage) ยังเทาเดิม ขอใดตอไปนี้ถูกตอง

คําตอบ 1 : อิเล็กโตรดทรงกลม-ทรงกลม รัศมีและระยะแกปเพิ่มขึ้นเปน 2 เทา แตความดันกาซลดลงเหลือครึ่งหนึ่ง คําตอบ 2 : อิเล็กโตรดทรงกระบอกซอน รัศมีใน รัศมีนอก และความดันกาซเพิ่มขึ้นเปน 2 เทา คําตอบ 3 : อิเล็กโตรด แบบแทงปลายมนครึ่งทรงกลม-ระนาบ รัศมีแทง ระยะแกป และความดันกาซลดเหลือครึ่งหนึ่ง คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 293 เงื่อนไขเบรกดาวนแบบสตรีมเมอร กําหนดดวยชวงเปลี่ยนผานจากอิเล็กตรอนอะวาลานชเดี่ยวไปสูสตรีมเมอรคือ

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

112 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 294

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 295

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

113 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 296

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 297 ทําไมแรงดันเบรกดาวนแบบโคโรนาในสนามไฟฟาไมสม่ําเสมอสูง จึงมีคาสูงกวาแรงดันโคโรนาเริ่มเกิด

คําตอบ 1 : เพราะวาจะเกิดไอออไนเซชันเฉพาะบริเวณที่มีความเครียดสนามไฟฟา E สูง เกิดประจุคาง (space charge) ทําให E ในแกปลดลง เบรกดาวนจึงเกิดขึ้นไดยาก คําตอบ 2 : เพราะวาไอออนบวกเคลื่อนที่ไดชา มีพลังงานไมพอที่จะทําใหเกิดไอออไนเซชันในกาซได คําตอบ 3 : เพราะวาอิเล็กตรอนอิสระถูกจับโดยโมเลกุลหมด จึงไมมีอะวาลานชที่จะทําใหเกิดเบรกดาวนได คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบถูกตอง

ขอที่ : 298

114 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 299

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 300 เมื่อปอนแรงดันอิมพัลสใหกับวัสดุทดสอบคาหนึ่ง พบวาบางครั้งก็เกิดเบรกดาวน (BD) บางครั้งก็ไมเกิดBD ทั้งๆที่ปอนแรงดันเทาเดิม เพราะเหตุใด 115 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : เนื่องจากเวลาลาชากลไกเบรกดาวนของแรงดันอิมพัลสไมเทากัน คําตอบ 2 : เนื่องจากมีจํานวนอิเล็กตรอนเริ่มตนที่วัสดุทดสอบไมเทากัน คําตอบ 3 : เนื่องจากเวลาที่ใชในการสรางอะวาลานชอิเล็กตรอนไมเทากัน คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 301 ความคงทนตอแรงดันของฉนวนอาจพิจารณาไดจากลักษณะเสนแรงดัน-เวลา (v-t curve) ของฉนวนนั้นๆอยากทราบวา v-t curve คืออะไร

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 302

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

116 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 303

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 304 รูปลักษณะของเสนแรงดัน-เวลา (v-t curve) จะมีลักษณะแตกตางกัน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับอะไร

คําตอบ 1 : รูปคลื่นแรงดันที่ปอน คําตอบ 2 : รูปลักษณะอิเล็กโตรด (electrode configuration) คําตอบ 3 : ชนิดของฉนวนระหวางอิเล็กโตรด คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 305 ลักษณะเสนแรงดัน-เวลา (v-t curve) มีประโยชนอะไร

คําตอบ 1 : มีประโยชนตอการออกแบบการฉนวนระบบไฟฟาแรงสูง คําตอบ 2 : มีประโยชนในการเลือกแกปปองกันแรงดันเสิรจแกอุปกรณแรงสูง คําตอบ 3 : มีประโยชนในการประสานสัมพันธการฉนวน (insulation coordination) คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 306

117 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 307 อารกไฟฟาเปนลักษณะหนึ่งของการเกิดดีสชารจในกาซอยากทราบวาอารกไฟฟาเกิดขึ้นไดอยางไร

คําตอบ 1 : เกิดจากการแยกหางของหนาสัมผัสของตัวนําที่มีกระแสไฟฟาไหลผานอยู คําตอบ 2 : เกิดจากเบรกดาวนในฟองอากาศแฝงอยูในฉนวนแข็งเปน PD คําตอบ 3 : เกิดจากการสะสมประจุไฟฟาบนตัวคนที่เดินบนพรมแลวดีสชารจ ลงดิน คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 308 ขอใดเปนกราฟแสดงผลของระยะชองวางระหวางอิเล็กโตรด (d) ที่มีตอคุณลักษณะสมบัติของฉนวนกาซไดอยางถูกตอง

คําตอบ 1 :

118 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 309

คําตอบ 1 :

119 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 310

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 311 การเกิดดีสชารจบางสวน (PD)ในระบบสายสงขึงในอากาศ(overhead line) 230 kV 50 Hz การเกิดดีสชารจเปน (PD) แบบใด

คําตอบ 1 : โคโรนาดีสชารจ คําตอบ 2 : ดีสชารจตามผิว คําตอบ 3 : ดีสชารจภายใน คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 312 สมการตอไปนี้ สมการใดเปนสมการของการรวมตัวกัน

120 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 313

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 314

คําตอบ 1 : ปรับระยะแกป คําตอบ 2 : ปรับแรงดันปอนใหแกป

121 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 3 : เปลี่ยนชนิดของแกปในหลอด คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 2 ถูกตอง

ขอที่ : 315 ไอออไนเซชันของอิเล็กตรอนเกิดขึ้นไดจากกรณีใดตอไปนี้

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 316 secondary ionisation ในกลไกเบรกดาวนของทาวเซนดเกิดขึ้นเนื่องจากสิ่งใด

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 317 กลไกการเบรกดาวนแบบสตรีมเมอร เกิดขึ้นมีเงื่อนไขเปนอยางไร

คําตอบ 1 :

122 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : เกิดเมื่อสนามไฟฟาเพิ่มขึ้น ทําใหอิเล็กตรอนที่เกาะโมเลกุลเริ่มหลุดออก คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 2 ถูกตอง

ขอที่ : 318

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 319

คําตอบ 1 :

123 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 320 แรงดันเบรกดาวนในสุญญากาศ ทําไมจึงขึ้นอยูกับชนิดของโลหะที่ทําอิเล็กโตรด

คําตอบ 1 : เพราะเบรกดาวนเกิดจากอิเล็กตรอนปลอยออกจากคะโถดเนื่องจากสนามไฟฟาที่มีเวอรก ฟงคชันตางกัน คําตอบ 2 : เพราะโลหะอิเล็กโตรดมีความหนาแนนไมเทากัน คําตอบ 3 : เพราะโลหะมีสภาพนําไฟฟาตางกัน คําตอบ 4 : เพราะโลหะอิเล็กโตรดมีจุดหลอมละลายไมเทากัน

ขอที่ : 321

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

124 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 322

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 323

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

125 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 324

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 325

คําตอบ 1 :

126 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 326 ขอใดไมใชลักษณธของการเกิดดีสชารบางสวน (PD)

คําตอบ 1 : Corona discharge คําตอบ 2 : Surface discharge คําตอบ 3 : Internal discharge คําตอบ 4 : Arc discharge

ขอที่ : 327 ดีสชารจภายในสนามไฟฟาไมสม่ําเสมอสูง รอบปลายแหลมอิเล็กโตรด ขอบคมที่อยูในอากาศ หรือกาซความดันปกติเรียวา

คําตอบ 1 : อารก คําตอบ 2 : เบรกดาวน คําตอบ 3 : โคโรนา คําตอบ 4 : ดีสชารจบางสวน

ขอที่ : 328 อะตอมหรือโมเลกุลของกาซเมื่อไดรับพลังงานเพียงพอจะทําใหอิเล็กตรอนหลุดออกไป หนึ่งอิเล็กตรอนหรืออะตอมนั้นจะมีประจุเปนบวก นี้เราเรียกวา

คําตอบ 1 : Discharge คําตอบ 2 : Breakdown คําตอบ 3 : Ionization คําตอบ 4 : Emission

ขอที่ : 329

จากทฤษฏีของทาวนเซนต (Townsend) ไดชี้ใหเห็นวาจํานวนการชนเกิดไอออไนเซชันตอหนึ่งหนวยระยะที่อนุภาคประจุเคลื่อนที่ไปนั้น กําหนดดวยแฟกเตอรหรือสัมประสิทธิ์นั้น เรียกวาอะไร?

127 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : ส.ป.ส. การเบรกดาวน คําตอบ 2 : ส.ป.ส. การดิสชารจ คําตอบ 3 : ส.ป.ส. การไอออไนเซชัน คําตอบ 4 : ส.ป.ส การอารก

ขอที่ : 330

นักวิทยาศาสตรทานใด ไดทดลองเกี่ยวกับคลื่นแมเหล็กไฟฟา และพบวาแรงดันที่สปารกระหวางอิเล็กโตรดจะมีคาต่ํา เมื่อมีแสงจากการสปารกที่อื่นวิ่งมากระทบบนผิวอิเล็กโตรด และแสดงใหเห็นวาอิเล็กตรอนที่หลุดออกจากผิวคะโถดเมื่อไดรับโพตรอน

คําตอบ 1 : Maxwell คําตอบ 2 : Hertz คําตอบ 3 : Townsend คําตอบ 4 : Streamer

ขอที่ : 331

คําตอบ 1 : ทาวนเซนต (Townsend) คําตอบ 2 : สตรีเมอร (Streamer) คําตอบ 3 : พาสเชน (Paschen’s) คําตอบ 4 : โบลทซมัน (Boltzmann)

128 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 332

คําตอบ 1 : สัมประสิทธิ์ของการแพรกระจายอะวาลานซ คําตอบ 2 : อิเล็กตรอนในอะวาลานซวิกฤต คําตอบ 3 : ความยาวของอะวาลานซ คําตอบ 4 : ความเร็วในการเคลื่อนที่ของอะวาลานซ

ขอที่ : 333

129 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : Townsend law คําตอบ 2 : Paschen’s law คําตอบ 3 : Streamer law คําตอบ 4 : Similarity law

ขอที่ : 334 ความสัมพันธของแรงดันเบรกดาวนที่มีอยูในฟงชันของผลคูณความดันกาซและระยะแกปในสนามไฟฟาไมสม่ําเสมอเปนความสัมพันธของทฤษฏีใด?

คําตอบ 1 : Townsend law คําตอบ 2 : Paschen’s law คําตอบ 3 : Streamer law คําตอบ 4 : Similarity law

ขอที่ : 335

130 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : Townsend law คําตอบ 2 : Paschen’s law คําตอบ 3 : Streamer law คําตอบ 4 : Similarity law

ขอที่ : 336 ขอใดไมใชเงื่อนไขการเกิดเบรกดาวนของกาซไฟฟาลบ

คําตอบ 1 : อิเล็กตรอนที่แยกตัวออกเปนอิสระจากโมเลกุลดานการไอออไนเซชัน คําตอบ 2 : มีพลังงานที่พอเหมาะไปเกาะติดอยูกับโมเลกุลเปนกลางของกาซ คําตอบ 3 : มีความคงทนตอแรงดันสูงต่ํากวาอากาศ คําตอบ 4 : กาซที่มีคุณสมบัติที่โมเลกุลจับอิเล็กตรอนได

ขอที่ : 337 ชวงระยะเวลานับตั้งแตขนาดแรงดันอิมพัลสเทากับแรงดันสถานะอยูตัวแลวไปจนถึงเวลาเบรกดาวนเกิดขึ้นจริงของแรงดันอิมพัลสที่เรียกเวลาที่เกิดขึ้นนี้วาเปนชวงเวลาใด?

คําตอบ 1 : เวลากอนหนาของการเกิดเบรกดาวน คําตอบ 2 : เวลาลาชาของการเกิดเบรกดาวน คําตอบ 3 : เวลาสะสมของการเกิดเบรกดาวน

131 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 4 : เวลาประจุคางของการเกิดเบรกดาวน

ขอที่ : 338 ขอใดคืคาแรงดันพอดีที่ทําใหเกิดเบรกดาวนทุกครั้ง ซึ่งมีความสําคัญในการกําหนดมิติของอุปกรณปองกัน เชนกับดักฟาผา แกปปองกัน ฯลฯ คือขอใด

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 339 ขอใดไมใชลักษณะสมบัติของการเกิด “อารกไฟฟา”

คําตอบ 1 : อุณหภูมิสูงและมีแสงจา คําตอบ 2 : เกิดการแตกตัวทางเทอรมัลของกาซ คําตอบ 3 : ความหนาแนของกระแสคะโถดเพิ่มสูง คําตอบ 4 : แรงดันตกครอมอารกมีคาสูงมาก

ขอที่ : 340 ขอใดคือกําลังสูญเสียไดอิเล็กตริกในฉนวนแข็ง

คําตอบ 1 : กําลังสูญเสียจาก สภาพนําไฟฟา คําตอบ 2 : กําลังสูญเสียจาก โพลาไรเซชัน คําตอบ 3 : กําลังสูญเสียจาก ไอออไนเซชัน คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 341

132 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 342 กําลังสูญเสียจาก โพลาไรเซชันเนื่องมาจากอะไร

คําตอบ 1 : เนื่องจากเปนแรงดันไฟฟากระแสตรง คําตอบ 2 : เนื่องจากเปนแรงดันไฟฟากระแสสลับ คําตอบ 3 : เนื่องจากเกิดดีสชารจบางสวน (PD) คําตอบ 4 : เนื่องจากเปนแรงดันฟาผา

ขอที่ : 343 กําลังสูญเสียในไดอิเล็กตริกที่หลีกเลี่ยงไมไดคือ

คําตอบ 1 : กําลังสูญเสียจาก สภาพนําไฟฟา คําตอบ 2 : กําลังสูญเสียจาก โพลาไรเซชัน คําตอบ 3 : กําลังสูญเสียจาก ไอออไนเซชัน คําตอบ 4 : ไมมี

ขอที่ : 344 ในการใชงานฉนวนแข็ง คุณสมบัติขอใดตอไปนี้บงบอกถึงกําลังสูญเสียไดอิเล็กตริกที่เกิดขึ้น

คําตอบ 1 : คาเปอมิตติวิตี้ (permittivity)

คําตอบ 2 :

133 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 3 : คาความตานทานจําเพาะ คําตอบ 4 : คาความคงทนตอแรงดันไฟฟาของ ไดอิเล็กตริก

ขอที่ : 345 วงจรสมมูลของฉนวนสามารถเขียนแทนไดดวย

คําตอบ 1 : วงจรขนาน RC คําตอบ 2 : วงจรขนาน RL คําตอบ 3 : วงจรขนาน RLC คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 346 ในการใชงานฉนวนแข็ง คุณสมบัติขอใดตอไปนี้บงบอกถึงคาตัวเก็บประจุจะมีมากหรือนอย

คําตอบ 1 : คาเปอมิตติวิตี้ (permittivity)

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : คาความตานทานจําเพาะ คําตอบ 4 : คาความคงทนตอแรงดันไฟฟาของ ไดอิเล็กตริก

ขอที่ : 347 จุดเดนของการใชงานฉนวนเหลวเมื่อเทียบกับอากาศ คืออะไร

คําตอบ 1 : ความสามารถในการระบายความรอน คําตอบ 2 : ความคงทนตอแรงดันไฟฟา คําตอบ 3 : คุณสมบัติในการติดไฟ คําตอบ 4 : ถูกทั้งคําตอบ 1 และคําตอบ 2

ขอที่ : 348 ฉนวนเหลวที่ใชในหมอแปลงไฟฟากําลังภายในอาคาร จะตองมีจุดติดไฟสูง ปจจุบันนิยมใช

คําตอบ 1 : mineral oil (transformer oil) คําตอบ 2 : silicone liquid

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

134 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 349 ขอใดตอไปนี้กลาวไดถูกตอง

คําตอบ 1 : อนุภาคของแข็งที่มีอยูในฉนวนเหลวทําใหฉนวนเหลวมีความคงทนตอแรงดันเบรกดาวนไดสูงขึ้น คําตอบ 2 : กาซที่ละลายอยูในฉนวนเหลว ทําใหฉนวนเหลวมีความคงทนตอแรงดันเบรกดาวนไดสูงขึ้น คําตอบ 3 : คุณสมบัติการระบายความรอนของฉนวนแข็ง มีคาดีกวาการระบายความรอนของฉนวนกาซ คําตอบ 4 : คุณสมบัติการระบายความรอนของฉนวนเหลว มีคาดีกวาการระบายความรอนของฉนวนแข็ง

ขอที่ : 350 ครีบใตผิวลูกถวยนั้นทําไวเพื่อประโยชนอะไร

คําตอบ 1 : เพื่อกันฝนสาด คําตอบ 2 : เพื่อเพิ่มระยะรั่ว คําตอบ 3 : เพื่อลดน้ําหนักของลูกถวยฉนวน คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 2 ถูกตอง

ขอที่ : 351 PD หรือดิสชารจบางสวนคืออะไรเกิดขึ้นไดอยางไร

คําตอบ 1 : PD คือการวาบไฟตามผิวที่สมบูรณ เกิดขึ้นในระบบฉนวนที่มีลักษณะสนามไฟฟาไมสม่ําเสมอ คําตอบ 2 : PD คือการวาบไฟตามผิวที่ไมสมบูรณ เกิดขึ้นในระบบฉนวนที่มีลักษณะสนามไฟฟาไมสม่ําเสมอ คําตอบ 3 : PD คือการเบรกดาวนที่ไมสมบูรณ เกิดขึ้นในระบบฉนวนที่มีลักษณะสนามไฟฟาไมสม่ําเสมอสูง คําตอบ 4 : PD คือการเบรกดาวนที่สมบูรณที่เกิดขึ้นเปนครั้งคราว เกิดขึ้นในระบบฉนวนที่มีลักษณะสนามไฟฟาไมสม่ําเสมอสูง

ขอที่ : 352 การดิสชารจบางสวน(PD)มีผลสืบเนื่องหลายรูปแบบ การตรวจจับ PD ในเชิงวิศวกรรมไฟฟาอาศัยผลรูปแบบใดเปนสื่อตรวจจับ

คําตอบ 1 : ผลจากการเกิดโคโรนา คําตอบ 2 : ผลจากความรอน คําตอบ 3 : ผลจากการเกิดปฏิกิริยาเคมี คําตอบ 4 : ผลจากกระแสพัลสไฟฟา

ขอที่ : 353 ลูกถวยฉนวนประเภท A ตามมาตรฐาน IEC หมายความวาอยางไร

คําตอบ 1 : ลูกถวยประเภท A หมายถึงลูกถวยที่มีความหนาของเนื้อฉนวนตามแนวตรงระหวางอิเล็กโตรดมากกวาครึ่งหนึ่งของระยะอารก 135 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 2 : ลูกถวยประเภท A หมายถึงลูกถวยที่มีความหนาของเนื้อฉนวนตามแนวตรงระหวางอิเล็กโตรดนอยกวาครึ่งหนึ่งของระยะอารก คําตอบ 3 : ลูกถวยประเภท A หมายถึงลูกถวยที่มีความหนาของเนื้อฉนวนตามแนวตรงระหวางอิเล็กโตรดมากกวาระยะอารก คําตอบ 4 : ลูกถวยประเภท A หมายถึงลูกถวยที่มีความหนาของเนื้อฉนวนตามแนวตรงระหวางอิเล็กโตรดนอยกวาระยะอารก

ขอที่ : 354 ลูกถวยฉนวนประเภท B ตามมาตรฐาน IEC หมายความวาอยางไร

คําตอบ 1 : ลูกถวยประเภท B หมายถึงลูกถวยที่มีความหนาของเนื้อฉนวนตามแนวตรงระหวางอิเล็กโตรดมีคานอยกวาครึ่งหนึ่งของระยะอารก คําตอบ 2 : ลูกถวยประเภท B หมายถึงลูกถวยที่มีความหนาของเนื้อฉนวนตามแนวตรงระหวางอิเล็กโตรดมีคามากกวาครึ่งหนึ่งของระยะอารก คําตอบ 3 : ลูกถวยประเภท B หมายถึงลูกถวยที่มีความหนาของเนื้อฉนวนตามแนวตรงระหวางอิเล็กโตรดมีคานอยกวาระยะอารก คําตอบ 4 : ลูกถวยประเภท B หมายถึงลูกถวยที่มีความหนาของเนื้อฉนวนตามแนวตรงระหวางอิเล็กโตรดมีคามากกวาระยะอารก

ขอที่ : 355 กอนทําการวัดคาดิสชารจบางสวน หรือ PD ทําไมตองมีการปรับเทียบ( calibration)วงจรวัดกอนเสมอ

คําตอบ 1 : เนื่องจากสัญญาณ PD ที่เขาเครื่องวัด จะแปรตามขนาดของหมอแปลงทดสอบและสายสัญญาณ คําตอบ 2 : เนื่องจากสัญญาณ PD ที่เขาเครื่องวัด จะแปรตามขนาดของตัวกรองสัญญาณความถี่สูงและหมอ แปลงทดสอบ คําตอบ 3 : เนื่องจากสัญญาณ PD ที่เขาเครื่องวัด จะแปรตามขนาดของแรงดันและกระแสที่ใชทดสอบ คําตอบ 4 : เนื่องจากสัญญาณ PD ที่เขาเครื่องวัด จะแปรตามขนาดของตัวเก็บประจุคาบเกี่ยว(coupling capacitor)และวัสดุทดสอบ

ขอที่ : 356 ดิสชารจแบบทาวเซนดมีลักษณะอยางไร

คําตอบ 1 : การดิสชารจในชวงที่กระแสเพิ่มขึ้นในลักษณะเปนเอ็กโปเนนเชียลเมื่อเพิ่มแรงดัน คําตอบ 2 : การดิสชารจในชวงที่แรงดันตกครอมแกปดิสชารจลดลงเหลือคาต่ําสุด คําตอบ 3 : การดิสชารจในชวงที่เกิดไอออไนเซชันจากความรอนในกาซและที่ผิวโลหะ คําตอบ 4 : การดิสชารจในชวงที่อิเล็กตรอนหลุดจากขั้วคะโถด(ขั้วลบ)ดวยความรอนและมีแสงจาจากลําอารก

ขอที่ : 357 ขอใดตอไปนี้ถือเปนการดิสชารจบางสวน(partial discharge)

คําตอบ 1 : ดิสชารจแบบโคโรนา คําตอบ 2 : ดิสชารจตามผิว คําตอบ 3 : ดิสชารจภายใน คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

136 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 358

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 359

ฉนวนที่ใชกับไฟฟาแรงสูงอาจแบงเปน 3 ชนิด คือฉนวนกาซ ฉนวนเหลว และฉนวนแข็ง ทางปฏิบัติทําไมตองใชฉนวนตางชนิดรวมกัน เชนหมอแปลงไฟฟากําลัง ขอใดตอไปนี้เปนคําอธิบายที่มีเหตุผลถูกตอง

คําตอบ 1 : ตองใชฉนวนแข็งรับแรงกล ใชฉนวนกาซหรือฉนวนเหลวเปนฉนวนแทรกซึมและระบายความรอน คําตอบ 2 : ฉนวนแข็งราคาแพง จึงตองใชฉนวนเหลวผสมเพื่อประหยัด คําตอบ 3 : ฉนวนแข็งมีกําลังไฟฟาสูญเสียไดอิเล็กตริกสูง จึงตองใชฉนวนอื่นผสม คําตอบ 4 : ใชฉนวนตางชนิดรวมกันเพื่อลดน้ําหนักใหนอยลง

ขอที่ : 360

คําตอบ 1 : ถวยฉนวนพอรซเลนที่ใชยึดสายตัวนําแรงสูงแบบสายขึงอากาศ คําตอบ 2 : เคเบิลแรงสูงชนิดกระดาษอัดน้ํามัน (oil-paper) คําตอบ 3 : เคเบิลแรงสูง XLPE

137 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 361

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 362

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

138 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 363

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 364 ไดอิเล็กตริกใดๆ สามารถเขียนแทนดวยวงจรสมมูล ประกอบดวยความตานทาน R และคาเก็บประจุ C องคประกอบวงจร R และ C คืออะไร คําอธิบายขอใดถูกตอง

คําตอบ 1 : R แทนกําลังสูญเสียไดอิเล็กตริก C แทนคุณสมบัติที่ไดอิเล็กตริกเก็บประจุและพลังงานไฟฟาได คําตอบ 2 : R คือ คาโอหมของฉนวนที่วัดดวยโอหมมิเตอร และ C คือคาเก็บประจุของฉนวน คําตอบ 3 : R คือคาความตานทานเชิงผิวของฉนวน และ C คือคาเก็บประจุสเตรย คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบที่ถูกตอง

ขอที่ : 365

คําตอบ 1 :

139 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 2 : คือแฟกเตอรชี้บอกถึงคากําลังไฟฟาสูญเสียที่เกิดขึ้นในฉนวนมีมากหรือนอย คําตอบ 3 : คือแฟกเตอรแสดงถึงกําลังสูญเสียไดอิเล็กตริกเนื่องจากโพลาไรเซชัน คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 2 ถูกตอง

ขอที่ : 366

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 367

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

140 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 368 ฉนวนเหลวจัดเปนฉนวนที่ใชกับไฟฟาแรงสูงไดดี คํากลาวตอไปนี้ขอใดถูกตอง

คําตอบ 1 : ฉนวนเหลวสามารถทําใหบริสุทธิ์ได จึงมีความคงทนตอแรงดันไดสูงกวาฉนวนแข็ง คําตอบ 2 : ฉนวนเหลวมักมีอนุภาคของแข็งผสมอยู จะทําใหฉนวนเหลวมีความคงทนตอแรงดันไดสูงขึ้น คําตอบ 3 : ฉนวนเหลวระบายความรอนไดด ีจะแทรกซึมเขาไปในชองวางไดจะชวยใหฉนวนแข็งที่มีความพรุน ทนแรงดันไดสูงขึ้น คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 2 ถูกตอง

ขอที่ : 369 ฉนวนเหลวมีความคงทนตอแรงดันไดสูงกวากาซ แตฉนวนเหลวก็เกิดเบรกดาวนได ขอใดตอไปนี้เปนคําอธิบายการเกิดเบรกดาวนในฉนวนเหลว

คําตอบ 1 : ฉนวนเหลวที่มีสิ่งเจือปนเปนอนุภาคแข็ง ทําใหเกิดความเครียดสนามไฟฟาเพิ่มสูงขึ้นเฉพาะจุดและนําไปสูการเกิดเบรกดาวนได คําตอบ 2 : ฉนวนเหลวมีสิ่งเจอปนเปนฟองกาซที่ทนตอแรงดันไดนอยกวา ฉนวนเหลว ฟองกาซเปนจุดเริ่มตนการเกิดเบรกดาวนในฉนวนเหลว คําตอบ 3 : สนามไฟฟาทําใหอนุภาคของแข็งเรียงตัวกันเปนลูกโซ ทําใหเกิดเบรกดาวนได คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 370

คําตอบ 1 : ลูกถวยฉนวนพอรซเลนที่ใชยึดสายตัวนําแรงสูงแบบสายขึงอากาศ คําตอบ 2 : เคเบิลแรงสูงชนิดกระดาษอัดน้ํามัน (oil-paper) คําตอบ 3 : เคเบิลแรงสูง XLPE คําตอบ 4 : บัสบารในสถานี GIS ที่ใชฉนวนกาซ SF6 อัดความดัน 4 บารและใชฉนวนอิพ็อกซี่คาสทเรซินเปนตัวยึดรองรับตัวนํา

ขอที่ : 371

141 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ฉนวนที่ใชในระบบไฟฟาแรงสูง อาจแบงเปน 2 ประเภทคือ การฉนวนภายนอกและการฉนวนภายในฉนวนขอใดตอไปนี้มีทั้งฉนวนภายนอกและฉนวนภายใน

คําตอบ 1 : ปลอกฉนวนตัวนํา(bushing) หัวสายเคเบิลแรงสูง คําตอบ 2 : เคเบิลแรงสูงชนิดกระดาษอัดน้ํามัน (oil-paper) คําตอบ 3 : เคเบิลแรงสูง XLPE คําตอบ 4 : บัสบารในสถานี GIS ที่ใชฉนวนกาซ SF6 อัดความดัน 4 บารและใชฉนวนอิพ็อกซี่คาสทเรซินเปนตัวยึดรองรับตัวนํา

ขอที่ : 372

ฉนวนที่ใชในระบบไฟฟาแรงสูงอาจเปน กาซ ของเหลว หรือของแข็ง หรือผสมกัน ฉนวนแรงสูงขอใดตอไปนี้สามารถเพิ่มความคงทนตอแรงดันใหสูงขึ้นไดโดยไมเปลี่ยนแปลงมิติ (dimensions) คําตอบ 1 : ลูกถวยฉนวนพอรซเลนที่ใชยึดสายตัวนําแรงสูงแบบสายขึงอากาศ คําตอบ 2 : เคเบิลแรงสูงชนิดกระดาษอัดน้ํามัน (oil-paper) คําตอบ 3 : เคเบิลแรงสูง XLPE คําตอบ 4 : บัสบารในสถานี GIS ที่ใชฉนวนกาซ SF6 อัดความดัน และใชฉนวนอิพ็อกซี่คาสทเรซินเปนตัวยึดรองรับตัวนํา

ขอที่ : 373

คําตอบ 1 : เคเบิลแรงสูงชนิด PPLP-OF (polypropylene laminated paper oil filled) คําตอบ 2 : เคเบิลแรงสูงชนิดกระดาษอัดน้ํามัน (oil-paper) คําตอบ 3 : เคเบิลแรงสูง XLPE

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 374

การเกิดดิสชารจบางสวน (PD) ในอุปกรณไฟฟาแรงสูง อาจแบงไดเปน 3 ชนิดคือ โคโรนาดิสชารจ ดิสชารจตามผิว และดิสชารจภายใน อุปกรณไฟฟาแรงสูงขอใดตอไปนี้อาจเปน PD ไดทั้ง 3 ชนิด

คําตอบ 1 : ลูกถวยฉนวนพอรซเลนที่ใชยึดสายตัวนําแรงสูงแบบสายขึงอากาศ คําตอบ 2 : เคเบิลแรงสูง XLPE

คําตอบ 3 :

142 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 3 ถูกตอง

ขอที่ : 375

เคเบิลแรงสูงจะมีฉนวนคั่นระหวางตัวนําในกับตัวนํานอก จึงมีคุณสมบัติเปนตัวเก็บประจุ เมื่อใชกับแรงดัน AC 50 Hz ทําใหเกิดกระแสอัดประจุและพลังงานอัดประจุได เคเบิลขอใดตอไปนี้ มีกระแสและพลังงานอัดประจุนอยที่สุด

คําตอบ 1 : เคเบิลแรงสูงชนิด PPLP-OF (polypropylene laminated paper oil filled) คําตอบ 2 : เคเบิลแรงสูงชนิดกระดาษอัดน้ํามัน (oil-paper) คําตอบ 3 : เคเบิลแรงสูง XLPE

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 376

คําตอบ 1 : 4.1 คําตอบ 2 : 3.95 คําตอบ 3 : 3.8 คําตอบ 4 : 4.15

ขอที่ : 377 ความคงทนตอแรงดันไฟฟาของฉนวนแข็งและฉนวนเหลวตอแรงดัน DC จะสูงกวาแรงดัน AC เพราะอะไร

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 : ความตานทานฉนวนที่แรงดัน AC มีคามากกวาแรงดัน DC คําตอบ 3 : แฟกเตอรสนามไฟฟาที่แรงดัน DC สูงกวาที่แรงดัน AC คําตอบ 4 : ที่แรงดัน DC ไมมีกระแสรั่ว ผานฉนวน

143 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 378

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 379 ฉนวนแข็งและฉนวนเหลวจะตางจากลักษณะสมบัติของกาซอยางเดนชัดประการหนึ่งก็คือ ความเกาแก (ageing) ซึ่งหมายถึง

คําตอบ 1 : คุณสมบัติการฉนวนเสื่อมลง อายุการใชงานสั้นลง คําตอบ 2 : ความคงทนตอแรงดันไฟฟาไมเปนไปตามลักษณะเสน v-t คําตอบ 3 : ความคงทนตอแรงดันไฟฟาสูงขึ้น อายุการใชงานจะยาวนานขึ้น คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูกตอง

ขอที่ : 380 ฉนวนเหลวและฉนวนแข็งที่มีสิ่งเจือปนหรือฟองกาซ ความคงทนตอแรงดันจะต่ําลง เพราะอะไร

คําตอบ 1 : สิ่งเจือปนทําใหความเครียดสนามไฟฟาสูงขึ้นเฉพาะจุด และนําไปสูการเกิดเบรกดาวน

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : สิ่งเจือปนมักเปนตนเหตุของการเกิดดีสชารจบางสวน (PD) คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 381

144 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูกตอง

ขอที่ : 382 ทําไมการใชฉนวนเหลวจึงตองมีแผนฉนวนแข็งกั้นเปนชวง ๆ

คําตอบ 1 : เพื่อกันมิใหของแข็งเจือปนเรียงตัวตอกันตามแนวสนามไฟฟา คําตอบ 2 : เพื่อปรับแรงดันกระจายใหดีขึ้น คําตอบ 3 : เพื่อประหยัดปริมาณฉนวนเหลว คําตอบ 4 : เพื่อลดความเครียดสนามไฟฟา

ขอที่ : 383 ฉนวนแข็งสามารถเก็บพลังงานไฟฟาไดมากวากาซ เพราะฉนวนแข็ง

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : มีความตานทานจําเพราะสูงกวากาซ คําตอบ 4 : ไมมีกระแสรั่ว

ขอที่ : 384

145 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : เคเบิล OP มีกระแสอัดประจุมากกวาเคเบิล XLPE เพราะเคเบิล OP มี C มากกวา คําตอบ 2 : เคเบิล OP มีกระแสอัดประจุนอยกวาเคเบิล XLPE เพราะเคเบิล OP มี C นอยกวา คําตอบ 3 : เคเบิลทั้งสองมีกระแสอัดประทุเทากันเพราะเคเบิลยาวเทากัน คําตอบ 4 : เคเบิลทั้งสองไมมีกระแสประจุเพราะไมมีโหลด

ขอที่ : 385

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 386

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

146 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 387

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 388

147 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : เบรกดาวน ขั้น 1 กอนแตขั้น 2 ทบแรงดันได คําตอบ 2 : เบรกดาวน ขั้น 2 กอนแตขั้น 1 ทนแรงดันได คําตอบ 3 : เบรกดาวนทั้งสองขั้นพรอมกัน คําตอบ 4 : เบรกดาวนในขั้น 1 กอน แลวจึงเบรกดาวนในขั้น 2

ขอที่ : 389

คําตอบ 1 : เกิด PD ในขั้น 1 กอน คําตอบ 2 : เกิด PD ในขั้น 2 กอน คําตอบ 3 : เกิด PD ทั้งสองขั้นพรอมกัน คําตอบ 4 : ไมมี PD เกิดขึ้นเพราะเกิดเบรกดาวนเสียกอน

ขอที่ : 390

5.51 ฉนวนแข็งเชนแกวหรือคาสทเรซินเมื่อใชแรงกลอัดจนกระทั่งแตกสลายจะไดคาแรงอัดคาหนึ่ง ถาหากขณะฉนวนไดรับแรงกลอัดนั้น ฉนวนไดรับแรงดันกระแสตรง DC ดวย ถามวาฉนวนแข็งนั้น จะทนแรงกลอัดเพิ่มขึ้นหรือลดลงอยางไร

คําตอบ 1 : ทนแรงอัดไดเพิ่มขึ้น เพราะสนามไฟฟาทําใหเกิดแรงตานการอัด คําตอบ 2 : ทนแรงอัดไดนอยลง เพราะสนามไฟฟาทําใหเกิดแรงอัดเสริม คําตอบ 3 : ทนแรงอัดไดเทาเดิม เพราะสนามไฟฟาไมกอใหเกิดแรงใด ๆ คําตอบ 4 : ระบุไมได เพราะขึ้นอยูกับอุณหภูมิหอง

148 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 391

คําตอบ 1 : 4.10 คําตอบ 2 : 3.95 คําตอบ 3 : 3.80 คําตอบ 4 : 4.15

ขอที่ : 392

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 393 ขอใดไมใชองคประกอบของกําลังสูญเสียไดอิเล็กตริก

คําตอบ 1 : ionization loss คําตอบ 2 : polarization loss คําตอบ 3 : conduction loss คําตอบ 4 : corona loss 149 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 394

คําตอบ 1 : ionization loss คําตอบ 2 : polarization loss คําตอบ 3 : conduction loss คําตอบ 4 : corona loss

ขอที่ : 395 ขอใดไมใชอิทธิพลของผลจากไอออนสภาพนําของ Conduction loss

คําตอบ 1 : อุณหภูมิ คําตอบ 2 : ความชื้น คําตอบ 3 : คาความตานทานกระแสรั่ว คําตอบ 4 : ความดันบรรยากาศ

ขอที่ : 396 ขอใดไมใชขอดีของการฉนวนเหลว

คําตอบ 1 : ระบายความรอนไดดี คําตอบ 2 : สามารถกลับคืนสภาพการเปนฉนวนไดเอง คําตอบ 3 : สามารถแทรกซึมเขาไปในชองวางไดงาย

150 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 4 : มีการทําปฏิกริยากับวัสดุตางๆ ต่ํากวา

ขอที่ : 397 ขอใดไมใชลักษณะสมบัติของฉนวนแข็งที่ตองการ

คําตอบ 1 : ความคงทนตอปฏิกริยาเคมีและความรอน คําตอบ 2 : ความคงทนตอแรงกล คําตอบ 3 : ความสามารถแทรกซึมเขาไปในชองวางไดด ีคําตอบ 4 : ความคงทนตอแรงดันไฟฟา

ขอที่ : 398 การเกิดเบรกดาวนในฉนวนแข็ง แบบใดมีชวงเวลาที่สั้นที่สุดของแรงดันที่ปอนเพื่อทดสอบ

คําตอบ 1 : เบรกดาวนเนื่องจากผลทางเคมี คําตอบ 2 : เบรกดาวนเนื่องจากผลทางดีสชารจภายใน คําตอบ 3 : เบรกดาวนเนื่องจากผลทางเทอรมัล คําตอบ 4 : เบรกดาวนเนื่องจากผลทางกล

ขอที่ : 399 การทดสอบวัดคาดีสชารจบางสวน (Partial Discharge) ของอุปกรณไฟฟาแรงสูงเปนการทดสอบแบบใด?

คําตอบ 1 : การทดสอบความคงทนอยูไดตอแรงดัน (Withstand voltage test) คําตอบ 2 : การทดสอบแบบทําลาย ( Destructive test) คําตอบ 3 : การทดสอบความทนทาน (Endurance test) คําตอบ 4 : การทดสอบพิเศษเฉพาะอุปกรณ (Special test)

ขอที่ : 400

คําตอบ 1 : เบรกดาวนแบบสตรีเมอร คําตอบ 2 : เบรกดาวนแบบทาวเซนต คําตอบ 3 : เบรกดาวนเนื่องจากแรงกลไฟฟา คําตอบ 4 : เบรกดาวนบริสุทธิ์หรืออิมพัลส

151 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 401

คําตอบ 1 : ตัวเก็บประจุคาบเกี่ยว คําตอบ 2 : ตัวเก็บประจุอิมพัลส คําตอบ 3 : ตัวเก็บประจุมาตรฐาน คําตอบ 4 : ตัวเก็บประจุทดสอบ

ขอที่ : 402

152 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : แรงดันตกครอมในโพรงอากาศ คําตอบ 2 : แรงดันตกครอมวัสดุทดสอบ คําตอบ 3 : แรงดันเริ่มดิสชารจ คําตอบ 4 : แรงดันทดสอบจากแหลงจาย

ขอที่ : 403

153 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : ตัวเก็บประจุคาบเกี่ยว คําตอบ 2 : ตัวเก็บประจุอิมพัลส คําตอบ 3 : ตัวเก็บประจุมาตรฐาน คําตอบ 4 : ตัวเก็บประจุทดสอบ

ขอที่ : 404

154 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : Capacitance and Dissipation Factor คําตอบ 2 : Inductance and Quality Factor คําตอบ 3 : Transformer Ratio Arm Bridge คําตอบ 4 : Partial Discharge Measurement

ขอที่ : 405

155 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

156 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 406 การทดสอบดิสชารบางสวน (PD) เปนการทดสอบที่อยูในการทดสอบแบบใด

คําตอบ 1 : Type test คําตอบ 2 : Special test คําตอบ 3 : Routine test คําตอบ 4 : Aging test

ขอที่ : 407 อุปกรณที่จะใชในระบบสงจายระดับ 230 kV 50 Hz มาตรฐาน IEC กําหนดใหทําการทดสอบ BIL หลายระดับเพราะอะไร

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 : เพราะวากระแสฟาผามีขนาดไมเทากัน พิกัดกับดักเสิรจก็ไมเทากัน คําตอบ 3 : เพราะวาระดับการฉนวนของระบบขึ้นอยูกับลักษณะการตอนิวตรัลลงดิน

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 408 แรงดันทดสอบอิมพัลส BIL กําหนดไววาอยางไร

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 3 ถูกตอง

ขอที่ : 409 การทดสอบไฟฟาแรงสูง สวนใหญจะเปนการทดสอบแบบไมทําลาย ไดแกการทดสอบดังนี้

คําตอบ 1 : การวัดแรงดันโคโรนาเริ่มเกิด การวัดดิสชารจบางสวน (PD) การวัดอุณหภูมิเพิ่มขึ้น การวัดกําลังไฟฟาสูญเสียไดอิเล็กตริก คําตอบ 2 : การทดสอบความคงทนตอแรงดันกระแสสลับความถี่ต่ํา 1 นาที ทดสอบความคงทนตอแรงดันอิมพัลส (BIL หรือ BSL)

157 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 3 : การทดสอบวาบไฟตามผิว การทดสอบความคงทนตอการเจาะทะลุในอากาศดวยแรงดันอิมพัลสหนาคลื่นชัน คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 2 ถูกตอง

ขอที่ : 410

คําตอบ 1 : เนื่องจากแรงดันเสิรจสวิตชิ่งจะมีคาเพิ่มตามระดับแรงดันระบบ คาแรงดันทดสอบ BIL อาจไมเพียงพอ

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 3 ถูกตอง

ขอที่ : 411 การทดสอบความคงทนตอแรงดันกระแสสลับความถี่ต่ํา 1 นาที มาตรฐาน IEC กําหนดแรงดันทดสอบไววาอยางไร

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 : แรงดันทดสอบตองมีรูปคลื่นไซน จะแตกตางจากรูปคลื่นไซนไดไมเกิน 5% ของคายอดรูปคลื่นพื้นฐาน คําตอบ 3 : ความถี่ของแรงดันทดสอบไมเกิน 200 Hz คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 2 ถูกตอง

ขอที่ : 412 หมอแปลงไฟฟากําลังทําไมตองมีการทดสอบ BIL กอนนําไปติดตั้งใชงาน

คําตอบ 1 : เพราะวาหมอแปลงมีโอกาสไดรับแรงดันเกินเสิรจฟาผา คําตอบ 2 : เพื่อทดสอบความคงทนของฉนวนรอบขดลวดรอบตน ๆ (ดานขั้วแรงสูง) ซึ่งจะไดรับความเครียดสนามไฟฟาสูงกวาสวนที่อยูหางขั้วออกไป เมื่อเกิดแรงดันเสิรจฟาผา คําตอบ 3 : ฉนวนขดลวดรอบตน ๆ จะเกิดเบรกดาวนหรือดีสชารจบางสวน เมื่อไดรับแรงดันเสิรจฟาผา ถาออกแบบการฉนวนไมดี

158 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 413

คําตอบ 1 : R – L – C meter คําตอบ 2 : Wheatstone bridge คําตอบ 3 : Schering bridge คําตอบ 4 : insulation meter

ขอที่ : 414 ถาตองการหากําลังไฟฟาสูญเสียไดอิเล็กตริก (dielectric loss) ของเคเบิลแรงสูงขณะใชงาน จะตองทราบคาอะไรบาง

คําตอบ 1 : ตองทราบแรงดัน กระแสใชงาน และ power factor

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : ตองทราบคาความตานทาน คาความจุไฟฟา , และแรงดันใชงาน

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 415 วงจรทดสอบวัดคากําลังไฟฟาสูญเสียไดอิเล็กตริก (dielectric loss) ของวัสดุทดสอบประกอบดวย ตัวจายแรงดัน AC และวัสดุทดสอบ และอุปกรณดังตอไปนี้

คําตอบ 1 : ตัวเก็บประจุมาตรฐาน และเชอริงบริดจ คําตอบ 2 : ตัวเก็บประจุมาตรฐาน และ wheatstone bridge คําตอบ 3 : ตัวเก็บประจุคับปลิง และ PD meter คําตอบ 4 : ตัวเก็บประจุคับปลิง และ RLC meter

ขอที่ : 416 กําลังไฟฟาสูญเสียไดอิเล็กตริกในอุปกรณไฟฟาหรือวัสดุฉนวน อาจแบงออกไดเปน 3 ชนิด คือ

คําตอบ 1 : ดีสชารจโคโรนา ดีสชารจตามผิว และดีสชารจภายใน คําตอบ 2 : สภาพนําของฉนวน (conductive) โพลาไรเซชัน และดีสชารจบางสวน PD

159 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 417 ดีสชารจบางสวน (PD) คืออะไร

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 : PD คือ ดีสชารจตามผิวฉนวนตอกับตัวนํา ทําใหผิวฉนวนเสีย คําตอบ 3 : PD คือ ดีสชารจภายในเนื้อฉนวน เนื่องจากสิ่งแปลกปลอม คําตอบ 4 : PD คือ ดีสชารจเบรกดาวนที่ไมสมบูรณ เปนดิสชารจที่ไมเชื่อมโยงถึงกันระหวางอิเล็กโตรด

ขอที่ : 418 ทําไมมาตรฐานจึงกําหนดใหมีการทดสอบตรวจจับดีสชารจบางสวน PD ในเคเบิลแรงสูงเพราะการเกิด PD ทําให

คําตอบ 1 : เกิดการรบกวนอุปกรณสื่อสาร คําตอบ 2 : อายุการใชงานสั้นลง และอาจนําไปสูการเกิดเบรกดาวนได คําตอบ 3 : เกิดการสูญเสียกําลังไฟฟา และเกิดความรอน คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 419 คาดีสชารจบางสวน (PD) ตามมาตรฐาน IEC กําหนดหนวยของ PD วาอะไร

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

160 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 420 วงจรพื้นฐานในการวัด PD ประกอบดวยตัวจายแรงดันทดสอบ AC วัสดุทดสอบ และองคประกอบอะไรบาง

คําตอบ 1 : ตัวเก็บประจุคับปลิง อิมพิแดนซ เครื่องวัด PD คําตอบ 2 : ตัวเก็บประจุคับปลิง มิเตอรวัดกระแสรั่ว คําตอบ 3 : ตัวเก็บประจุมาตรฐานและเชอริงบริดจ คําตอบ 4 : ตัวเก็บประจุแรงสูง และไมโครแอมมิเตอร

ขอที่ : 421 การทดสอบ BIL ของวัสดุหรืออุปกรณทดสอบจะปอนแรงดันทดสอบชนิดใด

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 422 การทดสอบ BSL จะเปนการทดสอบความคงทนตอแรงดันอิมพัลสสวิตชิ่งแกวัสดุและอุปกรณที่ใชกับระบบแรงดันสูงสุดระดับใด

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

161 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 423 การทดสอบประจําของลูกถวยฉนวนพอรซเลนในโรงงาน ทดสอบดวยแรงดันความถี่สูง ที่ไดจากหมอแปลงเทสลา เพื่อวัตถุประสงคอะไร

คําตอบ 1 : เพื่อตรวจสอบความบกพรองเนื้อฉนวนภายใน ที่ไมสามารถสังเกตเห็นไดดวยตาเปลา คําตอบ 2 : เพื่อตรวจสอบมิติของลูกถวยวาเปนไปตามมาตรฐานกําหนดหรือไม คําตอบ 3 : เพื่อตรวจสอบวาจะมีโคโรนาหรือไม คําตอบ 4 : เพื่อตรวจสอบความคงทนตอการเจาะทะลุของลูกถวยฉนวน

ขอที่ : 424 มาตรฐาน IEC กําหนดใหมีการทดสอบความคงทนตอการเจาะทะลุของลูกถวยฉนวนดัวยแรงดันอิมพัลสหนาคลื่นชันในอากาศ ทดสอบเฉพาะลูกถวยประเภทใด

คําตอบ 1 : เฉพาะประเภท B คือลูกถวยที่มีความหนาเนื้อฉนวนมากกวาครึ่งหนึ่งของระยะอารก คําตอบ 2 : เฉพาะประเภท B คือลูกถวยที่มีความหนาเนื้อฉนวนนอยกวาครึ่งหนึ่งของระยะอารก คําตอบ 3 : เฉพาะประเภท A คือลูกถวยที่มีความหนาเนื้อฉนวนมากกวาครึ่งหนึ่งของระยะอารก คําตอบ 4 : เฉพาะประเภท A คือลูกถวยที่มีความหนาเนื้อฉนวนนอยกวาครึ่งหนึ่งของระยะอารก

ขอที่ : 425 มาตรฐานกําหนดใหมีการทดสอบความคงทนของลูกถวยฉนวนเฉพาะประเภท B ตอแรงดันอิมพัลสหนาคลื่นชันเพราะวา

คําตอบ 1 : ลูกถวยอาจไดรับแรงดันเสิรจฟาผาที่มีความชันสูงจะทําใหลูกถวยเกิดการ เจาะทะลุได คําตอบ 2 : การเกิดเจาะทะลุของลูกถวยฉนวน ทําใหระยะวาบไฟตามผิว ( flashover ) สั้นลง คําตอบ 3 : แรงดันอิมพัลสหนาคลื่นชันจะทําใหเกิดวาบไฟตามผิวยอนกลับ ( backflashover ) ได คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 426 อะไรที่ไมใชผลกระทบจาก partial discharges

คําตอบ 1 : ทําใหเกิดพลังงานสูญเสียตลอดเวลา คําตอบ 2 : ทําใหเกิดคลื่นแมเหล็กไฟฟาแพรกระจาย คําตอบ 3 : ทําใหฉนวนอายุใชงานสั้น คําตอบ 4 : ทําใหฉนวน PE เปลี่ยนเปน XLPE

162 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 427 การทดสอบ BIL หมายถึงขอใด

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 : การทดสอบแรงดันอิมพัลสรูปคลื่นฟาผา เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงของฉนวนตอแรงดัน คําตอบ 3 : การทดสอบความคงทนแรงดันอิมพัลสรูปคลื่นฟาผา ตามมาตรฐานกําหนด คําตอบ 4 : การทดสอบแรงดันอิมพัลสรูปคลื่นฟาผา เพื่อหาคากําลังไฟฟาสูญเสียไดเล็กตริก (dielectric loss)

ขอที่ : 428 ขอใดเปนการเรียงลําดับแรงดันเบรกดาวนของอากาศระหวางอิเล็กโตรดแทง-ระนาบจากนอยไปมาก

คําตอบ 1 : switching > lightning > steep front คําตอบ 2 : switching < lightning < steep front คําตอบ 3 : steep front < switching < lightning คําตอบ 4 : switching < steep front < lightning

ขอที่ : 429 หมอแปลงไฟฟากําลังทําไมจึงตองมีการทดสอบ BIL

คําตอบ 1 : เพื่อทดสอบวาโครงสรางของหมอแปลงนั้นๆจะทนตอแรงดันเกินความถี่ไฟฟากําลังไดหรือไม คําตอบ 2 : เพื่อทดสอบวาฉนวนรอบขดลวดของหมอแปลงนั้นๆจะทนตอแรงดันเกินความถี่ไฟฟากําลังไดหรือไม คําตอบ 3 : เพื่อทดสอบวาโครงสรางของหมอแปลงนั้นๆจะทนตอแรงดันเกินเสิรจสวิตชิ่งไดหรือไม คําตอบ 4 : เพื่อทดสอบวาฉนวนรอบขดลวดของหมอแปลงนั้นๆจะทนตอแรงดันเกินเสิรจฟาผาไดหรือไม

ขอที่ : 430 การที่ลูกถวยฉนวนมีครีบและเนื้อผิวที่โคง เพื่อประโยชนอะไร

คําตอบ 1 : เพื่อใหแนวผิวของฉนวนโคงไปตามเสนศักยไฟฟา ซึ่งทําใหความเครียดสนามไฟฟาตามผิวลูกถวยมีคามากที่สุด คําตอบ 2 : เพื่อใหแนวผิวของฉนวนโคงไปตามเสนศักยไฟฟา ซึ่งใหความเครียดสนามไฟฟาตามผิวลูกถวยมีคานอยที่สุด คําตอบ 3 : เพื่อใหแนวผิวของฉนวนไมเกิดการรองรับน้ําฝน คําตอบ 4 : เพื่อใหลูกถวยมีความคงทนตอแรงกลไดสูงขึ้น

ขอที่ : 431

วงจรหมอแปลงเทสลาปรับความถี่ได 200kHz เมื่อทดสอบลูกถวยแทง (line post) พอเปลี่ยนลูกถวยทดสอบเปนแบบแขวน ความถี่จะได 200kHz ตามที่มาตรฐานกําหนดไวหรือไม เพราะอะไร และถาไมไดจะปรับอยางไรในทางปฏิบัติ

163 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : ได เพราะคาเก็บประจุของลูกถวยทดสอบไมมีผลกระทบตอความถี่ของหมอแปลงเทสลา คําตอบ 2 : ได เพราะคาเก็บประจุของลูกถวยทั้งสองแบบมีคาเทากัน คําตอบ 3 : ไมได เพราะคาเก็บประจุของลูกถวยตางแบบกันมีคาไมเทากัน แกไขโดยการปรับคาความเหนี่ยวนําของขดลวดดานแรงต่ํา คําตอบ 4 : ไมได เพราะคาเก็บประจุของลูกถวยตางแบบกันมีคาไมเทากัน แกไขโดยการปรับคาความเหนี่ยวนําของขดลวดดานแรงสูง

ขอที่ : 432 ในการทดสอบ BIL สําหรับหมอแปลง 3 เฟสขนาดใหญ ซึ่งมีคาอิมพีแดนซต่ํา และตัวเก็บประจุของเครื่องกําเนิดแรงดันอิมพัลสมีขนาดจํากัด มักจะมีปญหาในการปรับรูปคลื่นอยางไร

คําตอบ 1 : รูปคลื่นมักจะมีคายอดต่ํา และชวงหางคลื่นยาวเกินไป คําตอบ 2 : รูปคลื่นมักจะมีคายอดต่ํา และชวงหางคลื่นสั้นเกินไป คําตอบ 3 : รูปคลื่นมักจะมีออสซิลเลชัน และชวงหางคลื่นสั้นเกินไป คําตอบ 4 : รูปคลื่นมักจะมีออสซิลเลชัน และชวงหางคลื่นยาวเกินไป

ขอที่ : 433 ในการทดสอบลูกถวยแขวนและลูกถวยกานตรง ดวยแรงดันอิมพัลสหนาคลื่นชัน จะปอนแรงดันที่ใด

คําตอบ 1 : ปอนหัวครอบลูกถวยแขวน และกานของลูกถวยกานตรง คําตอบ 2 : ปอนกานลูกถวยแขวน และหัวลูกถวยกานตรง คําตอบ 3 : ปอนหัวครอบลูกถวยแขวน และหัวลูกถวยกานตรง คําตอบ 4 : ปอนกานลูกถวยแขวน และกานของลูกถวยกานตรง

ขอที่ : 434 ตองการทดสอบความคงทนตอแรงดันเสิรจ ของอุปกรณ GIS ระบบ 115 kV 50 Hz จะใชแรงดันทดสอบจากตัวจายอะไร

คําตอบ 1 : หมอแปลงทดสอบ คําตอบ 2 : เครื่องกําเนิดแรงดันสูงกระแสตรง คําตอบ 3 : เครื่องกําเนิดแรงดันอิมพัลสฟาผา คําตอบ 4 : เครื่องกําเนิดแรงดันอิมพัลสสวิตชิ่ง

ขอที่ : 435

คําตอบ 1 :

164 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 436 ในขณะที่เกิดดิสชารจบางสวน(PD) บนสายสงแรงสูงแบบขึงอากาศ จะเกิดอะไรดังตอไปนี้

คําตอบ 1 : คลื่นสนามแมเหล็กไฟฟา ในยานความถี่สูง รบกวนระบบสื่อสาร

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : เกิดเสียงฮิสซิ่ง (hissing) คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 437 แรงดันชนิดใดใชในการทดสอบความคงทนของลูกถวยฉนวนตอการเจาะทะลุ(puncture test) ในน้ํามัน

คําตอบ 1 : แรงดันกระแสสลับความถี่ต่ํา คําตอบ 2 : แรงดันกระแสสลับความถี่สูง คําตอบ 3 : แรงดันอิมพัลสหนาคลื่นชัน คําตอบ 4 : แรงดันอิมพัลสสวิตชิ่ง

ขอที่ : 438 แรงดันชนิดใดใชในการทดสอบความคงทนของลูกถวยฉนวนตอการเจาะทะลุ(puncture test) ในอากาศ

คําตอบ 1 : แรงดันกระแสสลับความถี่ต่ํา คําตอบ 2 : แรงดันกระแสสลับความถี่สูง คําตอบ 3 : แรงดันอิมพัลสหนาคลื่นชัน คําตอบ 4 : แรงดันอิมพัลสสวิตชิ่ง

165 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 439 Basic Impulse Insulation Level (BIL) คืออะไร

คําตอบ 1 : คาแรงดันทดสอบความคงทนตอแรงดันอิมพัลสฟาผา (lightning impulse) คําตอบ 2 : คาแรงดันทดสอบความคงทนตอแรงดันอิมพัลสสวิตชิ่ง(switching impulse) คําตอบ 3 : คาแรงดันทดสอบความคงทนตอแรงดันกระแสสลับความถี่ต่ํา คําตอบ 4 : คาแรงดันทดสอบความคงทนตอแรงดันกระแสสลับความถี่สูง

ขอที่ : 440

ระดับสูงสุดของสนามไฟฟาที่ประชาชนสามารถรับไดอยางปลอดภัยในที่สาธารณะตลอด 24 ชั่วโมง ที่กําหนดโดยองคกร The International Radiation Protection Association (IRPA) มีคาเทาใด

คําตอบ 1 : 1 kV/m คําตอบ 2 : 5 kV/m คําตอบ 3 : 10 kV/m คําตอบ 4 : 15 kV/m

ขอที่ : 441

คําตอบ 1 : 450 kV คําตอบ 2 : 550 kV คําตอบ 3 : 650 kV คําตอบ 4 : 750 kV

ขอที่ : 442 หมอแปลงเทสลาที่ทดสอบประจําลูกถวยฉนวนตรวจสอบความบกพรองของเนื้อฉนวนพอรซเลนในโรงงาน ความถี่ที่ใชทดสอบกันโดยทั่วไปจะมีความถี่

คําตอบ 1 : 1.2 – 5 kHz คําตอบ 2 : 10 – 30 kHz คําตอบ 3 : 100 – 250 kHz คําตอบ 4 : 1000 – 2000 kHz

ขอที่ : 443

166 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

การทดสอบกับลูกถวยฉนวนไฟฟาแรงสูงทุกลูกในโรงงาน เพื่อดูวามีความบกพรองจากการผลิตหรือไม โดยใหเกิดการวาบไฟตามผิวดวยแรงดันความถี่สูงประมาณ 200 kHz ทดสอบที่ความถี่ 50 Hz เปนเวลา 3-5 วินาที การทดสอบแบบนี้เรียกวา คําตอบ 1 : การทดสอบความคงทนตอแรงดัน (withstand voltage test) คําตอบ 2 : การทดสอบความทนทาน(endurance test) คําตอบ 3 : การทดสอบเฉพาะ(type test) คําตอบ 4 : การทดสอบประจํา(routine test)

ขอที่ : 444

การทดสอบโดยการเพิ่มแรงดันทดสอบจนทําให ไดอิเล็กตริกเสียสภาพการเปนฉนวนอันเนื่องจากความเครียดของสนามไฟฟาที่เกิดจากแรงดันที่ปอน ทดสอบจนเกิดดิสชารจแตกสลายจนทําใหแรงดันระหวาง อิเล็กโตรดลดลงต่ํา การทดสอบดังกลาวเรียกวา

คําตอบ 1 : การทดสอบความคงทนตอแรงดัน (withstand voltage test) คําตอบ 2 : การทดสอบความทนทาน (endurance test) คําตอบ 3 : การทดสอบประจํา (routine test) คําตอบ 4 : การทดสอบแบบทําลาย(destructive test)

ขอที่ : 445 ในการทดสอบดวยแรงดันทดสอบที่สภาวะกําหนด หลังจากทดสอบตัวอยางทดสอบนั้น ๆ จะตองไมเกิดรองรอยการแตกสลายใด ๆ ทั้งสิ้น เราเรียกการทดสอบแบบนี้วา

คําตอบ 1 : การทดสอบความคงทนตอแรงดัน (withstand voltage test) คําตอบ 2 : การทดสอบความทนทาน (endurance test) คําตอบ 3 : การทดสอบประจํา (routine test) คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

ขอที่ : 446 การทดสอบลูกถวยฉนวนพอรซเลนดวยแรงดันอิมพัลสหนาคลื่นชันในอากาศตามมาตรฐาน IEC กําหนดเรียกวาการทดสอบ

คําตอบ 1 : ความคงทนตอการเจาะทะลุในอากาศ คําตอบ 2 : ความทนทาน คําตอบ 3 : แบบประจํา คําตอบ 4 : แบบทําลาย

ขอที่ : 447 การทดสอบ BIL สําหรับหมอแปลงไฟฟากําลัง การสรางรูปคลื่นตัด (Chopped wave) จะตองอาศัยอุปกรณใดในการสรางรูปคลื่น

คําตอบ 1 : สปราคแกป คําตอบ 2 : วงจร RC

167 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 3 : ชุกทริกสัญญาณ คําตอบ 4 : แกปขนานที่เอาทพุท

ขอที่ : 448 การทดสอบหมอแปลงไฟฟากําลังในระบบจําหนายแรงดันสูงพิกัด 22 kV หัวขอใดไมตองทําการทดสอบ

คําตอบ 1 : BIL คําตอบ 2 : BSL คําตอบ 3 : Temperature rise test คําตอบ 4 : Dielectric loss

ขอที่ : 449 ลูกถวยฉนวนไฟฟาในระบบจําหนายไฟฟากําลัง พิกัด 115 kV ไมจําเปนตองผานการทดสอบหัวขอใด

คําตอบ 1 : Impulse voltage test คําตอบ 2 : Puncture test คําตอบ 3 : Induced overvoltage test คําตอบ 4 : Temperature rise test

ขอที่ : 450 การทดสอบที่กระทําตออุปกรณทุกยูนิตที่ผลิตออกมา ความหมายคือขอใด?

คําตอบ 1 : Type test คําตอบ 2 : Special test คําตอบ 3 : Routine test คําตอบ 4 : Aging test

ขอที่ : 451 ขอใดไมเกี่ยวของกับการจัดเตีรยมแรงดันสูงกระแสสลับเพื่อการทดสอบ

คําตอบ 1 : ไมควรมีสวนประกอบของ AC ที่จะทําใหเกิด Ripple Factor เกิน 3% คําตอบ 2 : ตองเปนสัญญาณ Sine ความถี่อยูในชวง 45-60 Hz

คําตอบ 3 :

168 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 4 : สําหรับการทดสอบมลภาวะอาจตองใชกระแสสูงกวา 15 A

ขอที่ : 452 การทดสอบวัดคาดีสชารบางสวนของสายเคเบิลแรงดันสูง ในการวัดตามมาตรฐานมีหนวยที่เรียกวาอะไร?

คําตอบ 1 : ไมโครฟารัด คําตอบ 2 : พิโคฟารัด คําตอบ 3 : ไมโครคูลอมส คําตอบ 4 : พิโคคูลอมส

ขอที่ : 453 คากําลังงานสูญเสียไดอิเล็กตริกในวัสดุฉนวนหรือฉนวนในอุปกรณอุปกรณไฟฟาแรงสูงหาไดจากสมการใด?

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 454

คําตอบ 1 :

169 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 455 ขดใดไมเกี่ยวของกับการกําหนดคุณสมบัติของโวลเตจดิไวเดอรที่ใชวัดแรงดันทดสอบอิมพัลส

คําตอบ 1 : ใชในการปรับคาของเวลาหนาคลื่นและหางคลื่นได คําตอบ 2 : เวลาตอบสนอง T ตองนอยกวา 0.2 ไมรโครวินาที

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : ไมเปนโหลดใหกับเครื่องกําเนิดอิมพลัส

ขอที่ : 456 ขอกําหนดคุณลักษณะใด? ไมเกี่ยวของกับการออกแบบระบบวัด Partial Discharge อางอิงตามมาตรฐานใหมของ IEC ที่ระบุไว

คําตอบ 1 : อิมพีแดนซถายโอน Z (f) คําตอบ 2 : ความถี่จํากัดลางและบน คําตอบ 3 : วงจรรักษาความถี่ของระบบไมใหเปลี่ยนแปลง คําตอบ 4 : เวลาแยกชัดพัลส (pulse resolution time)

ขอที่ : 457

170 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : Lightning Discharge Gap คําตอบ 2 : Lightning Surge Arrester คําตอบ 3 : Lightning Rod คําตอบ 4 : Lightning Counter

ขอที่ : 458

171 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : ระยะรั่ว คําตอบ 2 : ระยะรั่วปองกัน คําตอบ 3 : ระยะอารกแหง คําตอบ 4 : ระยะอารกเบียก

ขอที่ : 459

172 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : ลูกถวยประเภท A คําตอบ 2 : ลูกถวยประเภท B คําตอบ 3 : ลูกถวยประเภท Post Insulator คําตอบ 4 : ลูกถวยประเภท Pin Insulator

ขอที่ : 460

คําตอบ 1 : ลูกถวยประเภท A คําตอบ 2 : ลูกถวยประเภท B คําตอบ 3 : ลูกถวยประเภท Post Insulator คําตอบ 4 : ลูกถวยประเภท Pin Insulator

ขอที่ : 461

173 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : การทดสอบหาคาดิสชารบางสวน (PD)

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : การทดสอบฉนวนดวยแรงดันสูงอิมพัลส (BIL) คําตอบ 4 : การทดสอบกระแสลัดวงจรสําหรับขดลวด (Short circuit test)

ขอที่ : 462

คําตอบ 1 : 1100 kV ไมเกิดวาบไฟยอนกลับ เพราะคาเสิรจยังต่ํากวา BIL คําตอบ 2 : 1100 kV เกิดวาบไฟยอนกลับ เพราะคาเสิรจสูงกวา BIL คําตอบ 3 : 850 kV เกิดวาบไฟยอนกลับ เพราะคาเสิรจสูงกวา BIL คําตอบ 4 : 550 kV ไมเกิดวาบไฟยอนกลับ เพราะคาเสิรจเทากับ BIL

174 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 463

คําตอบ 1 : นอยกวา 600 kV คําตอบ 2 : เทากับ 600 kV คําตอบ 3 : มากกวา 600 kV แตนอยกวา 1200 kV คําตอบ 4 : เทากับ 1000 kV

ขอที่ : 464

คําตอบ 1 : เทากับ 300 kV คําตอบ 2 : เทากับ 1200 kV คําตอบ 3 : เทากับ 200 kV คําตอบ 4 : เทากับ 600 kV

ขอที่ : 465

ถาเกิดฟาผาลงใกลเคียงสายสงแรงสูง อาจทําใหเกิดแรงดันเกินเสิรจบนสายสงแรงสูงถึง 300 kV จะเกิดผลกระทบตอการฉนวนของระบบที่ใชแรงดันต่ํากวา 69 kV หรือไม เพราะอะไร

คําตอบ 1 : ไมเกิดเพราะวาระบบ 69 kV มีคา BIL = 325 kV คําตอบ 2 : เกิดผลกระทบเพราะการฉนวนระบบมีคา BIL ต่ํากวาแรงดันเสิรจ คําตอบ 3 : เกิดผลกระทบเพราะการฉนวนระบบทนตอแรงดันเกิน AC ไดต่ํากวา 140 kV คําตอบ 4 : ไมเกิดผลกระทบเพราะแรงดันเกินเสิรจเกิดจากการเหนี่ยวนํามีพลังงานต่ํา

ขอที่ : 466

175 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 467

คําตอบ 1 : คา BIL จะมีคานอยเมื่อเทียบกับแรงดันเสิรจสวิตชิ่งที่เกิดขึ้นจะมีคาเพิ่มตามระดับแรงดันระบบ

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : พลังงานของเสิรจสวิตชิ่งจะมีคาสูงกวาพลังงานจากเสิรจฟาผา คําตอบ 4 : ไมสามารถปองกันการเกิดอารกซ้ํา (restriking)ได

ขอที่ : 468 เมื่อเซอรกิตเบรเกอรตัดวงจรหมอแปลงขณะไมมีโหลด ทําไมจึงเกิดออสซิลเลชันความถี่สูงกวาความถี่พลังงาน

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 : เพราะวาขดลวดหมอแปลงมีคา L และ C ทําใหเกิดการถายทอดพลังงานระหวาง L กับ C จึงเกิดเปนออสซิลเลชัน คําตอบ 3 : เพราะวาหมอแปลงมีกระแสสรางสนามแมเหล็กตลอดเวลาที่ปอนแรงดันแมจะไมมีโหลด คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ 176 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 469

เซอรกิตเบรเกอรตัดกระแสสรางสนามแมเหล็กของหมอแปลงไฟฟากําลัง 3 เฟส 24 kV 50 Hz มีคาเก็บประจุ 2500 pF และความเหนี่ยวนํา L = 14.7 H ถากระแสถูกตัดขณะไมมีโหลดเทากับ 3 A จงหาแรงดันตกครอมหนาสัมผัส

คําตอบ 1 : 68 kV คําตอบ 2 : 48 kV คําตอบ 3 : 230 kV คําตอบ 4 : 136 kV

ขอที่ : 470 เซอรกิตเบรเกอรตัดตัวเก็บประจุ capacitor bank ระบบ 3 เฟส 24 kV 50 Hz นิวตรัลตอลงดิน คํานวณหาแรงดันเกินครอมหนาสัมผัสเซอรกิตเบรเกอรจะไดอยางนอย

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 471

เซอรกิตเบรเกอร ( CB ) ตัดวงจรเก็บประจุ capacitor bank ที่ใชชดเชยแฟกเตอรกําลัง อาจเกิดแรงดันเกินเสิรจสวิตชิ่งครอมหนาสัมผัส CB ไดถึง 3 เทาของแรงดันใชงานปกติ นั้นเกิดขึ้นไดอยางไร

คําตอบ 1 : เกิดขึ้นไดถามีการอารกซ้ํา ( restriking ) เมื่อ CB ตัดวงจร คําตอบ 2 : เกิดขึ้นเมื่อโหลดแบบเหนี่ยวนําถูกตัดออกหมดทันที คําตอบ 3 : เกิดขึ้นเมื่อนิวตรัลของระบบที่ตอลงดินโดยตรงเกิดขาด คําตอบ 4 : เกิดขึ้นเมื่อสายเฟสหนึ่งเกิดขาด

ขอที่ : 472

ระบบสงจายแรงสูง 3 เฟส 50 Hz นิวตรัลตอลงดินโดยตรง ถาเกิดเฟสหนึ่งผิดพรองลงดินโดยตรง จะทําใหเกิดแรงดันเกินที่เฟสใด เปนแบบใดถาเซอรกิตเบรเกอรยังไมตัดวงจรเฟสที่ผิดพรอง

177 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : เกิดแรงดันเกินเฟสที่ผิดพรองลงดิน เนื่องจากกระแสผิดพรองมีคาสูง คําตอบ 2 : เกิดแรงดันเกินเฟสที่ไมผิดพรองมีคาเปน 2 เทาของคายอดเฟส คําตอบ 3 : เกิดแรงดันเกินเฟสที่ไมผิดพรอง จะมีคาไมเกิน 80% ของแรงดัน เฟส-เฟส คําตอบ 4 : เกิดแรงดันเกินเฟสที่ไมผิดพรองเทากับแรงดัน เฟส-เฟส

ขอที่ : 473

ระบบสงจายแรงสูง 3 เฟส 50 Hz นิวตรัลตอลงดินโดยตรง ถาเกิดเฟสหนึ่งผิดพรองลงดินโดยตรง ทําใหเซอรกิตเบรเกอรทํางานตัดวงจรผิดพรอง จะเกิดแรงดันเกินที่เฟสใดสูงสุด และเปนแบบใด

คําตอบ 1 : เกิดแรงดันเกินเสิรจแบบสวิตชิ่ง มีคาสูง 2 เทาของคายอดเฟส หรือมากกวาถาเกิดอารกซ้ําที่หนาสัมผัสเซอรกิตเบรเกอร คําตอบ 2 : เกิดแรงดันเกินเสิรจแบบสวิตชิ่ง มีคาเทากับแรงดันเฟส-เฟส ที่เฟสผิดพรอง คําตอบ 3 : เกิดแรงดันเกินแบบสวิตชิ่งมีคาไมเกิน 80% ของแรงดัน เฟส-เฟส บนเฟสผิดพรอง คําตอบ 4 : เกิดแรงดันเกินเสิรจสวิตชิ่งเทากันทุกเฟสมีคาเทากับ 2 เทาคายอดเฟส

ขอที่ : 474 สมรรถนะของสายสง ที่สามารถสงพลังงาน AC 3 เฟส กําหนดดวยอะไร

คําตอบ 1 : ความตานทานของสายสง คําตอบ 2 : กําลังไฟฟาธรรมชาติ คําตอบ 3 : ระยะทางของสายสง คําตอบ 4 : กําลังไฟฟาสูญเสียไดอิเล็กตริก

ขอที่ : 475 ปรากฎการณ back flashover คืออะไร

คําตอบ 1 : ปรากฎการณของฟาผาชนิดหนึ่ง คําตอบ 2 : ฟาผาโดยตรงเขาที่สายสงแรงสูง คําตอบ 3 : ฟาผาจากพื้นโลกขึ้นไปที่ชั้น บรรยากาศ คําตอบ 4 : ฟาผาที่ลงสายดินแลวทําใหแรงดันเกินเสิรจวาบไฟยอนกลับเขาที่สายสง

ขอที่ : 476 Ferranti effect คืออะไร

คําตอบ 1 : แรงดันเกินชั่วครูแบบรีโซแนนซ คําตอบ 2 : การเกิดผิดพรองลงดินแบบไมสมดุล คําตอบ 3 : การสับสวิตช บนสายสงระยะไกลที่ปลายทางไมมีโหลดทําใหเกิดแรงดันเกินที่ปลายทาง คําตอบ 4 : การปลดโหลดเต็มที่แบบเหนี่ยวนําออกไป แลวเพิ่มโหลดแบบเก็บประจุเขาไปทันทีทันใด

178 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 477 แรงดันเกินขอใดเปนสาเหตุทําใหเกิดวาบไฟยอนกลับ (back flashover)

คําตอบ 1 : แรงดันเกิน lightning surge คําตอบ 2 : แรงดันเกิน switching surge คําตอบ 3 : แรงดันเกิน ชั่วครู (TOV) คําตอบ 4 : แรงดันเกินสูงสุด rms ( MCOV )

ขอที่ : 478

เบรเกอรตัดกระแสที่สรางสนามแมเหล็ก ของหมอแปลงสามเฟส 24 kV, 50 Hz พิกัดขนาด 2,000 kVA ที่ 2.5 A มีคา เก็บประจุ C= 2000 pF จะเกิดแรงดันตกครอมหนาสัมผัส ของเบรเกอรเทาไร

คําตอบ 1 : 170 kV คําตอบ 2 : 235 kV คําตอบ 3 : 228 kV คําตอบ 4 : 198 kV

ขอที่ : 479

อุปกรณไฟฟาที่จะนําไปใชในระบบ 3 เฟส 230 kV, 50 Hz จะตองทําการทดสอบ BIL ตามมาตราฐาน IEC ซึ่งกําหนดไวหลายคา ทั้งนี้ขึ้นอยูกับการตอนิวตรัลลงดินโดยตรง จงกําหนดแรงดันทดสอบ BIL คําตอบ 1 : 650 kV คําตอบ 2 : 750 kV คําตอบ 3 : 850 kV คําตอบ 4 : 1050 kV

ขอที่ : 480 ถาเกิดฟาผาลงบนสายเฟสที่เปนแบบสายควบ (bu) กับสายเฟสที่เปนแบบสายเดี่ยว (si) จงเปรียบเทียบขนาดแรงดันเสิรจฟาผาที่เกิดขึ้นไมเทากันเพราะอะไร

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

179 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 481

คําตอบ 1 : SiC คําตอบ 2 : ZnO คําตอบ 3 : MgO คําตอบ 4 : Ar

ขอที่ : 482 ระดับแรงดันใดตอไปนี้มีคาสูงที่สุด

คําตอบ 1 : ระดับแรงดันระบบ (system voltage level) คําตอบ 2 : ระดับแรงดันปองกัน (protective level) คําตอบ 3 : ระดับแรงดันทดสอบ BIL หรือ SIL คําตอบ 4 : ระดับการฉนวน (insulation level)

ขอที่ : 483 ขอใดตอไปนี้ที่จําเปนตองรูสําหรับการเลือกระดับแรงดันปองกันของกับดัก

คําตอบ 1 : คาแรงดันBILของระบบ คําตอบ 2 : คาแรงดันสปารกหางคลื่นที่สูงสุดของรูปคลื่น 1.2/50 ไมโครวินาที คําตอบ 3 : คาแรงดันที่เหลือคางสูงสุดครอมกับดักที่กระแสกําหนดกับดักคือ 5 kA หรือ 10 kA คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 484 เมื่อคลื่นจร(travelling wave) ที่มีขนาด 100 kV เคลื่อนที่ในสายสงไปทางดานที่มีปลายเปด ที่ปลายเปดนี้จะมีคาแรงดันเปนเทาใด

คําตอบ 1 : 50 kV คําตอบ 2 : 100 kV คําตอบ 3 : 150 kV

180 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 4 : 200 kV

ขอที่ : 485 ผลของเฟอรรันตี้ (Ferranti effect) ที่เกิดขึ้นในสายสงขึ้นอยูกับอะไร

คําตอบ 1 : กระแสที่ไหลผานชั้นทแบบเก็บประจุของสายสง คําตอบ 2 : กระแสที่ไหลผานความเหนี่ยวนําของสายสง คําตอบ 3 : ความยาวของสายสง คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 486 ขอใดไมใช ผลกระทบจากฟาผา (Lightning Effect)

คําตอบ 1 : ผลทางความรอน คําตอบ 2 : ผลทางความดันบรรยายกาศ คําตอบ 3 : ผลทางไฟฟา คําตอบ 4 : ผลทางกล

ขอที่ : 487 การฉนวนซึ่งมีบทบาทสําคัญอยางยิ่งตอเสถียรภาพตอระบบไฟฟา ขอที่เกี่ยวของนอยที่สุด

คําตอบ 1 : ความเชื่อถือไดของระบบไฟฟา คําตอบ 2 : ความผิดพรองที่เกิดขึ้นในระบบสงจายกําลังไฟฟา คําตอบ 3 : คุณภาพไฟฟา (Power Quality) คําตอบ 4 : การจัดการดานพลังงานไฟฟาอยางคุมคา

ขอที่ : 488 คุณสมบัติของฉนวนไฟฟา ขอใดไมเกี่ยวของในการพิจารณาคุณสมบัติทางไฟฟาของฉนวน

คําตอบ 1 : การระบายความรอนไดด ีไมติดไฟ คําตอบ 2 : มีความตานทานสูง ทุกระดับแรงดัน คําตอบ 3 : มีคากําลังงานสูญเสียไดอิเล็กตริกต่ํา คําตอบ 4 : มีความคงทนตอแรงดันไฟฟาไดสูง

ขอที่ : 489 ขอใดคือคุณสมบัติของฉนวนแข็ง

181 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : ระบายความรอนไดดี คําตอบ 2 : ฉนวนมีความแทรกซึมไดดี คําตอบ 3 : กลับคืนสูสภาพความเปนฉนวนไมไดเมื่อเสื่อมสภาพ คําตอบ 4 : ปรับคาความเปนฉนวนเพิ่มขึ้นได

ขอที่ : 490 ขอใดไมใชสวนประกอบภายในกับดักฟาผา

คําตอบ 1 : Linear Resistors คําตอบ 2 : Non-linear Resistors คําตอบ 3 : Sic คําตอบ 4 : ZnO

ขอที่ : 491 ขอใดไมใชคุณสมบัติของกับดักฟาผาแบบ ZnO

คําตอบ 1 : ไมมีแกปขางใน คําตอบ 2 : รับพลังงานเพิ่มไดโดยการตอกับดักฟาผาแบบขนาน คําตอบ 3 : ความเปรอะเปอนไมมีผลตอการตอการทํางาน คําตอบ 4 : มีกระแสไหลตาม (follow current) เมื่อแรงดันเสิรจผานไป

ขอที่ : 492 ขอใดไมใชลักษณะของแรงดันเกินชั่วครู (Temporary Overvoltage : TOV)

คําตอบ 1 : ความถี่อาจสูงกวาหรือต่ํากวาความถี่พลังงาน คําตอบ 2 : เปนแรงดันเกินที่มีลักษณะของออสซิลเลชัน คําตอบ 3 : ความถี่ของออสซิลเลชันจะเทากับความถี่พลังงาน คําตอบ 4 : ความถี่จะมีออสซิลเลชันสูงซอนความถี่ระบบ

ขอที่ : 493 ในระบบปองกันฟาผาการติดตั้งตัวนําลงดินจะตองมิใหเกิดวาบไฟดานขาง (side flash) ทานเขาใจหลักการนี้อยางไร

คําตอบ 1 : ตัวนําลงดินจะตองมีคาอิมพีแดนซต่ํา และมีคาเหนี่ยวนํานอย คําตอบ 2 : หากอาคารมีความกวางยาวมาก ตองใชตัวนําลงดินหลายๆเสนขนานกัน คําตอบ 3 : หากอาคารมีความสูงมากๆ ตองมีการเชื่อมโยงตัวนําลงดินที่ขนานกันในชวงกลางของความสูง คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ 182 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 494 ตัวนําลอฟาของระบบปองกันที่มีความตานทานดินตางกัน จะใหประสิทธิผลการลอฟาตางกันอยางไร

คําตอบ 1 : เสาลอฟาที่มีความตานทานดินสูงจะสรางสตรีมเมอรไดยาวกวา ทําใหมีบริเวณปองกันมากยิ่งขึ้น คําตอบ 2 : เสาลอฟาที่มีความตานทานดินสูงจะสรางสตรีมเมอรไดยาวกวา ทําใหมีบริเวณปองกันนอยลง คําตอบ 3 : เสาลอฟาที่มีความตานทานดินต่ําจะสรางสตรีมเมอรไดยาวกวา ทําใหมีบริเวณปองกันมากยิ่งขึ้น คําตอบ 4 : เสาลอฟาที่มีความตานทานดินต่ําจะสรางสตรีมเมอรไดยาวกวา ทําใหมีบริเวณปองกันนอยลง

ขอที่ : 495 รากสายดินแบบแทงกลมยาว 3 เมตร และเสนผานศูนยกลาง 5 เซนติเมตร ฝงดิ่งลงไปในดินที่มีความตานทานจําเพาะ 200 โอหม-เมตร จงคํานวณหาความตานทานดิน

คําตอบ 1 : 38 โอหม คําตอบ 2 : 48 โอหม คําตอบ 3 : 58 โอหม คําตอบ 4 : 68 โอหม

ขอที่ : 496 รากสายดินเปนเสนทองแดงแบนหนา 3.5 มิลลิเมตร กวาง 35 มิลลิเมตร ยาว 100 เมตร ความตานทานจําเพาะของดินมีคาเทากับ 200 โอหม-เมตร จงคํานวณหาความตานทานดิน

คําตอบ 1 : 3.7 โอหม คําตอบ 2 : 4.7 โอหม คําตอบ 3 : 5.7 โอหม คําตอบ 4 : 6.7 โอหม

ขอที่ : 497

โดยทั่วไปฟาผาจะเริ่มตนในกอนเมฆที่มีประจุสะสม ซึ่งมีการกระจายของประจุ โดยที่ฐานของกอนเมฆมีประจุเปนลบ สวนบนของกอนเมฆมีประจุเปนบวก อยากทราบวาจุดเริ่มตนของการเกิดฟาผามักจะเกิดขึ้นจากจุดใดเปนสวนใหญ

คําตอบ 1 : เกิดที่ฐานของกอนเมฆที่มีประจุลบ คําตอบ 2 : เกิดจากสวนบนของกอนเมฆที่มีประจุบวก คําตอบ 3 : เกิดจากตรงรอยตอระหวางประจุบวกกับลบในกอนเมฆ คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 498 ในกรณีที่ฟาผาเริ่มตนจากพื้นโลกไปสูกอนเมฆไดนั้น หัวนํารอง (leader) จะเริ่มกอตัวจากวัตถุหรือสิ่งปลูกสรางที่มีความสูงอยางนอยเทาใด ในพื้นที่ราบ

คําตอบ 1 : 50 เมตร

183 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 2 : 100 เมตร คําตอบ 3 : 200 เมตร คําตอบ 4 : 300 เมตร

ขอที่ : 499 ระยะฟาผาซึ่งเปนระยะชวงสุดทายของหัวนํารองที่จะวิ่งเขาหาวัตถุที่อยูใกลที่สุดจะมีคาโดยเฉลี่ยประมาณเทาใด

คําตอบ 1 : 10 เมตร คําตอบ 2 : 50 เมตร คําตอบ 3 : 100 เมตร คําตอบ 4 : 150 เมตร

ขอที่ : 500 ระบบสายดินที่ดีควรมีคาความตานทานดินเปนเทาใด

คําตอบ 1 : ไมเกิน 1 โอหม คําตอบ 2 : ไมเกิน 2 โอหม คําตอบ 3 : ไมเกิน 5 โอหม คําตอบ 4 : ไมเกิน 10 โอหม

ขอที่ : 501

ในการใชรากสายดินแบบแทงกลมฝงในแนวดิ่งนั้น ถาตองการทําใหคาความตานทานของรากสาย ดินมีคาต่ําลงโดยการฝงจํานวนแทงมากขึ้นนั้น ระยะหางระหวางแทงรากสายดินควรมีคาเปนเทาใด

คําตอบ 1 : ไมนอยกวา 0.5 เทาของความยาวยังผลของรากสายดิน คําตอบ 2 : ไมนอยกวา 1 เทาของความยาวยังผลของรากสายดิน คําตอบ 3 : ไมนอยกวา 1.5 เทาของความยาวยังผลของรากสายดิน คําตอบ 4 : ไมนอยกวา 2 เทาของความยาวยังผลของรากสายดิน

ขอที่ : 502 ผลของฟาผาอาจอยูในรูปความรอน แรงกล และผลทางไฟฟา ขอใดตอไปนี้เปนผลของฟาผาในรูปความรอน

คําตอบ 1 : เกิดวาบไฟยอนกลับลูกถวยยึดตัวนําแรงสูง คําตอบ 2 : ทําใหคอนกรีตเกิดการแตกราวได คําตอบ 3 : ทําใหตัวถังของรถบรรทุกเชื้อเพลิงเกิดเจาะทะลุ คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ 184 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 503 การเกิดฟาผามักกอใหเกิดความเสียหายทั้งทางตรงและทางออม จึงตองมีการปองกัน ใครเปนผูแนะนําใหใชเสาลอฟาเปนคนแรกของโลก

คําตอบ 1 : D’Alibard คําตอบ 2 : J. Priestley คําตอบ 3 : B. Franklin คําตอบ 4 : A. Spencer

ขอที่ : 504

การติดตั้งเสาลอฟาดวยวิธีทรงกลมกลิ้ง (rolling sphere) คือการใชทรงกลมกลิ้งบนหรือรอบบริเวณสิ่งที่จะปองกันจนสัมผัสพื้นดินและสิ่งอยูเหนือดินถาสัมผัสจุดใดจุดนั้นตองติดตั้งตัวนําลอฟา ตามขอกําหนดของมาตรฐาน IEC ทรงกลมกลิ้งมีรัศมีเทาใด

คําตอบ 1 : รัศมีเทากับความสูงของสิ่งที่จะปองกันที่สูงสุด คําตอบ 2 : รัศมีเทากับครึ่งหนึ่งของความสูงของสิ่งที่จะปองกันที่สูงสุด คําตอบ 3 : รัศมีเทากับระยะฟาผา (striking distance) คําตอบ 4 : รัศมีเทากับ 100 เมตร

ขอที่ : 505

การปองกันฟาผาโดยตรงแกระบบสงจายไฟฟากําลังโดยใชสายดินขึงอากาศ OGW (overhead ground wire) ขึงไวสูงกวาสายเฟสตามวิธีมุมปองกันทางปฏิบัติจะใชมุมปองกันวัดจากแนวดิ่งที่ผานสายดิน OGW มีมุมเทาใด

คําตอบ 1 : ใชมุมปองกัน 0 องศา คือขึงสาย OGW เหนือสายเฟสพอดี คําตอบ 2 : ใชมุมปองกันประมาณไมเกิน 30 องศา คําตอบ 3 : ใชมุมปองกัน 45 องศา คําตอบ 4 : ใชมุมปองกัน 60 องศา

ขอที่ : 506 การติดตั้งตัวนําลอฟาดวยวิธีทรงกลมกลิ้ง (rolling sphere) ตามขอกําหนดมาตรฐาน IEC เกี่ยวของกับขอใด

คําตอบ 1 : ขนาดกระแสฟาผาและระดับปองกัน คําตอบ 2 : ระยะฟาผา (striking distance) คําตอบ 3 : บริเวณปองกัน (protective space) คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 507 ตัวนําลอฟา คืออะไร คําอธิบายขอใดถูกตอง

185 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : คือตัวนําอาจเปนแทงหรือสายตัวนํา ที่ทําหนาที่รับฟาผาหรือลอใหฟาผาที่ตัวนําลอฟาถาหากจะมีฟาผาขึ้นในบริเวณนั้น คําตอบ 2 : คือตัวนําที่กอใหเกิดปรากฏการณฟาผาขึ้น คําตอบ 3 : คือตัวนําที่มีความตานทานสูงเพื่อจํากัดกระแสฟาผาใหมีคานอยลง คําตอบ 4 : คือตัวนําที่มีปลายแหลมติดตั้งบนเสาฉนวนเพื่อใหมีความเครียดสนามไฟฟาสูง เปนการเพิ่มประสิทธิภาพการลอฟาใหดีขึ้น

ขอที่ : 508 ประสิทธิผลของเสาลอฟาขึ้นอยูกับอะไร ขอใดเปนคําตอบที่ถูกตอง

คําตอบ 1 : ขึ้นอยูกับระดับมลภาวะของอากาศ คําตอบ 2 : ขึ้นอยูกับความสวาง เวลากลางวันหรือกลางคืน คําตอบ 3 : ขึ้นอยูกับจํานวนวันเกิดฟาคะนองในรอบป (thunderstorm day) คําตอบ 4 : ขึ้นอยูกับคาความตานทานของดินของตัวนําลอฟา ที่มีผลตอการสรางสตรีมเมอร

ขอที่ : 509 ขนาดของเสนผานศูนยกลางของตัวนําลอฟากําหนดจากอะไร ขอใดเปนคําตอบที่ถูกตอง

คําตอบ 1 : ความตานทานจําเพาะของดินที่ติดตั้งตัวนําลอฟา คําตอบ 2 : ความสูงเหนือระดับน้ําทะเล คําตอบ 3 : รูปลักษณะ (configuration) ของตัวนํา คําตอบ 4 : ขนาดกระแสฟาผาที่มีโอกาสเกิด และขีดจํากัดอุณหภูมิเพิ่มขึ้น

ขอที่ : 510 บริเวณปองกันฟาผาโดยตรง (protective space) หาไดอยางไร

คําตอบ 1 : โดยใชมุม 45 องศากับตัวนําลอฟาในแนวดิ่งและแนวระดับ คําตอบ 2 : โดยใชความสูงของตัวนําลอฟาเปนรัศมีของวงกลมหมุนรอบจุดยอดสูงสุดของตัวนําลอฟา คําตอบ 3 : โดยใชหลักการทรงกลมกลิ้ง (rolling sphere) ที่มีรัศมีเทากับระยะฟาผา คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 511 ระบบปองกันฟาผาแกสิ่งปลูกสรางประกอบดวย ตัวนําลอฟา ตัวนําลงดิน และระบบรากสายดิน อยากทราบวาตัวนําลงดินคืออะไร

คําตอบ 1 : คือตัวนําที่ตอระหวางตัวนําลอฟากับรากสายดิน ทําหนาที่ใหกระแสฟาผาไหลลงสูดินในแนวที่สั้นที่สุด คําตอบ 2 : คือตัวนําที่เชื่อมตอตัวนําลอฟาทั้งหลายใหตอถึงกันทางไฟฟา คําตอบ 3 : คือตัวนําที่เชื่อมตอตัวนําแทงรากสายดินทั้งหลายใหประสานถึงกัน คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ 186 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 512 การติดตั้งตัวนําลงดินที่ดีควรมีลักษณะอยางไร

คําตอบ 1 : ตองมีอยางนอย 2 เสน คําตอบ 2 : มีคาความเหนี่ยวนําต่ํา ไมกอใหเกิดวาบไฟดานขาง (side flash) คําตอบ 3 : ทําหนาที่เปนตัวนําลอฟาดานขางสิ่งปลูกสรางที่สูงมากไดดวย คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 513 รากสายดินทําหนาที่กระจายกระแสฟาผาลงไปในดินไดสะดวกและรวดเร็วลักษณะระบบสายดินที่ดีคืออะไร

คําตอบ 1 : ไมกอใหเกิดอันตรายแกคนและสัตวเนื่องจากแรงดันชวงกาว คําตอบ 2 : ความตานทานดินต่ํา ไมกอใหเกิดวาบไฟดานขาง (side flash) คําตอบ 3 : ไมกอใหเกิดการรบกวนแกอุปกรณที่มีความไวตอการรบกวน คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 514

คําตอบ 1 : ทําความตานทานจําเพาะของดินใหต่ํา คําตอบ 2 : ใชความยาวของรากสายดินสั้น คําตอบ 3 : จํานวนแทงมากๆ โดยวางติดกัน คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 515

คําตอบ 1 : เพิ่มความยาวของแทงรากสายดิน แตตองไมเกินความยาววิกฤต คําตอบ 2 : เพิ่มขนาดเสนผานศูนยกลางของแทงรากสายดินเปน 10 เทา คําตอบ 3 : ลดจํานวนแทงรากสายดินฝงดิ่งใหนอยลง คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ 187 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 516

คําตอบ 1 : ที่มีโอหมสูง ลอฟาดีกวาโอหมต่ํา คําตอบ 2 : ที่มีโอหมต่ํา ลอฟาดีกวา โอหมสูง คําตอบ 3 : ที่มีโอหมสูงและโอหมต่ําลอฟาไดดีเทากัน คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 517

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 518 การตอประสานรากสายดิน (grounding bonding) มีวัตถุประสงคเพื่ออะไร

คําตอบ 1 : เพื่อลดความตางศักยระหวางตัวนํา 2 จุดหรือ 2 ระบบ เนื่องจากกระแสฟาผา คําตอบ 2 : เพื่อปองกันการเกิดสปารก ที่อาจทําใหเกิดเพลิงไหมได เกิดระเบิดและอันตรายตอชีวิต

188 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 3 : เพื่อใหกระแสฟาผาไหลลงสูดินได คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 2 ถูกตอง

ขอที่ : 519

คําตอบ 1 : ไมเกิดเบรกดาวน เพราะตัวนํามีระยะหางมากกวาระยะเบรกดาวน คําตอบ 2 : เกิดเบรกดาวน เพราะกระแสฟาผาต่ํากวา ไดระยะ S นอยกวา 2 เมตร คําตอบ 3 : ไมเกิดเบรกดาวนเพราะตัวนํามีระยะหางนอยกวาระยะเบรกดาวน คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 2 ถูกตอง

ขอที่ : 520

แมจะไดมีการติดตั้งระบบปองกันฟาผาแกอาคาร แตอุปกรณไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสภายในอาคารอาจไดรับการรบกวนหรือเกิดความเสียหายจากผลของฟาผาได การรบกวนดังกลาวเขาไปถึงอุปกรณอิเล็กทรอนิกสไดอยางไร

คําตอบ 1 : โดยทางตัวนํา (conduction galvanic) ทางสายปอนกําลัง หรือทางสายดิน คําตอบ 2 : โดยการเหนี่ยวนํา (induction) ผานทางสนามไฟฟา สนามแมเหล็ก คําตอบ 3 : โดยทางแสงจากลําฟาผา คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 2 ถูกตอง

ขอที่ : 521

ผลของฟาผาอาจทําใหเกิดแรงดันเสิรจเขาทางสายปอนกําลังแรงต่ําไดจึงทําใหเกิดความเสียหายแกอุปกรณอิเล็กทรอนิกสจึงตองมีการปองกันซึ่งอาจทําไดหลายวิธี วิธีในขอใดถูกตอง

คําตอบ 1 : ใชกับดักเสิรจ (surge suppressor) ปองกันที่สายปอนกําลัง คําตอบ 2 : ใชการปองกันดวยกลองชีลด (shielding box) คําตอบ 3 : ใชสายปอนกําลังที่ทนแรงดันไดสูงขึ้น คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 522 วิธีการออกแบบจัดวางตําแหนงตัวนําลอฟาวิธีใดที่มาตรฐานการปองกันฟาผาสําหรับสิ่งปลูกสราง ของ ว.ส.ท. แนะนําใหใช 189 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : วิธีทรงกลมกลิ้ง (rolling sphere method) คําตอบ 2 : วิธีโครงตาขาย (mesh method) คําตอบ 3 : วิธีมุมปองกัน (protective angle method) คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 523 การวัดความตานทานจําเพาะของดิน (soil resistivity) สามารถวัดดวยวิธีใด

คําตอบ 1 : วิธีวัดดวยโอหมมิเตอร (ohm-meter) คําตอบ 2 : วิธีวัดดวยเครื่อง insulation tester คําตอบ 3 : วิธีวัดดวยเครื่องวัดความตานทานดิน คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 524 เงื่อนไขในการพิจารณาคาความตานทานของดินสําหรับระบบปองกันฟาผา คือขอใด

คําตอบ 1 : มีความตานทานต่ํา โดยไมทําใหเกิดอันตรายจากแรงดันชวงกาว คําตอบ 2 : มีความตานทานต่ํา โดยไมทําใหเกิดวาบไฟดานขาง คําตอบ 3 : มีคาความตานทานต่ํากวา 0.1 โอหม คําตอบ 4 : คําตอบ 1 และคําตอบ 2 ถูกตอง

ขอที่ : 525 “step voltage” หมายถึงขอใด

คําตอบ 1 : ลักษณะการเพิ่มขนาดของแรงดันเปนลําดับขั้นจากผลของกระแสฟาฝากระจายลงดิน คําตอบ 2 : แรงดันระหวางชวงกาวของคนหรือสัตวที่ทําใหเกิดจากผลของกระแสฟาผากระจายลงดิน คําตอบ 3 : แรงดันชวงกาวที่เกิดจากผลความตานทานดินที่ไมเทากันของระบบตอลงดิน คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 526 คาความตานทานจําเพาะของดินมีหนวยวัดอยางไร

คําตอบ 1 : โอหมตอตารางเมตร คําตอบ 2 : โอหมตอลูกบาศกเมตร คําตอบ 3 : โอหม-เมตร คําตอบ 4 : โอหมตอเมตร 190 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

ขอที่ : 527

การวัดคาความตานทานจําเพาะของดิน โดยวิธี four-point method ถาสมมุติระยะ "a" ระหวางแทงตัวนํา (rod) แตละแทงมีความหางเทากันเปน 20 เมตร และที่มิเตอรอานคาความตานทานได 2 โอหม คาความตานทานจําเพาะของดินมีคาเทากับขอใด

คําตอบ 1 : 25.1 โอหม-เมตร คําตอบ 2 : 51 โอหม-เมตร คําตอบ 3 : 101 โอหม-เมตร คําตอบ 4 : 251 โอหม-เมตร

ขอที่ : 528

การวัดคาความตานทานจําเพาะของดิน โดยวิธี four-point method ถาสมมุติระยะ "a" ระหวางแทง rod มีความหางเทากันเปน 10 เมตร ระยะความลึก "b" ของแทงอิเล็กโตรดชวย ควรมีคาไมเกินขอใด

คําตอบ 1 : 20 cm คําตอบ 2 : 30 cm คําตอบ 3 : 40 cm คําตอบ 4 : 50 cm

ขอที่ : 529 สวนประกอบของระบบปองกันฟาผาอาคารสิ่งปลูกสราง คือขอใด

คําตอบ 1 : ตัวนําลอฟา (air terminal) คําตอบ 2 : ตัวนําลงดิน (down conductor) คําตอบ 3 : รากสายดิน (earth electrode) คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 530 ขอใดที่มีความเสี่ยงตอการไดรับอันตรายจากฟาผานอยที่สุด

คําตอบ 1 : หลบฝนใตตนไมสูงเดน คําตอบ 2 : วายน้ําในทะเล หรือแมน้ําขณะเกิดฟาคะนอง คําตอบ 3 : นอนใหลําตัวขนานกับแนวรัศมีของตนไมหรือสิ่งปลูกสรางสูงเดน คําตอบ 4 : นั่งยองๆ เทาชิดหางจากตนไมหรือสิ่งปลูกสรางสูงเดนอยางนอย 2 เมตร

ขอที่ : 531 “แรงดันระหวางเทาทั้งสองขาง โดยทั่วไปกําหนดระยะหาง 1 เมตร” ความหมายคือขอใด?

191 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

คําตอบ 1 : Ground potential rise คําตอบ 2 : Step voltage คําตอบ 3 : Touch voltage คําตอบ 4 : Mesh voltage

ขอที่ : 532

ขอใดคือนิยามดังกลาวนี้ “ความสามารถของอุปกรณหรือระบบที่จะทํางานในสามารถของอุปกรณหรือระบบที่จะทํางานในสภาวะแวดลอมที่มีการรบกวนแมเหล็กไฟฟาไดตามอักษรโดยไมเสื่อมคุณภาพหรือทําใหเกิดความเสียหาย ทํางานไมผิดพลาดและกอใหเกิดการรบกวนแกตัวเองและตอสภาพแวดลอมหรืออุปกรณอื่นหรือระบบอื่นดวย”

คําตอบ 1 : Electromagnetic Interference คําตอบ 2 : Electromagnetic Compatibility คําตอบ 3 : Electromagnetic Discharge คําตอบ 4 : Lightning Electromagnetic Pulse

ขอที่ : 533 ถาขนาดอาคารมีพื้นที่ที่เกินกวา 100 ตารางเมตร หรือเสนรอบอาคารมากกวา 35 เมตร จะตองเพิ่มสายนําลงดินอีกทุกๆ กี่เมตร

คําตอบ 1 : 5 เมตร คําตอบ 2 : 10 เมตร คําตอบ 3 : 15 เมตร คําตอบ 4 : 20 เมตร

ขอที่ : 534

ในกรณีที่อาคารสูงกวา 50 เมตร คาความเหนี่ยวนํา L ของตัวนําแตละเสนมีคาสูง อาจทําใหเกิดสปารกดานขางได ควรลดคาความเหนี่ยวนําใหนอยลง โดยการตอเชื่อมโยงทางไฟฟาของตัวนําเหลานี้เขาดวยกันทุกๆ ระยะความสูงเทาใด?คําตอบ 1 : 10-15 เมตร คําตอบ 2 : 15-20 เมตร คําตอบ 3 : 20-25 เมตร คําตอบ 4 : 25-30 เมตร

192 of 192

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย