backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... ·...

63
บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของปญหา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหมเปนสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษาในจังหัดเชียงใหม ที่มี หนาที่สําคัญ ในการผลิตบัณฑิตเพื่อเปนกําลังในสาขาวิชาตางๆในระดับอุดมศึกษา โดยมีการสงเสริมและ มุงเนอเพื่อการสรางนักศึกษาใหความความรูและความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม ในการทํางานและ การดําเนินชีวิต โดยการประยุกตทฤษฎีไปสูการปฏิบัติ เพื ่อใหเกิดการพัฒนาองคกร ชุมชน สังคม และ ประเทศ และสามารถรับการเปลี่ยนแปลงในดานเศรษฐกิจ สังคมศึกษา วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอมเพื่อ การพัฒนาที่ยังยืนมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม มีพันธกิจที่สําคัญ คือ การผลิตบัณฑิต การวิจัย การ บริการวิชาการแกสังคม และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม มีความพรอม ในการผลิตบัณฑิตทางดาน วิทยาศาสตรหลายสาขาวิชา มีความพรอมทางดานอาจารยผูสอน สถานที่ และอุปกรณการจัดการเรียน การสอน ไดตระหนักถึงความสําคัญของการขาดแคลนบุคลากรทางดานสาธารณสุข คณะวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีไดพิจารณาเห็นวาการเปดการสอนหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต เพื่อผลิตบุคลากร ทางดานสาธารณสุขที่มีความรูความสามารถในการใหบริการดานสาธารณสุขสามารถประยุกตใชองค ความรูเพื่อทําใหสุขภาวะแบบองครวมของประชาชนการปรับเปลี่ยพฤติกรรมสุขภาพใหสอดคลองกับวิถี ชีวิต ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสังคม ในการแกไขปญหาสาธารณสุข ในชุมชน ตลอดจน ประเทศชาติได หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรผลิตบัณฑิตโดยมีความเชื่อวา บุคลากรดาน การสาธารณสุขสามารถดําเนินกิจกรรมการสงเสริม ปองกัน รักษาและฟนฟูสุขภาพ มี คุณธรรม ความรู ความสามารถในวิชาชีพ มีภาวะผูนํา ตลอดจนมีจิตอาสาที่พรอมนําสุขภาพที่ดีสูชุมชน การผลิตบัณฑิตของหลักสูตรจะมุง เนนผลิตบัณฑิตเพื่อใหมีองคความรูเกี่ยวกับการดําเนินงานทางดาน สาธารณสุขตอบุคลคล ครอบครัว ชุมชน และอนามัยสิ่งแวดลอม ในดานการสรางเสริมการเรียนรู การ แนะนําและการใหคําปรึกษา การประยุกตหลักวิทยาศาสตร การตรวจประเมิน และการบําบัดโรค และ การฟนฟูสุขภาพเปนองครวม โดยนําหลักวิทยาศาสตรสังคมมาประยุกตใช และมุงเนนผลิตบัณฑิตเพื่อให มีความสามารถในการประเมินสถานการณสุขภาพชุมชนเชิงระบบทั้งการวิเคราะหสถานะสุขภาพของกลุประชากร การระบุปจจัยกําหนดและผลลัพธสุขภาพ การแปลความหมาย และการสังเคราะหสถานการณ สุขภาวะของชุมชน

Upload: others

Post on 09-Oct-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

บทที่ 1

บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหมเปนสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษาในจังหัดเชียงใหม ท่ีมีหนาท่ีสําคัญ ในการผลิตบัณฑิตเพ่ือเปนกําลังในสาขาวิชาตางๆในระดับอุดมศึกษา โดยมีการสงเสริมและมุงเนอเพ่ือการสรางนักศึกษาใหความความรูและความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม ในการทํางานและการดําเนินชีวิต โดยการประยุกตทฤษฎีไปสูการปฏิบัติ เพ่ือใหเกิดการพัฒนาองคกร ชุมชน สังคม และประเทศ และสามารถรับการเปลี่ยนแปลงในดานเศรษฐกิจ สังคมศึกษา วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอมเพ่ือการพัฒนาท่ียังยืนมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม มีพันธกิจท่ีสําคัญ คือ การผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการแกสังคม และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม มีความพรอม ในการผลิตบัณฑิตทางดานวิทยาศาสตรหลายสาขาวิชา มีความพรอมทางดานอาจารยผูสอน สถานท่ี และอุปกรณการจัดการเรียนการสอน ไดตระหนักถึงความสําคัญของการขาดแคลนบุคลากรทางดานสาธารณสุข คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไดพิจารณาเห็นวาการเปดการสอนหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต เพ่ือผลิตบุคลากรทางดานสาธารณสุขท่ีมีความรูความสามารถในการใหบริการดานสาธารณสุขสามารถประยุกตใชองคความรูเพ่ือทําใหสุขภาวะแบบองครวมของประชาชนการปรับเปลี่ยพฤติกรรมสุขภาพใหสอดคลองกับวิถีชีวิต ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนในสังคม ในการแกไขปญหาสาธารณสุข ในชุมชน ตลอดจนประเทศชาติได หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรผลิตบัณฑิตโดยมีความเชื่อวาบุคลากรดาน การสาธารณสุขสามารถดําเนินกิจกรรมการสงเสริม ปองกัน รักษาและฟนฟูสุขภาพ มีคุณธรรม ความรู ความสามารถในวิชาชีพ มีภาวะผูนํา ตลอดจนมีจิตอาสาท่ีพรอมนําสุขภาพท่ีดีสูชุมชนการผลิตบัณฑิตของหลักสูตรจะมุง เนนผลิตบัณฑิตเพ่ือใหมีองคความรูเก่ียวกับการดําเนินงานทางดานสาธารณสุขตอบุคลคล ครอบครัว ชุมชน และอนามัยสิ่งแวดลอม ในดานการสรางเสริมการเรียนรู การแนะนําและการใหคําปรึกษา การประยุกตหลักวิทยาศาสตร การตรวจประเมิน และการบําบัดโรค และการฟนฟูสุขภาพเปนองครวม โดยนําหลักวิทยาศาสตรสังคมมาประยุกตใช และมุงเนนผลิตบัณฑิตเพ่ือใหมีความสามารถในการประเมินสถานการณสุขภาพชุมชนเชิงระบบท้ังการวิเคราะหสถานะสุขภาพของกลุมประชากร การระบุปจจัยกําหนดและผลลัพธสุขภาพ การแปลความหมาย และการสังเคราะหสถานการณสุขภาวะของชุมชน

Page 2: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

2

มุงเนนเนนผลิตบัณฑิตเพ่ือใหมีความสามารถในการบริหารจัดการแผนงาน โครงการพัฒนาสุขภาวะของกลุมประชากรและชุมชน โดยวางแผนปฏิบัติการ ดําเนินการ ควบคุมกํากับ และประเมินผลรวมท้ังประสานแผนงานโครงการรวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ มุงเนนเนนผลิตบัณฑิตเพ่ือใหมีความสามารถในการจัดการระบบขอมูลขาวสารท่ีจําเปนตอการพัฒนาสุขภาวะของชุมชน ตั้งแตการออกแบบ การเลือกใชขอมูลท่ีสําคัญและจําเปน จากแหลงขอมูล แปลผลขอมูลได เพ่ือเชื่อมโยงไปสูการเฝาระวังและการรายงานความเคลื่อนไหวดานสถานการณสุขภาพ และปจจัยกําหนดสุขภาพ ดังนี้ผูวิจัยตระหนักถึงความสําคัญในการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนใหสอดคลองกับความตองการและวัตุประสงคของผูเรียนอยางแทจริง ผูวิจัยจึงสนใจศึกษาเก่ียวกับความพึงพอใจของ บัณฑิตและนักศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรท่ีมีตอหลักสูตรสาธารณสุขชุมชน ภาควิชาสาธารณสุขศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีซ่ึงผลท่ีไดสามารถใชเปนแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรสูตรใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลของหลักสูตรตอไป วัตถุประสงคของการวิจัย

1.เพ่ือศึกษาระดับความพึงพอใจของ บัณฑิตและนักศึกษาตอหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต 2.เพ่ือศึกษาปจจัยท่ีมีความสัมพันธตอระดับความพึงพอใจท่ีมีตอหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิตของบัณฑิต และนักศึกษาภาควิชาสาธารณสุขศาสตร 3. เพ่ือสังเคราะหแนวทางการพัฒนาตอหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิตบนฐานการมีสวนรวมของผูเก่ียวของ ขอบเขตของการวิจัย

1.ขอบเขตดานประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรท่ีใชในการวิจัยครั้งนี้แบงเปน 2 กลุมคือ - บัณฑิตท่ีจบระดับปริญญาตรี ท่ีจบจากภาควิชาสาธารณสุขศาสตรจบจากหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิตป 2560 - นักศึกษาท่ีกําลังศึกษาระดับปริญญาตรีหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหมชั้นปท่ี 1- 4 2. ขอบเขตดานเนื้อหา ตัวแปรตน ไดแก ปจจัยสวนบุคคลของบัณฑิต และนักศึกษา ตัวแปรตาม ไดแก ระดับความพึงพอใจท่ีมีตอหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต 3.ขอบเขตดานระยะเวลา 6 เดือน เดือน มกราคม 2562 - มิถุนายน 2562

Page 3: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

3

นิยามศัพทเฉพาะ

บัณฑิต หมายถึง ผูท่ีสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจากหลักสูตรสาธารณสุข ศาสตรบัณฑิตภาควิชาสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม จบการศึกษาในปการศึกษา 2560 นักศึกษา หมายถึง ผูท่ีกําลังศึกษาระดับปริญญาตรี ในหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต ภาควิชาสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม ปการศึกษา 2561 ทุกชั้นป ความพึงพอใจท่ีมีตอหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต หมายถึง ความรูสึกหรือทัศนคติของบุคคลตอหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม ซ่ึงวัดไดจากแบบสอบถามความพึงพอใจ จํานวน 5 ดาน คือ ดานเนื้อหาหลักสูตร ดานเนื้อหารายวิชา ดานอาจารยผูสอน ดานการจัดการเรียนการสอน และดานการจัดกิจกรรม ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

1.ทราบถึงความพึงพอใจของ บัณฑิต และนักศึกษาภาควิชาสาธารณสุขศาสตรท่ีมีตอหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต 2.เพ่ือนําขอมูลท่ีไดไปพัฒนาการจัดการเรียนการสอน พัฒนาหลักสูตรฯตลอดจนพัฒนาระบบการผลิตบัณฑิตท่ีมีคุณภาพตอไป

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การศึกษาความพึงพอใจของบัณฑิตและนักศึกษาท่ีตอหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาระดับความพึงพอใจของ บัณฑิตและนักศึกษาตอหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต ปจจัยท่ีมีความสัมพันธตอระดับความพึงพอใจท่ีมีตอหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิตของบัณฑิต และนักศึกษาภาควิชาสาธารณสุขศาสตรรวมท้ังสังเคราะหแนวทางการพัฒนาตอหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิตบนฐานการมีสวนรวมของผูเก่ียวของ โดยผูวิจัยไดรวบรวมเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของสําหรับใชเปนแนวทางในการศึกษาวิจัย ดังนี้ 1.เอกสารท่ีเก่ียวของ 1. ความหมายของความพึงพอใจ

Page 4: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

4

2. ทฤษฏีและแนวคิดเก่ียวกับความพึงพอใจ 3. ความสําคัญของความพึงพอใจ 4. แนวคิดและความสําคัญเก่ียวกับหลักสูตร 2. งานวิจัยท่ีเก่ียวของ 1.ความหมายของความพึงพอใจความพึงพอใจ (Satisfaction) หมายถึง สภาวะจิตท่ีปราศจากความเครียด เปนความรูสึกของบุคคล ในทางบวก ความชอบ ความสบายใจ ความสุขใจตอสภาพแวดลอมในดานตาง ๆ หรือเปนความรูสึกท่ีพอใจ ตอสิ่งท่ีทําใหเกิดความชอบ ความสบายใจ และเปนความรูสึกท่ีบรรลุถึงความตองการและจากการศึกษาความหมายของความพึงพอใจไดมีนักวิชาการไดใหความหมายของความพึงพอใจมากดังนี้ ความหมายของความพึงพอใจ กูด (Goog:1973) อางใน(ผองใส ถาวรจักร,2555) ไดใหความหมายของความพึงพอใจ หมายถึงคุณภาพหรือระดับความพึงพอใจซ่ึงเปนความสนใจตางๆและทัศนคติของบุคคล ตอกิจกรรม หรืออาจกลาวไดวา ความพึงพอใจนั้นจะเปนเรื่องเก่ียวกับอารมณความรูสึกและทัศนคติของบุคคลอันเนื่องมาจากสิ่งเราและแรงจูงใจ ซ่ึงปรากฏออกมาทางพฤติกรรมและเปนองคประกอบท่ีสําคัญในการทํากิจกรรมหรืองานนั้นก็จะบรรลุตามวัตถุประสงคของงานนั้นไดเปนอยางดี จึงถือไดวาความพึงพอใจเปนองคประกอบท่ีสําคัญในการทํากิจกรรมตางๆ กาญจนา อรุณสุขรุจี(2546) ไดใหความหมายของความพึงพอใจ คือ ความพึงพอใจของมนุษย เปนการแสดงออกทางพฤติกรรมท่ีเปนนามธรรม ไมสามารถมองเห็นเปนรูปรางได การท่ีเราจะทราบวาบุคคล มีความพึงพอใจหรือไมสามารถสังเกตโดยการแสดงออกท่ีคอนขางสลับซับซอน และตองมีสิ่งท่ีตรงตอความตองการของบุคคล จึงจะทําใหบุคคลเกิดความพึงพอใจ ดังนั้นการสรางสิ่งเราจึงเปนแรงจูงใจของบุคคลนั้น เกิดความพึงพอใจในงานนั้น ปริญญา จเรรัชต และคณะ กลาวไววาความพึงพอใจ หมายถึงทาทีความรูสึกหรือทัศนคติในทางท่ีดี ของบุคคลท่ีมีตอสิ่งปฏิบัติรวมปฏิบัติ หรือไดรับมอบหมายใหปฏิบัติโดยผลตอบแทนท่ีไดรับรวมท้ังสภาพแวดลอมตางๆท่ีเก่ียวของเปนปจจัยใหเกิดความพึงพอใจหรือไมพึงพอใจจากความหมายความพึงพอใจดังกลาวพอสรุปไดวาความพึงพอใจเปนทัศนคติอยางหนึ่ง เปนนามธรรมเปนความรูสึกสวนตัวท้ังทางดานบวกและลบข้ึนอยูกับการไดรับการตอบสนองเปนสิ่งท่ีกําหนดพฤติกรรม ในการแสดงออกของบุคคลท่ีมีผลตอการเลือกท่ีจะปฏิบัติสิ่งใดสิ่งหนึ่ง การศึกษาเก่ียวกับความพึงพอใจ (Satisfaction) (ผองใส ถาวรจักร,2555) ไดมีการศึกษามาตั้งแตชวงกอนสงครามโลกครั้งท่ี 1 โดยเกิดข้ึนในอังกฤษ ยุโรป รวมท้ังในสหรัฐอเมริกา ซ่ึงเรื่องท่ีสําคัญท่ีนิยมศึกษาไดแก การมุงตอบคําถามท่ีวาทําอยางไรจึงจะเอาชนะความจําเจและความนาเบื่อของงานและ ชวงตนศตวรรษท่ี 20 มีการเสนอแนะเก่ียวกับการสรางความพึงพอใจ โดยการจายคาจางการทํางานเปน

Page 5: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

5

รายชิ้นและมีชวงเวลาในการพักจากการทํางาน การทําใหงานมีความแตกตางหลากหลายกันออกไป เนนการสราง การมีปฏิสัมพันธทางสังคม เปนตน ซ่ึงการศึกษาความพึงพอใจก็ไดรับความสนใจเพ่ิมมากข้ึนจนถึงปจจุบัน จากการสํารวจถึงแนวความคิด “ความพึงพอใจ” ของสจวต ออสแคมป พบวา ความพึงพอใจมีความหมายอยู 3 นัย คือ 1.ความพึงพอใจ หมายถึง สภาวการณท่ีผลปฏิบัติจริงไดเปนไปตามท่ีบุคคลไดตามคาดหวังไว 2.ความพึงพอใจ หมายถึง ระดับความสําเร็จท่ีเปนไปตามความตองการ 3.ความพึงพอใจ หมายถึง การทํางานไดเปนไปตาม หรือตอบสนองตอคุณคาของบุคคล จากความหมาย 3 นัย ไดนําไปสูการพัฒนาทฤษฎีวาดวยความพึงพอใจตองาน 3 ทฤษฏีท่ีสําคัญ คือนัยแรก อยูในกลุมทฤษฏีความคาดหวัง (Expectacy Theories) นัยท่ี 2 อยูในกลุมทฤษฏีความตองการ (Need Theories ) และนัยท่ี 3 จัดอยูในกลุมทฤษฏีคุณคา (Value Thories) 2.ทฤษฎีและแนวคิดเก่ียวกับความพึงพอใจ คําวา ความพึงพอใจ มีนักวิชาการหลายทานไดใหความหมายเฉพาะของความพึงพอใจซึงสรุปได ดังนี้ (เกษมะณี การินทร และคณะ 2558) วรูม (Vroom. 1964 : 76-80) (อางใน เกษมะณี การินทร และคณะ 2558)ไดใหความหมายของความพึงพอใจ (สมยศ นาวีการ. 2533: 27-31) ไววาเปนผลจากบุคคลนั้น ๆ เขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมหรือเขาไปรับรูแลวเห็นพอใจ โดย ความหมายของความพึงพอใจ สามารถทดแทนความหมายของทัศนคติได ซ่ึงบางทีเรียกวา ทฤษฏี V.I.E. เนื่องจากมีองคประกอบท่ีสําคัญ คือ V มาจากคาวา Valence ซ่ึงหมายถึง ความพึงพอใจ I มาจากคาวา Instrumentality ซ่ึงหมายถึง สื่อ เครื่องมือ วิถีทางนาไปสูความพึงพอใจ E มาจากคาวา Expectancy หมายถึง ความคาดหวังภายในตัวบุคคลนั้น ๆ บุคคลมีความตองการและมีความคาดหวังในหลายสิ่งหลายอยาง ดังนั้นจึงตองกระทาดวยวิธีหนึ่ง เพ่ือตอบสนองความตองการหรือสิ่งท่ีคาดหวังเอาไว ซ่ึงเม่ือไดรับการตอบสนองแลวตามท่ีตั้งความหวังไวหรือท่ีคาดหวังเอาไวนั้น บุคคลก็จะไดรับความพึงพอใจและในขณะเดียวกันก็จะคาดหวังในสิ่งท่ีสูงข้ึนไปอีกเรื่อย ๆ กูด (Good. 1973 : 384) กลาววา ความพึงพอใจ เปนคุณภาพ สภาพหรือระดับของความพึงพอใจ ซ่ึงเปนผลมาจากความสนใจและเจตคติของบุคคลท่ีมีตองานของเขา สุนันท ตามถ่ินไทย (2547 : 10) กลาววา ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกหรือเจตคติท่ีเกิดข้ึนจากการสัมผัสการเรียนรู ทาใหเกิดการยอมรับ และไดรับการตอบสนองท่ีดี ทาใหเกิดความสบายใจ ซ่ึงมีผลท้ังทางดานรางกายและจิตใจ อเนก สุวรรณบัณฑิต และภาสกร อดุลพัฒนกิจ (2548 : 169) กลาววา ความพึงพอใจ เปนระดับความรูสึกในทางบวกของบุคคลตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปนพฤติกรรมการแสดงออกในทางบวกของบุคคลท่ีเกิดจากการประเมินความแตกตางระหวางสิ่งท่ีคาดหวังกับสิ่งท่ีไดรับจริงในสถานการณอันใดอันหนึ่ง ซ่ึงสามารถเปลี่ยนแปลงไดตามปจจัยแวดลอมและสถานการณท่ีเกิดข้ึน

Page 6: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

6

นะจา โงวกาญจนนาค (2551 : 11) กลาววา ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึก หรือทัศนคติของบุคคลท่ีมีตอสิ่งใดสิ่งหนึ่งในทางบวก ซ่ึงทาใหเกิดความรูสึกดีท่ีจะสามารถทาใหเกิดการยอมรับในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง จากความหมายของความพึงพอใจ ท่ีกลาวมาขางตนพอสรุปไดวา ความพึงพอใจ หมายถึงระดับของความรูสึกของบุคคลแตละบุคคลท่ีเกิดจากการไดรับสินคาหรือบริการตาง ๆ ท่ีนามาซ่ึงความพอใจในสินคาและบริการนั้น ๆ ซ่ึงระดับความพึงพอใจนี้จะมากนอยเพียงใดยอมแตกตางกันไปตามลักษณะของบุคคล ผองใส ถาวรจักร (2555) ไดเสนอทฤษฎีลําดับข้ันตอนความตองการ (Theory of Need Gratification) เปนทฤษฎีลํากับข้ันตอนของความตองการของมาสโลว (Abraham H.Maslow) ซ่ึงไววามนุษยทุกคนลวนแลวแตมีความตองการท่ีจะสนองความตองการใหกับตนเองท้ังสิ้น และความตองการของมนุษยมากมายหลายอยางดวยกัน โดยท่ีมนุษยจะมีความตองการในข้ันสูงๆถาความตองการในข้ันไดรับการตอบสนองอยางพึงพอใจเสียกอน ทฤษฎีตามลําดับข้ันความตองการของมาสโลว ในการศึกษาความพึงพอใจของนายจาง/ผูใชบัณฑิตจําเปนตองอาศัยทฤษฎีการสรางความพึงพอใจมาอธิบาย แมวาทฤษฎีการสรางความพึงพอใจมรหลายทฤษฎี แตทฤษฎีท่ีไดรับการยอมรับในวงกวาง คือ ทฤษฎีตามลําดับข้ันความ ตองการของมาสโลว (Maslow’ Hierarchy of Need) โดยมาสโลวเชื่อวามนุษยเปน “สัตวท่ีมีความตองการ” (Wanting animal) และเปนการยากท่ีมนุษยจะกาวไปถึงลําดับข้ันความตองการอยางสมบูรณ ในทฤษฎีลําดับข้ันความตองการของมาสโลวนี้ เม่ือบุคคลปรารถนาท่ีจะไดรับความพึงพอใจ และไดรับความพึงพอใจสิ่งหนึ่งแลวก็จะยังคงเรียกรองความสนใจสิ่งอ่ืนๆตอไป ถือเปนคุณลักษณะของมนุษย คือเปนผูท่ีมีความตองการจะไดรับสิ่งตางๆอยูเสมอ ซ่ึงมาสโลว ไดเรียงลําดับความตองการของมนุษยจากข้ันตนไปสูความตองการข้ันตอไปไวเปนลําดับดังนี้ 1. ความตองการทางดานรางกาย (Physiological need) เปนความตองการข้ันพ้ืนฐานท่ีมีอํานาจ มากท่ีสุดและสังเกตเห็นไดชัดท่ีสุดจากความตองการท้ังหมดเปนความตองการท่ีชวยในการดํารงชีวิต ไดแก ความตองการอาหาร น้ําดื่ม ออกซิเจน การพักผอนนอนหลับ ความตองการทางเพศ ความตองการความอบอุน ตลอดจนความตองการท่ีจะถูกกระตุนอวัยวะรับสัมผัส 2. ความตองการความปลอดภัย (Safety needs) เกิดข้ึนเม่ือความตองการทางดานรางกาย ไดรับความพึงพอใจ ซ่ึงจะสังเกตไดงายในทารกและในเด็กเล็กๆเนื่องจากทารกและเด็กเล็กๆท่ีตองการความชวยเหลือและตองการพ่ึงพาอาศัยจากคนอ่ืน 3. ความตองการความรักและความเปนเจาของ (Belongingness and love needs) เปนความตองการข้ันท่ี 3 ท่ีบุคคลตองการไดรับความรักและความเปนเจาของโดยการสรางความสัมพันธกับผูอ่ืน เชน ความสัมพันธภายในครอบครัวหรือกับผูอ่ืน ดังนั้นบุคคลจะรูสึกเจ็บปวดมาเม่ือถูกทอดท้ิง ไมมี

Page 7: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

7

ใครยอบรับตัดขาดจากสังคม หรือการไมมีเพ่ือน เม่ือบุคคลไดรับความรักและการใหความรักแกผูอ่ืนอยางมีเหตุผลจนทําใหเกิดความพึงพอใจ 4. ความตองการท่ีไดรับความนับถือยกยอง (Esteem needs) แบงออกเปน 2 ลักษณะกลาวคือ ลักษณะแรกเปนความตองการนับถือตนเอง มีความสามารถในตนเอง มีผลสัมฤทธิ์ไมตองพ่ึงอาศัยผูอ่ืน และมีความเปนอิสระ ทุกคนตองการท่ีจะรูสึกวาเขามีคุณคาและความสามารถท่ีจะประสบความสําเร็จในงานภารกิจตางๆและลักษณะท่ีสองเปนความตองการไดรับการยกยองนับถือจากผูอ่ืน( esteem from others) คือความตองการมีเกียรติ การไดรับการยกยอง การยอมรับ และความตองการท่ีจะไดรับความยกยองชมเชย ในสิ่งท่ีเขากระทําใหรูสึกวาตนเองมีคุณคาวาความสามารถของเขาไดรับการยอมรับจากผูอ่ืน 5. ความตองการท่ีจะเขาใจตนเองอยางแทจริง (Self-actualization needs) เปนความตองการ อยางหนึ่งของบุคคลท่ีจะบบลุถึงจุดสูงสุดของศักยภาพ โดยบุคคลท่ีจะประสบความสําเร็จในข้ันสูงสดุนี้จะใชพลังอยางเต็มท่ีในสิ่งท่ีทาทายความสามารถและศักยภาพของเขา อีกท้ังยังมีความปรารถนาท่ีจะพัฒนาตนเองทําใหมีพลังและแรงขับของตนเองท่ีจะทําพฤติกรรมตรงกับความสามารถของตน ทฤษฎีตามลําดับข้ันความตองการของมาสโลว สามารถใชอธิบายความพึงพอใจของบุคลซ่ึงมีความตองการเปนลําดับข้ันสูงข้ึนเรื่อยๆหากผูจางงาน/ผูบังคับบัญชามีความพึงพอใจตอบัณฑิตในลําดับข้ันสูงข้ึน การพัฒนาศักยภาพของตนเองก็ยอมสูงข้ึน จึงสงผลใหองคกรมีการพัฒนาและประสบความสําเร็จมากข้ึนไดมากข้ึน เนื่องจากหนวยงานหรือองคกรตางๆประกอบดวยบุคลากรจํานวนมากท่ีสําเร็จการศึกษาจากตางมหาวิทยาลัยและตางสถาบัน ซ่ึงบุคลากรดังกลาวตางก็เปนกําลังสําคัญตอผลการดําเนินงานเปนอยางมาก และการดําเนินงานจะเปนไปไดดวยดีนั้น ผูจางงาน/ผูบังคับบัญชาจะตองมีความพึงพอใจในการทํางานของบุคลากรในหนวยงาน ดังนั้นอาจกลาวไดวาความพึงพอใจมีความสําคัญเปนอยางยิ่งตอการดําเนินงานขององคกร เพราะเปนองคประกอบท่ีสรางความสําเร็จใหองคการประการหนึ่ง และเปนตัวสะทอนท่ีสําคัญประการหนึ่ง ของการผลิตบัณฑิตในแตละมหาวิทยาลัย เพ่ือสงผลถึงการปรับปรุงคุณภาพอยางตอเนื่องตอไป ความพึงพอใจ เปนองคประกอบท่ีสําคัญอยางหนึ่งในการบริหาร เนื่องจากเม่ือบุคคลมีความพึงพอใจในการปฏิบัติกิจกรรมแลว ยอมทําใหมีกําลัง บุคคลจะปฏิบัติกิจกรรมดวยความตั้งใจมุงท่ีจะใหไดผลออกมาตามวัตถุประสงคอยางมีประสิทธิภาพ (นิตยา ศรีญาณลักษณ.2538อางใน เกษมรณี การินทร และคณะ .2558) ความพึงพอใจตอหลักสูตร หมายถึง ความรูสึกหรือทัศนคติของบุคคลตอหลักสูตรระบบอาจารย ท่ีปรึกษาทางวิชาการ กิจกรรมนักศึกษา สิ่งสนับสนุนการเรียนรูและดานการรองเรียนของนักศึกษา (วรญา ทองอุน และ จันจิราภรณ ปานยินดี,2560)

Page 8: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

8

3.ความสําคัญของความพึงพอใจ

ความพึงพอใจ เปนองคประกอบท่ีสาคัญอยางหนึ่งในการบริหาร เนื่องจากเม่ือบุคคลมีความ พึงพอใจในการปฏิบัติกิจกรรมแลว ยอมทาใหมีกาลังใจ บุคคลจะปฏิบัติกิจกรรมดวยความตั้งใจมุงท่ีจะใหไดผลออกมาตามวัตถุประสงคอยางมีประสิทธิภาพ (นิตยา ศรีญาณลักษณ. 2538 อางใน สุทิศา สงวนสัจและคณะ : 2553)จากเหตุผลขางตน พอสรุปไดวา การสรางความพึงพอใจใหกับบุคคลในการทางานยอมเปนการนามาซ่ึงความพยายามในการทางานใหมีประสิทธิภาพ และจะสงผลใหบุคคลนั้นมีทัศนคติในดานบวกกับองคกร อันจะนามาซ่ึงความสุขในการทางานในองคกร

การวัดความพึงพอใจ

ปริญญา จเรรัชต และคณะ(2546 อางใน เกวลี ผังดีและคณะ 2556) กลาววามาตรวัดความพึงพอใจสามารถกระทําไดหลายวิธีไดแก 1.การใชแบบสอบถามโดยผูสอบถามจะออกแบบสอบถามเพ่ือตองการทราบความคิดเห็นซ่ึงสามารถทําไดในลักษณะท่ีกําหนดคําตอบใหเลือก หรือตอบคําถามอิสระคําถามดังกลาวอาจถามความพึงพอใจมนดานตางๆ เชน การบริการการบริหารและเง่ือนไขตางๆเปนตน 2. การสัมภาษณ เปนวิธีการวัดความพึงพอใจทางตรงทางหนึ่งซ่ึงตองอาศัยเทคนิค และวิธีการท่ีดีท่ี จะทําใหไดขอมูลท่ีเปนจริงได 3. การสังเกตเปนวิธีการวัดความพึงพอใจโดยสังเกตของบุคคลเปาหมาย ไมวาจะแสดงออกจากการพูดกิริยาทาทาง วิธีนี้จะตองอาศัยการกระทําอยางจริงจัง และการสังเกตอยางมีระเบียบแบบแผน 4.แนวคิดเกี่ยวกับหลักสูตร

ความหมายของหลักสูตรหลักสูตรเปนสิ่งท่ีกําหนดข้ึน เพ่ือเปนหลักหรือแนวทางการพัฒนาหรือสรางประสบการณการเรียนความหมายของหลักสูตรท่ีมีผูใชกันมากจัดเปน 5 กลุม (ฉัตรนภา พรหมมา.อางในอางใน เกษมรณี การินทร และคณะ .2558) ไดแกหลักสูตร หลักสูตร คือรายวิชาหรือเนื้อหาท่ีเรียน จุดหมายท่ีผูเรียนพึงบรรลุแผนสําหรับจัดโอกาสการเรียนรูหรือประสบการณท่ีคาดหวังแกนักเรียน ประสบการณท้ังหมดของผูเรียนท่ีจัดโดยโรงเรียนและกิจกรรมทางการศึกษาท่ีจัดใหกับผูเรียนหลักสูตร เปนคําศัพททางการศึกษาคําตอบหนึ่งท่ีคนสวนใหญคุนเคย และมีผูใหความหมายไวมากมายและแตกตางกันออกไป บางความหมายมีขอบเขตกวาง บางความหมายมีขอบเขตแคบท้ังนี้ ท้ังนี้ข้ึนอยูกับความคิดเห็นและประสบการณท่ีแตกตางกับบุคคลนั้นๆท่ีมีตอหลักสูตรดังนี้ กูด(Good 1973 อางใน เกษมะณี การินทร และคณะ .2558) ไดใหความหมายของหลักสูตรไวในพจนานุกรมทางการศึกษา(Dictionnary of Education) วา หลักสูตร คือกลุมรายวิชาท่ีจัดไวอยางเปนระบบหรือลําดับรายวิชาท่ีบังคับสําหรับจบการศึกษา หรือเพ่ือรับประกาศนียบัตรในสาขาวิชาหลักๆเชน หลักสูตรสังคมศึกษา หลักสูตรพลศึกษา

Page 9: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

9

โอลิวา (Oliver.1982อางใน เกษมะณี การินทร และคณะ .2558) กลาววา หลักสูตร คือ แผนโปรแกรมสําหรับประสบการณท้ังหลายท่ีผูเรียนจะตองประสบภายใตการอํานวยการของโรงเรียน อีกท้ังยังหมายถึง การวางแผนการเรียนการสอน ซ่ึงอยูในความดูแลของโรงเรียน ธํารง บัวศรี (2532 อางใน เกษมะณี การินทร และคณะ .2558) ไดใหความหมายของหลักสูตรวาแผนซ่ึงไดออกแบบจัดข้ึนเพ่ือแสดงถึงจุดหมาย การจัดเนื้อหาสาระ กิจกรรมและมวลประสบการณ ในแตละโปรแกรมการศึกษาเพ่ือใหผูเรียนมีการพัฒนาการในดานตางๆตามจุดหมายท่ีไดกําหนดไว สุนีย ภูพันธ (2549.อางใน เกษมะณี การินทร และคณะ .2558) สรุปแนวคิดเก่ียวกับความหมายของหลักสูตรดังนี้ 1.หลักสูตรในฐานะเปนรายวิชาและเนื้อหาสาระท่ีจัดใหแกผูเรียนในหลักสูตรในฐานะท่ีเปนวิชาและเนื้อสาระ หมายถึง วิชาและเนื้อหาสาระท่ีกําหนดใหผูเรียนตองเรียนในชั้นและระดับตางๆหรือกลุมวิชา ท่ีจัดข้ึนดวยวัตถุประสงคเฉพาะอยางใดอยางหนึ่ง 2.หลักสูตรในมีเจตคติท่ีดีตอการอยูรวมกันฐานะท่ีเปนเอสารหลักสูตรกลุมหนึ่งจัดใหกับอีกกลุมหนึ่ง ประกอบดวย จุดหมาย หลักการ โครงการ เนื้อหาสาระอัตราเวลาเรียน กิจกรรม ประสบการณ และการประเมินผลการเรียน เพ่ือใหผูเรียนมีความรูความสามารถ มีเจตคติท่ีดีในการอยูรวมกับรวมกัน มีพฤติกรรมตามท่ีกําหนดไวในจุดหมายของหลักสูตรแนวคิดนี้จะเนนหลักสูตรในฐานะท่ีเปนเอสารเปนรูปเลมซ่ึงจําแนกได 2 ประเภท คือเอกสารหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร 3.หลักสูตรในฐานะท่ีเปนกิจกรรมตางๆ ท่ีจะใหแนวคิดแกผูเรียนหลักสูตรในฐานะท่ีเปนกิจกรรมตางๆท่ีจัดใหแกผูเรียนนี้ เปนการมองหลักสูตรในลักษณะของกิจกรรมตางๆท่ีครูและนักเรียนจัดข้ึน หรือกิจกรรมการเรียนการสอนตางๆท่ีเตรียมไว และจัดใหแกนักเรียนโดยโรงเรียนท้ังในและนอกโรงเรียน เพ่ือใหผูเรียนไดความรูประสบการณ และคุณลักษณะท่ีพึงประสงคตามท่ีกําหนดกิจกรรมตางๆท่ีเหมาะสม เปนสิ่งสําคัญเพราะจะนําไปสูประสบการณทางดานความรู ความเขาใจ เจตคติ ทักษะตางๆอันแสดงถึง การเรียนรูท่ีมีประสิทธิภาพ 4.หลักสูตรในฐานะแผนสําหรับจัดโอกาสการเรียนรูหรือประสบการณท่ีคาดหวังแกนักเรียน แนวคิดของหลักสูตรในฐานะแผนสําหรับการจัดโอกาสการเรียนรู หรือประสบการณท่ีคาดหวังแกนักเรียนนี้ จะเปนแผนจัดการการศึกษาเพ่ือเปนแนวทางท่ีผู เ ก่ียวของปฏิบัติ โดยมุงใหผู เรียนมีความรูความสามารถ และพฤติกรรมท่ีกําหนด แผนสําหรับจัดโอกาสทางการศึกษาจะเก่ียวกับจุดหมายหรือจุดประสงคของการออกแบบหลักสูตร การนําหลักสูตรไปใชและประเมินผล

Page 10: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

10

5. หลักสูตรในฐานะท่ีเปนมวลประสบการณแนวคิดของหลักสูตรในฐานะท่ีเปนประสบการณของผูเรียน หมายถึงประสบการณทุกอยางของนักเรียนท่ีอยูในความรับผิดชอบของโรงเรียนรวมถึงเนื้อหา ท่ีโรงเรียนจัดใหแกผูเรียนดวย 6.หลักสูตรในฐานะท่ีเปนจุดหมายปลายทางแนวคิดเก่ียวกับหลักสูตรในฐานะท่ีเปนจุดหมายปลายทางนั้น เปนสิ่งท่ีสังคมมุงหวังหรือคาดหมายใหเด็กไดรับ กลาวคือ ผูท่ีศึกษาจนจบหลักสูตรไปแลวจะมีคุณลักษณะอยางไรบาง จะเกิดผลอยางไรในตัวผูเรียนบาง แนวคิดนี้มองหลักสูตรในฐานะท่ีทําใหเกิดผลการเรียนรูตามท่ีมุงหวังท่ีจะเกิดข้ึนจากการเรียนรู ดังนั้น การจัดหลักสูตร การกําหนดจุดมุงหมาย เนื้อหาสาระ กระบวนการเรียนการสอน และการประเมินผล จะตองศึกษาและวางแผนใหสอดคลองสัมพันธซ่ึงกัน และกันดวย 7.หลักสูตรในฐานะทีเปนระบบการเรียนการสอนและกิจกรรมทางการเรียนการสอน แนวคิดของหลักสูตรในฐานะท่ีเปนระบบการเรียนการสอนนั้น เปนการมองหลักสูตรในฐานะท่ีเปนแผนการเตรียมโอกาสของการเรียนรูสําหรับผูเรียนท่ีจัดข้ึนโดยโรงเรียน หรือสถาบันการศึกษาท่ีรับผิดชอบเพ่ือใหบรรลุเปาหมาย ท่ีกําหนดไว เปนการคาดการณลวงหนา โดยรวมเอาแผนยอยๆท่ีเปนโอกาสการเรียนรู ท่ีคาดหวังเอาไวดวย ดังนั้น แผนงานจึงถูกกําหนดข้ึนโดยโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาท่ีรับผิดชอบในการจัดโอกาสทางการศึกษาใหแกผูเรียน ภาศิริ เขตปยรัตน และสินีนาถ วิกรมประสิทธิ์ (2545.อางใน เกษมะณี การินทร และคณะ (2558) กลาววาความหมายของหลักสูตรมีการขยายความหมายและสามารถเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาท้ังนี้สถาบันการศึกษาตางตองการสรางสรรคและพัฒนาหลักสูตรใหเหมาะสม และสอดคลองกับความตองการ ของผูเรียน และทองถ่ิน และไดจาการจําแนก องคประกอบของหลักสูตร ท่ีสําคัญประกอบดวย 1.จุดหมายของหลักสูตร หมายถึง ความจั้งใจหรือความคาดหวังท่ีตองการใหเกิดข้ึนในตัวผูท่ีจะผานหลักสูตร จุดมุงหมายของหลักสูตรมีความสําคัญเพราะเปนตัวกําหนดทิศทางและขอบเขตในการใหการศึกษาแกเด็ก ชวยในการเลือกเนื้อหาและกิจกรรม ตลอดจนใชเปนมาตราการอยางหนึ่งในการประเมินผล 2.เนื้อหา เม่ือกําหนดจุดมุงหมายของหลักสูตรแลว กิจกรรมข้ันตอไป คือการเลือกเนื้อหาประสบการณในการเรียนรูตางๆ ท่ีคาดวาจะชวยใหผูเรียนพัฒนาไปสูจุดหมายท่ีกําหนดไว โดยดําเนินการตั้งแตเลือกเนื้อหาและประสบการณ การเรียงลําดับเนื้อหาสาระ พรอมท้ังการกําหนดเวลาเรียนท่ีเหมาะสม 3.การนําหลักสูตรไปสูการปฏิบัติ ซ่ึงประกอบดวยกิจกรรมตางๆ เชนการจัดหาวัสดุหลักสูตร ไดแก คูมือครู เอกสารหลักสูตร แผนการสอน และแบบเรียน เปนตน การจัดเตรียมความพรอมดาน

Page 11: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

11

บุคลากรและสิ่งแวดลอม เชน การจัดโตะเกาอ้ี หองเรียน วัสดุ อุปกรณในการเรียน จํานวนครูและสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ การดําเนินการสอน เปนกิจกรรมท่ีสําคัญท่ีสุดในข้ันการนําหลักสูตรไปใช เพราะหลักสูตรจะไดผลหรือไมข้ึนอยูกับพฤติกรรมการสอนของครู ครูผูสอนจะตองมีความรูในดานการถายทอดเนื้อหาความรู การวัดและประเมินผล จิตวิทยาการสอน ตลอดท้ังปรัชญา การศึกษาของแตละระดับ จึงทําการเรียนรูของผูเรียนบรรลุเปาหมายของหลักสูตร 4.การประเมินผลของหลักสูตร คือ การหาคําตอบวา หลักสูตรสัมฤทธิ์ตามผลท่ีกําหนดไวในจุดหมายหรือไม มากนอยเพียงใด และอะไรเปนสาเหตุการประเมินผลหลักสูตรเปนงานใหญ และมีขอบเขตกวางขวาง ผูประเมินจําเปนตองวางแผนโครงการประเมินผลไวลวงหนา ดังนั้น สวนใหญหลักสูตรท่ัวไปจะตองมีการกําหนดวัตถุประสงคไวครบท้ัง 4 ดาน เพ่ือใหเปนตามขอท่ีกําหนด อีกท้ังยังสามารถชวยในการจัดทําหลักสูตรสามารถครอบคลุมในสวนกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีครบถวนสมบูรณ ชมพันธุ กุญชร ณ อยุธยา (2540 : 3 – 5) (อางใน เกษมะณี การินทร และคณะ 2558)ไดอธิบายความหมายของ หลักสูตรวา มีความแตกตางกันไปตั้งแตความหมายท่ีแคบสุดจนถึงกวางสุด ซ่ึงสามารถจําแนกความคิดเห็นของนักการศึกษาท่ีไดใหนิยามความหมายของหลักสูตรแบงออกเปน 2 กลุมใหญๆ ไดดังนี้ 1. หลักสูตร หมายถึง แผนประสบการณการเรียน นักการศึกษาท่ีมีความคิดเห็นวา หลักสูตร หมายถึง แผนประสบการณการเรียนนั้น มองหลักสูตรท่ีเปนเอกสารหรือโครงการของการศึกษาท่ีสถาบันการศึกษาไววางแผนไว เพ่ือใหผูเรียนไดศึกษาตามแผนหรือโครงการท่ีกําหนดไว หลักสูตรตามความหมายนี้ หมายรวมถึง แผนการเรียนหรือรายวิชาตางๆ ท่ีกําหนดใหเรียนรวมท้ังเนื้อหาวิชาของรายวิชาตางๆ กิจกรรมการเรียนการสอน และการประเมินผล ซ่ึงไดกําหนดไวในแผนความคิดเห็นของนักการศึกษากลุมนี้ ไมรวมถึงการนําหลักสูตรไปใชหรือการเรียนการสอนท่ีปฏิบัติจริง 2.หลักสูตร หมายถึง ประสบการณการเรียนของผูเรียน ท่ีสถาบันการศึกษาจัดใหแกผูเรียนประกอบดวย จุดมุงหมาย เนื้อหา การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การประเมินผล รุจิร ภูสาระ (2545 :1) ไดอธิบายความหมายของหลักสูตรวา หมายถึง แผนการเรียน ประกอบดวยเปาหมาย และจุดประสงคเฉพาะท่ีจะนําเสนอและจัดการเนื้อหา รวมถึงแบบของการเรียนการสอนตามจุดประสงค และทายท่ีสุดจะตองมีการประเมินผลของการเรียน นักการศึกษาหลายทานไดใหความหมายของคําวา "หลักสูตร" ดวยอักษรยอ SOPEA ซ่ึงหมายถึง S (Curriculum as Subjects and Subject Matter) หลักสูตร คือ รายวิชาหรือเนื้อหาวิชาท่ีเรียน O (Curriculum as Objectives) หลักสูตร คือ จุดหมายท่ีผูเรียนพึงบรรลุ P (Curriculum as Plans) หลักสูตร คือ แผนสําหรับจัดโอกาสการเรียนรูหรือประสบการณแกนักเรียน

Page 12: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

12

E (Curriculum as Learners, Experiences) หลักสูตร คือ ประสบการณท้ังปวงของผูเรียนท่ีจัดโดยโรงเรียน A (Curriculum as Educational Activities) หลักสูตร คือ กิจกรรมทางการศึกษาท่ีจัดใหกับนักเรียน หลักสูตรในความหมายเดิม จะหมายถึง รายวิชาตาง ๆ ท่ีนักเรียนจะตองเรียนสวนความหมายใหม จะหมายถึง มวลประสบการณท้ังหมดท่ีนักเรียนจะไดภายใตคําแนะนํา และความรับผิดชอบของโรงเรียน หากจะสรุปความหมายของหลักสูตรจากนักการศึกษาหลายทานพอจะสรุปไดดังนี้ 1. หลักสูตรในฐานะท่ีเปนวิชาเนื้อหาสาระท่ีจัดใหแกผูเรียน 2. หลักสูตรในฐานะท่ีเปนเอกสารหลักสูตร 3. หลักสูตรในฐานะท่ีเปนกิจกรรมตาง ๆ ท่ีจะใหแกนักเรียน 4. หลักสูตรในฐานะแผนสําหรับจัดโอกาสการเรียนรูหรือประสบการณท่ีคาดหวังแกนักเรียน 5. หลักสูตรในฐานะท่ีมวลประสบการณ 6. หลักสูตรในฐานะท่ีเปนจุดหมายปลายทาง 7. หลักสูตรในฐานะท่ีเปนระบบการเรียนการสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน ความสําคัญของหลักสูตร

ความสําคัญของหลักสูตรท่ีมีตอการจัดการศึกษา(เกษมะณี การินทร และคณะ 2558) นักการศึกษาหลายทานไดกลาวตรงกันวาหลักสูตรมีความสําคัญตอการจัดการศึกษา ท้ังนี้ ธํารง บัวศรี (2532:6 - 7) (อางใน เกษมะณี การินทร และคณะ 2558) ไดกลาววา หลักสูตรมีความสําคัญ เพราะหลักสูตรเปนสวนกําหนดมาตรฐานการเรียนรู เพ่ือใหแนใจวาผูเรียนไดรับการศึกษาท่ีมีคุณภาพ โดยมีรายละเอียดท่ีบงชี้วา ผูเรียนควรเรียนรูอะไร มีเนื้อหาสาระมากนอยเพียงไร ควรไดรับการฝกฝนใหมีทักษะในดานใด และควรมีพัฒนาการท้ังในสวนของรางกาย จิตใจ สังคม และสติปญญาอยางไรนอกจากนี้ สุมิตร คุณานุกร (2536 : 199 -200) กลาวถึง ความสําคัญของหลักสูตรวาหลักสูตรมีความสําคัญ เพราะเปนเครื่องชี้นําทางหรือเปนบทบัญญัติของรัฐในการจัดการศึกษา เพ่ือใหผูท่ีมีสวนเก่ียวของกับการจัดการศึกษานําไปปฏิบัติ อีกท้ังยังเปนเกณฑมาตรฐานทางการศึกษา และควบคุมการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา นอกจากนี้ ปฎล นันทวงศ และไพโรจน ดวงวิเศษ (2543 : 9) (อางใน เกษมะณี การินทร และคณะ 2558) สรุปความสําคัญของหลักสูตรวา หลักสูตรมีความสําคัญยิ่งในฐานะท่ีเปนเอกสารท่ีกําหนดแนวทางในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน ซ่ึงผูท่ีเก่ียวของในการจัดการศึกษาทุกฝายตองยึดถือเปนแนวปฏิบัติ เพ่ือพัฒนาบุคคลใหมีประสิทธิภาพตามท่ีพึงประสงคใหแกสังคมและประเทศชาติ

Page 13: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

13

จากความสําคัญของหลักสูตรขางตน สรุปวา หลักสูตรมีความสําคัญ เพราะหลักสูตรเปนเอกสารซ่ึงเปนแผนการหรือโครงการจัดการศึกษาท่ีระบุแนวทางการจัดมวลประสบการณ เปนสวนกําหนดทิศทางการจัดการศึกษาใหกับบุคลากรท่ีเก่ียวของกับการจัดการศึกษานําไปปฏิบัติ เพ่ือใหผูเรียนมีคุณภาพทางการศึกษาตามเกณฑมาตรฐานการศึกษาท่ีหลักสูตรกําหนดไว องคประกอบของหลักสูตร

องคประกอบของหลักสูตรมี 6 องคประกอบ ไดแก (ภาศิริ เขตปยรัตน และสินีนาถ วิกรมประสิทธิ์ (2545.อางใน เกษมะณี การินทร และคณะ.2558) 1. จุดมุงหมายของหลักสูตร และจุดประสงคของการเรียนการสอน 2. โครงสรางหลักสูตร 3. เนื้อหาและประสบการณท่ีตองการใหผูเรียนไดรับ 4. ยุทธศาสตรการเรียนการสอนเพ่ือใหผูเรียนไดรับการพัฒนาตามจุดประสงคท่ีกําหนดไว 5. วัสดุ อุปกรณ และสื่อการเรียนการสอน 6. การประเมินผลหลักสูตรและการเรียนการสอน ลักษณะของหลักสูตรท่ีดี

หลักสูตรท่ีดี ยอมสงผลตอการบริหารหลักสูตร และการจัดการเรียนรูในโรงเรียน กลาวคือ หลักสูตร ท่ีดีจะเปนแนวทางใหผูบริหารโรงเรียนนําไปปฏิบัติไดดี มีประสิทธิภาพ ทางดานครูสามารถนําไปใชในการเรียนการสอน ใหเกิดผลดีตอผูเรียน หลักสูตรท่ีดีควรมีลักษณะดังนี้ (วันทนา มาเตียง.2549 อางในรัตนา พรมภาพ .2551) 1. หลักสูตรควรมีความคลองตัว และสามารถปรับปรุงและยืดหยุนใหเหมาะสมกับสถานการณตางๆท่ีเปลี่ยนแปลงไดเปนอยางดี 2. หลักสูตรควรเปนเครื่องมือท่ีจะชวยใหการเรียนการสอน ไดบรรลุตามความมุงหมายท่ีกําหนดไว 3. หลักสูตรควรไดรับการจัดทํา หรือพัฒนาจากบุคคลหลายฝาย เชน ครู ผูปกครอง ประชาชน นักวิชาการ นักพัฒนาหลักสูตร และผูบริหารไดมีสวนรวมและรับรูในการจัดทําหลักสูตร 4.หลักสูตรจะตองจัดไดตามความมุงหมายของการศึกษาแหงชาติ 5. หลักสูตรควรจะมีกิจกรรมกระบวนการ และเนื้อหาสาระของเรื่องท่ีสอนบริบูรณเพียงพอท่ีจะชวยใหผูเรียนคิดเปนทําเปน แกไขปญหาเปน และพัฒนาการเรียนผูเรียนในทุกๆดาน 6. หลักสูตรควรบอกแนวทาง ดานสื่อการสอน การใชสื่อ การวัดและการประเมินผลไวอยางชัดเจน

Page 14: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

14

7. หลักสูตรควรมีลักษณะท่ีสนองความตองการ และความสนใจ ท้ังของนักเรียนและสังคม 8.หลักสูตรควรสงเสริมในความเจริญงอกงามในตัวผูเรียนทุกดาน รวมท้ังสงเสริมความคิดริเริ่มสรางสรรค 9.หลักสูตรควรชี้แนะแนวทางกระบวนการเรียนรูเพ่ือใหผูเรียนไดเพ่ิมทุนความรู ทักษะ และเจตคติ ไดดวยตนเอง จากสื่อตางๆท่ีอยูรอบตัว 10.หลักสูตรควรจัดทํามาจากการศึกษาข้ันพ้ืนฐานดานตางๆอยางรอบคอบ เชน ขอมูลทางดานปรัชญาการศึกษา จิตวิทยา สังคม การเมือง การปกครอง วัฒนธรรม วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เปนตน 11.เปนหลักสูตรท่ียึดผูเรียนเปนสําคัญ เนื้อหา และกิจกรรมตองเหมาะสมกับธรรมชาติ และความตองการของผูเรียน 12.เนื้อหาและประสบการณตองสอดคลองกับสภาพการดํารงชีวิตของผูเรียนประสบการณตองเปนสิ่งท่ีใกลตัวและสามาระนําไปใชในชีวิตประจําวัน รัตนา พรมภาพ (2551) กลาววา เนื้อหารายวิชาในหลักสูตรหรือสิ่งท่ีกําหนดให เรียนนั้นควรจะตองทําความเขาใจกันใหมวา เนื้อหาเปนเพียงแนวทางท่ีจะชวยใหครูนําไปสูหรือกอใหเกิดประสบการณกิจกรรม ซ่ึงเปนแนวทางท่ีจะชวยฝกใหผูเรียนไดเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมท่ีผูเรียนตองการ สังคมตองการ และชาติตองการ ลักษณะของเนื้อหารายวิชาท่ีจะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูเรียนนั้นมีรายละเอียดดังนี้ 1. เนื้อหาท่ีกําหนดควรจะสอดคลองกับสภาพการดําเนินชีวิต ประสบการณใกลตัวผูเรียน ผูเรียนแลวสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันได 2. เนื้อหาท่ีกําหนดไวในหลักสูตรตองมีความตอเนื่องเรียงตามลําดับความยากงาย หรือจากใกลๆตัวไปถึงไกลตัวออกไป เรียงลําดับของเนื้อหาใหเหมาะสมกับวัย ความสนใจ ความสามารถของผูเรียน 3. ความเปนอเนกลักษณะในเอกภาค (Diversity with Unity) หมายถึง หลักสูตรจะมีเนื้อหาหลายเรื่อง หลายตอน แตจุดประสงคแตละตอนก็จะมีจุดย้ําเนนในสิ่งเดียวกันจากแนวคิดดังกลาว สามารถสรุปไดวาเนื้อหารายวิชาในหลักสูตร หมายถึง กระบวนการในการจัดเนื้อหารายวิชา หรือการปรับปรุงหลักสูตรใหไดผลดี เพ่ือใชเปนเครื่องมือในการศึกษาและจัดการเรียนการสอนไดสอดคลองกับความตองการของผูเรียน ความพึงพอใจตอหลักสูตร 5 ดาน

1.ดานคุณธรรมจริยธรรม สามารถจัดการปญหาทางคุณธรรม จริยธรรม และวิชาชีพโดยใชดุลยพินิจทางคานิยม ความรูสึกของผูอ่ืน คานิยมพ้ืนฐาน และจรรยาบรรณวิชาชีพ แสดงออกซ่ึงพฤติกรรม

Page 15: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

15

ทางดานคุณธรรม อาทิ มีวินัย มีความรับผิดชอบ ซ่ือสัตย เสียสละ เปนแบบอยางท่ีดี เขาใจผูอ่ืน และเขาใจโลก เปนตน 2. ดานความรู มีองคความรูในสาขาวิชาอยางกวางขวางและเปนระบบ ตระหนักรูหลักการและทฤษฎีในองคความรูท่ีเก่ียวของ สําหรับหลักสูตรวิชาชีพ มีความเขาใจเก่ียวกับความกาวหนาของความรูเฉพาะดานในสาขาวิชา และตระหนักถึงงานวิจัยในปจจุบันท่ีเก่ียวของกับการแกไขปญหาและการตอยอดองคความรู สวนหลักสูตรวิชาชีพท่ีเนนการปฏิบัติ จะตองตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ขอบังคับท่ีเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ 3. ดานทักษะทางปญญา สามารถคนหาขอเท็จจริง ทําความเขาใจและสามารถประเมินขอมูลแนวคิดและหลักฐานใหมๆจากแหลงขอมูลท่ีหลากหลาย และใชขอมูลท่ีไดในการการแกไขปญหาและงานอ่ืนๆ ดวยตนเอง สามารถศึกษาปญหาท่ีคอนขางซับซอนและเสนอแนะแนวทางในการแกไขไดอยางสรางสรรค โดยคํานึงถึงความรูทางภาคทฤษฎี ประสบการณทางภาคปฏิบัติ และผลกระทบจากการตัดสินใจ สามารถใชทักษะและความเขาใจอันถองแทในเนื้อหาสาระทางวิชาการและวิชาชีพ สําหรับหลักสูตรวิชาชีพนักศึกษาสามารถใชวิธีการปฏิบัติงานประจําและหาแนวทางใหมในการแกไขปญหาไดอยางเหมาะสม 4. ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ มีสวนชวยและเอ้ือตอการแกปญหาในกลุมไดอยางสรางสรรค ไมวาจะเปนผูนําหรือสมาชิกของกลุม สามารถแสดงออกซ่ึงภาวะผูนําในสถานการณท่ีไมชัดเจนและตองใชนวัตกรรมใหมๆในการแกไขปญหา มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะหปญหาไดอยางเหมาะสมบนพ้ืนฐานของตนเองและของกลุม รับผิดชอบในการเรียนรูอยางตอเนื่อง รวมท้ังพัฒนาตนเองและอาชีพ 5. ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยี สามารถศึกษาและทําความเขาใจในประเด็นปญหา สามารถเลือกและประยุกตใชเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตรท่ีเก่ียวของอยางเหมาะสม ในการศึกษาคนควาและเสนอแนะแนวทางในการแกไขปญหา ใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวบรวมขอมูล ประมวลผล แปลความหมาย และนําเสนอขอมูลขาวสารอยางสมํ่าเสมอ สามารถสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพท้ังในการพูด การเขียน สามารถเลือกใชรูปแบบ ของการนําเสนอท่ีเหมาะสมสําหรับกลุมบุคคลท่ีแตกตางกันได 2. งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

วรญา ทองอุนและจันจิราภรณ ปานยินดี (2560) ไดศึกษา ความพึงพอใจตอหลักสูตรการบริหารทรัพยากรมนุษย คณะวิทยาการจัดการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ผลการวิจัยพบวา 1) ระดับความพึงพอใจตอหลักสูตรการบริหารทรัพยากรมนุษยในภาพรวมอยูในระดับมากท่ีสุด มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.40 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.31 2)นักศึกษาท่ีมีเพศตางกัน มีความพึงพอใจตางกัน มีความพึง

Page 16: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

16

พอใจตอหลักสูตรการบริหารทรัพยากรมนุษยโดยรวมไมแตกตางกัน และนักศึกษาชั้นปการศึกษาตางกัน มีความพึงพอใจ ตอหลักสูตรการบริหารทรัพยากรมนุษยโดยรวมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 สุรัตน หารวย และคณะ (2561) ไดศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาสาขาวิชาสาธารณสุขชุมชนชั้นปท่ี 4 ปการศึกษา 2559 ตอคุณภาพหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชนคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ผลการวิจัยพบวา นักศึกษาสาขาวิชาสาธารณสุขชุมชนชั้นปท่ี 4ปการศึกษา 2559 มีความพึงพอใจตอคุณภาพหลักสูตรสาธารณสุขศาตร

บัณฑิต ภาพรวมอยูในระดับมาก (x̄=3.92,SD=0.76) โดยมีความพึงพอใจดานอาจารยผูสอนมากสุด อยูในระดับมาก ( x̄=4 .04,SD=0.72) รองลงมาคือดานการพัฒนาคุณลักษณะของผู เ รียน( x̄= 4.03,SD=0.78) ดานการจัดการเรียนการสอน(x̄=3.96,SD=0.67) ดานหลักสูตร(x̄=3.93,SD=0.77)

ดานการวัดและการประเมินผล ( x̄=3.90,SD=0.66) และดานสภาพแวดลอมการเรียนรู ( x̄=3.63,SD=0.87) ผลการวิจัยนี้แสดงถึงความเชื่อม่ันของนักศึกษาท่ีมีตอหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานีและเปนขอมูลพ้ืนฐานเพ่ือนําไปใชในการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรตอไป สุพัตรา รักการศิลป และคณะ (2558) ไดศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาสาขาการบัญชีท่ีมีตอหลักสูตรบัญชีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย ประจําปการศึกษา 2558 ผลการวิจัยพบวา นักศึกษาสาขาวิชาการบัญชีมีความพึงพอใจตอหลักสูตรบัญชีบัณฑิตโดยรวมและเปนรายดาน ไดแก ดานเนื้อหาหลักสูตร ดานเนื้อหารายวิชา ดานอาจารยผูสอน ดานการจัดการเรียนการสอน และดานการจัดกิจกรรมอยูในระดับมาก และ ผลการเปรียบเทียบนักศึกษาสาขาวิชาการบัญชีท่ีมีอายุ ระดับชั้นป และหมูเรียนแตกตางกันมีความพึงพอใจตอหลักสูตรบัณชีบัณฑิตแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ 0.05 เกษมะณี การินทร และคณะ 2558 ไดศึกษาการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ท่ีมีตอหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการเงินและการธนาคารคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมยผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเพศหญิง ผูปกครองมีระดับการศึกษาตากวามัธยมศึกษาตอนปลาย มีอาชีพเกษตรกรรม ระดับรายไดตากวา 10,000 บาท รองลงมา คือ รายได 10,001-15,000 บาท และรายได 15,001 – 20,000 บาท ปจจัยท่ีมีผลตอความพึงพอใจตอหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการเงินและการธนาคาร ในดานรายวิชาในหลักสูตร อาจารยผูสอนการจัดการเรียนการสอน ระบบอาจารยท่ีปรึกษา การประชาสัมพันธการจัดกิจกรรมโครงการของสาขาวิชา การวัดและประเมินผลการเรียนการสอน และการสนับสนุนการเรียนการสอน โดยรวมอยูในระดับมาก การทดสอบสมมติฐานดวยวิธีการวิเคราะหการถดถอย พบวา ปจจัยแตละดานมีผลตอ

Page 17: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

17

กรอบแนวความคิดของโครงการวิจัย

ความพึงพอใจตอหลักสูตร

-ดานเนื้อหาของหลักสูตร

-ดานเนื้อหาของรายวิชา

-ดาน อาจารยผูสอน/อาจารยท่ีปรึกษา

-ดานการจัดการเรียนการสอน

-ดานการจัดกิจกรรม

บัณฑิต

-หนวยงาน

-ตําแหนง

-อาย ุ

-เกรดเฉลี่ย

-รายได

รายจาย

นักศึกษา

-เกรดเฉลี่ย

-ช้ันป

ความพึงพอใจตอหลักสูตร

-ดานเนื้อหาของหลักสูตร

-ดานเนื้อหาของรายวิชา

-ดาน อาจารยผูสอน/อาจารยท่ีปรึกษา

-ดานการจัดการเรียนการสอน

-ดานการจัดกิจกรรม

Page 18: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

18

บทท่ี 3

วิธีดําเนินการวิจัย

ความพึงพอใจตอหลักสูตรของบัณฑิตและนักศึกษา ท่ีมีตอหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม เพ่ือนําขอมูลท่ีไดไปพัฒนาการจัดการเรียนการสอน พัฒนาหลักสูตรฯตลอดจนพัฒนาระบบการผลิตบัณฑิตท่ีมีคุณภาพ นอกจากนี้ผู วิจัยทําการศึกษาเอกสาร ซ่ึงรวบรมเอกสารท้ังดานแนวคิด ทฤษฏี ผลงานวิจัยท่ีเก่ียวของเพ่ือใหไดขอมูลท่ีเปนประโยชนกับงานวิจัยมากท่ีสุด มีข้ันตอนและวิธีการดําเนินการวิจัยโดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้ 3.1 ประเภทและแบบการวิจัย 3.2 ประชากรและกลุมตัวอยาง 3.3 เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย 3.4 การสรางเครื่องมือท่ีใชในการวิจัย 3.5 การวิเคราะหขอมูล 3.1 ประเภทและแบบการวิจัย การศึกษาวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาความพึงพอใจตอหลักสูตรของบัณฑิตและนักศึกษา ท่ีมีตอหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม โดยงานวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research) 3.2 ประชากรและกลุมตัวอยาง

แนวทางการพัฒนาหลักสูตร

สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต

Page 19: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

19

ประชากรท่ีใชในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้คือ บัณฑิต และนักศึกษา หลักสูตรสาธารณสุขศาสตร โดยแบงเปน 2 กลุมคือ 3.2.1 บัณฑิตท่ีจบระดับปริญญาตรีป 2556 -2557 ทําการเก็บแบบเจาะจง จากบัณฑิตท่ีจบการศึกษาประจําป 2560 3.2.2 นักศึกษาท่ีกําลังศึกษาอยูในระดับปริญญาตรี ทําการเก็บแบบเจาะจง โดยเก็บนักศึกษาชั้นปท่ี 1 – ปท่ี 4 จํานวน 220 คน 3.3 เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย เครื่องมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูลท่ีใชในการสํารวจคือแบบสอบถาม โดยขอมูลในแบบสอบถามมีลักษณะเปนคําถามปลายปด ( Close – ended question) ซ่ึงผูศึกษาจะทําการสํารวจและเก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถาม แบงออกเปน 5 ตอน ดังนี้ 3.3.1 ขอมูลท่ัวไปของบัณฑิตและนักศึกษา 3.3.2 ความพึงพอใจตออาจารย ของบัณฑิต และนักศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร 3.3.3 ความพึงพอใจตอกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3.3.4 ความพึงพอใจตอการจัดกิจกรรม 3.3.5 ความพึงพอใจตอเนื้อหารายวิชาในหลักสูตร เกณฑการใหคะแนนและแปลความหมายของคาเฉลี่ยกําหนดไวดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด,2554) การใหคะแนน 5 ระดับความพึงพอใจมากท่ีสุด 4 ระดับความพึงพอใจมาก 3 ระดับความพึงพอใจปานกลาง 2 ระดับความพึงพอใจนอย 1 ระดับความพึงพอใจนอยท่ีสุด การแปลผล 4.51-5.00 บัณฑิต และนักศึกษามีความพึงพอใจตอหลักสูตรมากท่ีสุด 3.51-4.50 บัณฑิต และนักศึกษามีความพึงพอใจตอหลักสูตรมาก 2.51-3.50 บัณฑิต และนักศึกษามีความพึงพอใจตอหลักสูตรปานกลาง 1.51-2.50 บัณฑิต และนักศึกษามีความพึงพอใจตอหลักสูตรนอย 1.00 -1.50 บัณฑิต และนักศึกษามีความพึงพอใจตอหลักสูตรนอยท่ีสุด

Page 20: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

20

3.4 การสรางเครื่องมือท่ีใชในการวิจัย ผูวิจัยศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของเพ่ือใชเปนขอมูลในการสรางแบบสอบถามโดยมีข้ันตอนดังตอไปนี้ 1) ศึกษาเอกสาร ตํารา บทความ และงานวิจัยท่ีเก่ียวของ 2) วิเคราะหขอบเขตการศึกษา และกําหนดกรอบแนวความคิดเก่ียวกับเนื้อหาเพ่ือเปนแนวทางในการสรางแบสอบถาม 3) รวบรวมขอมูลท่ีไดจากการศึกษาท้ังหมด สรางเปนแบบสอบถาม 4) นําแบบสอบถามท่ีสรางข้ึนเสนอตออาจารยท่ีปรึกษาและผูทรงคุณวุฒิจํานวน 3 ทาน เพ่ือตรวจสอบความเท่ียงตรงตามเนื้อหา (Content Validity) แลวนําผลการตรวจสอบมาคํานวณหาคาความเท่ียง จากนั้นเก็บและรวบรวมขอมูล โดยนําแบบสอบถามไปเก็บขอมูลกับนักศึกษาและบัณฑิต จํานวน 290 ชุด ดําเนินการเก็บขอมูลงานวิจัยโดยการสงแบบสอบถามไปรษณียและการเก็บขอมูลดวยตนเองและการสรางแบบสอบถาม Google form การวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูลเปนการดําเนินการหลังจากการเก็บรวบรวมขอมูล จากการกรอกแบบสอบถาม บน Google from โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ (Statistical Package for the Social Sciences : SPSS) แบบสอบถามของบัณฑิตและนักศึกษา เปนการวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณท่ีไดจากการจัดเก็บ ระยะท่ี 1 ดําเนินการสํารวจ และวิเคราะหความพึงพอใจของนักศึกษาและบัณฑิตเพ่ือเปนขอมูลพัฒนา ดังนี้ สวนท่ี 1 วิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติบรรยายดวยการแจกแจงความถ่ี (frequency)และหาคา รอยละ(percentage) ของกลุมตัวอยางท่ีตอบแบบสอบถามท้ังหมด สวนท่ี 2 วิเคราะห ขอมูลโดยใช สถิติ บรรยายดวยการแจกแจงความถ่ี (frequency) และหาคารอยละ (percentage) และวิเคราะห โดยหาคาเฉลี่ย (Mean) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D.)ของกลุมตัวอยางท่ีตอบแบบสอบถามท้ังหมด สวนท่ี 3 วิเคราะห ขอมูลโดยใช สถิติ บรรยายดวยการแจกแจงความถ่ี (frequency) และหาคารอยละ (percentage) และวิเคราะห โดยหาคาเฉลี่ย (Mean) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D.)ของกลุมตัวอยางท่ีตอบแบบสอบถามท้ังหมด

Page 21: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

21

สวนท่ี 4 วิเคราะห ขอมูลโดยใช สถิติ บรรยายดวยการแจกแจงความถ่ี (frequency) และหาคารอยละ (percentage) และวิเคราะห โดยหาคาเฉลี่ย (Mean) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของกลุมตัวอยางท่ีตอบแบบสอบถามท้ังหมด

การทดสอบปจจัยท่ีมีความสัมพันธของบัญฑิตและนักศึกษา ตอความพึงพอใจของบัณฑิตตอการ

เรียนการสอนของหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิตวิเคราะหโดยใช โปรแกรมสําเร็จรูป SPSS โดยหา

คา สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ

ระยะท่ี 2 การหาแนวทางการพัฒนาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต โดยการมีสวนรวม การศึกษาใชกระบวนการการสัมมนาเชิงปฏิบัติการกลุมผู มีสวนไดเสีย (Stakeholder group operational seminar) มีวัตถุประสงคเพ่ือใหผูมีสวนไดเสียไดทราบถึงแนวโนมสถานการณหลักสูตรในปจจุบัน และรวมคิดและวิจารณ รวมถึงสังเคราะหองคความรูอันจะนําไปสูขอเสนอแนะในการพัฒนาหลักสูตร ประกอบดวยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การระดมความรู โดยแบงกลุม

บทที่ 4

ผลการวิจัย

การศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาการวิเคราะหขอมูล การศึกษาวิจัยการวิจัยครั้งนี้ไดศึกษาถึงความพึงพอใจนักศึกษาและบัณฑิต ตอหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหมกลุมตัวอยางท่ีไดจากการวิจัยครั้งนี้ ไดแกนักศึกษาและ บัณฑิตท่ีเรียน

Page 22: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

22

หลักสูตรสาธารณสุขศาสตร ท่ีจบปการศึกษา 2560 ในครั้งนี้ใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติในการประมวลผลแบบสอบถามจากกลุมตัวอยางผูวิจัยไดดําเนินการศึกษาและสรุปผลการวิจัยดังนี้

4.1 นักศึกษาทุกช้ันป

4.1.1 ขอมูลสวนบุคคลของนักศึกษาหลักสตูรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต 4.1.2 ความพึงพอใจของนักศึกษาตอการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร ดานอาจารยผูสอนและอาจารยปรึกษา 4.1.3 ความพึงพอใจของนักศึกษาตอการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร ดานกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4.1.4 ความพึงพอใจของนักศึกษาตอการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร ดานการจัดกิจกรรมสงเสริมความรูและทักษะนอกชั้นเรียน 4.1.5 ความพึงพอใจของนักศึกษาตอการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร ดานเนื้อหารายวิชาของหลักสูตร 4.1.6 ปจจัยท่ีมีความสัมพันธตอระดับความพึงพอใจของนักศึกษาตอการจัดการเรียนการสอน

4.2 บัณฑิต

4.2.1 สวนบุคคลของบัณฑิตหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต 4.2.2 ความพึงพอใจของบัณฑิตตอการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร ดานอาจารยผูสอนและอาจารยปรึกษา 4.2.3 ความพึงพอใจของบัณฑิตตอการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร ดานกระบวนการจัดการเรียนการสอน

Page 23: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

23

4.2.4 ความพึงพอใจของบัณฑิตตอการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร ดานการจัดกิจกรรมสงเสริมความรูและทักษะนอกชั้นเรียน 4.2.5 ความพึงพอใจของบัณฑิตตอการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร 4.2.6 ปจจัยท่ีมีความสัมพันธตอระดับความพึงพอใจของบัณฑิตตอการจัดการเรียนการสอน 4.3 แนวทางการพัฒนาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต โดยการมีสวนรวม

4.1 นักศึกษาทุกช้ันป

4.1.1 คุณลักษณะสวนบุคคลของนักศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต

ขอมูลสวนบุคคลของกลุมตัวอยาง ท่ีตอบแบบสอบถามเพ่ือประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต อกา รจั ดการ เ รี ยนการสอน ส าขาวิ ช าส าธา รณสุ ขศาสตร ผู วิ จั ยนํ า เสนอข อ มูล โ ดย ใช คาจํานวน และคารอยละ แสดงรายละเอียดในตารางท่ี 4.1 ตารางท่ี 4.1 แสดงขอมูลสวนบุคคลของนักศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต

(n = 220)

ขอมูลสวนบุคคล จํานวน

(N=220)

รอยละ

เพศ

ชาย 37 16.80 หญิง 183 83.20

อายุ

18-19 ป 65 29.5 20-21 ป 101 45.9 22-23 ป 51 23.2 24-25 ป 3 1.4

เกรดเฉล่ียสะสม

1.00-1.49 0 0 1.50-1.99 1 0.50 2.00-2.49 25 11.40

ขอมูลสวนบุคคล จํานวน

(N=220)

รอยละ

2.50-2.99 94 42.70

Page 24: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

24

3.00-3.49 89 40.50 3.50-4.00 11 5.00

ระดับช้ันปการศึกษา

ชั้นป 1 (รหัสนักศึกษา 61) 60 27.30 ชั้นป 2 (รหัสนักศึกษา 60) 60 27.30 ชั้นป 3 (รหัสนักศึกษา 59) 55 25.00 ชั้นป 4 (รหัสนักศึกษา 58) 45 20.50

ท่ีพักอาศัย

บาน 33 15.00 หอพัก 187 85.00

คาดหวังการไดรับรูและประสบการณในอนาคต

มาก 178 80.9 ปานกลาง 40 18.2 นอย 2 0.9

คาดหวังการไดรับรูและประสบการณในปจจุบัน

มาก 103 46.8 ปานกลาง 114 51.8

นอย 2 1.4

จากตารางท่ี 4.1 การวิเคราะหปจจัยสวนบุคคลของนักศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต ผูเขารวมการศึกษาสวนใหญเปนเพศหญิง รอยละ 83.20 และเปนเพศชาย รอยละ 16.80 มีอายุระหวาง 21 ปข้ึนไป มากท่ีสุดคิดเปนรอยละ 50.20 และมีอายุระหวาง 18 – 20 ป รอยละ 49.80 มีเกรดเฉลี่ยสะสมระหวาง 2.50-2.99 มากท่ีสุดคิดเปนรอยละ 49.70 รองลงมาคือ เกรดเฉลี่ยสะสม 3.00-3.49 รอยละ40.50 เกรดเฉลี่ยสะสม 2.00-2.49 รอยละ 11.40 เกรดเฉลี่ยสะสม 3.50-4.00 รอยละ 5.00 และ เกรดเฉลี่ยสะสม 1.50-1.99 รอยละ 0.50 ระดับชั้นปการศึกษาชั้นปท่ี 1 (รหัสนักศึกษา 61) และ ชั้นป 2 (รหัสนักศึกษา 60) มากท่ีสุดรอยละ 27.30 รองลงมาคือ ชั้นป 3 (รหัสนักศึกษา 59) รอยละ 25.00 และ ชั้นป 4 (รหัสนักศึกษา 58) รอยละ 20.50 สวนใหญพักอาศัยอยูหอพักคิดเปนรอยละ 85.00 และพักอาศัยอยูบาน รอยละ 15.00 มีความคาดหวังการไดรับรูและประสบการณในอนาคตมากท่ีสุดคือระดับมาก รอยละ 80.90 รองลงมาคือ ระดับปานกลาง รอยละ 13.20 และระดับนอย รอยละ 0.9 มีความคาดหวังการไดรับรูและประสบการณในปจจุบันมากท่ีสุดคือระดับปานกลาง รอยละ 51.80 รองลงมาคือระดับมาก รอยละ 46.80 และระดับนอย รอยละ 1.40 ตามลําดับ

Page 25: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

25

4.1.2 ความพึงพอใจอาจารยของนักศึกษาตอการจัดการเรียนการสอน

ผลการวิ เคราะหความพึงพอใจอาจารยของนัก ศึกษาตอหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร แสดงดังตารางท่ี 4.2

ตารางท่ี 4.2 แสดงความพึงพอใจตออาจารยของนักศึกษาตอหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร

ประเด็นพิจารณา

(อาจารย)

ระดับ

คาเฉล่ีย

S.D.

ระดับ

ความ

พึง

พอใจ

มาก

ท่ีสุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ท่ีสุด

อาจารยผูสอน

จํานวนอาจารยพอเพียงในภาคทฤษฎี

27 (12.3)

132 (60.0)

56 (25.5)

4 (1.8)

1 (0.4)

3.82 0.678 มาก

จํานวนอาจารยพอเพียงในภาคปฏิบัต ิ

30 (13.6)

112 (50.9)

61 (27.7)

16 (7.3)

1 (0.5)

3.70 0.811 มาก

คุณวุฒิตรงตามสาขาวิชา/รายวิชาท่ีรับผิดชอบ

60 (27.3)

131 (59.5)

29 (59.5)

0

0 4.14 0.622 มาก

มีประสบการณ ความสามารถตรงตามสาขาวิชา/รายวิชาท่ีรับผิดชอบ

90 (40.9)

106 (48.2)

23 (10.5)

1 (0.5)

0 4.30 0.668 มาก

มีความรู ความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

87 (39.5)

115 (52.3)

18 (8.2)

0 0 4.31 0.617 มาก

มีวุฒิภาวะทางอารมณท่ีเหมาะสม

77 (35.0)

121 (55.0)

22 (10.0)

0 0 4.25 0.624 มาก

รวม(ดานอาจารยผูสอน) 4.08 0.470 มาก

จากตารางท่ี 4.2 แสดงความพึงพอใจตออาจารยผูสอนพบวา นักศึกษามีความพึงพอใจอาจารยผูสอนอยูในระดับมาก ซ่ึงมีคาเฉลี่ยรวมเทากับ4.08 คา (S.D.=0.47) เม่ือพิจารณารายขอความพึงพอใจอาจารยผูสอนมากท่ีสุดคือ อาจารยผูสอนมีประสบการณ ความสามารถตรงตามสาขาวิชา/รายวิชาท่ี

Page 26: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

26

รับผิดชอบ (รอยละ 40.9) สวนความพึงพอใจอาจารยผูสอนนอยท่ีสุดคือดานจํานวนอาจารยพอเพียงในภาคปฏิบัติ (รอยละ0.5 )

ตารางท่ี 4.3 แสดงความพึงพอใจตออาจารยของนักศึกษาตอหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร (ตอ)

ประเด็นพิจารณา

(อาจารย)

ระดับ

คาเฉล่ีย

S.D.

ระดับ

ความ

พึง

พอใจ

มาก

ท่ีสุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ท่ีสุด

อาจารยท่ีปรึกษา

มีจํานวนพอเพียง 43 (19.5)

100 (45.5)

67 (30.5)

10 (4.5)

0 3.80 0.803 มาก

มีความรู ความสามารถในการใหคําปรึกษา/การใหคําแนะนําดานการเรียน การปรับปรุงพฤติกรรม การรบัรูบทบาทหนาท่ีของตนเอง

73 (33.2)

122 (55.5)

23 (10.5)

2 (0.9)

0 ()

4.21 0.656 มาก

มีวุฒิภาวะทางอารมณท่ี 74 123 22 1 0 4.23 0.636 มาก

Page 27: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

27

ประเด็นพิจารณา

(อาจารย)

ระดับ

คาเฉล่ีย

S.D.

ระดับ

ความ

พึง

พอใจ

มาก

ท่ีสุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ท่ีสุด

เหมาะสม (33.6) (55.9) (10.0) (0.5) ปฏิบัติหนาท่ีอาจารยท่ีปรึกษาอยางเต็มความสามารถ

87 (39.5)

109 (49.5)

23 (10.5)

1 (0.5)

0 ()

4.28 0.664 มาก

รวม(ดานอาจารยท่ีปรึกษา) 4.12 0.540 มาก

18 จากตารางท่ี 4.3 แสดงความพึงพอใจตออาจารยท่ีปรึกษาพบวา นักศึกษามีความพึงพอใจอยูในระดับมาก ซ่ึงมีคาเฉลี่ยรวมเทากับ 4.12 1 8 คา(S.D.=0.54) เม่ือพิจารณารายขอความพึงพอใจอาจารยท่ีปรึกษามากท่ีสุดคือ ดานปฏิบัติหนาท่ีอาจารยท่ีปรึกษาอยางเต็มความสามารถ (รอยละ 39.5) สวนความพึงพอใจอาจารยท่ีปรึกษานอยท่ีสุด ไมมี

4.1.3 ความพึงพอใจตอกระบวนการเรียนการสอน ของนักศึกษาตอหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร

ผลการวิเคราะหความพึงพอใจตอกระบวนการเรียนการสอน ของนักศึกษาตอหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร แสดงดังตารางท่ี 4.4 ตารางท่ี 4.4 แสดงความพึงพอใจตอกระบวนการเรียนการสอน ของนักศึกษาตอหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร

ประเด็นพิจารณา

(กระบวนการจัดการเรียน

การสอน)

ระดับ

คาเฉล่ีย

S.D.

ระดับ

ความ

พึงพอใจ มาก

ท่ีสุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ท่ีสุด

ความเหมาะสมของการจัดแผนการเรียนเสนอแนะ

31 (14.1)

142 (64.5)

44 (20.0)

3 (1.4)

0 3.91 0.624 มาก

มีการเปดโอกาสใหผูเรียนมีสวนรวมในการจัดแผนการเรียนเสนอแนะ

45 (20.5)

129 (58.6)

41 (18.6)

4 (1.8)

1 (0.5)

3.97 0.711 มาก

Page 28: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

28

ประเด็นพิจารณา

(กระบวนการจัดการเรียน

การสอน)

ระดับ

คาเฉล่ีย

S.D.

ระดับ

ความ

พึงพอใจ มาก

ท่ีสุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ท่ีสุด

การจัดเตรียมกิจกรรมการเรียนการสอนตรงตามหลักสูตรแนวการสอน

55 (25.0)

141 (64.1)

23 (10.5)

1 (0.5)

0 4.14 0.596 มาก

การแจงวัตถุประสงค ขอบขาย เนื้อหา กิจกรรม การเรียนการสอน ในแตละครั้ง/แตละหนวย

74 (33.6)

124 (56.4)

21 (9.5)

1 (0.5)

0 4.23 0.631 มาก

การเชื่อมโยง/แสดงความสัมพันธระหวางวิชาท่ีสอนกับวิชาอ่ืน

44 (20.0)

139 (63.2)

34 (15.5)

3 (1.4)

0 4.02 0.641 มาก

การเชื่อมโยง/แสดงความสัมพันธระหวางวิชาท่ีสอนกับชีวิตจริง

51 (23.2)

143 (65.0)

23 (10.5)

0 0 4.12 0.615 มาก

การเชื่อมโยงเนื้อหาไปสูการปฏิบัติจริง

68 (30.9)

126 (57.3)

26 (11.8)

0 0 4.19 0.627 มาก

การตั้งปญหาใหผูเรียนไดมีสวนรวมในการคิดวิเคราะห

53 (24.1)

136 (63.2)

26 (11.8)

1 (0.5)

1 (0.5)

1.10 0.640 มาก

การใหผูเรียนทํางานเปนกลุม 70 (31.8)

127 (57.7)

23 (10.5)

0 0 4.21 0.615 มาก

การสรางบรรยากาศการเรียนรูท่ีนาสนใจ

43 (19.5)

122 (55.5)

51 (23.2)

4 (1.8)

0 3.95 0.707 มาก

การแนะนําใหผูเรียนแสวงหาความรูเพ่ิมเติมดวยตนเอง

57 (25.9)

124 (56.4)

39 (17.7)

0 0 4.08 0.657 มาก

รวม (ดานการจัดแผนการเรยีนเสนอแนะของสาขาวิชา) 4.08 0.45 มาก

18 จากตารางท่ี 4.4 พบวานักศึกษา18 18มีความพึงพอใจ 18กระบวนการเรียนการสอน อยูในระดับมาก 1 8ซ่ึงมีคาเฉลี่ยรวม 4.0818 (S.D. 0.45 ) เม่ือพิจารณารายขอ พบวาความพึงพอใจดานกระบวนการเรียนการสอนมากท่ีสุดคือ การใหผูเรียนทํางานเปนกลุม (รอยละ 31.8) และความพึงพอใจดานกระบวนการเรียนการ

Page 29: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

29

สอนนอยท่ีสุดคือ มีการเปดโอกาสใหผูเรียนมีสวนรวมในการจัดแผนการเรียนเสนอแนะ และการตั้งปญหาใหผูเรียนไดมีสวนรวมในการคิดวิเคราะห (รอยละ 0.5)

4.1.4 ความพึงพอใจตอการจดักิจกรรมของนักศึกษาตอหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร

ผลการวิเคราะหความพึงพอใจตอการจัดกิจกรรมของนักศึกษาตอหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรแสดงดังตารางท่ี 4.5 ตารางท่ี 4.5 แสดงความพึงพอใจตอการจัดกิจกรรมของของนักศึกษาตอหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร

ประเด็นพิจารณา

(กิจกรรมสงเสริมความรูและ

ทักษะนอกช้ันเรียน)

ระดับ

คาเฉล่ีย

S.D. ระดับ

ความ

พึงพอใจ มาก

ท่ีสุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ท่ีสุด

การดําเนินกิจกรรมกอเกิดการปลูกฝ ง เ จตคติ ท่ี ดี ต อวิชาชีพ

71

(32.3)

118

(53.6)

30

(13.6)

1

(0.5)

0 4.18 0.669 มาก

การดําเนิน กิจกรรมมีการส อ ด แ ท ร ก คุ ณ ธ ร ร ม จริยธรรม

71

(32.3)

116

(52.7)

31

(14.1)

2

(0.9)

0 4.16 0.689 มาก

กิ จ ก ร รม มี ค ว าม ทันส มั ยนําไปใชประโยชนได

62

(28.2)

125

(56.8)

32

(14.5)

1

(0.5)

0 4.13 0.657 มาก

การจัดกิจกรรมมีการเสริม 93 109 18 0 0 4.34 0.62 มาก

Page 30: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

30

ประเด็นพิจารณา

(กิจกรรมสงเสริมความรูและ

ทักษะนอกช้ันเรียน)

ระดับ

คาเฉล่ีย

S.D. ระดับ

ความ

พึงพอใจ มาก

ท่ีสุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ท่ีสุด

ความรูดานสาธารณสุข (42.3) (49.5) (8.2)

การดําเนินกิจกรรมสงผลใหนักศึกษามีการทํางานเปนทีม

81

(36.8)

118

(53.6)

20

(9.1)

1

(0.5)

0 4.27 0.63 มาก

การดําเนินกิจกรรมสงผลใหนั ก ศึ ก ษ า มี ค ว า ม ก ล าแสดงออก

72

(32.7)

122

(55.5)

24

(10.9)

1

(0.5)

1

(0.5)

4.20 0.67 มาก

การดําเนินกิจกรรมสงผลใหนักศึกษาสามารถประสานการทํางานรวมกับชุมชนได

68

(30.9)

124

(56.4)

28

(12.7)

0 0 4.18 0.63 มาก

การใหบริการขอมูลขาวสารเก่ียวกับกิจกรรมแกนักศึกษา

56

(25.5)

126

(57.3)

35

(15.9)

3

(1.4)

0 4.07 0.68 มาก

การใหการสนับสนุนกิจกรรมของนักศึกษา

63

(28.6)

128

(58.2)

27

(12.3

2

(0.9)

0 4.15 0.65 มาก

รวม (กิจกรรมสงเสริมความรูและทักษะนอกช้ันเรียน) 4.18 0.51 มาก

18 จากตารางท่ี 4.5 1 8พบวานักศึกษามีความพึงพอใจตอการจัดกิจกรรมของนักศึกษาอยูในระดับมาก ซ่ึงมีคาเฉลี่ยรวม 4.18 (S.D. 0.51 ) เม่ือพิจารณารายขอ พบวา ความพึงพอใจตอการจัดกิจกรรมของนักศึกษามากท่ีสุด คือ การจัดกิจกรรมมีการเสริมความรูดานสาธารณสุข (รอยละ 42.3) และความพึงพอใจตอการจัดกิจกรรมของนักศึกษานอยท่ีสุด คือ การดําเนินกิจกรรมสงผลใหนักศึกษามีความกลาแสดงออก (รอยละ 0.5)

Page 31: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

31

4.1.5 ความพึงพอใจตอเนื้อหารายวิชา ของนักศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร ผลการวิเคราะหความพึงพอใจตอเนื้อหารายวิชาของนักศึกษาตอหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรแสดงดังตารางท่ี 4.6 ตารางท่ี 4.6 แสดงความพึงพอใจตอเนื้อหารายวิชา ของนักศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร

ประเด็นพิจารณา

(เน้ือหารายวิชา)

ระดับ

คาเฉล่ีย

S.D. ระดับ

ความ

พึงพอใจ มาก

ท่ีสุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ท่ีสุด

หลักสูตรมีความทันสมัย 43 (19.5)

132 (60.0)

45 (20.5)

0 0 3.99 0.63 มาก

เนื้อหารายวิชามีความทันสมัย 45 (20.5)

130 (59.1)

45 (20.5)

0 0 4.00 0.64 มาก

เนื้อหารายวิชามีความเหมาะสมกับจํานวนหนวยกิต

44 (20.0)

130 (59.1)

43 (19.5)

3 (1.4)

0 3.98 0.67 มาก

รายวิชามีความเหมาะสมและสอดคลองกับความตองการเรียน

47 (21.4)

138 (62.7)

34 (15.5)

1 (0.5)

0 4.05 0.62 มาก

รายวิชามีความเหมาะสมกับพ้ืนฐานความรูของผูเรียน

53 (24.1)

131 (59.5)

35 (15.9)

1 (0.5)

0 4.07 0.64 มาก

เนื้อหารายวิชานําไปใชในการประกอบอาชีพไดอยางเหมาะสม

69 (31.4)

123 (55.9)

27 (12.3)

1 (0.5)

0 4.18 0.65 มาก

เนื้อหารายวิชานําไปสูการไดรับการพัฒนาทางดานคุณธรรม จริยธรรม

60 (27.3)

124 (56.4)

36 (16.4)

0 0 4.11 0.65 มาก

รายวิชากอใหเกิดความสามารถในการวิจัยเพ่ือสรางองคความรูและนวัตกรรมใหม

62 (28.2)

130 (59.1)

26 (11.8)

2 (0.9)

0

4.15 0.64 มาก

Page 32: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

32

ประเด็นพิจารณา

(เน้ือหารายวิชา)

ระดับ

คาเฉล่ีย

S.D. ระดับ

ความ

พึงพอใจ มาก

ท่ีสุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ท่ีสุด

รายวิชาท่ีเรียนสงผลตอการไดรับการพัฒนาทางดานความรู

56 (25.5)

134 (60.9)

30 (13.6)

0 0 4.12 0.61 มาก

รายวิชาท่ีเรียนสงผลตอการไดรับการพัฒนาทักษะทางปญญา สามารถนําความรูไปใชแกปญหาไดอยางสรางสรรคถูกตองและเหมาะสม

57 (25.9)

140 (63.6)

22 (10.0)

1 (0.5)

0 4.15 0.59 มาก

รายวิชาท่ีเรียนสงผลตอการไดรับการพัฒนาทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและการรับผิดชอบ

58 (26.4)

139 (63.2)

22 (10.0)

1 (0.5)

0 4.15 0.60 มาก

รายวิชาท่ีเรียนสงผลตอการไดรับการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห การสื่อสารและการใชเทคโนโลยีท่ีจําเปน

64 (29.1)

130 (59.1)

24 (10.9)

2 (0.9)

0 4.16 0.64 มาก

รวม(เน้ือหารายวิชา) 4.09 0.47 มาก

18 จากตารางท่ี 4.6 พบวานักศึกษามีความพึงพอใจ 1 8ตอเนื้อหารายวิชา อยูในระดับมาก ซ่ึงมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.09 (S.D. 0.41) เม่ือพิจารณารายขอพบวา นักศึกษามีความพึงพอใจตอเนื้อหารายวิชามากท่ีสุด คือ เนื้อหารายวิชานําไปใชในการประกอบอาชีพไดอยางเหมาะสม (รอยละ31.4) และนักศึกษามีความพึงพอใจตอเนื้อหารายวิชานอยท่ีสุด ไมมี

ความสัมพันธระหวางชวงอายุ ชั้นป เกรดกับ กับความพึงพอใจของนักศึกษาตอการเรียนการสอน

ของหลักสูตร สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต

Page 33: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

33

ตารางท่ี 4.8 ความสัมพันธระหวางชวงอายุ ชั้นป เกรดกับ กับความพึงพอใจของนักศึกษาตอการเรียน

การสอนของหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต

ปจจัยท่ีมีความสัมพันธ อาจารยผูสอน

การจัดการเรียนการสอน

เนื้อหาในหลักสูตร ทักษะ

อายุ Pearson Correlation -.226** -.149* -.084 .016

Sig. (2-tailed) .001 .027 .217 .813

N 220 220 220 220

เกรด Pearson Correlation -.056 -.003 .009 .000

Sig. (2-tailed) .411 .970 .896 .998

N 220 220 220 220

ชั้นป Pearson Correlation -.238** -.110 -.056 .008

Sig. (2-tailed) .000 .103 .411 .902

N 220 220 220 220

*. Correlation is significant at the 0.05 level (2-tailed). **. Correlation is significant at the 0.01 level (2-tailed).

จากการศึกษาความสัมพันธระหวางชวงอายุ ชั้นป เกรด ของนักศึกษากับความพึงพอใจตอการเรียนการสอนของหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร พบวา อายุ มีความสัมพันธกับการจัดการเรียนการสอนท่ีระดับนัยสําคัญ 0.05 สวนความพึงพอใจตออาจารยผูสอนและอาจารยท่ีปรึกษามีความสัมพันธท่ีระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.01 สวนเกรดไมมีความสัมพันธตอความพึงพอใจในการเรียนการสอน และชั้นปมีความสัมพันธกับอาจารยผูสอนและอาจารยท่ีปรึกษา ท่ีระดับนัยสําคัญท่ีระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 แสดงใหเห็นวาระดับความสัมพันธกันไปในทิศทางตรงขามกัน แตก็อยูในชวงระดับความสัมพันธ โดยใชเกณฑ (Hinkle D.E. 1998,p.118)

บัณฑิต

4.2.1 ขอมูลสวนบุคคล

ขอมูลสวนบุคคลของกลุมตัวอยาง ท่ีตอบแบบสอบถามเพ่ือประเมินความพึงพอใจของ บัณฑิตตอการจัดการเรียนการสอนสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร ผูวิจัยนํา เสนอขอมูลโดยใช คา จํานวน และคารอยละ แสดงรายละเอียดในตารางท่ี 4.7

Page 34: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

34

ตารางท่ี 4.8 ขอมูลสวนบุคคลของบัณฑิตสาขาวิชาสาธารณสุขชุมชนเพศ (n =70)

ขอมูลสวนบุคคล จํานวน คิดเปนรอยละ

เพศ

ชาย 7 10.0 หญงิ 63 90.0

หนวยงาน

ราชการ 12 17.1 เอกชน/รัฐวิสาหกิจ 55 78.6 คาขาย/ธุรกิจสวนตัว 3 4.3

ระยะเวลาการไดงานทํา

ต่ํากวา 6 เดือน 8 11.4 6 เดือน -1 ป 17 24.3

1-2 ป 45 64.3 รายไดเฉล่ียตอเดือน

ต่ํากวา 10,000 12 17.1

10,000-15,000 58 82.9

จากตารางท่ี 4.11 พบวาบัณฑิตไดงานทําท้ังหมด 70 คน เปนชาย จํานวน 7 คน คิดเปนรอยละ 10.00 หญิง จํานวน 63 คิดเปนรอยละ 90.00 บัณฑิตสวนใหญสังกัดหนวยเอกชน/รัฐวิสาหกิจ จํานวน 55 คน คิดเปนรอยละ 78.6 งานราชการ จํานวน 12 คน คิดเปนรอยละ 17.1 สวนคาขาย/ธุรกิจสวนตัว จํานวน 3 คน คิดเปนรอยละ 4.3 มีงานทําภายในระยะเวลา 1-2 ป จํานวน 45 คน คิดเปนรอยละ 64.3 และมีงานทําภายในระยะ 6 เดือน-1 ป จํานวน 17 คน คิดเปนรอยละ 24.3 รองลงมา คือมีงานทําภายในระยะตํ่ากวา 6 เดือน จํานวน 8 คน คิดเปนรอยละ 11.4 สวนใหญมีรายได 10,000-15,000 จํานวน 58 คน คิดเปนรอยละ 82.9 และมีรายไดต่ํากวา 10,000 จํานวน 12 คน คิดเปนรอยละ 17.1 ตามลําดับ ตารางท่ี 4.9 แสดงความพึงพอใจของบัณฑิตตอการจัดการเรียนการสอน สาขาวิชาสาธารณสุข

ชุมชน (ดานอาจารยผูสอน/อาจารยท่ีปรึกษา)

ระดับ

ระดับ

Page 35: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

35

ประเด็นพิจารณา

(อาจารย)

มาก

ท่ีสุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ท่ีสุด

คาเฉล่ีย S.D. ความ

พึงพอใจ

อาจารยผูสอน

จํานวนอาจารยพอเพียงในภาคทฤษฎี

1 (1.4)

5 (7.1)

57 (81.4)

7 (10.0)

0 3.00 0.48 ปาน

กลาง

จํานวนอาจารยพอเพียงในภาคปฏิบัต ิ

2 (2.9)

13 (18.6)

55 (78.6)

0 0 3.24 0.49 ปาน

กลาง

คุณวุฒิตรงตามสาขาวิชา/รายวิชาที่รับผิดชอบ

3 (4.3)

64 91.4)

3 (4.3)

0 0 4.00 0.29 มาก

มีประสบการณ ความสามารถตรงตามสาขาวิชา/รายวิชาที่รับผิดชอบ

4 (5.7)

45 (64.3)

21 (30.0)

0 0 3.75 0.54 มาก

มีความรู ความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

5 (7.1)

58 (82.9)

7 10.0)

0 0 3.97 0.41 มาก

มีวุฒิภาวะทางอารมณที่เหมาะสม

6 (8.6)

62 88.6)

2 (2.9)

0 0 4.05 3.35 มาก

รวม(ดานอาจารยผูสอน) 3.64 0.36 มาก

จากตารางท่ี 4.9 พบวา บัณฑิตมีความพึงพอใจอาจารยผูสอนอยูในระดับมาก ซ่ึงมีคาเฉลี่ยรวมเทากับ 3.64 คา (S.D.=0.36) เม่ือพิจารณารายขอความพึงพอใจอาจารยผูสอนมากท่ีสุดคือ มีวุฒิภาวะทางอารมณท่ีเหมาะสม (รอยละ 8.6) สวนความพึงพอใจอาจารยผูสอนนอยท่ีสุดคือ ไมมี ตารางท่ี 4.10 แสดงความพึงพอใจของบัณฑิตตอการจัดการเรียนการสอน สาขาวิชาสาธารณสุข

ชุมชน (ดานอาจารยผูสอน/อาจารยท่ีปรึกษา) (ตอ)

ประเด็นพิจารณา

(อาจารย)

ระดับ

คาเฉล่ีย

S.D.

ระดับ

ความ

พึงพอใจ มาก

ท่ีสุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ท่ีสุด

อาจารยที่ปรึกษา

มีจํานวนพอเพียง 6 64 0 0 0 0.28 มาก 4.08

Page 36: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

36

ประเด็นพิจารณา

(อาจารย)

ระดับ

คาเฉล่ีย

S.D.

ระดับ

ความ

พึงพอใจ มาก

ท่ีสุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ท่ีสุด

(8.6) (91.4)

มีความรู ความสามารถในการใหคําปรึกษา/การใหคําแนะนําดานการเรียน การปรับปรุงพฤติกรรม การรับรูบทบาทหนาที่ของตนเอง

8 (11.4)

58 (82.9)

4 (5.7)

0 0 0.41 มาก 4.05

มีวุฒิภาวะทางอารมณที่เหมาะสม

9 (12.9)

49 (70.0)

12 (17.1)

0 0 0.54 มาก 3.95

ปฏิบัติหนาที่อาจารยที่ปรึกษาอยางเต็มความสามารถ

11 (15.7)

57 (81.4)

2 (2.9)

0 0 0.41 มาก 4.12

รวมดานอาจารยท่ีปรึกษา 4.05 0.36 มาก

1 8จากตารางท่ี 4.10 พบวา บัณฑิตมีความพึงพอใจอาจารยท่ีปรึกษาอยูในระดับมาก ซ่ึงมีคาเฉลี่ยรวมเทากับ 4.05 คา (S.D.=0.36) เม่ือพิจารณารายขอความพึงพอใจอาจารยท่ีปรึกษามากท่ีสุดคือ ปฏิบัติหนาท่ีอาจารยท่ีปรึกษาอยางเต็มความสามารถ (รอยละ 15.7) สวนความพึงพอใจอาจารยผูสอนนอยท่ีสุดคือ ไมมี

4.1.3 ความพึงพอใจของบัณฑิตตอการจัดการเรียนการสอน หลักสูตรสาธารณสุขศาสตร (ดานการจัด

แผนการเรียนเสนอแนะของสาขาวิชา)

ตารางท่ี 4.11 แสดงความพึงพอใจของบัณฑิตตอการจัดการเรียนการสอน สาขาวิชาสาธารณสุข

ชุมชน (ดานการจัดแผนการเรียนเสนอแนะของสาขาวิชา)

ประเด็นพิจารณา

(กระบวนการจัดการเรียน

การสอน)

ระดับ

คาเฉล่ีย

S.D.

ระดับ

ความ

พึงพอใจ มาก

ท่ีสุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ท่ีสุด

ความเหมาะสมของการจัดแผนการเรียนเสนอแนะ

4 (5.7)

56 (80.0)

10 (14.3)

0 0 3.91 0.44 มาก

Page 37: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

37

ประเด็นพิจารณา

(กระบวนการจัดการเรียน

การสอน)

ระดับ

คาเฉล่ีย

S.D.

ระดับ

ความ

พึงพอใจ มาก

ท่ีสุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ท่ีสุด

มีการเปดโอกาสใหผูเรียนมีสวนรวมในการจัดแผนการเรียนเสนอแนะ

3 (4.3)

43 61.4)

24 (34.3)

0 0 3.70 0.54 มาก

การจัดเตรียมกิจกรรมการเรียนการสอนตรงตามหลักสูตรแนวการสอน

3 (4.3)

52 (74.3)

15 (21.4)

0 0 3.82 0.48 มาก

การแจงวัตถุประสงค ขอบขาย เนื้อหา กิจกรรม การเรียนการสอน ในแตละคร้ัง/แตละหนวย

4 (5.7)

54 (77.1)

12 (17.1)

0 0 3.88 0.46 มาก

การเชื่อมโยง/แสดงความสัมพันธระหวางวชิาที่สอนกับวิชาอ่ืน

1 (1.4)

57 (81.4)

12 (17.1)

0 0 3.84 0.40 มาก

การเชื่อมโยง/แสดงความสัมพันธระหวางวชิาที่สอนกับชีวิตจริง

2 (2.9)

39 (55.7)

29 (41.4)

0 0 3.61 0.54 มาก

การเชื่อมโยงเนื้อหาไปสูการปฏิบัติจริง

1 (1.4)

26 (37.1)

43 (61.4)

0 0 3.40 0.52 ปานกลาง

การตั้งปญหาใหผูเรียนไดมสีวนรวมในการคิดวิเคราะห

1 (1.4)

52 (74.3)

17 (24.3)

0 0 3.77 0.45 มาก

การใหผูเรียนทํางานเปนกลุม 52 (74.3)

10 (14.3)

8 (11.4)

0 0 4.62 0.68 มากท่ีสุด

การสรางบรรยากาศการเรียนรูที่นาสนใจ

10 (14.3)

30 (42.9)

30 (42.9)

0 0 3.71 0.70 มาก

การแนะนาํใหผูเรียนแสวงหาความรูเพิ่มเติมดวยตนเอง

11 (15.7)

52 (74.3)

7 (10.0)

0 0 4.05 0.50 มาก

รวม (ดานการจัดแผนการเรยีนเสนอแนะของสาขาวิชา) 3.85 0.41 มาก

จากตารางท่ี 4.11 พบวา บัณฑิตมีความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอน อยูในระดับมาก ซ่ึงมีคาเฉลี่ยรวมเทากับ 3.85 คา (S.D.=0.41) เม่ือพิจารณารายขอความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการ

Page 38: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

38

สอน มากท่ีสุดคือ การใหผูเรียนทํางานเปนกลุม (รอยละ 74.3) สวนความพึงพอใจอาจารยผูสอนนอยท่ีสุดคือ ไมมี 4.1.4 ความพึงพอใจของบัณฑิตตอการจัดการเรียนการสอน หลักสูตรสาธารณสุขศาสตร

(ดานกิจกรรมสงเสริมความรูและทักษะนอกช้ันเรียน)

ตารางท่ี 4.12 แสดงความพึงพอใจของบัณฑิตตอการจัดการเรียนการสอน สาขาวิชาสาธารณสุข

ชุมชน (ดานกิจกรรมสงเสริมความรูและทักษะนอกชั้นเรียน)

ประเด็นพิจารณา

(กิจกรรมสงเสริมความรูและ

ทักษะนอกช้ันเรียน)

ระดับ

คาเฉล่ีย

S.D. ระดับ

ความ

พึงพอใจ มาก

ท่ีสุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ท่ีสุด

การดําเนินกิจกรรมกอเกิดการปลู กฝ ง เ จตคติ ท่ี ดี ต อวิชาชีพ

33

(47.1)

33

(47.1)

4

(57)

0 0 4.41 0.60 มาก

การดํ า เนิน กิจกรรมมีการสอดแทรกคุณธรรม จรยิธรรม

44

(62.9)

26

(37.1)

0 0 0 4.62 0.48 มากท่ีสุด

กิ จ ก ร ร ม มี ค ว าม ทั นส มั ยนําไปใชประโยชนได

13

(18.6)

32

(45.7)

25

(35.7)

0 0 3.82 0.72 มาก

การจัดกิจกรรมมีการเสริม 45 25 0 0 0 4.64 0.48 มากท่ีสุด

Page 39: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

39

ประเด็นพิจารณา

(กิจกรรมสงเสริมความรูและ

ทักษะนอกช้ันเรียน)

ระดับ

คาเฉล่ีย

S.D. ระดับ

ความ

พึงพอใจ มาก

ท่ีสุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ท่ีสุด

ความรูดานสาธารณสุข (64.3) (35.7)

การดําเนินกิจกรรมสงผลใหนักศึกษามีการทํางานเปนทีม

4

(5.7)

40

(57.1)

26

(37.1)

0 0 3.68 0.57 มาก

การดําเนินกิจกรรมสงผลใหนั ก ศึ ก ษ า มี ค ว า ม ก ล าแสดงออก

45

(64.3)

25

(35.7)

0 0 0 4.64 0.48 มากท่ีสุด

การดําเนินกิจกรรมสงผลใหนักศึกษาสามารถประสานการทํางานรวมกับชุมชนได

45

(64.3)

25

(35.7)

0 0 0 4.64 0.48 มากท่ีสุด

การใหบริการขอมูลขาวสารเก่ียวกับกิจกรรมแกนักศึกษา

13

(18.6)

32

(45.7)

25

(35.7)

0 0 3.82 0.72 มาก

การใหการสนับสนุนกิจกรรมของนักศึกษา

45

(64.3)

25

(35.7)

0 0 0 4.64 0.48 มากท่ีสดุ

รวม (กิจกรรมสงเสริมความรูและทักษะนอกช้ันเรียน) 4.32 0.20 มาก

18 จากตารางท่ี 4.12 พบวา บัณฑิตมีความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอน(ดานกิจกรรมสงเสริมความรูและทักษะนอกชั้นเรียน) อยูในระดับมาก ซ่ึงมีคาเฉลี่ยรวมเทากับ 4.32 คา (S.D.=0.20) เม่ือพิจารณารายขอความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอน มากท่ีสุดคือ การจัดกิจกรรมมีการเสริมความรูดานสาธารณสุข,การดําเนินกิจกรรมสงผลใหนักศึกษามีความกลาแสดงออก และการใหการสนับสนุนกิจกรรมของนักศึกษา (รอยละ 74.3) สวนความพึงพอใจอาจารยผูสอนนอยท่ีสุดคือ ไมมี18

Page 40: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

40

4.1.5 ความพึงพอใจของบัณฑิตตอการจัดการเรียนการสอน หลักสูตรสาธารณสุขศาสตร (ดาน

เนื้อหารายวิชาในหลักสูตร)

ตารางท่ี 4.13ความพึงพอใจของบัณฑิตตอการจัดการเรียนการสอน หลักสูตรสาธารณสุขศาสตร

(ดานเนื้อหารายวิชาในหลักสูตร)

ประเด็นพิจารณา

(เน้ือหารายวิชา)

ระดับ

คาเฉล่ีย

S.D. ระดับ

ความ

พึงพอใจ มาก

ท่ีสุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ท่ีสุด

หลักสูตรมีความทันสมัย 44 (62.9)

26 (37.1)

0 0 0 4.62 0.48 มากท่ีสุด

เนื้อหารายวิชามีความทันสมัย 44 (62.9

26 (37.1)

0 0 0 4.62 0.48 มากท่ีสุด

เนื้อหารายวิชามีความเหมาะสมกับจํานวนหนวยกิต

4 (5.7)

40 (57.1)

26 (37.1)

0 0 3.68 0.57 มาก

รายวิชามีความเหมาะสมและสอดคลองกับความตองการเรียน

44 (62.9

26 (37.1)

0 0 0 4.62 0.48 มากท่ีสุด

รายวิชามีความเหมาะสมกับพ้ืนฐานความรูของผูเรียน

4 (5.47)

40 (57.1)

26 (37.1)

0 0 3.68 0.57 มาก

เนื้อหารายวิชานําไปใชในการประกอบอาชีพไดอยางเหมาะสม

45 (64.3)

25 (35.7)

0 0 0 4.64 0.48 มากทีสุด

เนื้อหารายวิชานําไปสูการไดรับการพัฒนาทางดานคุณธรรม จริยธรรม

12 (17.1)

49 (70.0)

9 (12.9)

0 0 4.04 0.54 มาก

Page 41: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

41

ประเด็นพิจารณา

(เน้ือหารายวิชา)

ระดับ

คาเฉล่ีย

S.D. ระดับ

ความ

พึงพอใจ มาก

ท่ีสุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ท่ีสุด

รายวิชากอใหเกิดความสามารถในการวิจัยเพ่ือสรางองคความรูและนวัตกรรมใหม

11 (15.7)

39 (55.7)

20 (28.6)

0 0 3.81 0.65 มาก

รายวิชาท่ีเรียนสงผลตอการไดรับการพัฒนาทางดานความรู

45 (64.3)

25 (35.7)

0 0 0 4.64 0.48 มากท่ีสุด

รายวิชาท่ีเรียนสงผลตอการไดรับการพัฒนาทักษะทางปญญา สามารถนําความรูไปใชแกปญหาไดอยางสรางสรรคถูกตองและเหมาะสม

45 (64.3)

25 3(5.7)

0 0 0 4.64 0.48 มากท่ีสุด

รายวิชาท่ีเรียนสงผลตอการไดรับการพัฒนาทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและการรับผิดชอบ

44 (62.9)

26 (37.1)

0 0 0 4.62 0.48 มากท่ีสุด

รายวิชาท่ีเรียนสงผลตอการไดรับการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห การสื่อสารและการใชเทคโนโลยีท่ีจําเปน

11 (15.7)

39 (55.7)

20 (28.6)

0 0 3.87 0.65 มาก

รวม(เนือ้หารายวิชา) 4.21 0.33 มาก

18 จากตารางท่ี 4.13 พบวา บัณฑิตมีความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอน(ดานเนื้อหารายวิชาในหลักสูตร)อยูในระดับมาก ซ่ึงมีคาเฉลี่ยรวมเทากับ 4.21 คา (S.D.=0.33) เม่ือพิจารณารายขอความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอน(ดานเนื้อหารายวิชาในหลักสูตร) มากท่ีสุดคือ รายวิชาท่ีเรียนสงผลตอการไดรับการพัฒนาทางดานความรู,รายวิชาท่ีเรียนสงผลตอการไดรับการพัฒนาทักษะทางปญญา และสามารถนําความรูไปใชแกปญหาไดอยางสรางสรรคถูกตองและเหมาะสม (รอยละ 64.3) สวนความพึงพอใจอาจารยผูสอนนอยท่ีสุดคือ ไมมี18

Page 42: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

42

ความสัมพันธระหวางหนวยงาน ระยะเวลามีงานทํา รายได/เงินเดือน กับความพึงพอใจของบัณฑิต

ตอการเรียนการสอนของหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต

ตารางท่ี 4.14 แสดงความสัมพันธระหวางหนวยงาน ระยะเวลามีงานทํา รายได/เงินเดือน กับ

ความพึงพอใจของบัณฑิตตอการเรียนการสอนของหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร

บัณฑิต

อาจารย การเรียนการ

สอน กิจกรรม พึงพอใจเนื้อหา หน่วยงาน Pearson

Correlation -.761** -.693** -.524** -.548**

Sig. (2-tailed) .000 .000 .000 .000

N 70 70 70 70 ระยะเวลาการทาํงาน Pearson

Correlation -.849** -.822** -.584** -.653**

Sig. (2-tailed) .000 .000 .000 .000

N 70 70 70 70 รายได ้ Pearson

Correlation -.750** -.600** -.417** -.486**

Sig. (2-tailed) .000 .000 .000 .000

N 70 70 70 70

**. Correlation is significant at the 0.01 level (2-tailed).

จากการศึกษาความสัมพันธระหวางหนวยงาน ระยะเวลาการทํางาน และรายได ของบัณฑิตกับความพึงพอใจตอการเรียนการสอนของหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร พบวาท้ัง 3 ปจจัยมีความสัมพันธกับความพึงพอใจตอหลักสูตรท่ีระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.01 ซ่ึงบางตัวแปรมีระดับความสัมพันธสูง บางตัวแปรมีมีระดับความสัมพันธต่ํา แสดงใหเห็นวาระดับความสัมพันธกันไปในทิศทางตรงขามกัน แตก็อยูในชวงระดับความสัมพันธ โดยใชเกณฑ (Hinkle D.E. 1998,p.118)

4.3 แนวทางการพัฒนาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต โดยการมีสวนรวม

จากการดําเนินกิจกรรมโดยการมีสวนรวมของนักศึกษา และบัณฑิต ไดใหความสําคัญ และบทบาทของหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร ในยุคไทยแลน 4.0 รวมถึงเสนทางสูการงานอาชีพดานสาธารณสุข แนวทางการพัฒนา ความตองการบัณฑิตทางดานสาธารณสุข ท้ังนี้มีการระดมความคิดและ

Page 43: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

43

แ ล ก เ ป ลี่ ย น เ รี ย น รู ใ ห ไ ด ป ร ะ เ ด็ น ท่ี มี ค ว า ม สํ า คั ญ ต อ ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ส า ธ า ร ณ สุ ข ศาสตรบัณฑิต มีประเด็นสําคัญ ควรให มีการประชาสัมพันธหลักสูตรลวงหนา และระยะยาว ควรมีการเตรียมความพรอมท้ังบุคลากร สถานท่ี และนักศึกษาใหม จัดการเรียนการสอนเสริมภาษาอังกฤษเพ่ือเปนการพัฒนาบัณฑิตและรองรับความปนอาเซียน อยากให เนนในประเด็น การฝกบัณฑิตใหมีทักษะในการแกไขปญหาอยางมีเหตุมีผล เพ่ือเตรียมความพรอมตอการทํางานใน อนาตค อยากใหมีแหลงงานรองรับอยางเพียงพอหรือจัดหาตลาดแรงงานใหเปนตน ท้ังนี้จากกิจกรรมดังกลาวไดสังเคราะหแนวทางการพัฒนาหลักสูตร โดยกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรูจากตัวแทนบัณฑิต นักศึกษา และอาจารย โดยเนนผูเรียน ผูสอน วีธีการจัดการเรียนการสอน การประเมินผล การนําไปใชประโยชน โดยสรุปเปนประเด็นเปนรายขอดังนี้

1. ผูเรียน คือนักศึกษาตองมีความพึงพอใจในการเตรียมตัวเรียนในเนื้อหารายวิชาท่ีกําหนดในหลักสูตรท้ังนี้ประกอบดวยความรูหรือประสบการณกอนเรียนอีกมุมในกลุมของนักศึกษาตองการใหมีเนื้อหารายวิชาท่ีปฏิบัติควบคูไปเนื้อหาการเรียน เพ่ือเตรียมความพรอมและทําใหเขาใจในเนื้อหามากข้ึน

2. ผูสอน คือนักศึกษาตองมีความเขาใจในตัวผูสอน ในประเด็นการสอนเพ่ือนําไปใชไดจริง และมีคุณธรรมจริยธรรม ประกอบกับผูสอนตองอธิบายและปฏิบัติ โดยการย้ําในสิ่งท่ีตองทํา สิ่งท่ีควรระวังในสถานการณจําลอง อีกท้ังจะเปนการกระตุนใหเกิดกระบวนการคิดตลอด

3. วิธีการจัดการเรียนการสอน คือ นักศึกษาพึงพอใจในวิธีการสอนแบบศูนยการเรียนรู ท่ีหลากหลาย เชน กรณีศึกษา สาธิต สาธิตยอนกลับหุน ฝกปฏิบัติกับคนจริง ทําใหผู เรียนเกิด

กระบวนการคิดเรียนรูจากประสบการณจริง ไมเกิดความรูสึกเบื่อหนายในการเรียน เกิดความเขาใจมากกวาการทองจํา สงผลใหผูเรียนมรความเขาใจ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีข้ึน

4. การประเมินผล ภาพรวมมีความเห็นวา การประเมินผลโดยใชแบบประเมินกลุมและผลงาน และแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เปนวิธีท่ีเหมาะสมตามสภาพผูเรียนจริง ท้ังนี้ การประเมินผลงานเดียวกะผลงานกลุม กับเห็นวาการประเมินแบบกลุมดีกวาเพราะไดแกไขปญหาและรวมกันคิดงานจึงออกมามีประสิทธิภาพ ซ่ึงมีอยากใหประเมินจากการทําขอสอบอยางเดียว ท้ังนี้จะไดเห็นถึงความเขาใจและผลงานระหวางเรียนเปนอยางไร

5. การนําไปใชประโยชน ของการจัดการเรียนการสอนตามแนวคิดในขอท่ี 3 วิธีการสอนแบบศูนยการเรียนรู โดยนักศึกษาเห็นวามีกิจกรรมท่ีหลากหลายระหวางเรียน เนนผูเรียนเปนสําคัญ ทําใหนักศึกษาเกิดความรูความเขาใจมากกวาการทองจําสามารถนําไปใชในสถานการณจริงได

ท้ังนี้กระบวนการเรียนการสอนท่ีเนนผู เรียนเปนสําคัญเปนวิธีการท่ีสามารถพัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห พัฒนาทักษะ เพ่ือใหไปสูเปาหมายการเรียนรู ทําใหเกิดความเขาใจ สงผลใหผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีดีข้ึน

Page 44: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

44

บทที่ 5

อภิปรายและขอเสนอแนะ

การศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาการวิเคราะหขอมูล การศึกษาวิจัยการวิจัยครั้งนี้ไดศึกษาถึงความ

พึงพอใจนักศึกษาและบัณฑิต ตอหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหมกลุมตัวอยางท่ีไดจากการวิจัยครั้งนี้ ไดแกนักศึกษาและ บัณฑิตท่ีเรียนหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร ท่ีจบปการศึกษา 2560 ในครั้งนี้ใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติในการประมวลผลแบบสอบถามจากกลุมตัวอยางผูวิจัยไดดําเนินการศึกษาและสรุปผล อภิปรายและมีขอเสนอแนะการวิจัยดังนี้

สรุปผลการวิจัย

Page 45: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

45

นักศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม สวนมากเปนเพศหญิง จํานวน 183 คน คิดเปนรอยละ 83.2 มีชวงเกรดเฉลี่ยสะสม 2.50-2.99 มากท่ีสุด จํานวน 94 คน คิดเปนรอยละ 42.7 นักศึกษาท่ีตอบแบบสอบถามมากท่ีสุด คือ ชั้นปท่ี1และชั้นปท่ี 2 จํานวน 60 คนตามลําดับ คิดเปนรอยละ 27.3 การมีความคาดหวังการไดรับรูและประสบการการทํางานดานสาธารณสุขในอนาคตมากท่ีสุดอยูในระดับมาก จํานวน 167 คน คิดเปนรอยละ 80.9 และการมีความคาดหวังการไดรับรูและประสบการณการทํางานดานสาธารณสุขในปจจุบันมากท่ีสุด อยูในระดับปานกลาง จํานวน 114 คน คิดเปนรอยละ 51.8 โดยการศึกษาความพึงพอใจสรุปไดดังนี้

1.ความพึงพอใจของนักศึกษาตอและอาจารยท่ีปรึกษาอยูในระดับมาก

2. ความพึงพอใจของนักศึกษาดานกระบวนการเรียนการสอนมากท่ีสุดคือ การใหผูเรียนทํางานเปนกลุม (รอยละ 31.8)

3. ความพึงพอใจของนักศึกษาตอการจัดกิจกรรมของนักศึกษามากท่ีสุด คือ การจัดกิจกรรมมีการเสริมความรูดานสาธารณสุข (รอยละ 42.3)

4.ความพึงพอใจตอเนื้อหารายวิชามากท่ีสุด คือ เนื้อหารายวิชานําไปใชในการประกอบอาชีพไดอยางเหมาะสม (รอยละ31.4)

สวนบัณฑิตท่ีจบจากหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิตคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม ปริญญาตรีป 2556 -2557 ทําการเก็บแบบเจาะจง จากบัณฑิตท่ีจบการศึกษาประจําป 2560 สวนมากเปนเพศหญิง จํานวน 63 คน รอยละ 90 สวนมากทํางานในหนวยงานเอกชน/รํฐวิสาหกิจ จํานวน 55 คิดเปนรอยละ 78.6 การทํางานของบัณฑิตสวนมากมีงานทําภายในระยะเวลา 1-2 ป จํานวน 45 คน คิดเปนรอยละ 64.3 และรายไดเฉลี่ยตอเดือนของบัณฑิตสวนใหญมีรายได 10,000 – 15,000 บาท จํานวน 58 คน คิดเปนรอยละ 82.9 โดยการศึกษาความพึงพอใจสรุปไดดังนี้

1.ความพึงพอใจของบัณฑิตตออาจารยผูสอนมากท่ีสุดคือ มีวุฒิภาวะทางอารมณท่ีเหมาะสม (รอยละ 8.6) และและความพึงพอใจของบัณฑิตตออาจารยท่ีปรึกษามากท่ีสุดคือ ปฏิบัติหนาท่ีอาจารยท่ีปรึกษาอยางเต็มความสามารถ (รอยละ 15.7)

2.ความพึงพอใจของบัณฑิตตอการจัดการเรียนการสอน มากท่ีสุดคือ การใหผูเรียนทํางานเปนกลุม (รอยละ 74.3)

3.ความพึงพอของบัณฑิตใจตอการกิจกรรม มากท่ีสุดคือ การจัดกิจกรรมมีการเสริมความรูดานสาธารณสุข,การดําเนินกิจกรรมสงผลใหนักศึกษามีความกลาแสดงออก และการใหการสนับสนุนกิจกรรมของนักศึกษา (รอยละ 74.3)

Page 46: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

46

4.ความพึงพอใจของบัณฑิตตอเนื้อหารายวิชาในหลักสูตร มากท่ีสุดคือ รายวิชาท่ีเรียนสงผลตอการไดรับการพัฒนาทางดานความรู,รายวิชาท่ีเรียนสงผลตอการไดรับการพัฒนาทักษะทางปญญา และสามารถนําความรูไปใชแกปญหาไดอยางสรางสรรคถูกตองและเหมาะสม (รอยละ 64.3)

สวนปจจัยท่ีมีความสัมพันธตอระดับความพึงพอใจท่ีมีตอหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิตของ

บัณฑิต และนักศึกษาภาควิชาสาธารณสุขศาสตรพบวามีความสัมพันธ เชิงลบ แตยังอยูในระดับสูง ปานกลาง ต่ํา มีความสัมพันธไปในทิศทางเดียวกัน นักศึกษาปจจัยท่ีมีความสัมพันธตอการจัดการเรียนการสอน คือ อายุ และ ชวงชั้นป ในสวนของบัณฑิต ปจจัยท่ีมีความสัมพันธตอการจัดการเรียนการสอน คือ หนวยงาน ระยะเวลามีงานทํา รายได/เงินเดือน แสดงใหเห็นวาหลักสูตรมีการพัฒนาและจัดการเรียนการสอน ใหสอดคลองกับความตองการของผูใชบัญฑิต และตรงตามสายงานท่ีบัณฑิตไดงานทํา

อภิปรายผลการวิจัย

1.ความพึงพอใจของนักศึกษาและบัณฑิตตอการจัดการเรียนการสอนดานอาจารยผูสอนและ

อาจารยท่ีปรึกษามากอยูในระดับมาก คาเฉลี่ยเทากับ 4.08 เนื่องจากอาจารยผูสอนมีความเตรียมความพรอมในการเตรียมสอนลวงหนา สามารถถายทอดความรูของเนื้อหารายวิชา มีความรูและเทคนิคในการถายทอด รูทันตอการเปลี่ยนแปลงทางวิทยากรใหคําแนะนําและรับฟงความเห็น มีความรู ความสามารถในการใหคําปรึกษา/การใหคําแนะนําดานการเรียน การปรับปรุงพฤติกรรม การรับรูบทบาทหนาท่ีของตนเองและ ปฏิบัติหนาท่ีอาจารยท่ีปรึกษาอยางเต็มความสามารถ รวมท้ังมีชองทางการติดตอกับอาจารยท่ีปรึกษารวดเร็วและทันสมัย

2. ความพึงพอใจ นักศึกษาและบัณฑิตกระบวนการเรียนการสอน อยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.08 และ3.85 ตามลําดับ ซ่ึงหลักสูตรมีแผนการเรียนเสนอแนะท่ีชัดเจน มีการกําหนดวัตุประสงค ขอบขายเนื้อหา กิจกรรม การเรียนการสอนมีการเตรียมกิจกรรมการเรียนการสอนตรงตามแนวการสอนท่ีวางไวรวมถึงมีการเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางวิชาท่ีสอนกับรายวิชาอ่ืนตลอดจนมีความสัมพันธกับชีวิตจริงในปจจุบันเพ่ือเชื่อมโยงเนื้อหาสูการปฏิบัติจริง

3. ความพึงพอใจนักศึกษาและบัณฑิตตอการจัดกิจกรรม ของหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร อยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.18 และ 4.32 ตามลําดับ โดยหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมีกิจกรรมท่ีสงเสริมความรูและทักษะนอกชั้นเรียนเพ่ือสงเสริมใหมีการทํางานและการจัดกิจกรรมความรูทางดานการ

Page 47: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

47

สาธารณสุข มีการสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม มีการปลูกฝงเจตคติท่ีดีตอวิชาชีพ และมีการประสานงานเพ่ือทํางานรวมกับองคกรใหญรวมกับการทํางานรวมกับชุมชน มีการทํางานเปนทีม มีความกลาแสดงออก พรอมท่ีจะรับฟงขอมูลขาวสารเพ่ือถายทอดตอไป และการรับฟงขอเสนอแนะหรือความคิดเห็นเพ่ิอปรับปรุงและแกไขตอไป

4.ความพึงพอใจนักศึกษาและบัณฑิตของตอเนื้อหารายวิชาของหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร

อยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.18 และ 4.32 ตามลําดับ โดยเนื้อหาในรายวิชาของหลักสูตรมีความทันสมัย และมีการพัฒนาเพ่ือและสรางองคความรูใหมใหมีความสอดคลองความตองการพ้ืนฐานของผูเรียน มีการสอดแทรกองคความรูการพัฒนาทางดานคุณธรรมจริยธรรม ใหเกิดความสามารถในการวิจัยเพ่ือสรางองคความรูและนวัตกรรมใหม เพ่ือพัฒนาทักษะทางปญญา สามารถนําความรูไปใชในการแกไขปญหาไดอยางสรางสรรคไดถูกตองและเหมาะสม ตลอดจนมีการพัฒนาทักษะ ความสัมพันธระหวางบุคคล การวเิคราะห

การศึกษาความพึงพอใจนักศึกษาและบัณฑิต ตอการจัดการเรียนการสอนของสาขา

สาธารณสุขศาสตรชุมชน คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม แสดงใหเห็นวา นักศึกษา และบัณฑิต มีความพึงพอใจในหลักสูตร ท่ีทําการจัดการเรียนการสอน เพราะหลักสูตรทําใหมีความรูและประสบการณท่ีไดรับจากหลักสูตร ทําใหสามารถนําไปประยุกตใชในการทํางานและการดํารงชีวิตในสังคมได ตลอดจนสรางความม่ันใจใหกับนักศึกษากอนเขาสูสายการงานอาชีพและเนนผูเรียนเปนสําคัญ สามารถวิเคราะห สังเคราะหเหตุการณปจจุบัน และปรับตัวไดอยางเหมาะสม ชี้ใหเห็นวา หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต ไดมีการพัฒนาปรับปรุง ในเรื่องของกระบวนการเรียนการสอน โดยการจัดทําแผนการเรียนการสอน กิจกรรมสงเสริมความรูและทักษะนอกชั้นเรียนรวมถึงพัฒนาเนื้อหาในรายวิชา ใหมีความเหมาะสมกับความตองการ ของผูเรียน

ซ่ึงจากผลดําเนินกิจกรรมการมีสวนรวมของนักศึกษา และบัณฑิต ไดใหความสําคัญ และบทบาทของหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร ในยุคไทยแลน 4.0 รวมถึงเสนทางสูการงานอาชีพดานสาธารณสุข แนวทางการพัฒนา ความตองการบัณฑิตทางดานสาธารณสุข ท่ีผูวิจัยไดรวบรวมโดยการมีสวนรวมและการระดมความคิด แลกเปลี่ยนเรียนรู จากอาจารย นักศึกษา บัณฑิต ซ่ึงจากประเด็นดังกลาวไดสอดคลองกับการศึกษาความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอน และมีบางประเด็นท่ีสามารถนํามาปรับปรุงเพ่ือพัฒนากระบวนการเรียน ในดานเนื้อหากระบวนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ พรอมท้ังเห็นควรเพ่ิมเติมการฝกทักษะในระหวางเรียนมากข้ึน เพ่ือใหนักศึกษาและบัณฑิตไดประสบการณจริงสามารถนําไปใชในการทํางานในอนาคต สวนใหญมีความเชื่อม่ันในหลักสูตรท่ีเปดสอนและมีความชอบในสาขานี้ อีกท้ังคิดวาจะสามารถทํางานในหนวยงานท่ีเก่ียวของและองคกรปกครองสวนทองถ่ิน

Page 48: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

48

ขอเสนอแนะ 1.ขอเสนอแนะในการนําไปใชประโยชน 1.1 ผลการศึกษาท่ีไดปรับปรุงหลักสูตรใหสามารถผลิตบัณฑิตไดตรงตามกรอบ

มาตรฐานคุณวุฒิการศึกษา 1.2 นําผลการศึกษาท่ีไดมาใชในการปรับปรุงเนื้อหาหลักสูตรใหตรงกับความตองการ

และคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงคและการผลิตบัณฑิต

2.ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป 2.1 ควรมีการศึกษาเก่ียวกับปจจัยและกระบวนการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

การศึกษา 2.2 ควรมีการศึกษาตอเนืองเม่ือนักศึกษาจบการศึกษาโดยศึกษาเปรียบเทียบ

คุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงคตามทัศนะของผูใชบัณฑิต

Page 49: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

49

บรรณานุกรม

กาญจนา อรุณสุขรุจี.ความพึงพอใจของสมาชิกสหกรณตอการดําเนินงานของสหกรณการเกษตรไชย ปราการจํากัด อําเภอไชยปราการจังหวัดเชียงใหม.เชียงใหมคณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 2546

เกวลี ผังดี และพิมพรดา ครองยุติ. 2556 รายงานการวิจัย ความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนใน หลักสูตรของภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน. สืบคนออนไลน http://sc2.kku.ac.th/stat/statweb/images/project%20stat/p56/017_56.pdf

เกษมะณี การรินทร และคณะ 2558 ความพึงพอใจของนักศึกษาระดับปริญญาตรีท่ีมีตอหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการเงินและการธนาคาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราช ภัฏบุรีรัมย.

สุรัตน หารวย และคณะ.ความพึงพอใจของนักศึกษาสาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน ชั้นปท่ี 4 ปการศึกษา 2559 ตอคุณภาพหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี .วารสารวิจัยสาธารณสุขศษสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

สุพัตรา รักการศิลป และคณะ. 2558. ความพอใจของนักศึกษาสาขาบัญชีท่ีมีตอหลักสูตรบัญชีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญญชี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย ประจําปการศึกษา 2558. วารสารวชิาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย

ผองใส ถาวรจักร. 2555. รายงานการวิจัย ความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตวิทยาลัยราชพฤกษปการศึกษา2555

สืบคนออนไลhttp://wwwrpu.ac.th/Library_web/doc/RC_RR/2555_Acdemic_P0ngsai.PDF

รัตนา พรมภาพ 2551 รายงานการวิจัย ความพึงพอใจจองนิสิตท่ีมีตอการจัดการเรียนการสอนใน หลักสูตรของภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร ปการศึกษา 2550 (สืบคนออนไลน) http://www.edu.nu.ac.th/th/department/dep-resear/qa_2.pdf

ปริญญา จเรรัตน และคณะ.(2546) .ความพึงพอใจของเกษตรกรผูผลิตและผูใชเสบียงสัตวจังหวัด สุพรรณบุรี กิจกรรมนาหญาและพัฒนาอาชีพผลิตเสบียงสัตวเพ่ือการจําหนายอาหาร ฝกออบรม หลักสูตร พัฒนานักวิจัยกรมปศุสัตวเบื้องตนรุนท่ี 1 กรุงเทพฯ กองอาหารสัตวกรมปศุสัตว

Page 50: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

50

ภาคผนวก

Page 51: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

51

ภาคผนวก ก

แบบสอบถาม

ความพึงพอใจของนักศึกษาตอการจัดการเรยีนการสอน

แบบสอบถาม

ความพึงพอใจนักศึกษาตอการจัดการเรียนการสอน สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน

คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม

สวนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไป

คําช้ีแจง โปรดใสเครื่องหมาย / ลงในชองวาง

1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง 2. อายุ......................ป

Page 52: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

52

3. เกรดเฉลี่ยสะสมเทอมปจจุบัน.................. คาใชจายตอเดือนประมาณ.............บาท 4. ชั้นป ( ) ป 1 ( ) ป 2 ( ) ป 3 ( ) ป 4 5. ความคาดหวังการไดรับความรูและประสบการณการทํางานดานสาธารณสุขในอนาคต ( ) มาก ( ) ปานกลาง ( ) นอย 6. การไดรับความรูและประสบการณการทํางานดานสาธารณสุขในปจจุบัน ( ) มาก ( ) ปานกลาง ( ) นอย สวนท่ี 1 ความพึงพอใจตออาจารย

อาจารย

ระดับ

มากท่ีสุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยท่ีสุด

อาจารยผูสอน

จํานวนอาจารยพอเพียงในภาคทฤษฎ ี จํานวนอาจารยพอเพียงในภาคปฏิบัต ิ คุณวุฒิตรงตามสาขาวิชา/รายวิชาท่ีรับผิดชอบ มีประสบการณ ความสามารถตรงตามสาขาวิชา/รายวิชาท่ีรับผิดชอบ

มีความรู ความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

มีวุฒิภาวะทางอารมณท่ีเหมาะสม อาจารยท่ีปรึกษา

มีจํานวนพอเพียง มีความรู ความสามารถในการใหคําปรึกษา/การใหคําแนะนําดานการเรียน การปรับปรุง

อาจารย

ระดับ

มากท่ีสุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยท่ีสุด

พฤติกรรม การรับรูบทบาทหนาท่ีของตนเอง มีวุฒิภาวะทางอารมณท่ีเหมาะสม ปฏิบัติหนาท่ีอาจารยท่ีปรึกษาอยางเต็มความสามารถ

ขอเสนอแนะตอลักษณะของอาจารย (โปรดระบุ)

Page 53: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

53

...................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................... สวนท่ี 2 ความพึงพอใจตอกระบวนการการจัดการเรียนการสอน

กระบวนการจัดการเรียนการสอน ระดับ

มากท่ีสุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยท่ีสุด

การจัดแผนการเรียนเสนอแนะของสาขาวิชา

ความเหมาะสมของการจัดแผนการเรียนเสนอแนะ มีการเปดโอกาสใหผูเรียนมีสวนรวมในการจัดแผนการเรียนเสนอแนะ

การจัดเตรียมกิจกรรมการเรียนการสอนตรงตามหลักสูตรแนวการสอน

การแจงวัตถุประสงค ขอบขาย เนื้อหา กิจกรรม การเรียนการสอน ในแตละครั้ง/แตละหนวย

การเชื่อมโยง/แสดงความสัมพันธระหวางวิชาท่ีสอนกับวิชาอ่ืน

การเชื่อมโยง/แสดงความสัมพันธระหวางวิชาท่ีสอนกับชีวิตจริง

การเชื่อมโยงเนื้อหาไปสูการปฏิบัติจริง การตั้งปญหาใหผูเรียนไดมีสวนรวมในการคิดวิเคราะห

การใหผูเรียนทํางานเปนกลุม การสรางบรรยากาศการเรียนรูท่ีนาสนใจ การแนะนําใหผูเรียนแสวงหาความรูเพ่ิมเติมดวยตนเอง

ขอเสนอแนะตอกระบวนการจัดการเรียนการสอน (โปรดระบุ)

...................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................

Page 54: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

54

......................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................

สวนท่ี 3 ความพึงพอใจตอการจัดกิจกรรม

กิจกรรมสงเสริมความรูและทักษะนอกช้ันเรียน ระดับ

มากท่ีสุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยท่ีสุด

การดําเนินกิจกรรมกอเกิดการปลูกฝงเจตคติท่ีดีตอวิชาชีพ

การดําเนินกิจกรรมมีการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม

กิจกรรมมีความทันสมัยนําไปใชประโยชนได

การจัดกิจกรรมมีการเสริมความรูดานสาธารณสุข

การดําเนินกิจกรรมสงผลใหนักศึกษามีการทํางานเปนทีม

การดําเนินกิจกรรมสงผลใหนักศึกษามีความกลาแสดงออก

การดําเนินกิจกรรมสงผลใหนักศึกษาสามารถประสานการทํางานรวมกับชุมชนได

การใหบริการขอมูลขาวสารเก่ียวกับกิจกรรมแกนักศึกษา

การใหการสนับสนุนกิจกรรมของนักศึกษา

ขอเสนอแนะตอกระบวนการจัดกิจกรรม (โปรดระบุ)

...................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................

Page 55: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

55

......................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................

สวนท่ี 4 ความพึงพอใจตอเนื้อหารายวิชาในหลักสูตร

เนื้อหารายวิชา ระดับ

มากท่ีสุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยท่ีสุด

หลักสูตรมีความทันสมัย เนื้อหารายวิชามีความทันสมัย

เนื้อหารายวิชามีความเหมาะสมกับจํานวนหนวยกิต

รายวิชามีความเหมาะสมและสอดคลองกับความตองการเรียน

รายวิชามีความเหมาะสมกับพ้ืนฐานความรูของผูเรียน

เนื้อหารายวิชานําไปใชในการประกอบอาชีพไดอยางเหมาะสม

เนื้อหารายวิชานําไปสูการไดรับการพัฒนาทางดานคุณธรรม จริยธรรม

รายวิชากอใหเกิดความสามารถในการวิจัยเพ่ือสรางองคความรูและนวัตกรรมใหม

รายวิชาท่ีเรียนสงผลตอการไดรับการพัฒนาทางดานความรู

รายวิชาท่ีเรียนสงผลตอการไดรับการพัฒนาทักษะทางปญญา สามารถนําความรูไปใชแกปญหาไดอยางสรางสรรคถูกตองและเหมาะสม

รายวิชาท่ีเรียนสงผลตอการไดรับการพัฒนาทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล และการรับผิดชอบ

รายวิชาท่ีเรียนสงผลตอการไดรับการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีท่ีจําเปน

Page 56: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

56

ขอเสนอแนะตอเนื้อหารายวิชาและหลักสูตร (โปรดระบุ

......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

ตอนท่ี 3 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ

......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

ขอขอบคุณท่ีทานใหความรวมมือในการตอบ

Page 57: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

57

ภาคผนวก ข

แบบสอบถาม

ความพึงพอใจของบัณฑิตตอการจัดการเรียนการสอน

แบบสอบถามความพึงพอใจของบัณฑิตหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร

คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม

คําชี้แจง

Page 58: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

58

1. แบบสอบถามมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความพึงพอใจของบัณฑิตและนักศึกษาภาควิชาสาธารณสุขศาสตร ที่มีตอคุณภาพหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร จึงขอความอนุเคราะหผูตอบแบบสอบถาม โปรดตอบตามความเปนจริง ทั้งนี้การวิเคราะหขอมูลจะวิเคราะหในภาพรวม ซึ่งไมมีผลกระทบตอผูตอบแบบสอบถาม ขอมูลที่ไดจะเปนประโยชนอยางยิ่งตอการพัฒนาคุณภาพหลักสูตร

2. แบบสอบถามมี่ทั้งหมด 3 ตอน ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไป ตอนที่ 2 ความพึงพอใจที่มีตอหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร ตอนที่ 3 ขอเสนอแนะเร่ืองอ่ืนๆ ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไป

คําชี้แจง โปรดใสเคร่ืองหมาย √ หรือเติมขอความลงในชองวางที่ตรงกับความจริงที่สุด 1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง 2. อายุ......................ป 4. สําเร็จการศึกษาแลว เมื่อป............................เกรดเฉลี่ย.................................... 5. สถานที่ทาํงาน................................................................................................... 6. ตําแหนงงาน...................................................................................................... 7.รายเฉลี่ยตอเดือน................................................................................................ ตอนที่ 2 ความพึงพอใจที่มีตอหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร

คําชี้แจง โปรดใสเคร่ืองหมาย √ ลงในชองที่ตรงกับระดับความพึงพอใจของทานที่มีตอหลักสูตร

5 หมายถึง ความพึงพอใจตอคุณภาพหลักสูตรในระดับมากที่สุด 4 หมายถึง ความพึงพอใจตอคุณภาพหลักสูตรในระดับมาก 3 หมายถึง ความพึงพอใจตอคุณภาพหลักสูตรในระดับปานกลาง 2 หมายถึง ความพึงพอใจตอคุณภาพหลักสูตรในระดับนอย 1 หมายถึง ความพึงพอใจตอคุณภาพหลักสูตรในระดับนอยที่สุด สวนท่ี 1 ความพึงพอใจตออาจารย

อาจารย

ระดับ

มากท่ีสุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยท่ีสุด

อาจารยผูสอน

จํานวนอาจารยพอเพียงในภาคทฤษฎี จํานวนอาจารยพอเพียงในภาคปฏิบัต ิ

Page 59: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

59

ระดับ

คุณวุฒิตรงตามสาขาวิชา/รายวชิาที่รับผิดชอบ มีประสบการณ ความสามารถตรงตามสาขาวิชา/รายวิชาที่รับผิดชอบ

มีความรู ความสามารถในการจดักิจกรรมการเรียนการสอน มีวุฒิภาวะทางอารมณที่เหมาะสม อาจารยที่ปรึกษา

มีจํานวนพอเพียง มีความรู ความสามารถในการใหคําปรึกษา/การใหคําแนะนําดานการเรียน การปรับปรุงพฤตกิรรม การรับรูบทบาทหนาที่ของตนเอง

มีวุฒิภาวะทางอารมณที่เหมาะสม ปฏิบัติหนาที่อาจารยที่ปรึกษาอยางเต็มความสามารถ

ขอเสนอแนะตอลักษณะของอาจารย (โปรดระบุ

...................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................

สวนท่ี 2 ความพึงพอใจตอกระบวนการการจัดการเรียนการสอน

กระบวนการจัดการเรียนการสอน

ระดับ

มากท่ีสุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยท่ีสุด

การจัดแผนการเรียนเสนอแนะของสาขาวิชา

ความเหมาะสมของการจัดแผนการเรียนเสนอแนะ มีการเปดโอกาสใหผูเรียนมีสวนรวมในการจัดแผนการเรียนเสนอแนะ

การจัดเตรียมกิจกรรมการเรียนการสอนตรงตามหลักสูตรแนวการสอน

Page 60: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

60

กระบวนการจัดการเรียนการสอน

ระดับ

มากท่ีสุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยท่ีสุด

การแจงวัตถุประสงค ขอบขาย เนื้อหา กิจกรรม การเรียนการสอน ในแตละคร้ัง/แตละหนวย

การเชื่อมโยง/แสดงความสัมพนัธระหวางวิชาที่สอนกับวิชาอ่ืน

การเชื่อมโยง/แสดงความสัมพนัธระหวางวิชาที่สอนกับชีวติจริง

การเชื่อมโยงเนื้อหาไปสูการปฏิบัติจริง การตั้งปญหาใหผูเรียนไดมสีวนรวมในการคิดวิเคราะห การใหผูเรียนทํางานเปนกลุม การสรางบรรยากาศการเรียนรูที่นาสนใจ การแนะนาํใหผูเรียนแสวงหาความรูเพิ่มเติมดวยตนเอง

ขอเสนอแนะตอกระบวนการจัดการเรียนการสอน (โปรดระบุ

...................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................... สวนท่ี 3 ความพึงพอใจตอการจัดกิจกรรม

กิจกรรมสงเสริมความรูและทักษะนอกช้ันเรยีน ระดับ

มากท่ีสุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยท่ีสุด

การดําเนินกิจกรรมกอเกิดการปลูกฝงเจตคติท่ีดีตอวิชาชีพ

การดําเนินกิจกรรมมีการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม

กิจกรรมมีความทันสมัยนําไปใชประโยชนได

การจัดกิจกรรมมีการเสริมความรูดานสาธารณสุข

Page 61: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

61

กิจกรรมสงเสริมความรูและทักษะนอกช้ันเรยีน ระดับ

มากท่ีสุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยท่ีสุด

การดําเนินกิจกรรมสงผลใหนักศึกษามีการทํางานเปนทีม

การดําเนินกิจกรรมสงผลใหนักศึกษามีความกลาแสดงออก

การดําเนินกิจกรรมสงผลใหนักศึกษาสามารถประสานการทํางานรวมกับชุมชนได

การใหบริการขอมูลขาวสารเก่ียวกับกิจกรรมแกนักศึกษา

การใหการสนับสนุนกิจกรรมของนักศึกษา

ขอเสนอแนะตอกระบวนการจัดกิจกรรม (โปรดระบุ

...................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................

สวนท่ี 4 ความพึงพอใจตอเนื้อหารายวิชาในหลักสูตร

เนื้อหารายวิชา

ระดับ

มากท่ีสุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยท่ีสุด

หลักสูตรมีความทันสมัย

เนื้อหารายวิชามีความทันสมัย

เนื้อหารายวิชามีความเหมาะสมกับจํานวนหนวยกิต

รายวิชามีความเหมาะสมและสอดคลองกับความตองการ

Page 62: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

62

เรียน รายวิชามีความเหมาะสมกับพ้ืนฐานความรูของผูเรียน

เนื้อหารายวิชานําไปใชในการประกอบอาชีพไดอยางเหมาะสม

เนื้อหารายวิชานําไปสูการไดรับการพัฒนาทางดานคุณธรรม จริยธรรม

รายวิชากอใหเกิดความสามารถในการวิจัยเพ่ือสรางองคความรูและนวัตกรรมใหม

รายวิชาท่ีเรียนสงผลตอการไดรับการพัฒนาทางดานความรู

รายวิชาท่ีเรียนสงผลตอการไดรับการพัฒนาทักษะทางปญญา สามารถนําความรูไปใชแกปญหาไดอยางสรางสรรคถูกตองและเหมาะสม

รายวิชาท่ีเรียนสงผลตอการไดรับการพัฒนาทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล และการรับผิดชอบ

รายวิชาท่ีเรียนสงผลตอการไดรับการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีท่ีจําเปน

ขอเสนอแนะตอเนื้อหารายวิชาและหลักสูตร (โปรดระบุ

......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

ตอนที่ 3 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ

Page 63: backoffice.thaiedresearch.orgbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0db8ed289bcc1da3fe0b7564c... · บทที่ 1. บทนํา. ความเป นมาและความสําคัญของป

63

......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

ขอขอบคุณที่ทานใหความรวมมือในการตอบ