บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา ·...

91
รายงานผลการประเมินตนเอง วิทยาลัยประมงติณสูลานนท 1 บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา 1. ประวัติความเปนมาและที่ตั้งของสถานศึกษา 1.1 ประวัติการจัดตั้ง วิทยาลัยประมงติณสูลานนท เปนสถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เปนวิทยาลัยประมงแหงแรกของประเทศไทย โดยไดรับความรวมมือและ เห็นชอบจากกรมประมง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ และสํานักงานคณะกรรมการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศจัดตั้งวิทยาลัยฯ ในวันที่ 2 มิถุนายน 2523 โดยใชชื่อวา “วิทยาลัยประมงสงขลา” เริ่มรับนักศึกษาเขาศึกษาครั้งแรกเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2527 ระยะแรก ไดใชสถานที่ของวิทยาลัยเกษตรกรรมสงขลา (ปจจุบันเปนวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสงขลา อําเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา) เปนสถานที่ในการจัดการเรียนการสอนชั่วคราว 1 กุมภาพันธ 2528 กองทัพภาค 4 ไดอนุญาตใหเขาดําเนินการกอสรางในพื้นที่ ตาม โครงการจัดตั้งวิทยาลัยประมงสงขลา 4 กุมภาพันธ 2528 กระทรวงศึกษาธิการใหเปลี่ยนชื่อจาก “วิทยาลัยประมงสงขลา” เปน วิทยาลัยประมงสงขลาติณสูลานนท 29 มีนาคม 2528 ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท (นายกรัฐมนตรี ขณะนั้น) เปน ประธานในพิธีเปดการกอสราง กันยายน 2529 ไดยายสถานที่เรียนจากวิทยาลัยเกษตรกรรมสงขลา มาอยูที่ หมูที่ 2 ตําบลพะวง อําเภอเมือง จังหวัดสงขลา 5 กุมภาพันธ 2541 กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศเปลี่ยนชื่อจาก “วิทยาลัยประมงสงขลาติณสูลานนท” เปน “วิทยาลัยประมงติณสูลานนท”

Upload: others

Post on 23-Jan-2020

7 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

1

บทท่ี 1

ภาพรวมของสถานศึกษา 1. ประวัติความเปนมาและท่ีตั้งของสถานศึกษา

1.1 ประวัติการจัดตั้ง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท เปนสถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เปนวิทยาลัยประมงแหงแรกของประเทศไทย โดยไดรับความรวมมือและเห็นชอบจากกรมประมง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ และสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศจัดตั้งวิทยาลัยฯ ในวันที่ 2 มิถุนายน 2523 โดยใชชื่อวา “วิทยาลัยประมงสงขลา” เร่ิมรับนักศึกษาเขาศึกษาคร้ังแรกเม่ือวันที่ 28 พฤษภาคม 2527 ระยะแรกไดใชสถานที่ของวิทยาลัยเกษตรกรรมสงขลา (ปจจุบันเปนวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสงขลา อําเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา) เปนสถานที่ในการจัดการเรียนการสอนชั่วคราว 1 กุมภาพันธ 2528 กองทัพภาค 4 ไดอนุญาตใหเขาดําเนินการกอสรางในพื้นที่ ตาม

โครงการจัดตั้งวิทยาลัยประมงสงขลา 4 กุมภาพันธ 2528 กระทรวงศึกษาธิการใหเปล่ียนชื่อจาก “วิทยาลัยประมงสงขลา” เปน

วิทยาลัยประมงสงขลาติณสูลานนท 29 มีนาคม 2528 ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท (นายกรัฐมนตรี ขณะนั้น) เปน

ประธานในพิธีเปดการกอสราง กันยายน 2529 ไดยายสถานทีเ่รียนจากวิทยาลัยเกษตรกรรมสงขลา มาอยูที ่ หมูที่ 2

ตําบลพะวง อําเภอเมือง จังหวัดสงขลา 5 กุมภาพันธ 2541 กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศเปล่ียนชื่อจาก

“วิทยาลัยประมงสงขลาติณสูลานนท” เปน “วิทยาลัยประมงติณสูลานนท”

Page 2: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

2

1.2 วัตถุประสงคในการจัดตั้งวิทยาลัยประมงติณสูลานนท

1.2.1 จัดการศึกษาตามหลักสูตรปกติและทวิภาคี โดยแบงเปน 3 ระดับ ดังนี้ 1) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาประมง

(สาขาวิชาเพาะเล้ียงสัตวน้ํา และ สาขาวิชาการแปรรูปสัตวน้ํา) 2) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประเภทวิชาประมง (สาขาวิชาเพาะเล้ียงสัตวน้ํา สาขาวิชาการแปรรูปสัตวน้ํา

และสาขาวิชาการควบคุมเรือประมง) 3) ระดบัประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง (ปทส.) ประเภทวิชาครุศาสตรเกษตร

(กลุมวิชาเพาะเล้ียงสัตวน้ํา และกลุมวิชาอุตสาหกรรมประมง) 1.2.2 จัดการศึกษาหลักสูตรระยะส้ันแกชาวประมงและผูสนใจทั่วไป

1.2.3 เปนศูนยกลางเผยแพรความรูทางวิชาการประมงของสถาบันการอาชีวศึกษา 1.2.4 เปนศูนยกลางฝกอบรม ครู-อาจารย ที่สอนวิชาชีพประมง ในสถาบันการ

อาชีวศึกษา

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท ไดมีการจัดการศึกษาถึงปจจุบันตามลําดับดังน้ี

พ.ศ. 2527 – 2529 - เปดสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยใชหลักสูตร ปวช. พ.ศ. 2524 ประเภทวิชาเกษตรกรรม - เปดสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) โดยใชหลักสูตร ปวส. 2527 ประเภทวิชาเกษตรกรรม สาขาวิชาเพาะเล้ียงสัตวน้ํา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมประมง สาขาวิชาชางประมง

พ.ศ. 2530 - เปล่ียนแปลงจากหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2524 ประเภทวิชาเกษตรกรรม เปนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2530 ประเภทวิชาเกษตรกรรม - เปดสอนระดับวิชาชีพประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยใชหลักสูตร ปวช. พ.ศ. 2530 ประเภทวิชาเกษตรกรรม สาขาวิชาประมง

พ.ศ. 2536 - เปล่ียนหลักสูตร ปวส. พ.ศ. 2527 เปนหลักสูตร ปวส. พ.ศ. 2536 ประเภทวิชาเกษตรกรรม (สาขาวิชาเพาะเล้ียงสัตวน้ํา และสาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมประมง) - เปดสอนประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอร

Page 3: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

3

พ.ศ. 2537 เปดสอนระดับประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง (ตอเนื่อง 2 ป) กลุมวิชาเพาะเล้ียงสัตวน้ํา และกลุมวิชาอุตสาหกรรมประมง

พ.ศ. 2538 – 2541 เปล่ียนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2530 ประเภทวิชาเกษตรกรรม เปนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2538 ประเภทวิชาประมง (สาขาวิชาเพาะเล้ียงสัตวน้ํา และสาขาวิชาการแปรรูปสัตวน้ํา)

พ.ศ. 2539 - ระงับการเปดหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ - เปล่ียนแปลงจากหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)พุทธศักราช 2536 ประเภทวิชาเกษตรกรรม เปนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2540 ประเภทวิชาประมง (สาขาวิชาเพาะเล้ียงสัตวน้ํา และสาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมประมง) - ระดับประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง (ตอเนื่อง 2 ป) พ.ศ. 2536 กลุมวิชาเพาะเล้ียงสัตวน้ํา และกลุมวิชาอุตสาหกรรมประมง

พ.ศ. 2542 ระงับการเปดระดับประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง (ตอเนื่อง 2 ป) กลุมวิชาเพาะเล้ียงสัตวน้ํา และกลุมวิชาอุตสาหกรรมประมง

พ.ศ. 2543 เปดสอนระดับประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง (ตอเนื่อง 2 ป) กลุมวิชาเพาะเล้ียงสัตวน้ํา และกลุมวิชาอุตสาหกรรมประมง

พ.ศ. 2544 เปดสอนหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2540 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาคอมพิวเตอร เพิ่มอีก 1 สาขาวิชา

พ.ศ. 2545 เปดสอนหลักสูตร ปวช. พ.ศ. 2545 และ ปวส. สาขาวิชาการควบคุมเรือประมง (ทวิภาคี)

พ.ศ. 2546 เปดสอนหลักสูตร ปวส. พ.ศ. 2546 และ ปวช. การแปรรูปสัตวน้ํา (ทวิภาคี)

พ.ศ. 2547 เปดสอนหลักสูตร ปวส. ประเภทวิชาประมง สาขาวิชาอุตสาหกรรมสัตวน้ํา

Page 4: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

4

1.3 สถานท่ีตั้ง วิทยาลัยประมงติณสูลานนท ตั้งอยูเลขที่ 57/7 หมูที่ 2 ตําบลพะวง อําเภอเมือง จังหวัด

สงขลา รหัสไปรษณีย 90100 โทรศัพท 0-7433-3642 , 0-7433-3525 , 0-7433-3202 โทรสาร 0-7433-3525 ตอ 27 มีพื้นที่ประมาณ 302 ไร

ทิศเหนือ จดทะเลสาบสงขลา และสะพานติณสูลานนท ทิศใต จดถนนติณสูลานนท ทิศตะวันออก จดพื้นที่สาธารณประโยชน ทิศตะวันตก จดถนนสงขลา – เกาะยอ

1.4 สภาพชุมชน

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท ตั้งอยูหางจากตัวเมืองจังหวัดสงขลา ประมาณ 13 กิโลเมตร บริเวณใกลเคียงวิทยาลัยประมงติณสูลานนทมีหนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน และชุมชน ไมต่ํากวา 22 แหง ที่สําคัญเร่ิมจากบริเวณหาแยกน้ํากระจาย เชน ธนาคารกรุงเทพ (มหาชน) จํากัด สาขาหาแยกสะพานติณสูลานนท ที่ทําการไปรษณียโทรเลขพะวง ตลาดศิริอาเขต ศูนยการคาธนดี โรงเรียนนวมินทราชูทิศ ทักษิณ สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย จังหวัดสงขลา โรงพยาบาลสงขลา วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสงขลา (หอพัก) ศูนยสงเคราะหบุคคลปญญาออนภาคใต การไฟฟาสวนภูมิภาคจังหวัดสงขลา สวนประวัติศาสตรพลเอกเปรม ติณสูลานนท ศาลปกครองสงขลา สถาบันทักษิณคดีศึกษา ตลาดเกาะยอ ซึ่งเปนแหลงทองเที่ยวและยานธุรกิจที่สําคัญของจังหวัดสงขลา

1.5 สภาพสังคมและเศรษฐกิจ

1.5.1 สภาพสังคม อําเภอเมืองสงขลาเปนอําเภอที่มีความหนาแนนของประชากรรองจากอําเภอหาดใหญ เนื่องจากเปนศูนยกลางทางดานการประมง การทองเที่ยว เมืองทาสงสินคาออกทางเรือ และเปนศูนยกลางการบริหารของภาคใต สวนอําเภอหาดใหญจะเปนศูนยกลางการขนสงที่สําคัญโดยมีสถานีรถไฟชุมทางหาดใหญเปนชุมทางที่ใหญที่สุดในภาคใต มีทางรถไฟติดตอกับกรุงเทพมหานคร รวมทั้งประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย นอกจากนี้สนามบินหาดใหญยังเปนทาอากาศยานนานาชาติของภาคใต

Page 5: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

5

1.5.2 สภาพเศรษฐกิจ จังหวัดสงขลาเปนจังหวัดที่มีบทบาททางเศรษฐกิจสําคัญสูงสุดของภาคใต เนื่องจากมีความอุดมสมบูรณทางทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญ เชน สัตวน้ําทะเล ยางพารา ไมผล ในปจจุบันจังหวัดสงขลามีโรงงานอุตสาหกรรมที่เกิดจากการเกษตรและสวนใหญเปนอุตสาหกรรมเพื่อการสงออก ไดแก อุตสาหกรรมอาหารทะเลแชแข็งและหองเย็น อุตสาหกรรมยางพารา ผลิตภัณฑยาง และอุตสาหกรรมจากไมยางพารา ตลาดสงออกที่สําคัญ คือ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน และสหภาพยุโรป นอกจากนี้จังหวัดสงขลายังมีแหลงทองเที่ยวและสถานบันเทิงสําหรับสถานที่ทองเที่ยวทางธรรมชาติ เชน แหลมสมิหลา แหลมสนออน สวนสัตวสงขลา พิพิธภัณฑสัตวน้ําสงขลา เขตรักษาพันธุสัตวปาโตนงาชาง น้ําตกโตนงาชาง และอุทยานแหงชาติเขาน้ําคาง เปนตน ซึ่งสามารถดึงดูดนักทองเที่ยวจากภายใน และตางประเทศใหหล่ังไหลเขามาทองเที่ยว ทํารายไดใหกับจังหวัดสงขลาปละเปนจํานวนมาก

1.6 การศึกษา

จังหวัดสงขลาเปนจังหวัดที่มีสถาบันการศึกษาสมบูรณแบบที่สุดใน 14 จังหวัดภาคใต สามารถใหการศึกษาทุกระดับตั้งแตระดับอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา โดยมีโรงเรียนระดับประถมศึกษา 487 แหง ระดับมัธยมศึกษา 142 แหง สถานศึกษาอาชีวศึกษาของรัฐ 10 แหง ไดแก วิทยาลัยอาชีวศึกษาสงขลา วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการสิงหนคร(ดร.รัตน ประธานราษฎรนิกร) วิทยาลัยสารพัดชางสงขลา วิทยาลัยประมงติณสูลานนท วิทยาลัยการอาชีพสมเด็จเจาพะโคะ วิทยาลัยเทคนิคจะนะ วิทยาลัยการอาชีพนาทวี วิทยาลัยการอาชีพหลวงประธานราษฎรนิกร วิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ และวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสงขลา สถานศึกษาเอกชน 15 แหง และสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา 4 แหง ไดแก มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัยทักษิณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย 2. สภาพปจจุบัน

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท ไดจัดการศึกษาตั้งแตป 2527 จนถึงปจจุบันนับเปนเวลา 24 ป ไดพัฒนาและจัดการศึกษาเจริญกาวหนาข้ึนตามลําดับ

ปจจุบันวิทยาลัยประมงติณสูลานนท มีจํานวนนักเ รียน นักศึกษา 1,029 คน และ คณะครู – อาจารย 59 คน พนักงานราชการ 5 คน รวมบุคลากรและเจาหนาที่ทั้งหมด 107 คน ไดเปดทําการสอน 3 หลักสูตร คือ

Page 6: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

6

2.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาประมง (สาขาวิชาเพาะเล้ียงสัตวน้ํา สาขาวิชาการแปรรูปสัตวน้ํา) 2.2 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ประเภทวิชาประมง มี 3 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาเพาะเล้ียงสัตวน้ํา และสาขาวิชาการแปรรูปสัตวน้ํา และสาขาการควบคุมเรือประมง (ทวิภาคี)

2.3 หลักสูตรประกาศนียบัตรครูเทคนิคช้ันสูง (ปทส.) ประเภทวิชาครุศาสตรเกษตร มี 2 กลุมวิชา คือ กลุมวิชาเพาะเล้ียงสัตวน้ํา และกลุมวิชาอุตสาหกรรมประมง

โดยปจจุบันเปดสอน 2 หลักสูตร คือหลักสูตร 2.1-2.2 นอกจากนี้ทางวิทยาลัยฯ ไดมีโครงการฝกอบรมวิชาชีพเกษตรกรรมระยะส้ัน โครงการชีววิถี

เพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน และโครงการอาชีวะเพื่อแกไขความยากจน โครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืน โครงการขับเคล่ือนหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และโครงการอบรม 108 อาชีพ สวนงานบริการดานวิชาการแกชุมชน ปจจุบันวิทยาลัยประมงติณสูลานนทไดจัดบริการใหนักเรียน นักศึกษา และผูสนใจเขาเยี่ยมชมกิจการของวิทยาลัยฯ และเปดใหเขาชมสถานแสดงพันธุสัตวน้ํา ซึ่งไดรวบรวมพันธุปลาหายากของลุมน้ําทะเลสาบสงขลา โดยจัดวิทยากรใหคําบรรยายแกสถานศึกษาและหนวยงานราชการที่เขาเยี่ยมชมฟรี ในวันและเวลาราชการ 3. อาคารสถานท่ี

3.1 อาคารและสิ่งกอสราง ซึ่งใชประโยชนทางการศึกษา มีดังนี ้

ตารางที่ 1.1 อาคารคณะวิชาพื้นฐาน (อาคารเรียน 1) เปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชั้น ประกอบดวย

ช้ัน หมายเลขหอง การใชประโยชน

ชั้นลาง

ชั้นบน

111 112 113 114 121 122 123 124 125

สํานักงานแผนกวิชาสามัญสัมพันธ หองเรียน หองเรียน หองเรียนวิชาภาษาไทย หองภาษาอังกฤษ 1 หองพักครูแผนกวิชาสามัญสัมพันธ หองเรียน หองเรียน หองเรียนภาษาอังกฤษ 2

Page 7: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

7

ตารางที่ 1.2 อาคารวิทยาศาสตรประมง (อาคารเรียน 2) เปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชั้น ประกอบดวย

ช้ัน หมายเลขหอง การใชประโยชน

ชั้น 1

ชั้น 2

211 , 213 212 214

221 , 223 222 224

หองเรียน หองปฏิบัติการแพลงกตอน หองปฏิบัติการชีววิทยาปลา หองปฏิบัติการทั่วไป หองปฏิบัติการเคมี หองปฏิบัติการจุลชีววิทยา โรคและปาราสิต

ตารางที่ 1.3 อาคารเรียน 3 เปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 ชั้น ประกอบดวย

ช้ัน หมายเลขหอง การใชประโยชน

ชั้น 1

ชั้น 2

ชั้น 3

311 – 313 314 315 316

321 – 323 324 – 325

326 331

332-333 334

หองเรียน สํานักงานเอกสารการพิมพ หองพยาบาล และงานกิจกรรม หองแนะแนว หองเรียน หองเรียน หองเรียน หองเรียน หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร หองประชุมสัมมนา

Page 8: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

8

ตารางที่ 1.4 อาคารเอนกประสงค (อาคารเรียน 4) ประกอบดวย

ช้ัน หมายเลขหอง การใชประโยชน ชั้น 1 411

412 413

ลานเอนกประสงค

หองประชุมสัมมนา หองเรียนรวม หองโสตทัศนูปกรณ รานคาสหการพรานทะเล สถานที่พักผอน

ตารางที่ 1.5 อาคารเพาะฟกสัตวน้ํากรอย (อาคารเรียน 5) ประกอบดวย

ช้ัน หมายเลขหอง การใชประโยชน ชั้น 1 510

520 530 540

หองเรียน หองเรียน หองเรียน หองเรียน

ตารางที่ 1.6 อาคารโรงเพาะฟกสัตวน้ําจืด (อาคารเรียน 6) ประกอบดวย

ช้ัน หมายเลขหอง การใชประโยชน ชั้น 1 610

611 620 630 640

หองเรียนวิชาปลาสวยงาม แผนกวิชาเพาะฟกสัตวน้ําจืด หองเรียน หองเรียน บอเพาะฟกสัตวน้ําจืด

ตารางที่ 1.7 อาคารคณะอุตสาหกรรมประมง (อาคารเรียน 7) ประกอบดวย

ช้ัน หมายเลขหอง การใชประโยชน ชั้น 1 720

721 722 730

โรงงานผลิตอาหารกระปอง หองปฏิบัติการเคมีวิเคราะห หองปฏิบัติเคมี โรงงานซูริมิ

Page 9: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

9

ช้ัน หมายเลขหอง การใชประโยชน 731 711 712 713 741 742

หองปฏิบัติการจุลชีววิทยา อาคารแปรรูปผลิตภัณฑสัตวน้ํา หองปฏิบัติการ หองปฏิบัติการ หองปฏิบัติการผลิตอาหารสัตวน้ําสําเร็จรูป 1 หองปฏิบัติการผลิตอาหารสัตวน้ําสําเร็จรูป 2

ตารางที่ 1.8 อาคารคณะชางประมง (อาคารเรียน 8) ประกอบดวย

ช้ัน หมายเลขหอง การใชประโยชน 810

811 820 821 830 831

หองเรียนอาคารชางประมง หองพักครู หองเรียนอาคารซอมสรางเรือ หองพักครู หองเรียนอาคารชางกลโลหะ สํานักงานคณะชางประมง

ตารางที่ 1.9 อาคารฝกอบรม (อาคารเรียน 9) เปนสํานักงานคณะครุศาสตร ประกอบดวย

ช้ัน หมายเลขหอง การใชประโยชน ชั้น 1

ชั้น 2

911 912 920 921 922

หองพักครู หองอเนกประสงค หองพักครู หองเรียน หองเรียน

Page 10: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

10

ตารางที่ 1.10 อาคารสํานักงานทวิภาคี (ควบคุมเรือประมง) ประกอบดวย

ช้ัน หมายเลขหอง การใชประโยชน ชั้น 1

ชั้น 2

011 012

021 , 022

หองพักครู หองเรียน หองเรียน

สิ่งกอสรางอ่ืน ๆ นอกจากอาคารตาง ๆ ที่กลาวมาแลว วิทยาลัยประมงติณสูลานนท ยังมีส่ิงกอสรางอ่ืน ๆ ดังนี ้

ตารางที่ 1.11 ส่ิงกอสรางอ่ืน ๆ ประกอบดวย

ช่ืออาคาร การใชประโยชน

1. อาคารอํานวยการ 1 หลัง 2. อาคารหอประชุม 1 หลัง 3. อาคารพัสดุกลาง 1 หลัง 4. อาคารชั้นเดียว 1 หลัง 5. หอพักนักศึกษา 1 หลัง 6. บานพัก ระดับ 5 – 6 จํานวน 2 หลัง 7. บานพักครู จํานวน 30 หลัง

1.1 เปนอาคารที่ประกอบดวยหองผูอํานวยการ หองรองผูอํานวยการฝายบริหารทรัพยากร ฝายพัฒนาการศึกษา ฝายแผนงานและความรวมมือ และฝายวิชาการ

1.2 หองทํางานของงานการเงิน งานสารบรรณ งานบุคลากร งานทะเบียน งานหลักสูตร การสอนและประเมินผล งานประชาสัมพันธ และเปนหองประชุม

2.1 จัดกิจกรรมและเปนที่จัดประชุมนักศึกษาสํานักงานประกันคุณภาพมาตรฐานสถานศึกษา

3.1 สํานักงานพัสดุกลาง 4.1 สํานักงาน อกท. 4.2 สํานักงานฝายอาคารสถานที ่5.1 เปนที่พักของนักศึกษาและเกษตรกรที่เขารับ

การอบรม 6.1 เปนบานพักผูอํานวยการสถานศึกษา และ

รองผูอํานวยการสถานศึกษา 7.1 เปนที่พักอาศัยของคณะครู – อาจารย

Page 11: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

11

ช่ืออาคาร การใชประโยชน 8. บานพักคนงาน จํานวน 7 หลัง 9. หมูบาน อ.ก.ท. จํานวน 4 หลัง 10. หมูบานเยาวชน จํานวน 10 หลัง 11. บานพักรับรอง จํานวน 1 หลัง 12. อาคารซอมบํารุงของคณะชางประมง 13. อาคารส่ือสารอิเลคโทรนิค 14. อาคารรัฐบุรุษ 15. พระพุทธรูป 16. ศาลพระภูมิ 17. โรงอาหาร

8.1 เปนที่พักอาศัยของเจาหนาที่และคนงาน 9.1 เปนที่พักของนักศึกษาที่ทํางานโครงการเกษตร

ประมง 10.1 เปนที่พักของนักศึกษาที่ทําโครงการเกษตร

ประมง 11.1 รับรองแขกผูมาเยี่ยมเยือน 12.1 ซอมแซมเกาอ้ีหรือเคร่ืองยนตที่ชํารุด 13.1 หองส่ือสารในงานเดินเรือ 14.1 สนามกีฬาในรมใชเปนสนามบาสเกตบอล 15.1 ที่เคารพสักการะ 16.1 ที่เคารพสักการะ 17.1 ที่รับประทานอาหารของนักศึกษา

3.2 สถานท่ีน่ังพักผอนของวิทยาลัยฯ ไดจัดที่สําหรับนั่งพักผอนสําหรับนักศึกษาไวดังนี้

3.2.1 โตะและมานั่ง บริเวณดานหนา ดานขาง อาคารอํานวยการทั้ง 2 ดาน 3.2.2 โตะและมานั่งบริเวณขางอาคารแสดงพันธุสัตวน้ํา 3.2.3 โตะและมานั่งบริเวณขางอาคารเอนกประสงค 3.2.4 บริเวณลานเอนกประสงค 3.3 บริเวณและสภาพแวดลอม

บริเวณภายในวิทยาลัยประมงติณสูลานนท มีถนนลาดยางเชื่อมตอระหวางอาคาร มีบริเวณที่จอดรถจักรยานยนต และรถยนต ของนักเรียน นักศึกษา ครู–อาจารย มีสนามกีฬาซึ่งใชเปนสนามกีฬากลางแจง และมีอาคารรัฐบุรุษ ซึ่งจัดสรางโดยเงินบริจาคของ ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท ใชเปนสนามกีฬาในรมสําหรับแขงขันบาสเกตบอล บริเวณชายทะเลดานหลังวิทยาลัยฯ ไดอนุรักษปาชายเลน ไวเปนสถานที่ศึกษาพันธุไมปาชายเลน สวนบริเวณดานหนาวิทยาลัยฯ ไดอนุรักษและจัดพื้นที่สีเขียวปลูกไมดอกและไมประดับตามแนวถนน

Page 12: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

12

4. สิ่งอํานวยความสะดวก สาธารณูปโภค

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท ไดจัดส่ิงอํานวยความสะดวก สาธารณูปโภคในสถานศึกษาดังนี้

4.1 ระบบไฟฟา เปนระบบไฟฟาแรงสูงรับจากการไฟฟาสวนภูมิภาค เปนระบบ 3 เฟส 4 สาย ขนาด 220/380 โวลต จายใหกับอาคารเรียนโรงงานและบานพัก

4.2 ระบบประปา เปนระบบจายประปาจากการประปาสวนภูมิภาคที่ใหบริการ กับอาคารเรียน โรงงาน และบานพักอาศัย อยางเพียงพอ

4.3 ระบบสื่อสารและขอมูลขาวสาร 4.3.1 วิทยาลัยมีโทรศัพท 4 หมายเลขคือ 0-7433-3202, 0-7433-3525, 0-7433-

3800, 0-7433-3037,0-7433-3414 และมีตูโทรศัพทสาธารณะ จํานวน 2 ตู 4.3.2 ไปรษณียโทรเลข ไดทําความตกลงกับที่ทําการไปรษณียพะวงให นําสงส่ิงของ

ทางไปรษณีย โดยชําระคาฝากสงเปนรายเดือน และหนาวิทยาลัยฯ มีตูไปรษณีย 1 ตู

4.3.3 วิทยาลัยฯ มีเคร่ืองรับสง โทรสาร 1 หมายเลข คือ 0-7433-3525 ตอ 27 4.3.4 ระบบเครือขายอินเตอรเน็ต

- ชื่อ website ของวิทยาลัยฯ http://www.tfc.ac.th - E-Mail Address ของวิทยาลัยฯ คือ TFC27 @ hotmail.com

มีการใหบริการอินเตอรเน็ตในหองศูนยการเรียนรูภาษาอังกฤษดวยตนเอง เพื่อใหครู- อาจารย และนักศึกษาใชในการสืบคนขอมูล ขาวสารที่เปนประโยชนตอการศึกษาตลอดจนระบบอินเตอรเน็ตบริการใหกับอาคารอํานวยการ และงานอ่ืน ๆ ในอาคารประกอบตาง ๆ อยางเพียงพอ 5. โครงสรางการบริหารของวิทยาลัยประมงติณสูลานนท

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท ไดจัดการศึกษาและบริหารสถานศึกษาตามระเบียบสํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษาวาดวยการบริหารสถานศึกษา พ.ศ. 2549 โดยมีแผนภูมิการบริหารวิทยาลัยประมงติณสูลานนท ดังนี้

Page 13: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

13

แผนภูมิโครงสรางการบริหารสถานศึกษา

คณะกรรมการสถานศึกษา ……. ผูอํานวยการสถานศึกษา

ดร.มงคลชัย สมอุดร …… คณะกรรมการท่ีปรึกษา

รองฯ ฝายบริหารทรัพยากร

นายชัชวิทย บุญดิเรก รองฯ ฝายแผนงานและความรวมมือ

นายเสริมศักดิ์ นิลวิลัย รองฯ ฝายพัฒนาการศึกษา

นายสุเทพ สังวาลย รองฯ ฝายวิชาการ

นายจรัล ผลกลา

หัวหนางานบริหารท่ัวไป

นางอุบลรัตน เกียรติไพบูลย หัวหนางานแผนงบประมาณและ

ขอมูลสารสนเทศ นางสาวมายมเูนาะ มิดคาดี

หัวหนางานปกครอง นายวีระ กาฬสิงห

หัวหนาแผนกวิชาสามัญสัมพันธ นางผานิต มณีสวางวงศ

หัวหนางานบุคคล นางสาวจรินทร สิทธิโชค

หัวหนางานความรวมมือและบริการชุมชน

นายไมตร ี บุญสนอง

หัวหนางานกิจกรรมนักเรียนนักศึกษา

นายสันติธรรม เทพฉิม

หัวหนาแผนกวิชาเพาะเล้ียงสัตวนํ้า นายธาฎา ศิณโส

หัวหนางานการเงิน นายโอฬาร อุบล

หัวหนางานการตลาด การคา และประกอบธุรกิจ

นางกรวิกา ศรีวัฒนวรัญู

หัวหนางานแนะแนว และสวัสดิการการศึกษา

นายณรงคศักดิ์ ปณวรรณ

หัวหนาแผนกวิชาอุตสาหกรรมประมง

นางประทีป รัดดี ้หัวหนางานบัญชี

นางพรทิพย จิรานุกรม หัวหนางานฟารมและโรงงาน

นายเสนอ เพงบุญ หัวหนางานวิจัยและมาตรฐาน

การศึกษา นางบุบผา มังคละมณี

หัวหนาแผนกวิชา การควบคุมเรือประมง วาท่ีรอยตรีธานี ศรีทอง

หัวหนางานพัสดุและอาคารสถานท่ี นายณัฐวุฒิ สฤทธิบูรณ

หัวหนาแผนกวิชาครุศาสตรเกษตร

นางสาวจรรยา แสงวรรณลอย หัวหนางานวิทยบริการและหองสมุด

นายจําลอง มังคละมณี หัวหนางานทะเบียน

นางอังสนา หะยีหะเต็ง หัวหนางานพัฒนาหลักสูตร

การเรียนการสอนและประเมินผล นายอภิรักษ จันทวงศ

หัวหนางานแสดงพันธุสัตวนํ้า นายประทีป สองแกว

Page 14: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

14

แผนภาพวิทยาลัยประมงติณสูลานนท

Page 15: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

15

ตารางที่ 1.12 ขาราชการครู-อาจารย และลูกจาง ประจําป 2551 จําแนกตามคณะ / เพศ / ระดับตําแหนง / และระดับการศึกษา

จํานวนครู อันดับ / ระดับ ระดับการศึกษา คณะวิชา ชาย หญิง รวม คศ.4 คศ.3 คศ.2 คศ.1 5 4 3 ต่ํากวา

ป.ตรี ป.ตรี

ป.โท ป.เอก

ฝายบริหาร 5 - 5 - 1 4 - - - - - - 3 2 ประจําแผนกวิชา เพาะเล้ียงสัตวนํ้า 11 7 18 - 1 17 - - - - - 6 12 - อุตสาหกรรมประมง - 8 8 - - 7 1 - - - - 2 6 - การควบคุมเรือประมง 5 - 5 - - 3 - - - - - 5 - - สามัญสัมพันธ 6 5 11 - - 11 - - - - - 4 7 - ครุศาสตรเกษตร 4 8 12 - 4 8 - - - - - 6 6 - รวมขาราชการครู (1) 26 28 54 6 48 1 - - - - 28 26 - บุคลากรทางการศึกษา (2) เจาหนาท่ีธุรการ

-

2

2

-

-

-

-

1

-

1

1

1

-

-

รวมขาราชการ (1)+(2) 26 30 56 - 6 48 1 1 - 1 1 29 26 2 พนักงานราชการ (3) 1 4 5 - - - - - - - - 5 - - ลูกจางประจํา (4) 14 6 20 - - - - - - - 19 1 - - ลูกจางช่ัวคราว (5) 8 10 18 - - - - - - - 16 2 - - ครูจางสอน (6) 1 1 3 - - - - - - - - 1 2 - รายเดือน 1 - 1 - - - - - - - - 1 - - รายช่ัวโมง 1 1 2 - - - - - - - - - 2 - รวมลูกจาง (4)+(5)+(6) 23 17 41 - - - - - - - 35 4 2 -

รวมท้ังส้ิน 50 51 107 - 6 48 1 1 - 1 36 38 38 2 ท่ีมา : งานบุคลากร

Page 16: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

16

ตารางที่ 1.13 จํานวนนักเรียน - นักศึกษา และหองเรียน ปการศึกษา 2551

จํานวนนักเรียน ระดับ ประเภทวิชา

สาขาวิชา ปที่ ชาย หญิง รวม

จํานวนหองเรียน

ปวช. ประมง เพาะเล้ียงสัตวน้ํา 1 119 18 137 2 76 16 92 3 51 11 62 นักศึกษาปรับระดับคะแนน 3 5 1 6 แปรรูปสัตวน้ํา 1 12 25 37 2 9 33 42 3 11 26 37 เพาะเล้ียงสัตวน้ํา (เกษตรกร) 1 97 65 162 แปรรูปสัตวน้ํา (ทวิภาคี) 1 7 12 19 2 20 13 33

รวม 407 220 627 ปวส. ประมง เพาะเล้ียงสัตวน้ํา 1 103 23 126

2 99 21 120 แปรรูปสัตวน้ํา 1 15 13 28 2 7 22 29 ควบคุมเรือประมง 1 21 - 21 2 14 - 14 แปรรูปสัตวน้ํา ( ทวิภาคี ) 1 10 25 35 แปรรูปสัตวน้ํา ( ทวิภาคี ) 2 7 6 13

รวม 276 110 386 ปวส.ปรับ

ประมง เพาะเล้ียงสัตวน้ํา 2 4 1 5

แปรรูปสัตวน้ํา 2 3 - 3 ควบคุมเรือประมง - - - -

รวม 7 1 8 รวมทั้งสิ้น 690 331 1,029

ขอมูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2551

Page 17: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

17

6. งบประมาณ ประจําป 2551

ตารางที่ 1.14 แสดงรายการจัดสรรงบประมาณประจําปการศึกษา 2551 งปม.2551

ภาคเรียน1/51 รวมภาค2/50 และภาค 1/51

เงินโอนจัดสรร งปม. 2552 ภาค

2/51

รวมเงิน (บาท) ภาค 1/51 และ

2/51 รายการ

1.รายจาย 1.1 เงินเดือน/คาจาง ฯลฯ 13,063,105.89 25,894,751.49 13,229,182.70 26,292,288.59 1.2 งบพัฒนาบุคลากร - - - - 1.3 สนับสนุนการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม 105,801.00 120,883.00 314,555.57 420,358.57 1.4 งบประมาณในการบริการวิชาการ 403,409.96 1.5 งบประมาณวัสดุฝก 1.5.1 แผนกวิชาเพาะเล้ียงสัตวน้ํา 155,794.00 418,762.00 220,050.00 375,844.00 1.5.2 แผนกวิชาอุตสาหกรรมฯ/ แปรรูป 42,387.00 86,274.00 55,711.00 98,098.00 1.5.3 แผนกวิชาการควบคมเรือประมง 26,315.00 322,390.70 31,097.80 57,412.80 1.5.4 แผนกวิชาสามัญสัมพันธ 52,760.00 78,094.00 127,902.00 180,662.00 2. งบประมาณสนับสนุนกิจกรรมการจัดการเรียนการสอน 461,872.88 989,604.10 475,978.00 937,850.88 3. คาใชจายอ่ืน 3.1 คาใชจายโครงการ/กิจกรรม สนับสนุนการเรียนการสอน (งานกิจกรรม) 82,828.00 1,321,047.52 298,847.00 381,675.00 3.2 คาใชจายอื่น 5,027,393.54 7,402,697.65 1,283,612.14 6,311,286.68 รวมรายการคาใชจายขอ 1 ถึง 3 5,9551,151.42 11,143,162.93 2,808,034.51 8,763,185.93

4. คาครุภัณฑ ที่ดิน และสิ่งกอสราง 128,020,000.00 128,020,000.00 - 128,020,000.00 รวมรายจาย 147,038,257.31 165,057,914.42 16,037,217.21 163,075,474.52 5. เงินเหลือจาย ณ วันที่ 31 มีนาคม 52 131,313,061.92 2,329,203.03 103,820,340.49 27,492,721.43

Page 18: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

18

งปม.2551

ภาคเรียน1/51 รวมภาค2/50 และภาค 1/51

เงินโอนจัดสรร งปม. 2552 ภาค

2/51

รวมเงิน (บาท) ภาค 1/51 และ

2/51 รายการ

งบดําเนินการ 15,725,195.39 34,708,711.39 24,107,557.70 39,832,753.09

ท่ีมา: งานวางแผนและงบประมาณ

7. ปรัชญาของวิทยาลัย

“ สรางคนดี มีความรู สูอาชีพ ”

สรางคนดี เปนมนุษยที่สมบูรณ ประพฤติชอบ มีคุณธรรม จริยธรรม มีความ เอ้ืออาทร มุงประโยชนสวนรวมมากกวาสวนตน

มีความรู ใฝเ รียน ใฝ รู ริเ ร่ิมสรางสรรคพัฒนาตนเอง รูจักใชเทคโนโลยีและ ตระหนักในคุณคาภูมิปญญาไทยสูความสําเร็จ

สูอาชีพ มีเจตคติที่ดีตออาชีพ รักอาชีพ พึ่งตนเองได

8. สีประจําวิทยาลัยประมงติณสูลานนท

ฟา เหลือง

9. วิสัยทัศน (พ.ศ. 2551-2554 )

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท เปนองคกรแหงการเรียนรู ที่นําระบบคุณภาพมาใชในการบริหารจัดการภายใตหลักธรรมาภิบาล พรอมทั้งมุงม่ันพัฒนาผูเรียน ใหมีความเปนเลิศทางวิชาชีพประมง ควบคูคุณธรรม สูสังคมอยางยั่งยืน

10. พันธกิจ (Mission)

1. ผลิตนักเรียน นักศึกษา ดานวิชาชีพประมงใหมีประสิทธิภาพ และคุณภาพตรงตาม มาตรฐานการอาชีวศึกษาภายใตหลักเศรษฐกิจพอเพียง

2. บริหารจัดการดวยระบบคุณภาพใหสอดคลองกับวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี 3. จัดแหลงเรียนรูและใหบริการวิชาการโดยสรางความรวมมือระหวางสถานศึกษากับชุมชนให

Page 19: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

19

เปนสังคมแหงการเรียนรู 4. พัฒนาระบบเทคโนโลยีการส่ือสารและสารสนเทศ การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมดานการ ประมงและสาขาวิชาอ่ืนที่เกี่ยวของ 5. พัฒนาสมรรถนะของบุคลากรใหมีความเชี่ยวชาญเฉพาะทางเพื่อรองรับการเปล่ียนแปลง

11. เกียรติยศช่ือเสียงของวิทยาลัยฯ

ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยประมงติณสูลานนท ไดรับรางวัลเกียรติยศชื่อเสียงดังตอไปนี้ 1. รับโลรางวัลพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีในฐานะรอง

ชนะเลิศ หนวย อกท.ดีเดนระดับชาติ ประจําปการศึกษา 2551 2. ชนะเลิศอันดับ 1 ระดับภาค ทักษะการผลิตลูกชิ้นจากไก ชนะเลิศอันดับ 3 ระดับชาต ิ ทักษะการผลิตลูกชิ้นจากไก 3. ชนะเลิศอันดับ 1 ระดับภาค ทักษะการผลิตไสกรอกจากไก 4. ชนะเลิศอันดับ 2 ระดับภาค ทักษะการผลิตน้ํานมจากพืช 5. ชนะเลิศอันดับ 2 ระดบัภาค ส่ิงประดิษฐเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต เร่ือง ตูเย็นในรถยนตระบบเทอรโมอิเล็กทรอนิกส 6. ชนะเลิศอันดับ 2 ระดับภาค ส่ิงประดิษฐประเภทผลิตภัณฑสําเร็จรูป เร่ือง แชมพูสมุนไพรกําจัดเห็บ หมัดสุนัข 7. ชนะเลิศอันดับ 3 ระดับชาต ิ ส่ิงประดิษฐประเภทผลิตภัณฑสําเร็จรูป เร่ือง แชมพูสมุนไพรกําจัดเห็บ หมัดสุนัข 8. ชนะเลิศอันดับ 2 ระดับภาค ส่ิงประดิษฐเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงาน ชื่อ เคร่ืองผลิตโอโซนจากกระแสไฟฟาแรงเคล่ือนสูง 9. ชนะเลิศอันดับ 3 ระดับภาค ส่ิงประดิษฐเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงาน ชื่อ ถังกรองโปรตีนแบบพัฒนา 10. ชนะเลิศอันดับ 2 ระดับชาต ิ ส่ิงประดิษฐเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงาน ชื่อ ถังกรองโปรตีนแบบพัฒนา 11.ชนะเลิศอันดับ 1 ระดับภาค การสัมมนาผลงานทางวิชาการภาคบรรยาย เร่ือง ศึกษาอัตราการฟกไขของไรน้ํานางฟาไทยดวยวิธีการจาก ตากแดด 12. ชนะเลิศอันดับ 2 ระดับชาติ การสัมมนาผลงานทางวิชาการภาคบรรยาย เร่ือง ศึกษาอัตราการฟกไขของไรน้ํานางฟาไทยดวยวิธีการจาก

Page 20: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

20

ตากแดด 13. ชนะเลิศอันดับ 2 ระดับภาค การสัมมนาผลงานทางวิชาการภาคบรรยาย เร่ือง แชมพูสมุนไพรกําจัดเห็บ หมัดสุนัข 14. ชนะเลิศอันดับ 1 ระดับภาค ทักษะการพูดในที่ชุมชน 15. ชนะเลิศอันดับ 2 ระดับภาค ทักษะสาธิตทางการเกษตร(การทํายําสาหรายผมนาง) 16. รางวัลรวมกิจกรรมดีเดน หนวยพรานทะเล

ผลท่ีไดรับ ผลที่ไดรับหรือตัวอยางความสําเร็จของการบริหารจัดการแบบบูรณาการสูความสําเร็จตามแผนยุทธศาสตรและแผนปฏิบัติการประจําป วิทยาลัยประมงติณสูลานนท เปนดังนี ้ 1. โครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืนป 2551 (1) ไดรับโลเกียรติยศรางวัลชนะเลิศระดับประเทศประเภทที่ 5 ชุมชนไดรับความรูจากวิทยาลัยฯ และนําไปใชไดผลดีเยี่ยม ชุมชนหวยหลอ เงินรางวัล 50,000 บาท และโลเกียรติยศระดับภาค (ภาคใต) อีก 1 โล (2) ไดรับโลเกียรติยศรางวัลรองชนะเลิศระดับประเทศ ประเภทที่ 6 โรงเรียนที่ไดรับการขยายผลจากวิทยาลัยฯ และใชไดผลดีเยี่ยม โรงเรียนอนุบาลทาสะอาน จังหวัดสงขลา เงินรางวัล 20,000 บาทและโลเกียรติยศระดับภาค (ภาคใต) อีก 1โล (3) ไดรับโลเกียรติยศรางวัลชมเชยระดับประเทศ ประเภทที่ 2 วิทยาลัยฯ ที่ขยายผลสูชุมชนดีเดน และเงินรางวัล 7,000 บาท (5) ไดรับโลเกียรติยศรางวัลชมเชยระดับประเทศ ประเภทที่ 7 การคิดคนส่ิงประดิษฐ ระบบบําบัดน้ําแบบชีววิถีและเงินรางวัล 7,000 บาท (6) ไดรับโลเกียรติยศรางวัลชมเชยระดับประเทศ ประเภทที่ 8 งานวิจัยชีววิถีฯ ระบบบําบัดน้ําเสียชีววิถี และเงินรางวัลชมเชย 7,000 บาท ทําใหชุมชนหวยหลอ และโรงเรียนอนุบาลบานทาสะอานเปนแหลงเรียนรูดานชีววิถีและอาหารกลางวันภายใตแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของจังหวัดสงขลา 2. ไดรับรางวัล (1) เกียรติยศมงกุฎเพชร Best of the Best ระดับประเทศ (2) รางวัล Best Practice ระดับภาค และ (3) รางวัล Best Practice ระดับอาชีวศึกษาจังหวัดในการดําเนินการโครงการเทียบเทาผลผลิต : กิจกรรม : โครงการอาชีวะเพื่อแกปญหาความยากจน ป 2551 ถือไดวาเปนตัวอยางในระดับประเทศ 3. ไดรับรางวัล Best Practice โครงการอาหารกลางวันอยางยืนโรงเรียนตนแบบดําเนินการดีเดนระดับภาค ภาคใต ป 2551 โรงเรียนอนุบาลบานทาสะอาน จังหวัดสงขลา 4. ไดรับรางวัลสถานศึกษาบริหารจัดการดีเดนโครงการอาหารกลางวันอยางยั่งยืนระดับภาค ภาคใต ป 2551 วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

Page 21: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

21

บทท่ี 2

เปาหมายและการดําเนินงานของสถานศึกษา

ในการดําเนินงานของสถานศึกษาไดใหความสําคัญกับการจัดทําแผนปฏิบัติราชการ 4 ป

ตามแนวทางการปฏิรูประบบราชการ ตลอดทั้งสอดรับกับการลงนามคํารับรองระหวางสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากับสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) โดยตองมีการวิเคราะหความตองการดานนโยบาย ความตองการของผูมีสวนไดสวนเสีย และความตองการตามหนาที่ของสถานศึกษา รวมทั้งการวิเคราะหโอกาสและอุปสรรค ซึ่งเปนปจจัยภายนอกจากสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และวัฒนธรรม และการวิเคราะหจุดออนและจุดแข็ง ซึ่งเปนปจจัยภายในของสถานศึกษาเอง นําไปสูการจัดทําวิสัยทัศน พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร กลยุทธ ตลอดจนแผนงานโครงการและกิจกรรม เพื่อใหตัวชี้วัดภายใตกลยุทธที่กําหนดเกิดความสําเร็จได ผลจากการจัดประชุมและสัมมนาการจัดทําแผนยุทธศาสตรตามแนวทางการปฏิรูประบบราชการเปนดังนี้

วิสัยทัศน (พ.ศ. 2551 – 2554)

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท เปนองคกรแหงการเรียนรู ที่นําระบบคุณภาพมาใชในการบริหารจัดการภายใตหลักธรรมาภิบาล พรอมทั้งมุงม่ันพัฒนาผูเรียน ใหมีความเปนเลิศทางวิชาชีพประมง ควบคูคุณธรรม สูสังคมอยางยั่งยืน

โดยมีพันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร กลยุทธ และตัวชี้วัดความสําเร็จเพื่อนําไปสูการจัดทําแผนงาน โครงการและกิจกรรมตามชวงเวลาที่กําหนดไวในวิสัยทัศนดังนี้

พันธกิจท่ี 1 ผลิตนักเรียนนักศึกษาดานวิชาชีพประมงใหมีประสิทธิภาพและคุณภาพตรง

ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษาภายใตหลักเศรษฐกิจพอเพียง

ประเด็นยุทธศาสตร กลยุทธ ตัวช้ีวัดความสําเร็จ

1. พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรูภายใตระบบการเรียนรู

1. สงเสริมการจัดกระบวนการเรียนรูที่หลากหลาย 2. สงเสริมการจัดทํานวัตกรรมเพื่อการเรียนรู

1. จํานวนส่ือการเรียนการสอนรายวิชา 2. จํานวนชุดการสอน / ป

Page 22: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

22

ประเด็นยุทธศาสตร กลยุทธ ตัวช้ีวัดความสําเร็จ 3. สัปดาหประมงวิชาการ 4. สงเสริมการเรียนรูโดยใช ภูมิปญญาทองถิ่น

3. จํานวนกิจกรรมที่นักศึกษามีสวนรวม 4. จํานวนคร้ังของการเชิญวิทยากรในทองถิ่นมาใหความรู

2. พัฒนาผูเรียนใหมีประสิทธิภาพและคุณภาพตรงตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา

ภายใตหลักเศรษฐกิจพอเพียง

1. สงเสริมใหผูเรียนมีความรู 2. สงเสริมใหผูเรียนมีทักษะวิชาชีพตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา 3. สงเสริมใหผูเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม 4. จัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ

1. รอยละของผูเรียนที่มีผลการเรียนผานเกณฑการประเมิน 2. รอยละของผูเรียนที่จัดทําโครงการวิชาชีพ 3. รอยละของผูเรียนที่สอบผานมาตรฐานวิชาชีพ 4. รอยละของผูเรียนที่ผานกิจกรรม อกท. และการอบรมคุณธรรม-จริยธรรม 5. จํานวนรายวิชาที่จัดการเรียนการสอนโดยบูรณาการหลักเศรษฐกิจพอเพียง

3. สรางผูประกอบการใหม 1.พัฒนาใหผูเรียนมีทักษะประสบการณในการประกอบอาชีพ

1. รอยละของผูเรียนที่ไดรับการพัฒนาการจัดทําแผนธุรกิจ

4. การเพิ่มโอกาสทางการศึกษา

1.โครงการจัดตั้งสถาบันเทคโนโลยีประมงติณสูลานนท

2. โครงการจัดการเรียนการสอนรวมกับสถานประกอบการ

1. ความสําเร็จของการจัดตั้งสถาบัน

2. จํานวนสถานประกอบการที่รวมลงนาม

พันธกิจท่ี 2 บริหารจัดการดวยระบบคุณภาพใหสอดคลองกับหลักการบริหารบานเมืองท่ีด ี

ประเด็นยุทธศาสตร กลยุทธ ตัวช้ีวัดความสําเร็จ

1. บริหารจัดการภายในองคกร 1. โครงการประชุม/สัมมนาเพื่อ 1. รอยละของโครงการ/แผนงาน/

Page 23: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

23

ประเด็นยุทธศาสตร กลยุทธ ตัวช้ีวัดความสําเร็จ ดวยระบบคุณภาพ พัฒนาประสิทธิภาพการดําเนิน

งานระบบคุณภาพในสถานศึกษา 2. พัฒนาระบบบริหารยุทธศาสตรทั่วทั้งองคกร 3. สงเสริมการบริหารงบประมาณที่มุงประสิทธิผล 4. โครงการเรงรัดพัฒนายกระดับการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

กิจกรรม ที่มีการรายงานผล

2. มีแผนยุทธศาสตรที่นําไปสูการปฏิบัติได 3. ระดับความเหมาะสมของการจัดสรรงบประมาณ 4. มีการรายงานผลการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับแผนกวิชา

2.เสริมสรางประสิทธิภาพบรรยากาศการเรียนรูของผูเรียน

1.โครงการปรับปรุงหองสมุด 2. โครงการปรับปรุงที่จอดรถจักรยานยนตนักศึกษา 3. โครงการปรับปรุงหองเรียนและหองปฎิบัติการ 4. โครงการซอมแซมอาคารสถานที่และสํานักงาน

1. มีการติดตั้ง ระบบยืมคืน สืบคน การใชหองสมุด 2. มีพื้นที่จอดรถจักรยานยนตเพิ่มข้ึน 3. หองเรียนและหองปฎิบัติการ ไดรับการปรับปรุง 4. อาคารศูนยวิทยบริการไดรับการปรับปรุง

พันธกิจท่ี 3 จัดแหลงเรียนรูและใหบริการวิชาการและสรางความรวมมือระหวาง

สถานศึกษากับชุมชนใหเปนสังคมแหงการเรียนรู

ประเด็นยุทธศาสตร กลยุทธ ตัวช้ีวัดความสําเร็จ

1. สรางความรวมมือกับสถานประกอบการ ในการจัดแหลงเรียนรู

1. จัดกิจกรรมสรางความรวมมือกับสถานประกอบการและชุมชน

2.โครงการจัดแหลงเรียนรูในสวนประวัติศาสตร

3. จัดตลาดนัดแหลงเรียนรูภูมิปญญาทองถิ่นที่เกี่ยวกับวิชาชีพประมง

1. ระดับความสําเร็จของการจัดทําทําเนียบสถานประกอบการ

2. รอยละของแหลงเรียนรูที่เพิ่มข้ึน 3. จํานวนกิจกรรมที่จัด

Page 24: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

24

ประเด็นยุทธศาสตร กลยุทธ ตัวช้ีวัดความสําเร็จ

2. บริการวิชาชีพแกชมุชน 1. สงเสริมและพัฒนาอาชีพของคนในชุมชน 2. จัดหาส่ือและตําราเพื่อพัฒนาบุคลากร 3. สนับสนุนบุคลากรเปนวิทยากรในการฝกอบรม 4. การสงเสริมความรวมมือในการผลิตผลิตภัณฑสินคา OTOP

1. ระดับความสําเร็จของการดําเนินการอบรมและพัฒนาอาชีพ 2. รอยละของจํานวนโครงการที่ดําเนินการตามนโยบาย 3. จํานวนผูเขาอบรมโครงการฝกอบรมวิชาชีพระยะส้ัน 4. รอยละของบุคลากรที่เปนวิทยากรใหหนวยงานที่ขอความอนุเคราะห 5. การดําเนินโครงการเพื่อสนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน 6. จํานวนของผลิตภัณฑที่ไดรับการพัฒนาและผานเกณฑ

พันธกิจท่ี 4 พัฒนาระบบเทคโนโลยีการสื่อสาร และสารสนเทศ การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมดานการประมง และสาขาวิชาอ่ืนท่ีเกี่ยวของ

ประเด็นยุทธศาสตร กลยุทธ ตัวช้ีวัดความสําเร็จ

1. พัฒนาระบบเทคโนโลยีและการส่ือสาร

1. บํารุงรักษาระบบอินเทอรเน็ต 2. ปรับปรุงระบบเสียงตามสาย

1. ความพรอมของวัสดุ ครุภัณฑ ส่ือสารสนเทศ 2. ความพึงพอใจของผูใช บริการ

2. สงเสริมการสรางนวัตกรรม และผลงานวิจัย

1. สงเสริมสนับสนุนครู-นักศึกษาในการสรางผลงาน วิจัย นวัตกรรมส่ิงประดิษฐ

1.จํานวนนวัตกรรมของครู-นักศึกษา 2. จํานวนผลงานที่ไดรับรางวัล

Page 25: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

25

พันธกิจท่ี 5 พัฒนาสมรรถนะบุคลากรใหมีความเช่ียวชาญเฉพาะทาง เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง

ประเด็นยุทธศาสตร กลยุทธ ตัวช้ีวัดความสําเร็จ

1.พัฒนาบุคลากรดานความรูความสามารถ ใหมีความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง

1. สงเสริมใหบุคลากรมีความรูความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรู และการจัดกิจกรรมโฮมรูม 2. จัดโครงการพัฒนาคุณธรรม-จริยธรรม 3. สงเสริมการศึกษาตอ 4. กิจกรรมการประยุกตหลักเศรษฐกิจพอเพียง 5. โครงการพัฒนาความสามารถดานภาษาอังกฤษ

1. รอยละของบุคลากรที่ไดรับการสนับสนุนใหไดรับความรูเพิ่มข้ึนอยางนอยคนละ 2 คร้ัง/ป 2. รอยละของบุคลากรที่ไดรับการพัฒนาดานคุณวุฒิการศึกษา 3.รอยละของบุคลากรที่นําหลัก เศรษฐกิจพอเพียงไปใชเปนแนวทางในการปฏิบัติงาน 4. รอยละของบุคลากรที่ไดรับการพัฒนาดานคุณวุฒิการศึกษา

2. สงเสริมสนับสนุนแรงจูงใจในการทํางาน

1. จัดใหมีการประเมินผลงานตามระบบสายงานอยางเปนธรรม 2. สนับสนุนการเล่ือนวิทยฐานะ

1. ความพึงพอใจของบุคลากรโดยสวนรวม 2. จํานวนผูที่ไดเล่ือนวิทยฐานะ

3. พัฒนาความสัมพันธของบุคลากรภายในวิทยาลัยฯ

1. พัฒนาความสัมพันธของบุคลากรภายในหมูคณะ 2. โครงการทัศนศึกษาดูงานภายในและตางประเทศ

1. จํานวนกิจกรรมที่จัดใหมี ความสัมพันธ 2. ระดับความพึงพอใจของบุคลากรที่รวมจัดกิจกรรมตาง ๆภายในวิทยาลัยฯ

Page 26: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

26

บทท่ี 3

ผลการดําเนินงาน

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท ไดดําเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โดยเนนผล

การดําเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จํานวน 6 มาตรฐาน 34 ตัวบงชี้ ดังนี้

มาตรฐานที่ 1 ผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษาวิชาชีพ มาตรฐานที่ 2 หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน มาตรฐานที่ 3 กิจกรรมพัฒนาผูเรียน มาตรฐานที่ 4 การบริการวิชาชีพสูสังคม มาตรฐานที่ 5 นวัตกรรมและการวิจัย มาตรฐานที่ 6 ภาวะผูนําและการจัดการ ผลการดําเนินงาน

ในการดําเนินงานเพื่อใหบรรลุเปาหมายตามมาตรฐานที่กําหนด สถานศึกษาไดใชวงจรคุณภาพ PDCA โดยมีข้ันตอนดังนี้

1. การวางแผนงานของสถานศึกษา (Plan) ไดบริหารจัดการแบบมีสวนรวมโดยผูบริหาร ครู อาจารย เจาหนาที่ นักศึกษา และชุมชนมีสวนรวมในการวางแผนพัฒนาสถานศึกษา ทั้งนี้สถานศึกษาไดมีการกําหนดเปาหมายการดําเนินงานภายใตแตละมาตรฐานวาตองการใหเกิดสัมฤทธิ์ผลในดานใด ระดับใด มีการกําหนดเกณฑมาตรฐานสําหรับตัดสินระดับความสําเร็จ มีการวางแผนออกแบบและพัฒนาเคร่ืองมือเพื่อนําไปปฏิบัติ

2. การนําแผนสูการปฏิบัติ (Do) ไดกําหนดปฏิทินปฏิบัติงานและดําเนินงานและดําเนินงานตามแผน มีกลไกการกํากับติดตาม ตรวจสอบ จากผูที่ไดรับมอบหมายเปนระยะ ๆ ตามตารางที่กําหนดและมีการรายงานผลความกาวหนา ทั้งที่เปนลายลักษณอักษรและโดยการจัดการประชุม

3. การตรวจสอบติดตาม (Check) สถานศึกษามีการวางระบบประเมินตนเองแบบเปนทางการและไมเปนทางการ มีการจัดตั้งคณะกรรมการควบคุม กํากับ นิเทศ และประเมินผลการดําเนินงาน ซึ่งทุกคนตองจัดทําเอกสารรายงานผลการดําเนินงานที่รับผิดชอบ

Page 27: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

27

4. การพฒันาปรับปรุงการปฏิบัติ (Action) มีการนําผลการประเมินมาพัฒนาปรับปรุง และไดจัดทําเปนรายงานผลการประเมินตนเอง เผยแพรใหกับผูที่เกี่ยวของทราบ และจัดประชุมเพื่อการระดมความคิดเกี่ยวกับการวางแผนพัฒนาสถานศึกษาตอไป หากผลการประเมินปรากฏวามาตรฐานการศึกษาดานใดมีการดําเนินงานไมเปนไปตามเปาหมายที่กําหนด สถานศึกษาไดมีการจัดกระบวนการกลุมสําหรับผูเกี่ยวของเพื่อจัดทําแผนพัฒนาปรับปรุง มาตรฐานท่ี 1 ผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษาวิชาชีพ

ขอกําหนด 1 สถานศึกษาควรจัดการพัฒนาผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษาในเร่ืองตอไปน้ี

ขอกําหนดท่ี 1.1

ความรูและทักษะวิชาชีพตามหลักสูตรท่ีเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจสังคมและเทคโนโลยีท่ีเปลี่ยนแปลงไป

ตัวบงช้ีท่ี 1 รอยละของผูเรียนทีมี่ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑที่กําหนดตามชั้นป 1. ความตระหนัก

สถานศึกษาไดดําเนินการตามระเบียบวาดวยการประเมินผลตามหลักสูตรที่กําหนดตามชั้นป โดยระบุวาผูเรียนตองมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามกําหนดชั้นป วิทยาลัยฯ ไดวางแผนนําระบบเรียนรูซึ่งเปนระบบพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ เกี่ยวกับการจัดกระบวนการเรียนการสอนมาชวยในการบริหาร ใหครูผูสอนวิเคราะหคําอธิบายรายวิชาชีพ และสรุปจุดเนนทั้งในดานความรู ทักษะ คุณธรรมจริยธรรม ของเนื้อหาในรายวิชา รวมกับหนวยงาน / สถานประกอบการที่เกี่ยวของ เพื่อจัดทําแผนและกระบวนการเรียนรูที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ 2. ความพยายาม

การดําเนินงาน

สถานศึกษาไดกําหนดใหผูสอนดําเนินการปรับปรุง พัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู การวิเคราะหหลักสูตรทุกรายวิชาเพื่อนําไปจัดทําแผนการสอนที่เนนทักษะกระบวนการ โดยใหผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนการสอนมากที่สุด มีการวัดผลประเมินผลตามสภาพจริงในแตละรายวิชา 3. ผลสําเร็จ

ผูเรียนมีผลสัมฤทธิท์างการเรียน ผานเกณฑการพนสภาพตามระเบียบการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร โดยเทียบจากจํานวนผูเรียนที่

Page 28: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

28

ลงทะเบียนเรียนในแตละชั้นปจําแนกตามสาขาวิชา ในปการศึกษา 2551 มีจํานวนผูเรียนทั้งหมด 1,029 คน ผานเกณฑการประเมิน 733 คน คิดเปนรอยละ 71.23 ดังรายละเอียดในตารางที่ 3.1 ซึ่งผลการประเมินอยูใน ระดับพอใช

จุดท่ีตองพัฒนา

นักศึกษาระดับ ปวช.1 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผานเกณฑการพนสภาพของระเบียบการจัดการศึกษาของวิทยาลัยฯ เม่ือเทียบกับจํานวนนักศึกษาแรกเขามีจํานวนนอย สวนใหญนักศึกษาจะไมเขาเรียน และสวนหนึ่งเปนนักศึกษาในกลุมพัฒนาเกษตร ซึ่งเปนนักศึกษาที่เปนเกษตรกร บางคนมีภาระทางครอบครัวทําใหยอดของผูพนสภาพการเรียนมีจํานวนมาก สมควรมีการจัดรูปแบบการรับสมัครการประสานงานเครือขายใหมีความเหมาะสมยิ่งข้ึน ตารางที่ 3.1 แสดงจํานวนผูเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผานเกณฑการพนสภาพ ปการศึกษา

2551

ช้ันป จํานวนนักศึกษา

ลงทะเบียน (คน)

ผานเกณฑท่ีกําหนด (คน)

คิดเปนรอยละ

ปวช.1 335 197 55.49

ปวช.2 167 130 77.84

ปวช.3 113 104 92.03

รวม 635 431 67.87

ปวส.1 210 165 78.57

ปวส.2 184 137 74.45

รวม 394 302 76.64

รวมท้ังสิ้น 1029 733 71.23

Page 29: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

29

ขอกําหนดท่ี 1.2 ความรูความเขาใจในหลักการดานคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรใหสามารถนํามา

ประยุกตใชในงานอาชีพได

ตัวบงช้ีท่ี 2 รอยละของผู เ รียนที่สามารถประยุกตหลักการทาง วิทยาศาสตรและคณิตศาสตร มาใชแกปญหาในการปฏิบัติงานอาชีพอยางเปนระบบ

1. ความตระหนัก

วิทยาลัยประมงติณสูลานนทเปนสถาบันการศึกษาวิชาชีพเฉพาะทาง ซึ่งผลิตนักเรียนนักศึกษาใหมีความสามารถ คิดเปน ทําเปน แกปญหาเปน เพื่อใหผูเรียนสามารถแกปญหาในการปฏิบัติงานอาชีพไดอยางเปนระบบ จึงมีความจําเปนตองปลูกฝงใหผูเรียนไดฝกกระบวนการคิด วิเคราะห และแกปญหา อยางเปนระบบตามหลักการทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร เพื่อเปนแนวทางในการสรางองคความรู และสามารถนําไปใชในการแกปญหาในการปฏิบัติงานอาชีพไดอยางเปนระบบและมีประสิทธิภาพ 2. ความพยายาม

การดําเนินงาน

สถานศึกษาไดมีการสงเสริมและสนับสนุนครูผูสอนใหมีการจัดโครงการและกิจกรรมตาง ๆ ที่จะชวยสงเสริมกระบวนการคิดของผูเรียนออกมาในหลายรูปแบบ ทั้งการสรางนวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ งานวิจัย และโครงงานหรือโครงการวิชาชีพ ใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติ และคิดแกปญหาตาง ๆ ไดอยางเปนระบบ โดยมอบหมายใหครูผูสอนและแผนกวิชาตาง ๆ เปนผูรับผิดชอบดําเนินการ

3. ผลสําเร็จ สถานศึกษาไดดําเนินการใหครูผูสอนและผูเรียนทุกชั้นปไดสรางนวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ งานวิจัย และโครงงานหรือโครงการวิชาชีพ และมีการจัดทําเปนผลงานหรือชิ้นงานในรูปแบบตาง ๆ ตามแตละสาขาวิชาออกมาทั้งส้ิน 160 ชิ้นงาน โดยแบงเปนโครงงานวิจัย/ โครงการวิชาชีพจํานวน 150 ชิ้น และส่ิงประดิษฐ 10 ชิ้น มีจํานวนผูเรียนที่ทําผลงานทั้งส้ิน 766 คน หรือคิดเปนรอยละ 86.16 ของผูเรียนลงทะเบียนในรายวิชาทั้งหมด จัดอยูใน ระดับดี โดยแยกเปนสาขาวิชา จําแนกตามชั้นปตาง ๆ ดังตารางที่ 3.2

Page 30: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

30

ตารางที่ 3.2 แสดงจํานวนผลงาน / ชิ้นงานในรูปแบบตาง ๆ ตามแตละสาขาวิชา

สาขาวิชาเพาะเลี้ยงสัตวนํ้า จํานวนผลงาน (ช้ิน)

ระดับ

จํานวนนักศึกษาที่เรียนในแตละ

ระดับช้ัน นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย โครงงาน/โครงการ

รวม (ช้ิน)

จํานวนผูทํา

ช้ินงาน รอยละ ปวช.1 137 - - - 29 29 109 ปวช.2 178 - - - 34 34 234 ปวช.3 90 - - - 3 3 54 รวม 405 - - - 66 66 397 58.29 ปวส.1 156 - - - 25 25 86 ปวส.2 120 - - - 28 28 107 รวม 276 - - - 53 53 193 69.92 รวมสาขาวิชาเพาะเลี้ยงฯ 681 - - - 119 119 590 86.63 สาขาวิชาการแปรรูปสัตวนํ้า

จํานวนผลงาน (ช้ิน)

ระดับ

จํานวนนักศึกษาที่เรียนในแตละ

ระดับช้ัน นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย โครงงาน/โครงการ

รวม (ช้ิน)

จํานวน ผูทํา

ช้ินงาน รอยละ ปวช.1 37 - - - 4 4 9 ปวช.2 42 - - - 15 15 76 ปวช.3 37 - - - 5 5 28 รวม 116 - - - 24 24 113 97.41 ปวส.1 28 - - - - - - ปวส.2 29 - - - 7 7 26 รวม 57 - - - 7 7 26 45.61 รวมสาขาวิชาแปรรูปฯ 173 - - - 31 31 139 80.34

Page 31: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

31

สาขาวิชาการควบคุมเรือประมง จํานวนผลงาน (ช้ิน)

ระดับ

จํานวนนักศึกษาที่เรียนในแตละ

ระดับช้ัน นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย โครงงาน/โครงการ

รวม (ช้ิน)

จํานวนผูทํา

ช้ืนงาน รอยละ ปวส.1 21 - 4 - - 4 12 ปวส.2 14 - 6 - - 6 25 รวม 35 10 10 37 105.7

รวมทั้งสิ้น 889 - 10 - 150 160 766 86.16

ที่มา : งานวิจัยและพัฒนามาตรฐานการศึกษา

จุดเดนของตัวบงช้ี

นักศึกษาสวนใหญไดแกปญหาและลงมือปฏิบัติโดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร จุดท่ีตองพัฒนา

1. นักศึกษาในสาขาแปรรูปสัตวน้ําและเพาะเล้ียงสัตวน้ําในระดับปวช.ยังมีชิ้นงานนอย ควรจัดทําแผนการสอนที่มีกิจกรรมการสอนที่เนนใหนักศึกษาสามารถประยุกตใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรเพิ่มข้ึน

2. ควรจัดการเรียนการสอนโดยเนนการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบโครงการ อยางนอย 1 แผนการเรียนรูในทุกรายวิชาในทุกภาคเรียน

Page 32: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

32

ขอกําหนดท่ี 1.3 ทักษะในการใชภาษาสื่อสารไดอยางถูกตองเหมาะสม ตัวบงช้ีท่ี 3 รอยละของผูเรียนที่มีทักษะการส่ือสาร ดานการฟง การอาน การเขียน และ

การสนทนา ทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศ 1. ความตระหนัก วิทยาลัยฯ ไดดําเนินการจัดการเรียนการสอนที่มุงพัฒนาผูเรียนใหมีทักษะดานการฟง การอาน การเขียน และการพูด ทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศ เพื่อใชส่ือสารในชีวิตประจําวันไดอยางถูกตองและเหมาะแกกาลเทศะ ตรงตามโครงสรางหลักสูตรของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยวิทยาลัยฯ ไดจัดผูสอนและบุคลากรที่มีทักษะประสบการณดานภาษาที่เนนการฝกปฏิบัติจริง ทั้งกิจกรรมในหองเรียนและนอกหองเรียน 2. ความพยายาม

การดําเนินงาน

ผูเรียนมีการเรียนรูและฝกทักษะสมํ่าเสมอทุกภาคเรียน โดยมีการจัดกิจกรรมเสริมในวันสําคัญตาง ๆ เชน วันแม วันสุนทรภู วันภาษาไทยแหงชาติ วันเยาวชนแหงชาติ วันลอยกระทง และสัปดาหภาษาอังกฤษ โดยจัดใหมีการโตวาที การแตงบทรอยกรอง และการจัดบอรดเรียงความ การใหผูเรียนไปศึกษาเรียนรูภูมิปญญาทองถิ่น โดยบูรณาการกับวิชาสังคมศึกษา สําหรับการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ไดใชศูนยวิทยบริการ ทั้งในสวนของหองสมุด หองอินเทอรเน็ต และศูนยการเรียนรูดวยตนเอง เปนเคร่ืองมือในการสืบคนขอมูล สรางองคความรู เพื่อสงเสริมการใชภาษา มีการจัดกิจกรรมการพูดในที่ชุมชนในวัน English Day นอกจากนี้ยังใหผูเรียนไดฝกพูดคุยกับชาวตางประเทศเจาของภาษาดวย และผูเรียนทุกคนไดทําแฟมสะสมผลงานในรายวิชาภาษาอังกฤษ 3. ผลสําเร็จ

ผูเรียนมีทักษะในการส่ือสารดานการฟง การพูด การอาน และการเขียน ทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศ จากผูเรียนทุกระดับชั้นป คิดเปนรอยละ 92.72 ซึ่งผานเกณฑประเมินอยูใน ระดับดี

Page 33: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

33

จุดเดนของตัวบงช้ี

1. พื้นฐานของผูเรียนมีภาษาถิ่นเปนภาษาที่สอง การส่ือสารดวยภาษาสามารถทําไดงาย เขาใจตรงกันและสนุกสนานโดยผูสอนทําการเชื่อมโยงภาษาถิ่น ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเขาดวยกันได 2. มีแหลงขอมูลในการสรางองคความรูมากทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา เชน หองสมุด และแหลงเรียนรูตาง ๆ จุดท่ีตองพัฒนา

ควรเพิ่มแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่หลากหลาย โดยเปนแผนงานโครงการและกิจกรรมที่เกิดจากผูเรียนไดรวมกันคิดรวมกันทําในเชิงบูรณาการกับงานอาชีพ และบริบทของสถานศึกษา โดยครูผูสอนเปนฝายสนับสนุน และสถานศึกษาเปนแหลงเรียนรูใหมากข้ึน ขอกําหนดท่ี 1.4

ความรูและทักษะการใชเทคโนโลยีท่ีจําเปนในการศึกษาคนควาและปฏิบัติงานวิชาชีพไดอยางเหมาะสม

ตัวบงช้ีท่ี 4 รอยละของผูเรียนที่มีความสามารถใชความรูและเทคโนโลยีที่จําเปนในการศึกษาคนควาและปฏิบัติงานวิชาชีพไดอยางเหมาะสม

1. ความตระหนัก

ปจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะคอมพิวเตอรกลายเปนส่ิงจําเปนในชีวิตประจําวัน การทํางานทุกองคกรตองการบุคลากรที่มีความรูทักษะทางคอมพิวเตอรในการสืบคนขอมูล และการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรตาง ๆ ที่จําเปนในการทํางาน

สถานศึกษาไดเล็งเห็นความสําคัญ จึงไดดําเนินการจัดการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ ใหผูเรียนไดศึกษาเรียนรูการใชเทคโนโลยีดานคอมพิวเตอร สามารถใชความรูและเทคโนโลยีที่จําเปนในการศึกษาคนควาและปฏิบัติงานวิชาชีพไดอยางเหมาะสม จึงไดจัดอุปกรณตาง ๆ เพื่อใชจัดการเรียนการสอนใหเพียงพอ

Page 34: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

34

2. ความพยายาม

การดําเนินงาน

สถานศึกษามีการวางแผนในการจัดแผนการเรียนใหสอดคลองกับหลักสูตรทั้งระดับ ปวช. และ ปวส. โดยมีการจัดหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร 2 หอง ที่พรอมใชงานในการจัดการเรียนรู ฝกทักษะการใชเทคโนโลยีในการสืบคนขอมูล และการใชคอมพิวเตอรในการปฏิบัติงานทางดานวิชาชีพ ในการเรียนรูผูสอนไดจัดหาส่ือตาง เพื่อที่นักศึกษาสามารถศึกษาเพิ่มเติมดวยตนเองได ใหสามารถใชความรูและเทคโนโลยีที่จําเปนในการศึกษาคนควาและปฏิบัติงานวิชาชีพไดอยางเหมาะสม ทั้งนี้ ในปการศึกษา 2551 สถานศึกษายังไดจัดหองอินเตอรเน็ตเพิ่มอีก 1 หอง เพื่อใชในการสืบคนขอมูลและหองเรียนรูดวยตนเองเพื่อเปนการฝกทักษะนอกหองเรียน 3. ผลสําเร็จ

วิทยาลัย ฯ ไดดําเนินการจัดการเรียนการสอนวิชาทางดานคอมพิวเตอร โดยระดับ ปวช. ไดเปดสอนวิชาคอมพิวเตอรเพื่องานอาชีพ และระดับ ปวส. ไดเปดสอนวิชาเทคโนโลยีและสารสนเทศ และการประยุกตใชคอมพิวเตอร

ผลของการดําเนินงานในปการศึกษา 2551 พบวา ผูเรียนที่ลงทะเบียนทั้งส้ิน 489 คน มีผูเรียนที่มีความสามารถใชความรูและเทคโนโลยีที่จําเปนในการศึกษาคนควาและปฏิบัติงานไดอยางเหมาะสม จํานวน 371 คน คิดเปนรอยละ 76 ผลการประเมินจัดอยูใน ระดับดี ในการนี้สามารถจําแนกเปนระดับชั้นได ดังตารางที่ 3.4

Page 35: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

35

ตารางที่ 3.4 แสดงจํานวนผูเรียนที่มีความสามารถใชความรูและเทคโนโลยีที่จําเปนในการศึกษาคนควาและปฏิบัติงานวิชาชีพไดอยางเหมาะสม

ผูเรียนที่มีความสามารถใชความรูและเทคโนโลยีที่จําเปนในการศึกษาคนควา

และปฏิบัติงานไดอยางเหมาะสม

หมายเหตุ

ระดับช้ัน

สาขาวิชา ภาคเรียนที่ 1

จํานวนผู

ลงทะเบียนเรียน (คน)

จํานวน (คน)

คิดเปน รอยละ

จํานวนนักศึกษาที่ไมผานเกณฑ

เพาะเล้ียงสัตวน้ํา 0 0 0 0 แปรรูปสัตวน้ํา 0 0 0 0

ปวช.

รวม 0 0 0 0 เพาะเล้ียงสัตวน้ํา 58 50 86 8 แปรรูปสัตวน้ํา 23 18 78 5

ปวส.

การควบคุมเรือฯ 32 28 88 4 รวม 113 96 85 17

ภาคเรียนที่ 2 เพาะเล้ียงสัตวน้ํา 177 114 64 63 แปรรูปสัตวน้ํา 50 40 80 10

ปวช.

สอบแกตัวผาน 0 2 - - เพาะเล้ียงสัตวน้ํา 110 87 79 23 แปรรูปสัตวน้ํา 23 18 78 5

ปวส.

การควบคุมเรือฯ 16 14 88 2 รวม 376 275 73 101

รวมทั้งสิ้น 489 371 76 118

ที่มา : งานพัฒนาการเรียนการสอนฯ จุดเดนของตัวบงช้ี

ผูเรียนเปนผูที่มีความสามารถใชความรูและเทคโนโลยีที่จําเปนในการศึกษาคนควา และปฏิบัติงานวิชาชีพ จุดท่ีตองพัฒนา

1. ควรเปดรายวิชาเลือกทางดานคอมพิวเตอรใหมาก ข้ึนสําหรับนักศึกษาในระดับ ปวช.

Page 36: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

36

2. ควรจัดทําแผนงานโครงการและกิจกรรมจัดหาซอฟทแวร และฮารดแวร ที่ทันสมัยและเหมาะสมกับสถานการณมาใชไดอยางเพียงพอ เพื่อพัฒนาทักษะ ความรูความสามารถดานคอมพิวเตอรของนักศึกษาใหมีประสิทธิภาพและทันสมัยอยูเสมอ 3. ควรจัดหองคอมพิวเตอรที่สามารถใหบริการนักศึกษาในการฝกทักษะนอกเวลาเรียนปกติ

ขอกําหนดท่ี 1.5 คุณธรรม จริยธรรม คานิยมท่ีดีงามในวิชาชีพ การมีบุคลิกภาพท่ีเหมาะสมและ

มนุษยสัมพันธท่ีดี

ตัวบงช้ีท่ี 5 รอยละของผูเ รียนที่มีคุณธรรม จริยธรรม คานิยมที่ดีงามในวิชาชีพ มีบุคลิกภาพที่เหมาะสมและมีมนุษยสัมพันธที่ดี

1. ความตระหนัก

วิทยาลัยประมงติณสูลานนทเปนสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ จัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษา ป พ.ศ. 2542 แกไขป พ.ศ. 2545 ที่มุงพัฒนาผูเรียนใหมีคุณสมบัติ “เกง ดี มีสุข” โดยในคุณสมบัติ “ดี“ วิทยาลัยฯ ไดเล็งเห็นความสําคัญที่จะดําเนินการโครงการและกิจกรรมตาง ๆ ในการสนับสนุน เพื่อใหเปาประสงคของการพัฒนานักศึกษามีความสัมฤทธิ์ผลของความเปน “คนดี“ อยางแทจริง โดยพิจารณาผลสัมฤทธิ์ของผลการประเมินจากการเขารวมกิจกรรมหนาแถว การเขารวมกิจกรรม อกท และการเปนผูมีวินัยจากงานปกครอง ความพยายาม

การดําเนินงาน

วิทยาลัยฯ ไดจัดการประชุมทําความเขาใจกับครูผูสอน และบุคลากรที่เกี่ยวของเพื่อใหรับทราบถึงเปาหมาย การมุงผลสัมฤทธิ์เพื่อใหนักศึกษาของวิทยาลัยฯ เปนผูที่มีคุณลักษณะอันพึงประสงคโดยภาพรวม โดยไดรับความรวมมือจากบุคลากรในสวนเกี่ยวของ ทั้งงานการสอน / โครงการและกิจกรรมตาง ๆ ทั้งทางตรงและทางออม ใหบรรลุเปาหมายในการดําเนินการดวย รวมถึงอาจารยที่ปรึกษากลุมเรียน สงผลใหเกิดระบบดูแลชวยเหลือนักศึกษา รวมทั้งกิจกรรมโฮมรูมซึ่งเปนแหลงขอมูลของการพฒันาติดตามพฤติกรรมนักศึกษาอยางชัดเจน คณะกรรมการดําเนินการไดรวมประชุมระดมสมองเพื่อวางแนวทางดําเนินการและประสานการปฏิบัติงานในการสรางเสริมกิจกรรมรวมกัน รวมทั้งการวางกรอบการประเมิน การติดตามผลการประเมิน การสรุป การวิเคราะห และรวมสรุปผลการประเมินทุกชัน้เรียนและทุกสาขาวิชา

Page 37: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

37

3.ผลสําเร็จ ผลประเมินพบวานักศึกษาที่มีพฤติกรรมแสดงออกถึงความมีวินัยและความรับผิดชอบและมีคุณลักษณะอันพึงประสงค คิดเปนรอยละ 96.77 ของจํานวนผูเรียนทั้งหมด ผลการประเมินอยูใน ระดับดี

จุดเดนของตัวบงช้ี มีระบบงานกิจกรรมเขามากํากับติดตาม ทําใหมีรูปแบบในการรายงานผลชัดเจนข้ึน จุดท่ีตองพัฒนา

นักศึกษายังใหความสําคัญและใหความสนใจเขารวมกิจกรรมนอย ควรปรับเปล่ียนรูปแบบการจัดกิจกรรมใหนาสนใจ และทันตามยุคสมัยและจัดระบบการรายงานผลอยางตอเนื่อง ขอกําหนดท่ี 1.6

รอยละของผูสําเร็จการศึกษาท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑการสําเร็จการศึกษา

ตัวบงช้ีท่ี 6 รอยละของผูสําเร็จการศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑการสําเร็จการศึกษา

1. ความตระหนัก

ในการจัดการเรียนการสอนในแตละหลักสูตรและในแตละชั้นป มุงหวังอยางยิ่งที่จะใหนักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑที่กําหนด เพื่อที่นักศึกษาจะสามารถสําเร็จการศึกษาไดตามระยะเวลาที่แตละหลักสูตรกําหนดไว โดยในระดับ ปวช. (เกณฑการจบหลักสูตร 3 ป) ระดับ ปวส. (เกณฑการจบหลักสูตร 2 ป) และระดับ ปทส. (เกณฑการจบหลักสูตร 2 ป) ตองมีผลการเรียนเฉล่ียไมต่ํากวา 2.00 ซึ่งหากนักศึกษาสามารถสําเร็จการศึกษาไดในระยะเวลาและเกณฑที่กําหนดไว ก็จะเปนผลดีตอนักศึกษาในการศึกษาตอ และการประกอบอาชีพ นอกจากนี้รอยละของผูสําเร็จการศึกษาแสดงใหเห็นถึงประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษาอีกดวย 2. ความพยายาม

การดําเนินงาน

จากขอตระหนักขางตน วิทยาลัยฯ ไดจัดใหมีกิจกรรมการเรียนรูตาง ๆ ที่จะสงเสริมการเรียนเพื่อใหนักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไดตามเกณฑที่กําหนด นอกจากนี้งานทะเบียนไดรายงานผล

Page 38: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

38

การเรียนแตละภาคเรียนใหนักศึกษา อาจารยที่ปรึกษา และผูปกครองทราบ เพื่อใหนักศึกษาใชเปนขอมูลในการพัฒนาการเรียนของตน และเปนขอมูลใหอาจารยที่ปรึกษาไดชี้แนะแนวทางการพัฒนาการเรียนใหแกนักศึกษา สวนผูปกครองก็จะไดทราบขอมูลทางการเรียนของบุตรหลานของตนเองทุกภาคเรียน 3. ผลสําเร็จ

ในปการศึกษา 2551 มีนักศึกษาแรกเขาทั้งในระดับ ปวช. ปวส. จํานวนทั้งส้ิน 460 คน มีนักศึกษาสําเร็จการศึกษาทั้งส้ิน 241 คน คิดเปนรอยละ 52.39 ดังรายละเอียดตามตารางที่ 3.6 ซึ่งอยูใน ระดับปรับปรุง ตารางที่ 3.6 แสดงจํานวนผูสําเร็จการศึกษา ระดับชั้น ปวช. ปวส. ปการศึกษา 2551

ระดับ

สาขาวิชา จํานวน นศ. แรกเขา

จํานวนผูผานตามเกณฑ

รอยละของผูเรียนท่ีผานเกณฑการจบ

เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา 170 62 36.47 แปรรูปสัตวน้ํา 66 36 54.54 แปรรูปสัตวน้ํา (ทวิภาคี)

34 6 17.67

ปวช. 3

รวม 270 104 38.51 เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา 128 98 76.56 แปรรูปสัตวน้ํา 34 26 76.47 แปรรูปสัตวน้ํา (ทวิภาคี)

13 4 30.76

การควบคุมเรือประมง

15 9 60

ปวส. 2

รวม 190 137 72.10 รวมท้ังสิ้น 460 241 52.39

ที่มา : งานทะเบียน

Page 39: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

39

จุดเดนของตัวบงช้ี - จุดท่ีตองพัฒนา

1. ควรมีการวิจัยเร่ืองสาเหตุของการออกกลางคันของนักศึกษา และสาเหตุที่นักศึกษาสําเร็จการศึกษาในจํานวนที่นอย โดยเฉพาะในระดับ ปวช. 2. ครูที่ปรึกษาควรมีการดูแลพฤติกรรมของนักศึกษา ทวิภาคี เพิ่มมากข้ึน เพราะนักศึกษาทํางานและเรียนไปดวย ทําใหทุมเทเวลาในการเรียนนอยลง และควรมีการสํารวจหาสาเหตุของการไมสําเร็จการศึกษาของนักศึกษา ขอกําหนดท่ี 1.7

ความรูและทักษะตามมาตรฐานวิชาชีพ และหลักสูตรสําหรับผูสําเร็จการศึกษา

ตัวบงช้ีท่ี 7 รอยละของผูสําเร็จการศึกษาที่ผานการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ 1. ความตระหนัก สถานศึกษากําหนดใหทุกแผนกวิชาที่เปดสอนทางดานวิชาชีพ มีการดําเนินการแตงตั้งคณะกรรมการการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ มีขอสอบมาตรฐานที่ใชในการประเมิน ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ นักเรียนนักศึกษาทุกคนจะตองรับการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ และมีการรายงานผลการประเมินมาตรฐานวิชาชีพของผูสําเร็จการศึกษาแตละประเภทวิชา และสาขาวิชา ในทุกระดับชั้น 2. ความพยายาม

การดําเนินงาน สถานศึกษาไดดําเนินการ ดังนี ้

1. ผูสอนศึกษาและวิเคราะหหลักสูตร มาตรฐานรายวิชา และดําเนินการสอนตามมาตรฐานรายวิชา และมาตรฐานวิชาชีพ จัดใหผูเรียนฝกงานในสถานประกอบการตามรายวิชาในสาขาที่เรียน

2. ผูสอนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไดตรงตามมาตรฐานวิชาชีพ และผูเ รียนไดรับประสบการณในการฝกงานตรงตามสาขาวิชาชีพทุกระดับชั้นป

3. ทุกสาขาวิชาจัดใหมีการทดสอบมาตรฐานวิชาชีพ โดยนําขอสอบจากสวนกลางมาปรับปรุงใหสอดคลองกับมาตรฐานวิชาชีพของแตละแผนกวิชา มาทดสอบผูเรียนในชั้นปสุดทายของหลักสูตร 3. ผลสําเร็จ

ปการศึกษา 2551 มีนักศึกษาเขารับการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ จํานวนทั้งส้ิน 256 คน และมีจํานวนผูสําเร็จการศึกษา จํานวนทั้งหมด 241 คน ผานการประเมินตามเกณฑที่กําหนด จํานวน

Page 40: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

40

247 คน คิดเปนรอยละ 96.48 ของนักศึกษาที่เขารับการประเมิน โดยแยกเปนระดับชั้นตาง ๆ ดังรายละเอียดในตารางที่ 3.7 ผลการประเมินอยูใน ระดับดี

ตารางที่ 3.7 แสดงจํานวนที่ผานการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ จําแนกตามระดับชั้น

จํานวนผูเขารับการประเมิน (คน) ระดับช้ัน สาขาวิชา ท้ังหมด ผานเกณฑ รอยละ

เพาะเล้ียงสัตวน้ํา 63 58 92.06 แปรรูปสัตวน้ํา 32 32 100 แปรรูปทวิภาคี 9 9 100

ปวช. 3

รวม 104 99 95.19 เพาะเล้ียงสัตวน้ํา 106 102 96.23 แปรรูปสัตวน้ํา 26 26 100 การควบคุมเรือประมง 13 13 100 แปรรูปทวิภาคี 7 7 100

ปวส.2

รวม 152 148 97.37 รวมท้ังสิ้น 256 247 96.48

ที่มา : งานพัฒนาการเรียนการสอนฯ

จุดเดนของตัวบงช้ี

สถานศึกษามีการดําเนินการจัดสอบมาตรฐานวิชาชีพทุกแผนกวิชา จุดท่ีตองพัฒนา

1.วิทยาลัยฯ ควรกําหนดเปนนโยบายใหการสอบมาตรฐานวิชาชีพเปนเกณฑการสําเร็จการศึกษา เพื่อใหครูผูสอนและนักศึกษาเห็นความสําคัญที่ตองสอบประมวลผลข้ันสุดทายของการจบการศึกษา 2. ควรปรับรูปแบบการประเมินมาตรฐานวิชาชีพของแตละแผนกวิชาใหมีมาตรฐานเดียวกันทุกแผนกวิชา

Page 41: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

41

ขอกําหนดท่ี 1.8 ความรูและทักษะในการหางานทํา การศึกษาตอ และการประกอบอาชีพอิสระ

ตัวบงช้ีท่ี 8 รอยละของผูสําเร็จการศึกษาที่ไดงานทําในสถานประกอบการ / ประกอบอาชีพอิสระ และศึกษาตอภายใน 1 ป

1. ความตระหนัก

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท ไดจัดการศึกษาใหแกนักศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาวิชาเพาะเล้ียงสัตวน้ํา และสาขาวิชาแปรรูปสัตวน้ํา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาวิชาเพาะเล้ียงสัตวน้ํา สาขาวิชาแปรรูปสัตวน้ํา และสาขาวิชาการควบคุมเรือประมง ในแตละปผูสําเร็จการศึกษาสวนใหญจะศึกษาตอในระดับที่สูงข้ึน มีผูสําเร็จการศึกษาบางสวนซึ่งเปนจํานวนนอยที่ไปประกอบอาชีพ ในการเก็บรวบรวมขอมูลผูสําเ ร็จการศึกษานั้น วิทยาลัยฯ ไดสงแบบสอบถามไปยังผูสําเร็จการศึกษา สอบถามจากผูเกี่ยวของเพิ่มเติม โดยดําเนินการจัดเก็บขอมูลอยางเปนระบบ เพื่อจะไดนําขอมูลมาใชในการวางแผนการจัดการเรียนรูใหสอดคลองกับแนวโนมของผูสําเร็จการศึกษาในอนาคตตอไป 2. ความพยายาม

การดําเนินงาน

วิทยาลัยฯ ไดดําเนินการปจฉิมนิเทศใหแกผูสําเร็จการศึกษากอนที่นักศึกษาจะสําเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยฯ ตามโครงการเตรียมความพรอมในการสรางงานและประกอบอาชีพ ประจําปการศึกษา 2550 เพื่อใหนักศึกษาไดรับทราบขอมูลในการศึกษาตอและการประกอบอาชีพทั้งในสวนภาครัฐ เอกชน และอาชีพสวนตัวตามความประสงคของแตละคน คณะทํางานไดมีการประชุมวางแผนการดําเนินงาน เพื่อนําปญหาและอุปสรรคที่ผานมาพิจารณาหาแนวทางแกไข เพื่อใหการเก็บรวบรวมขอมูลจากผูสําเร็จการศึกษาไดรับขอมูลมากที่สุด

ในการติดตามผูสําเร็จการศึกษานี้ คณะทํางานไดสงแบบสอบถามตามที่อยูของผูสําเร็จการศึกษาตามสําเนาทะเบียนบานในตอนแรกเขา ในรายที่ไมสงแบบสอบถามกลับ งานแนะแนวไดสอบถามผูเกี่ยวของ และเพื่อนผูสําเร็จการศึกษาดวยกัน นอกจากนี้ไดสอบถามขอมูลทางโทรศัพท และขอความรวมมือใหชวยตอบแบบสอบถาม เพื่อวิทยาลัยฯ จะไดนําขอมูลมาใชในวางแผนการจัดการเรียนรูตอไป

เม่ือไดขอมูลและไดดําเนินการตามระยะเวลาที่กําหนดแลว คณะทํางานไดรายงานสรุปผลการดําเนินงานใหวิทยาลัยฯ ทราบ

Page 42: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

42

3. ผลสําเร็จ

จากการดําเนินงานตามกิจกรรมติดตามผูสําเร็จการศึกษา พบวาปการศึกษา 2550 มีผูสําเร็จการศึกษาทั้งส้ิน 259 ราย ไดเขาศึกษาตอในระดับที่สูงข้ึนจํานวน 179 ราย คิดเปนรอยละ 69.65 และไดงานทําจํานวน 45 ราย คิดเปนรอยละ 17.37 ซึ่งเม่ือรวมผูสําเร็จการศึกษาที่ศึกษาตอและมีงานทําทุกระดับ มีจํานวนรวมทั้งส้ิน 239 ราย คิดเปนรอยละ 92 ดังรายละเอียดในตารางที่ 3.8 จัดอยูใน ระดับดี

จุดเดนของตัวบงช้ี

1. ผูสําเร็จการศึกษาสวนใหญจะศึกษาตอในระดับที่สูงข้ึน จุดท่ีตองพัฒนา

1. ควรจัดกิจกรรมแนะแนวอาชีพอิสระแกนักศึกษา ใหมากข้ึน 2. ควรจัดระบบสงขอมูลกลับสถานศึกษาในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิก

ตารางที่ 3.8 แสดงจํานวนผูสําเร็จการศึกษาที่ไดงานทําในสถานประกอบการ/ประกอบอาชีพอิสระ และศึกษาตอภายใน ประจําปการศึกษา 2550

ที่มา : งานแนะแนวฯ

จํานวนผูไดงานทํา (คน)

ผูศึกษาตอ

รวมผูไดงานทําและศึกษาตอ

ระดับ

สาขาวิชา

จํานวนผูสําเร็จ

การศึกษา (คน)

ภาครัฐ เอกชน สวนตัว คิดเปน (%)

จํานวน (คน)

คิดเปน (%)

จํานวน (คน)

คิดเปน (%)

เพาะเล้ียงฯ 58 - - - - 58 100 58 100 แปรรูปฯ 19 - - - - 19 100 19 100 ทวิภาคี 6 - 6 - 100 - - 6 100

ปวช.3

รวม 83 - 6 - 7.23 77 92.77 83 100 เพาะเล้ียงฯ 98 - 6 - 6.12 69 70.41 90 92 แปรรูปฯ 37 - - - - 31 83.78 31 84 ควบคุมเรือฯ 18 3 5 7 83.33 2 11.11 17 94 อุสาหกรรมฯ (ทวิภาคี)

23 1 17 - 78.26 - - 18 78

ปวส.2

รวม 176 4 28 7 22.16 102 57.95 156 89 รวมทั้งสิ้น 259 4 34 7 17.37 179 69.65 239 92

Page 43: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

43

ขอกําหนดท่ี 1.9

คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาท่ีสถานประกอบการหรือหนวยงานพึงพอใจ

ตัวบงช้ีท่ี 9 ความพึงพอใจของสถานประกอบการที่มีตอคุณลักษณะที่พึงประสงค ดานคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพของผูสําเร็จการศึกษา

1. ความตระหนัก

วิทยาลัยประมงติณสูลานนทเปนสถานศึกษาที่เปดสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และระดับประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง ในสาขาวิชาเพาะเล้ียงสัตวน้ํา สาขาวิชาแปรรูปสัตวน้ํา และสาขาวิชาการควบคุมเรือประมง เพื่อผลิตบุคลากรใหสนองตอบตอความตองการของตลาดแรงงาน ซึ่งในปจจุบันไดมีผูสําเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยฯ ในแตละระดับเขาทํางานในสถานประกอบการเปนจํานวนมาก เพื่อใหเกิดการผลิตบุคลากรสนองตอบตอความตองการของตลาดแรงงาน ทั้งในดานวิชาความรู และคุณลักษณะที่พึงประสงคดานคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ วิทยาลัยฯ จึงไดกําหนดใหมีการสํารวจความพึงพอใจของสถานประกอบการที่รับผูสําเร็จการศึกษาเขาทํางาน เพื่อจะไดนําขอมูลที่ไดมาใชเปนแนวทางในการจัดการศึกษาและพัฒนาคุณภาพของนักศึกษาใหสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน 2. ความพยายาม

การดําเนินงาน

วิทยาลัยฯ ไดสํารวจระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการที่ รับนักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาเขาทํางาน โดยศึกษาขอมูลคุณลักษณะที่พึงประสงคในดานความรูความสามารถและทักษะในวิชาชีพของผูสําเร็จการศึกษา โดยไดออกแบบสอบถามใหครอบคลุมตามเกณฑที่กําหนด ทั้งดานความรูความสามารถทางวิชาการตามลักษณะงานในสาขาวิชา ดานความรูความสามารถพื้นฐานที่จําเปนในการทํางาน และดานคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ

เม่ือไดขอมูลแลวจึงรวบรวมขอมูลที่ไดนํามาสรุปและรายงานผลการดําเนินงาน 3. ผลสําเร็จ

จากผลการประเมินระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการที่รับผูสําเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยประมงติณสูลานนทเขาทํางาน พบวา ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการในภาพรวมมีคาเฉล่ียเทากบั 4.20 อยูในระดับดี เม่ือจําแนกเปนรายขอพบวา นักศึกษาละเวนส่ิงเสพติคและการพนัน มีคาระดับความพึงพอใจมีคาเฉล่ียมากที่สุดเทากับ 5.00 รองลงมาคือการมีมนุษยสัมพันธและการใหความรวมมือในการทํางาน มีคาเฉล่ียเทากับ 4.80 และ 4.70 ตามลําดับ

Page 44: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

44

จุดเดนของตัวบงช้ี

สถานประกอบการมีความพึงพอใจในดานคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพดานความรูความสามารถทางดานวิชาการ และดานความรูความสามารถพื้นฐานที่จําเปนในการทํางาน ตามลําดับ จุดท่ีตองพัฒนา

1. ควรฝกนักศึกษาใหมีความเชื่อม่ัน และกลาแสดงออก 2. ควรเพิ่มทักษะในการส่ือสารและมีจิตสาธารณะในการใหบริการ

Page 45: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

45

มาตรฐานท่ี 2 หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน

ขอกําหนด 2 สถานศึกษาควรพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนดังน้ี

ขอกําหนดท่ี 2.1

รวมมือกับสถานประกอบการในการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะท่ีสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน

ตัวบงช้ีท่ี 10 ระดับคุณภาพของหลักสูตรฐานสมรรถนะของสถานศึกษาที่มีการพัฒนาตามความตองการของตลาดแรงงาน

1. ความตระหนัก

พันธกิจหลักของวิทยาลัยประมงติณสูลานนท คือการผลิตบุคลากรที่มีสมรรถนะเปนเลิศในดานวิชาชีพประมง และมีคุณลักษณะที่สอดคลองตามความตองการของตลาดแรงงาน ดังนั้นการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะในทุกสาขาวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอนในวิทยาลัยฯ อันไดแก สาขาวิชาเพาะเล้ียงสัตวน้ํา สาขาวิชาการแปรรูปสัตวน้ํา และสาขาวิชาการควบคุมเรือประมง จึงถือเปนกลไกสําคัญยิ่งที่จะทําใหพันธกิจของสถานศึกษาบรรลุผลตามวัตถุประสงค นั่นคือผูเรียนไดรับการพัฒนาผานกระบวนการจัดการเรียนรูที่เหมาะสม และสามารถออกไปประกอบอาชีพไดอยางมีประสิทธิภาพ ดังนั้น วิทยาลัยฯ จึงไดดําเนินการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะโดยการนําขอมูลจากการวิเคราะหฐานอาชีพรวมกับสถานประกอบการและหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของ ทั้งในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง มาอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ วิทยาลัยฯ ยังไดจัดทําระบบการเรียนรู ซึ่งไดกําหนดวิธีการมาตรฐานใหครูผูสอนรวมกับสถานประกอบการ วิเคราะหคําอธิบายรายวิชา สรุปจุดเนนของเนื้อหารายวิชา เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู ซึ่งจะสงผลโดยตรงตอคุณภาพของผูสําเร็จการศึกษา 2. ความพยายาม

การดําเนินงาน

1. วิทยาลัยฯ ไดนําเอาระบบการเรียนรูซึ่งเปนระบบคุณภาพระบบหลักในการพัฒนาผูเรียนใหมีสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค สอดคลองตามมาตรฐานอาชีพ โดยไดดําเนินการประชุมชี้แจงเพื่อสรางความตระหนัก และความเขาใจแกครูอาจารยทุกคน ถึงวัตถุประสงค กรอบการดําเนินงาน และข้ันตอนกระบวนการที่กําหนดไวในวิธีการมาตรฐานของระบบการเรียนรู โดยเฉพาะอยางยิ่งข้ันตอนของการวิเคราะหคําอธิบายรายวิชารวมกับสถานประกอบการ ซึ่งไดกําหนดใหครูผูสอนในรายวิชาชีพ และรายวิชาสนับสนุนที่สําคัญ ไดแก ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร

Page 46: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

46

เทคโนโลยีสารสนเทศ ดําเนินการวิเคราะหคําอธิบายรายวิชารวมกับสถานประกอบการเพื่อพิจารณาจุดเนน ความสําคัญ สมรรถนะที่ตองการ และคุณลักษณะที่จําเปนตองเสริมสรางใหแกผูเรียน 3. ผลสําเร็จ

ผลจากการดําเนินงานตามวิธีการมาตรฐานในระบบการเรียนรู โดยกําหนดใหครูผูสอนวิเคราะหคําอธบิายรายวิชารวมกับสถานประกอบการ สงผลใหครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการเรียนรูแบบบูรณาการ และกําหนดกิจกรรมในกระบวนการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ และสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงานอยางแทจริง

จากผลการดําเนินงาน ทุกหลักสูตรมีการพัฒนาเปนหลักสูตรฐานสมรรถนะในแตละสาขาวิชา คิดเปนรอยละ 100 ผลการประเมินจัดอยูใน ระดับดี จุดเดนของตัวบงช้ี

มีการวิเคราะหคําอธิบายรายวิชารวมกับสถานประกอบการ จุดท่ีตองพัฒนา

ควรมีการนําผลการวิเคราะหคําอธิบายรายวิชารวมกับสถานประกอบการไปใชในการพัฒนาการเขียนแผนการจัดการเรียนรูใหครบในทุกรายวิชา

Page 47: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

47

ขอกําหนดท่ี 2.2

จัดกระบวนการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญโดยสงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ

ตัวบงช้ีท่ี 11 ระดับคุณภาพของการจัดการเรียนรูอยางหลากหลาย โดยเนนผูเรียนเปนสําคัญในการฝกทักษะวิชาชีพ มีการฝกปฏิบัติจริง เพื่อใหผูเรียนไดพัฒนาตามธรรมชาติเต็มตามศักยภาพและพึงพอใจตอคุณภาพการสอน

1. ความตระหนัก

ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 22 ซึ่งบัญญัติไววา “การจัดการศึกษาตองยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มศักยภาพ” วิทยาลัยประมงติณสูลานนทเปนสถาบันการศึกษาอาชีวศึกษา ดานวิชาชีพประมง ที่มุงพัฒนาใหมีระบบการเรียนรูที่มีคุณภาพ ครูผูสอนมีกระบวนการ วิธีการ และการบันทึกการจัดกระบวนการเรียนรูที่เปนมาตรฐานเดียวกัน และนํามาจัดทําเปนขอมูลสารสนเทศ ซึ่งจะนําไปสูการพัฒนาองคกรและผูเรียน

2. ความพยายาม

การดําเนินการ

วิทยาลัยฯ ไดสนับสนุนใหครูผูสอนดําเนินการจัดกระบวนการเรียนรูโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยดําเนินการจัดทําโครงการและกิจกรรมตาง ๆ เพื่อพัฒนาครูผูสอนใหมีคุณภาพ เชน โครงการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการการทําแผนจัดการเรียนรูมุงเนนสมรรถนะอาชีพบูรณาการหลักปรัชญาเศรฐกิจพอเพียง และวิทยาลัยฯ ไดนําระบบการเรียนรู ซึ่งเปนระบบที่มีการวิเคราะหหลักสูตร วิเคราะหผูเรียน การออกแบบ และการจัดกระบวนการเรียนรูการเสริมทักษะวิชาชีพ การประเมินสมรรถนะ ตลอดจนการประเมินผลและรายงานผลของระบบ มาใชในการบริหารงานการจัดกระบวนการเรียนรู เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงค และเปาหมายของวิทยาลัยฯ โดยมีฝายวิชาการ คณะกรรมการพัฒนาระบบคุณภาพ คณะกรรมการดําเนินงานระบบการเรียนรู ประสานกับครูและบุคลากรที่เกี่ยวของ ในการนําระบบสูการปฏิบัติและมีการนิเทศเพื่อการพัฒนาอยางตอเนื่อง

Page 48: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

48

3. ผลสําเร็จ

วิทยาลัยฯ ไดนําระบบการเรียนรูมาใชการบริหารงานการจัดกระบวนการเรียนรูอยางตอเนื่อง เปนผลใหครูผูสอนทุกคนจัดทําแผนการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ แบบบูรณาการทุกสาขาวิชาและทุกรายวิชาที่เปดสอน

ผลการนิเทศ ติดตาม การจัดกระบวนการเรียนรู พบวาครูผูสอนมีการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูและกระบวนการการจัดการเรียนรู อยูใน ระดับดี

โดยภาพรวมผลการประเมินระดับความพึงพอใจของผูเรียนตอระดับคุณภาพการสอน มีคาเฉล่ีย 3.92 จัดอยูใน ระดับดี จุดเดนของตัวบงช้ี

ครูผูสอนทุกคนจัดทําแผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการคุณธรรมจริยธรรม หรือบูรณาการความรูจากรายวิชาตาง ๆ โดยเนนผูเรียนเปนสําคัญครบทุกรายวิชา จุดท่ีตองพัฒนา

1.ควรนิเทศติดตามกระบวนการจัดการเรียนรูอยางตอเนื่อง เพื่อหาแนวทางในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู 2.ครูผูสอนควรจัดทําแบบประเมินผลการสอนของตนเองในทุกรายวิชา

ขอกําหนดท่ี 2.2

จัดกระบวนการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญโดยสงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ

ตัวบงช้ีท่ี 12 รอยละของงบประมาณที่สถานศึกษาจัดซื้อวัสดุฝกอุปกรณสําหรับการจัดการเรียนการสอนอยางเหมาะสม

1. ความตระหนัก

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท เปนสถาบันการศึกษาดานวิชาชีพประมงที่มีความตระหนักและใหความสําคัญในการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ โดยเนนใหผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และเนนวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด จึงมุงสงเสริมสนับสนุนใหครูผูสอนจัดกระบวนการเรียนรูอยางหลากหลาย โดยเนนผูเรียนใหฝกปฏิบัติจริงเพื่อใหผูเรียนไดพัฒนาตามธรรมชาต ิเต็มตามศักยภาพ

Page 49: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

49

2. ความพยายาม

การดําเนินงาน

วิทยาลัยฯ ไดสนับสนุนงบประมาณสําหรับจัดซื้อวัสดุฝกและอุปกรณสําหรับการจัดการเรียนการสอนอยางเหมาะสมทุกสาขาวิชา โดยมอบหมายใหครูผูสอนจัดซื้อวัสดุฝกอุปกรณที่สอดคลองกับแผนการจัดการเรียนรู รวมทั้งโครงการตาง ๆ ที่สนับสนุนการจัดการเรียนการสอน 3. ผลสําเร็จ

วิทยาลัยฯ ไดสนับสนุนงบประมาณสําหรับจัดซื้อวัสดุฝก และอุปกรณสําหรับการจัดการเรียนการสอนและโครงการตาง ๆ ทุกสาขาวิชา พบวาในปการศึกษา 2551 ของงบประมาณที่วิทยาลัยฯ จัดซื้อวัสดุฝกอุปกรณสําหรับการจัดการเรียนการสอนตองบดําเนินการทุกสาขาวิชา ดังตารางที่ 3.9 ตารางที่ 3.9 แสดงการจัดสรรงบประมาณสําหรับจัดซื้อวัสดุฝก และอุปกรณในการจัดการเรียน

การสอน รายการ จํานวนเงิน

1. ประเภทวิชาประมง 1.1 สาขาวิชาเพาะเล้ียงสัตวน้ํา 1.2 สาขาวิชาแปรรูปสัตวน้ํา 1.3 สาขาวิชาควบคุมเรือประมง / ชางประมง 1.4 สามัญสัมพันธ / จัดการประมง

2. คาใชจายอ่ืนๆ สนับสนุนการเรียนการสอน ทุกสาขาวิชา

375,844.00

98,098.00 57,412.80

180,662.00 937,850.88

รวม 1,469,867.68

ที่มา : งานวางแผนฯ

วิทยาลัยฯ ไดรับงบดําเนินการประจําปการศึกษา 2551 จํานวน 39,832,753.09 บาท งบประมาณที่สถานศึกษาจัดซื้อวัสดุฝกอุปกรณสําหรับจัดการเรียนการสอนรวมทั้งส้ินเปนเงิน1,469,867.68 คิดเปนรอยละ 4.14 ของงบดําเนินการ ผลการประเมินอยูใน ระดับปรับปรุง

Page 50: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

50

จุดเดนของตัวบงช้ี - จุดท่ีตองพัฒนา

ควรมีการวางแผนและดําเนินการตามแผนที่กําหนดไวในการจัดซื้อวัสดุฝกและอุปกรณสําหรับการจัดการเรียนการสอนและการทําโครงการ

ขอกําหนดท่ี 2.3

จัดระบบคอมพิวเตอรใหเหมาะสมและเพียงพอในแตละสาขาวิชา

ตัวบงช้ีท่ี 13 ระดับความเหมาะสมและเพียงพอของระบบคอมพิวเตอรในแตละสาขาวิชา 1. ความตระหนัก

ในปจจุบันการติดตอส่ือสารระบบสารสนเทศมีความสําคัญเปนอยางมาก ทุกองคกรตองการบุคลากรที่มีทักษะในการปฏิบัติงานทางคอมพิวเตอรเพื่อการสืบคนขอมูล และมีความสามารถใชโปรแกรมคอมพิวเตอรตาง ๆ ที่จําเปนในการทํางาน

สถานศึกษาไดเล็งเห็นความสําคัญ จึงไดดําเนินการจัดหองปฏิบัติการเพื่อรองรับการฝกทักษะในการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ ใหผูเรียนในแตละสาขาวิชาไดศึกษาเรียนรูการใชเทคโนโลยีดานคอมพิวเตอรและจัดหาอุปกรณตาง ๆ เพื่อใชจัดการเรียนการสอนใหเพียงพอ 2. ความพยายาม

การดําเนินงาน

สถานศึกษามีการวางแผนในการจัดแผนการเรียนใหสอดคลองกับหลักสูตรทั้งระดับ ปวช. และ ปวส. โดยมีการจัดหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร 2 หอง ใหมีเคร่ืองคอมพิวเตอรที่พรอมตอการใชงานในการจัดการเรียนรู ฝกทักษะการใชเทคโนโลยีในการสืบคนขอมูล และการใชคอมพิวเตอรในการปฏิบัติงานทางดานวิชาชีพ ในการเรียนรูผูสอนไดจัดหาส่ือตาง ๆ เพื่อที่นักศึกษาสามารถศึกษาเพิ่มเติมดวยตนเองได ทั้งนี้สถานศึกษายังไดจัดหองอินเทอรเน็ต เพื่อใชในการสืบคนขอมูลและหองเรียนรูดวยตนเองเพื่อเปนการฝกทักษะนอกหองเรียน ไดมีการตรวจสอบ และซอมบํารุงอุปกรณคอมพิวเตอร เพื่อใหพรอมใชงานโดยการเปล่ียน Hard disk, CD-Rom, Mouse, Keyboard

Page 51: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

51

3. ผลสําเร็จ

วิทยาลัย ฯ ไดดําเนินการจัดการเรียนการสอนวิชาทางดานคอมพิวเตอร ระดับ ปวช. เปดสอนวิชาคอมพิวเตอรเพื่องานอาชีพ และระดับ ปวส. เปดสอนวิชาเทคโนโลยีและสารสนเทศ และการประยุกตใชคอมพิวเตอร โดยไดจัดหา และปรับปรุง อุปกรณคอมพิวเตอรใหมีความเพียงพอ และปรับปรุงระบบตาง ๆ ใหมีความเหมาะสมอยูเสมอ

ผลของการดําเนินงานในปการศึกษา 2551 พบวา จํานวนผูเรียนตอเคร่ืองคอมพิวเตอรมีอัตราการใช 1 : 1 ดังแสดงในตารางที่ 3.10 ผลการประเมินใน ระดับดี

ตารางที่ 3.10 แสดงอัตราสวนของผูเรียนตอจํานวนเคร่ืองคอมพิวเตอร ปการศึกษา 2551

ภาคเรียนที่ 1/2551

หองเรียน รายวิชา ช้ัน จํานวนผูเรียน

จํานวนเคร่ืองคอมพิวเตอร

จํานวนเคร่ือง : จํานวนผูเรียน

ปวส.1/3 31 18 1:2 ปวส.1/4 27 18 1:2 เทคโนโลยีและสารสนเทศ

ปวส.1/6 18 18 1:1 อัตราการใชเคร่ืองคอมพิวเตอร 1:2

ปวส.1/5 23 18 1:1 ประยุกตใชคอมพิวเตอร ปวส.2/6 14 18 1:1

331

อัตราการใชเคร่ืองคอมพิวเตอร 1:1 อัตราการใชเคร่ืองคอมพิวเตอร 1:1

Page 52: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

52

ภาคเรียนที่ 2/2551

หองเรียน รายวิชา ช้ัน จํานวนผูเรียน

จํานวนเคร่ืองคอมพิวเตอร

จํานวนเคร่ือง : จํานวนผูเรียน

ปวช.2/1 28 18 1:2 ปวช.2/2 29 18 1:2 ปวช.2/3 29 18 1:2 ปวช.2/4 25 18 1:1

คอมพิวเตอรเพื่องานอาชีพ

ปวช.2/5 14 18 1:1 ปวช.3/1 32 18 1:2 ปวช.3/2 34 18 1:2 การประยุกตใชคอมพิวเตอร

เพื่องานอาชีพ ปวช.3/3 36 18 1:2

331

อัตราการใชเคร่ืองคอมพิวเตอร 1:2 ปวส.1/6 16 18 1:1 ปวส.2/1 34 18 1:2 ปวส.2/2 28 18 1:2 ปวส.2/3 31 18 1:2

การประยุกตใชคอมพิวเตอรในงานอาชีพ

ปวส.2/4 17 18 1:1 เทคโนโลยีและสารสนเทศ ปวส. 1/5 23 18 1:1

332

อัตราการใชเคร่ืองคอมพิวเตอร 1:1 อัตราการใชเคร่ืองคอมพิวเตอร 1:2

จุดเดนของตัวบงช้ี

มีการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ ผูเรียนไดปฏิบัติจริง จุดท่ีตองพัฒนา

ควรจัดหาเคร่ืองคอมพิวเตอรที่มีสมรรถนะและมีขีดความสามารถที่ทันตอการเปล่ียนแปลง ไมลาสมัยสามารถรองรับกับซอฟแวรใหม ๆ ได เพื่อเปนตัวอยางใหกับผูเรียนไดเรียนรูอยางกาวทันตอเหตุการณ

Page 53: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

53

ขอกําหนดท่ี 2.4

จัดสถานท่ีเรียน สถานท่ีฝกปฏิบัติงาน สถานท่ีศึกษาคนควาใหเหมาะสมกับสาขาวิชา ท้ังในสถานศึกษาสถานประกอบการ และแหลงการเรียนรูอ่ืน ๆ

ตัวบงช้ีท่ี 14 ระดับความเหมาะสมในการจัดอาคารเรียน อาคารประกอบหองเรียน หองปฏิบัติการ ศูนยวิทยบริการโรงฝกงาน พื้นที่ฝกปฏิบัติงานเหมาะสมกับวิชาที่เรียน มีบรรยากาศที่เอ้ือตอการเรียนรูและเกิดประโยชนสูงสุด

1. ความตระหนัก

ในการจัดอาคารเรียน อาคารประกอบหองเรียน หองปฏิบัติการ ศูนยวิทยบริการ โรงฝกงาน พื้นที่ฝกปฏิบัติงานเหมาะสมกับวิชาเรียน มีบรรยากาศที่เอ้ือตอการเรียนรูและเกิดประโยชนสูงสุด จะชวยสงผลใหกระบวนการเรียนรูของผูเรียนมีประสิทธิภาพสูงสุดดวย ดังนั้นสถานศึกษาจึงจําเปนตองจัดแหลงเรียนรูตาง ๆ ใหอยูในสภาพที่เหมาะสมที่สุด ซึ่งในการจัดแหลงเรียนรูสามารถแบงออกเปนดานตาง ๆ ไดดังนี้ 1.1 ดานการจัดอาคารเรียน ไดจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ เกี่ยวกับการเรียนการสอนไดบริการประจําหองเรียน เชน เคร่ืองฉายภาพขามศีรษะ มีการจัดทําโครงการปรับปรุงหองเรียนโดยไดทาสีใหม ปูพื้นดวยกระเบื้องใหม เพื่อเพิ่มบรรยากาศใหสดใสนาเรียนรูอยูเสมอ 1.2 ดานหองปฏิบัติการ ไดจัดเคร่ืองมือ อุปกรณ สําหรับการทดลองในการเรียนรูไดอยางพอเพียง ไมวาจะเปนหองปฏิบัติการวิทยาศาสตร รวมไปถึงอาคารปฏิบัติการทางดานอุตสาหกรรม การควบคุมเรือประมง และดานการเพาะเล้ียงสัตวน้ําก็ไดจัดเตรียมครุภัณฑสําหรับการฝกนักเรียน นักศึกษา 1.3 ศูนยวิทยบริการ ไดจัดบริการหองเรียนรูดวยตนเอง (Self Access) หองสมุดมีหนังสือใหม ๆ ไวบริการนักเรียน นักศึกษาอยูเสมอ มีหองอินเทอรเน็ตที่สามารถสืบคนไดอยางตลอดเวลาและมีการใหบริการความรูแกชุมชน วัสด ุอุปกรณ ประจําศูนยวิทยบริการก็มีเพียงพอสําหรับไวบริการเพื่อการศึกษา รวมถึงมีบรรยากาศที่ดีเหมาะสมตอการศึกษาคนควา 2. ความพยายาม

การดําเนินงาน

วิทยาลัยฯ มีการวางแผนการใชอาคารสถานที่เพื่อใหเกิดความเหมาะสม และมีคุณภาพในการจัดการเรียนการสอนเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด เชน มีคําส่ังแตงตั้งบุคลากรรับผิดชอบประจําอาคาร และสถานที่ ซึ่งทําหนาที่ดูแลรักษาความสะอาด ตลอดจนอํานวยความสะดวกในเร่ืองตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน นอกจากนั้นแลวจากการประชุมวางแผนไดจัดทําโครงการซอมแซม

Page 54: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

54

อาคารและหองเรียน โครงการปรับปรุงภูมิทัศน การดําเนินโครงการไดมีการประเมินผลการใชอาคาร มีการปรับปรุงตามความเหมาะสม และไดประเมินผลความพึงพอใจของผูใชบริการศูนยวิทยบริการและอาคารเรียนอาคารปฏิบัติการ 3. ผลสําเร็จ

วิทยาลัยฯ ไดดําเนินโครงการที่ไดกําหนดไวในแผนการปฏิบัติการประจําปไปดําเนินการพบวาการใชหองเรียนในอาคารตาง ๆ ไดดําเนินการไปดวยความเรียบรอยและมีความสะดวกมากข้ึน ทําใหคณะครูและนักศึกษามีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนการสอน มีการวัดผลและประเมินผลผูเรียนตามสภาพจริง ซึ่งจากผลการดําเนินงานสามารถประเมินผลการดําเนินงานไดดังนี้

1. องคประกอบที่ 1 การจัดหองเรียนหองปฏิบัติการและโรงฝกงาน อยูใน ระดับด ี2. องคประกอบที่ 2 การจัดศูนยวิทยบริการ อยูใน ระดับด ี

3. องคประกอบที่ 3 การจัดครุภัณฑและอุปกรณอยูใน ระดับด ี

จุดเดนของตัวบงช้ี

วิทยาลัยฯ มีความพรอมในดานการจัดอาคารสถานที่ จุดท่ีตองพัฒนา

1. ครุภัณฑและวัสดุอุปกรณที่มีอยูบางสวนมีสภาพเกาและเส่ือมสภาพ 2. ควรมีการพัฒนาระบบการสืบคนขอมูลของศูนยวิทยาบริการใหทันสมัยยิ่งข้ึน

Page 55: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

55

ขอกําหนดท่ี 2.5

จัดระบบความปลอดภัยของสภาพแวดลอมและสิ่งอํานวยความสะดวกท่ีเอ้ือตอการเรียนรู

ตัวบงช้ีท่ี 15 ระดับคุณภาพการจัดระบบความปลอดภัยของสภาพแวดลอม ส่ิงอํานวยความสะดวกที่เอ้ือตอการเรียนรูในสถานศึกษา

1. ความตระหนัก

การจัดการศึกษาดานวิชาชีพใหเปนไปตามมาตรฐานและขอกําหนดนั้น จะตองดําเนินการจัดการเรียนรูอยางเปนระบบและมีคุณภาพ ซึ่งองคประกอบดานการจัดระบบความปลอดภัยของสภาพแวดลอมภายในสถานศึกษานับวามีความสําคัญมากเชนเดียวกับดานอ่ืน ๆ เพื่อใหการดําเนินงานที่เกี่ยวกับความปลอดภัยทั้งภายในและภายนอกอาคาร มิใหเกิดความสูญเสียที่ไมสามารถคาดการณความเสียหายลวงหนาได ไมวาจะเปนอัคคีภัย หรืออุบัติเหตุจากเคร่ืองจักร / อุปกรณ ที่เอ้ืออํานวยหรือเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูของสาขางานตาง ๆ จึงตองมีการจัดการทําแผนงาน / โครงการ / กิจกรรม เพื่อสนับสนุนการจัดระบบความปลอดภัยของสถานศึกษา ใหไดมีแนวทางและกระบวนการที่มีคุณภาพตอการจัดการเรียนรูอยางตอเนื่อง

นอกจากองคประกอบดานความปลอดภัยแลว องคประกอบดานส่ิงอํานวยความสะดวกที่เอ้ือตอการจัดการเรียนรูในสถานศึกษาก็นับวามีความสําคัญและจําเปนตอการจัดระบบคุณภาพสถานศึกษา ซึ่งจะตองมีเคร่ืองมืออุปกรณตาง ๆ ที่ใชสนับสนุนการจัดการเรียนรูที่ เนนทักษะประสบการณ รวมถึงสถานที่ในการจัดเก็บตาง ๆ ในแตละสาขางานหรืองานสนับสนุนอ่ืน ภายในสถานศึกษา ดังนั้นการจัดทําแผนโครงการ / กิจกรรม ที่จะผลักดันใหสถานศึกษาสัมฤทธิ์ผลตามเกณฑมาตรฐาน เพื่อใชดําเนินการในการจัดระบบความปลอดภัย และส่ิงอํานวยความสะดวกที่เอ้ือตอการเรียนรู นับเปนองคประกอบที่สําคัญและจําเปนตอการจัดการศึกษา 2. ความพยายาม

การดําเนินงาน

วิทยาลัยฯ ไดมีการวางแผนดําเนินการจัดระบบความปลอดภัยของสภาพแวดลอม และส่ิงอํานวยความสะดวกที่เอ้ือตอการเรียนรูอยางมีคุณภาพ โดยเพิ่มใหครูผูสอนและบุคลากรอ่ืนที่เกี่ยวของไดตระหนักถึงความสําคัญของความปลอดภัยในสถานศึกษา และเห็นถึงผลกระทบที่เกิดจากความสูญเสียจากเหตุการณหรือตัวอยางอ่ืนที่เกิดข้ึนอยูเสมอ ซึ่งจากการสรางความรูความเขาใจในเร่ืองดังกลาว สงผลใหมีการจัดระบบความปลอดภัยทั้งภายในและภายนอกหองเรียนของงานและแผนกวิชาตาง ๆ เชน ปายคําเตือน ปายแสดงการใชเคร่ืองมืออุปกรณ ตามข้ันตอนที่ถูกตองปลอดภัย ปาย

Page 56: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

56

แสดงผังพืน้ที่หองปฏิบัติการ ระบบแสงสวาง อุปกรณปองกันการฝกหรือปฏิบัติงานที่เกิดความเส่ียง และการบันทึกหรือแสดงขอมูลสถิติอุบัติเหตุ ใหเปนปจจุบันและสามารถติดตามประเมินผลไดตลอดเวลา 3. ผลสําเร็จ

จากการดําเนินงานดานการจัดระบบความปลอดภัยของสภาพแวดลอมและส่ิงอํานวยความสะดวกที่เอ้ือตอการเรียนรูในสถานศึกษาที่ผานมา ยังไมเคยปรากฏการเกิดอุบัติเหตุข้ันรายแรงใด ๆ ข้ึน คงมีแตเพียงการเกิดอุบัติเหตุเล็กนอยทั่วไป ซึ่งเกิดข้ึนนอยคร้ัง อันเปนผลมาจากการดําเนินกิจกรรมที่ตอเนื่องของบุคลากรทุกคน ที่ใหความสําคัญและตระหนักในเร่ืองของความปลอดภัย สงผลใหรอยละของแผนกวิชาและงานอ่ืนที่จัดระบบความปลอดภัยของสภาพแวดลอม เปน รอยละ100 มีผลสําเร็จใน ระดับดี ตามเกณฑการประเมินที่กําหนด จุดเดนของตัวบงช้ี

บุคลากรใหความรวมมือ และสถานศึกษาใหการสนับสนุนในการดําเนินกิจกรรมการจัดระบบความปลอดภัย จุดท่ีตองพัฒนา

เคร่ืองมืออุปกรณที่เอ้ือตอการเรียนรูบางสวนมีอายุการใชงานมานาน ควรไดรับการจัดสรรใหมมาทดแทนอยูเสมอ ขอกําหนดท่ี 2.6

พัฒนาบุคลากรทุกคนของสถานศึกษาในงานท่ีเกี่ยวของอยางเปนระบบและตอเน่ือง ตัวบงช้ีท่ี 16 รอยละของบุคลากรภายในสถานศึกษาที่ไดรับการพัฒนาตามหนาที่ที่

รับผิดชอบ 1. ความตระหนัก วิทยาลัยประมงติณสูลานนท เปนสถานศึกษาที่จัดการศึกษาเฉพาะทางดานวิชาชีพประมง บุคลากรทางการศึกษาที่คุณวุฒิวิชาชีพ มีความรูความสามารถดานวิชาการและวิชาชีพ สําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก วิทยาลัยฯ มุงสนับสนุนพัฒนาบุคลากรของวิทยาลัยฯ เพื่อใหเปนบุคลากรที่ทรงคุณคา ทันสมัย ทันโลกทันเหตุการณ และนําความรู ความสามารถไปพัฒนาผูเรียน ประชาชน สังคม และชุมชนตอไป

Page 57: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

57

2. ความพยายาม การดําเนินงาน วิทยาลัยฯ สนับสนุนใหบุคลากรไดรับการพัฒนาตน ดานวิชาชีพ ความรูความสามารถ และดานอ่ืน ๆ โดยสงบุคลากรเขารับการอบรม / ประชุมสัมมนาทางวิชาการ / ศึกษาดูงาน / ทัศนศึกษา ในหนวยงานภาครัฐและเอกชนทั้งภายในและตางประเทศ รวมทั้งจัดการประชุม อบรม สัมมนาภายในวิทยาลัยฯ เพื่อพัฒนาความรูความสามารถของบุคลากรใหทันโลกทันเหตุการณอยูเสมอ นอกจากนี้ยังสนับสนุนใหศึกษาตอในระดับปริญญาโทและปริญญาเอกทั้งภาคปกติและภาคสมทบ เพือ่ใหบุคลากรของวิทยาลัยฯ เปนบุคคลที่ รูลึก รูกวาง สรางคุณคาในการจัดการเรียนการสอนใหแกนักเรียน นักศึกษา ประชาชน สังคม ชุมชน และประเทศชาติตอไป 3. ผลสําเร็จ

วิทยาลัยฯ สงเสริมและสนับสนุนครูและบุคลากรทางการศึกษาของสถานศึกษาใหไดรับการพัฒนาในวิชาชีพ หรือหนาที่ที่รับผิดชอบในรูปแบบตาง ๆ ไมนอยกวา 20 ชั่วโมงตอคนตอปข้ึนไป จํานวน 64 คน คิดเปนรอยละ 96.96 ผลการประเมินอยูใน ระดับดี

จุดเดนของตัวบงช้ี ครูและบุคลากรทางการศึกษาของสถานศึกษา ไดรับการพัฒนาในวิชาชีพและหนาที่ที่รับผิดชอบ เชน ไดรับการฝกอบรม / ประชุมสัมมนาทางวิชาการ / ศึกษาดูงาน / ทัศนศึกษา / ศึกษาตอ

จุดท่ีตองพัฒนา ควรมีการสนับสนุนและสงเสริมการพัฒนาบุคลากรอยางตอเนื่อง โดยแผนงานโครงการและกิจกรรมมีงบประมาณสนับสนุนอยางเพียงพอ

Page 58: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

58

ขอกําหนดท่ี 2.7

ระดมทรัพยากรจากท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา รวมกันจัดการศึกษาท้ังในระบบและทวิภาคีอยางมีประสิทธิภาพ

ตัวบงช้ีท่ี 17 จํานวนคร้ังหรือปริมาณในการระดมทรัพยากรจากแหลงตาง ๆ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา เพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ

1. ความตระหนัก วิทยาลัยประมงติณสูลานนท เปนสถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนเฉพาะทางดานวิชาชีพประมง จนเปนที่ยอมรับของประชาชน สังคม ชุมชน หนวยงานภาครัฐและเอกชน วิทยาลัยฯ มุงจัดการเรียนการสอนใหนักเรียน นักศึกษา มีความรูความสามารถ เชี่ยวชาญเทคโนโลยี ฝกปฏิบัติงานดานฟารมสัตวน้ํา และโรงงานแปรรูปสัตวน้ํา ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา โดยระดมทรัพยากรบุคคล เงิน เคร่ืองจักร สถานที่ และอ่ืน ๆ จากภายในและภายนอกสถานศึกษา เพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนอยางมีประสิทธิภาพ กอประโยชนสูงสุดตอผูเรียน 2. ความพยายาม การดําเนินงาน 1. วิทยาลัยฯ ไดระดมทรัพยากรบุคคล ใหความรูแกประชาชน สังคม และชุมชน อยางตอเนื่องและสมํ่าเสมอ 2. วิทยาลัยฯ ไดประสานสถานศึกษาในสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสงขลา สถานประกอบการ หนวยงานภาครัฐและเอกชนในจังหวัดสงขลาและใกลเคียง ระดมทรัพยากรบุคคล เงิน เคร่ืองจักร สถานที่ และอ่ืน ๆ อยางตอเนื่อง 3. ผลสําเร็จ

วิทยาลัยฯ ไดระดมทรัพยากรจากแหลงตาง ๆ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาเพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ จํานวน 133 คร้ัง ผลการประเมินอยูใน ระดับดี

จุดเดนของตัวบงช้ี 1. วิทยาลัยฯ ไดประสานความรวมมือกับหนวยงานตาง ๆ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาในการระดมทรัพยากรดานตาง ๆ เพื่อใหการจัดการศึกษาเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ 2. วิทยาลัยฯ มีความพรอมดานการจัดการศึกษาเฉพาะทางดานวิชาชีพประมง

Page 59: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

59

3. วิทยาลัยฯ มีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณวุฒิวิชาชีพเฉพาะทาง

จุดท่ีตองพัฒนา ควรจัดกิจกรรมสนับสนุนใหเกิดการทํางานรวมกันของกลุมอาชีวศึกษา และเกิดประโยชนสอดคลองตามสถานการณ ขอกําหนดท่ี 2.7

ระดมทรัพยากรจากท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา รวมกันจัดการศึกษาท้ังในระบบและทวิภาคีอยางมีประสิทธิภาพ

ตัวบงช้ีท่ี 18 จํานวนสถานประกอบการที่มีการจัดการศึกษารวมกับสถานศึกษา จัดการศึกษาระบบทวิภาคีและระบบปกติ

1. ความตระหนัก สืบเนื่ องจากพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แก ไขปรับปรุง 2545 มาตรา 20 บัญญัติไววา การฝกอบรมวิชาชีพใหจัดในสถานศึกษาของรัฐ สถานศึกษาเอกชน สถานประกอบการ หรือโดยความรวมมือกันระหวางสถานศึกษากับสถานประกอบการ เพื่อใหการจัดการอาชีวศึกษาสอดคลอง ตอบสนองตรงกับความตองการของสถานประกอบการอยางแทจริง โดยมียุทธศาสตรพัฒนาผูเ รียนจากการปฏิบัติจริง (Solid Practical) เพื่อใหเกิดความรูจริงจากการปฏิบัติงาน (Solid Knowledge) มุงเนนใหผูเรียนไดเรียนงานวิชาชีพจากสภาพการปฏิบัติงานในสถานประกอบการ (On-the-Job Training) บูรณาการการเรียนการสอนในชั้นเรียนกับการฝกอาชีพในสถานประกอบการเขาดวยกัน นอกจากความรู ทักษะประสบการณงานอาชีพจากการไดปฏิบัติงานจริงแลว ยังเปนการเตรียมความพรอมของผูเรียนใหมีความคุนเคยกับการใชชีวิตในสถานประกอบการจริง ฝกใหมีความอดทน ตรงตอเวลา มีความรับผิดชอบ เรียนรูการปรับตัวเพื่อใหสามารถปฏิบัติงานรวมกับบุคคลอ่ืนไดอยางมีความสุข กอนที่ผูเรียนจะไดเขาสูสังคมแหงการทํางานตอไป 2. ความพยายาม

การดําเนินงาน วิทยาลัยฯ ไดแตงตั้งบุคลากรรับผิดชอบหลัก ซึ่งประกอบดวยหัวหนางานความรวมมือและบริการชุมชน หัวหนาแผนกวิชาเพาะเล้ียงสัตวน้ํา หัวหนาแผนกวิชาแปรรูปสัตวน้ํา หัวหนาแผนกวิชาการควบคุมเรือประมง และหัวหนางานพัฒนาการเรียนการสอนและประเมินผล รวมกําหนดรายละเอียดเนื้อหาสาระ ระยะเวลา และคัดเลือกสถานประกอบการที่มีความเหมาะสม รวมจัดการ

Page 60: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

60

ศึกษาเพื่อประโยชนอันสูงสุดรวมกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งเพื่อพัฒนาคุณภาพกิจกรรมการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพ สงผลตอการพัฒนานักศึกษาใหมีผลสัมฤทธิ์ตามที่ตองการ ภายหลังจากที่วิทยาลัยฯ ไดประสานขอความรวมมือกับสถานประกอบการ พรอมแจงรายละเอียดวัตถุประสงคของการสงนักศึกษาเขาฝกงาน และไดรับความอนุเคราะหจากสถานประกอบการแลว ส่ิงหนึ่งที่วิทยาลัยฯ ใหความสําคัญเปนอยางยิ่ง คือการเตรียมความพรอมของนักศึกษากอนเขารับการฝกงานในสถานประกอบการจริง จึงไดจัดใหมีการปฐมนิเทศนักศึกษากอนการฝกงานทุกคร้ัง นักศึกษาจะไดรับการอบรม แนะนําใหแนวทางในการประพฤติปฏิบัติตนระหวางฝกงานอยูในสถานประกอบการจากผูอํานวยการวิทยาลัยฯ รองผูอํานวยการ คณะครูอาจารย และจากนักศกึษารุนพี่ที่ผานการฝกงานมากอนหนานี้ 3. ผลสําเร็จ วิทยาลัยฯ ไดดําเนินโครงการการฝกงานของนักศึกษาทุกแผนกวิชา โครงการโรงเรียนในโรงงาน และโครงการฝกอบรมการเดินเรือพาณิชยภาคทะเล สําเร็จดวยดี โดยไดรับความรวมมือจากสถานประกอบการ ใหความอนุเคราะหและรวมจัดการอาชีวศึกษากับนักศึกษาของวิทยาลัยฯ เขาฝกงานและฝกอบรมทั้งส้ิน 47 แหง ผลการประเมินอยูใน ระดับดี จุดเดนของตัวบงช้ี

นักศึกษาไดเขาฝกงานในสถานประกอบการตรงตามสาขาวิชาที่เรียน สถานศึกษาที่นักศึกษาเขาฝก เปนสถานประกอบการที่มีมาตรฐาน เปนที่ยอมรับโดยทั่วไป จุดท่ีตองพัฒนา

1. ตองเขมงวดนักศึกษาในเร่ืองของการรักษากฎ ระเบียบ โดยกําชับใหนักศึกษาปฏิบัติอยางเครงครัด

2. จัดหาสถานประกอบการที่หลากหลายที่มีมาตรฐาน เพื่อใหนักศึกษาสามารถเลือกฝกงานไดตามความสนใจ

Page 61: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

61

ขอกําหนดท่ี 2.7

ระดมทรัพยากร จากท้ังภายในและภายนอก สถานศึกษารวมกันจัดการศึกษาท้ังในระบบและทวิภาคีอยางมีประสิทธิภาพ

ตัวบงช้ีท่ี 19 จํานวนคน-ชั่วโมง ของผูเชี่ยวชาญ ผูทรงคุณวุฒิ หรือภูมิปญญาทองถิ่นที่มีสวนรวมในการพัฒนาผูเรียน

1. ความตระหนัก วิทยาลัยประมงติณสูลานนท สนับสนุนใหผูสอนจัดการศึกษาที่หลากหลาย รวมทั้งสรรหาผูรูจากหนวยงานภาครัฐและเอกชน เพื่อเพิ่มพูนองคความรูแกผูเรียน ยึดผูเรียนเปนสําคัญ มุงม่ันใหผูเรียนเปนคนดี คนเกง และมีความสุขในการเรียน รวมทั้งรูจักแสวงหาความรูจากแหลงความรูทั้งภายในและภายนอกหองเรียนอยางตอเนื่องสมํ่าเสมอ 2. ความพยายาม การดําเนินงาน ผูสอนในทุกแผนกวิชาไดจัดการเรียนการสอนโดยเชิญผูเชี่ยวชาญ ผูทรงคุณวุฒิจากหนวยงานภาครัฐและเอกชน รวมทั้งนักปราชญประจําหมูบานที่มีความรูความชํานาญเฉพาะทางมาเปนวิทยากรใหความรูแกนักเรียน นักศึกษาตลอดปการศึกษา 3. ผลสําเร็จ

วิทยาลัยฯ ไดสนับสนุนการจัดการศึกษาโดยจัดหาผูเชี่ยวชาญ ผูทรงคุณวุฒิ และภูมิปญญาทองถิ่น มารวมใหความรูและพัฒนาผูเรียนแกนักเรียน นักศึกษาครบทุกแผนกวิชา รวมจํานวน 14 คน รวม 46 ชั่วโมง ผลการประเมินอยูใน ระดับดี

จุดเดนของตัวบงช้ี วิทยาลัยฯ จัดหาผูเชี่ยวชาญ ผูทรงคุณวุฒิ ผูนําปญญาทองถิ่น ที่มีความรูความเชี่ยวชาญเฉพาะดานที่เกี่ยวของกับสาขาวิชา / สาขางาน มาใหความรูและรวมในการพัฒนาผูเรียน ในสาขาวิชาที่เปดการเรียนการสอนอยางตอเนื่องสมํ่าเสมอ จุดท่ีตองพัฒนา ควรประสานกับชมุชนในการเขามาเปนวิทยากรในสาขาอ่ืน ๆ เพิ่มมากข้ึน

Page 62: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

62

ขอกําหนดท่ี 2.7

ระดมทรัพยากรจากท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา รวมกันจัดการศึกษาท้ังในระบบและทวิภาคีอยางมีประสิทธิภาพ

ตัวบงช้ีท่ี 20 อัตราสวนของผูสอนประจําที่ มีคุณวุฒิดานวิชาชีพตอผูเ รียนในแตละสาขาวิชา

1. ความตระหนัก วิทยาลัยประมงติณสูลานนท เปนวิทยาลัยฯ ทางดานการประมงแหงแรกของประเทศไทย จัดการเรียนการสอนดานวิชาการและวิชาชีพประมงในสาขาวิชาเพาะเล้ียงสัตวน้ํา แปรรูปสัตวน้ํา และการควบคุมเรือประมง วิทยาลัยฯ มุงพัฒนาผูเรียนใหมีความรูความสามารถทางดานวิชาชีพประมง เนนการฝกปฏิบัติจริง โดยบุคลากรทางการศึกษาของวิทยาลัยฯ เปนขาราชการ พนักงานราชการที่มีคุณวุฒิดานวิชาชีพเฉพาะทาง สําเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาทั้งภายในประเทศและตางประเทศ และครูจางสอนที่ทําสัญญาจางตอเนื่อง ไมนอยกวา 1 ภาคเรียน เปนบุคคลที่มีคุณวุฒิทางวิชาชีพ มีความรับผิดชอบตอการจัดการเรียนการสอนนักเรียน นักศึกษาในแตละสาขาวิชาเปนอยางด ี2. ความพยายาม การดําเนินงาน วิทยาลัยฯ มีบุคลากรทางการศึกษาดานวิชาชีพ ทั้งหมด 66 คน จัดการเรียนการสอน 4 สาขาวิชา มีนักเรียน นักศึกษาทั้งหมด 1,029 คน โดยมีอัตราสวนครูผูสอนตอผูเรียนนอยกวา 1 : 35 ใน 3 สาขาวิชา 3. ผลสําเร็จ วิทยาลัยฯ จัดการเรียนการสอนโดยครูผูสอนประจําที่มีคุณวุฒิทางวิชาชีพเฉพาะตอผูเรียน ตามเกณฑกําหนด ผูสอน 1 คนตอผูเรียนไมเกิน 35 คน ใน 3 สาขาวิชา คิดเปนรอยละ 100 ดังรายละเอียดในตารางที่ 3.11 ผลการประเมินอยูใน ระดับดี

Page 63: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

63

ตารางที่ 3.11 แสดงแบบสรุปขอมูลครูผูสอนประจําที่มีคุณวุฒิตอผูเรียน

ลําดับ สาขาวิชา/แผนกวิชา จํานวนนักเรียน/

นักศึกษา (คน)

จํานวนครูที่มีคุณวุฒิวิชาชีพ

(คน)

อัตราสวนผูสอน ตอผูเรียน

1 เพาะเล้ียงสัตวน้ํา 710 21 1:35 2 อุตสาหกรรมประมง/แปรรูปสัตวน้ํา 284 9 1:32 3 การควบคุมเรือประมง 35 5 1:07 4 ครุศาสตรเกษตร 0 13 - 5 สามัญสัมพันธ/อ่ืนๆ 0 12 -

รวม 1,029 60 1:17 ที่มา : งานบุคลากร

จุดเดนของตัวบงช้ี

1. ครูผูสอนมีคุณวุฒิวิชาชีพเฉพาะทางประมง สําเร็จการศึกษาจากภายในประเทศและตางประเทศ ในระดับปริญญาตรีและปริญญาโท 2. วิทยาลัยฯ จัดการเรียนการสอนโดยมุงเนนการฝกปฏิบัติจริง 3. วิทยาลัยฯ มีฟารมเพาะเล้ียงสัตวน้ํา และโรงงานแปรรูปสัตวน้ําภายในวิทยาลัยฯ เพื่อฝกประสบการณ เรียนรูควบคูการปฏิบัติจริง 4. วิทยาลัยฯ มอบหมายงานใหครูผูสอนและบุคลากร ปฏิบัติงานตรงตามวุฒิการศึกษาและความรูความสามารถ

Page 64: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

64

ขอกําหนดท่ี 2.7

ระดมทรัพยากรจากท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษารวมกันจัดการศึกษาท้ังในระบบและทวิภาคีอยางมีประสิทธิภาพ

ตัวบงช้ีท่ี 21 อัตราสวนของผูสอนประจําตอผูเรียน 1. ความตระหนัก วิทยาลัยประมงติณสูลานนท จัดการเรียนการสอนวิชาชีพเฉพาะทางดานการประมง เกิดทักษะประสบการณดวยการฝกปฏิบัติในฟารมเพาะเล้ียงสัตวน้ําและโรงงานแปรรูปสัตวน้ําภายในวิทยาลัยฯ โดยมีครูผูสอนทั้งขาราชการครู พนักงานราชการตําแหนงครู ครูจางสอนที่ทําสัญญาจางสอนตอเนื่องไมนอยกวา 1 ภาคเรียน จัดการเรียนการสอนที่มุงเนนผูเรียนเปนสําคัญ มีกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย เพื่อใหผูเรียนมีความเชี่ยวชาญดานวิชาชีพประมง ซึ่งเปนที่ยอมรับของประชาชน สังคม ชุมชน และตลาดแรงงานตลอดมา

2. ความพยายาม การดําเนินงาน บุคลากรทางการศึกษาของวิทยาลัยฯ ประกอบดวย ขาราชการครู (ปฏิบัติหนาที่การสอน) พนักงานราชการตําแหนงครู และครูจางสอนที่ทําสัญญาจางสอนตอเนื่องไมนอยกวา 1 ภาคเรียน จํานวน รวม 60 คน จัดการเรียนการสอนนักเรียน นักศึกษา จํานวน 1,029 คน ในระดับ ปวช. จํานวน 2 สาขาวิชา คือ เพาะเล้ียงสัตวน้ํา และแปรรูปสัตวน้ํา ระดับ ปวส. จํานวน 3 สาขาวิชา คือ เพาะเล้ียงสัตวน้ํา แปรรูปสัตวน้ํา และการควบคุมเรือประมง 3. ผลสําเร็จ

วิทยาลัยฯ ไดจัดการเรียนการสอน ในระดับ ปวช. ปวส. โดยมีคณะครูผูสอนประจําทั้งส้ิน 60 คน มีนักเรียน นักศึกษา จํานวน 1,029 คน คิดเปนอัตราสวนของผูสอนประจําตอผูเรียนเทากับ 1 : 17 ดังรายละเอียดตามตารางที่ 3.12 ผลการประเมินอยูใน ระดับดี

Page 65: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

65

ตารางที่ 3.12 แสดงอัตราสวนของผูสอนประจําตอจํานวนผูเรียน

สาขาวิชา / แผนกวิชา จํานวนนักเรียน/

นักศึกษา (คน)

จํานวนครูผูสอน (คน)

อัตราสวนผูสอน ตอผูเรียน

เพาะเล้ียงสัตวน้ํา 710 21 1:35 อุตสาหกรรมประมง/แปรรูปสัตวน้ํา 284 9 1:32 การควบคุมเรือประมง 35 5 1:07 ครุศาสตรเกษตร 0 13 - สามัญสัมพันธ/อ่ืนๆ 0 12 -

รวม 1,029 60 1:17 ท ี่มา : งานบุคลากร

จุดเดนของตัวบงช้ี 1. ผูสอนสามารถดูแล ฝกปฏิบัตินักเรียน นักศึกษาอยางทั่วถึง 2. ผูสอนมีคุณวุฒิวิชาชีพเพียงพอตอผูเรียน 3. วิทยาลัยฯ มีสัดสวนผูสอนตอผูเรียนตามขอกําหนด (1:25) และวิทยาลัยฯ มอบหมายงานใหครูผูสอนและบุคลากรปฏิบัติงานตรงตามวุฒิการศึกษา และความรูความสามารถ จุดท่ีตองพัฒนา -

Page 66: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

66

มาตรฐานท่ี 3 กิจกรรมพัฒนาผูเรียน

ตัวบงช้ีท่ี 22 จํานวนคร้ังของการจัดใหผูเรียนพบอาจารยที่ปรึกษา 1. ความตระหนัก

จากสภาพสังคมในปจจุบันที่ครอบครัวสวนใหญมีลักษณะเปนครอบครัวเดี่ยว และมีสภาพเศรษฐกิจที่บีบรัดตัว สงผลใหผูปกครองจําเปนตองประกอบอาชีพนอกบาน เพื่อใหมีรายไดเพียงพอตอรายจายภายในครอบครัว จึงทําใหมีเวลาในการดูแลนักศึกษาในความปกครอง และนักศึกษาบางรายจําเปนตองยายที่อยูจากบานมาพักในหอพัก จากสาเหตุดังกลาว วิทยาลัยฯ จึงไดมอบหมายใหครูที่ปรึกษาไดดูแลใหคําปรึกษาแกนักศึกษาอยางใกลชิดและตอเนื่อง แตดวยเวลาที่จํากัดหลังจากการเขารวมกิจกรรมหนาเสาธง ทําใหครูที่ปรึกษาไมสามารถดแูลนักศึกษาไดอยางทั่วถึงทุกราย วิทยาลัยฯ ไดตระหนักถึงเหตุผลดังกลาวจึงไดจัดใหมีชั่วโมงโฮมรูมข้ึนเปนเวลา 1 ชั่วโมงในแตละสัปดาห เพิ่มเติมจากเวลาที่ครูที่ปรึกษาไดใหคําปรึกษานักศึกษาเปนรายกรณี เพื่อใหครูที่ปรึกษาไดดูแลและใหคําปรึกษานักศึกษาในที่ปรึกษาอยางใกลชิดและทั่วถึง และเกิดผลในการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม 2. ความพยายาม

การดําเนินการ

ระบบดูแลชวยเหลือนักศึกษาเปนระบบหนึ่งในระบบพัฒนาคุณภาพมาใชในการบริหารจัดการ ที่วิทยาลัยฯ ไดนํามาดําเนินการ โดยไดแตงตั้งคณะทํางานข้ึน ซึ่งคณะทํางานไดจัดประชุมเพื่อระดมความคิดและหาแนวทางในการดําเนินงานตามระบบ โดยศึกษาการดําเนินงานจากแหลงขอมูลตาง ๆ และนํามาปรับใหเหมาะสมกับการดําเนินงานของวิทยาลัยฯ จากนั้นที่ประชุมไดลงมติจัดทํากรอบหนาที่ของครูที่ปรึกษา และไดออกแบบการบันทึกขอมูลตาง ๆ ใหเปนรูปแบบเดียวกัน ครูที่ปรึกษารับทราบและปฏิบัติหนาที่ดูแลนักศึกษา ทั้งในเร่ืองการเรียนและความประพฤติอยางใกลชิด 3. ผลสําเร็จ

ครูที่ปรึกษารายงานผลการดําเนินงานในชั่วโมงโฮมรูม ในเร่ืองความประพฤติ การเรียน กิจกรรม สังคม เศรษฐกิจ และอ่ืน ๆ

ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2551 จํานวนชั่วโมงโฮมรูมรวมของทุกชั้น เทากับ 17 คร้ัง ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2551 จํานวนชั่วโมงโฮมรูม รวมของทุกชั้น เทากับ 17 คร้ัง สรุป ในปการศึกษา 2551 นักศึกษามีจํานวนชั่วโมงโฮมรูม รวมของทุกชั้นปเฉล่ียเปน 34

คร้ัง การประเมินจัดอยูใน ระดับดี

Page 67: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

67

จุดเดนของตัวบงช้ี

1. ครูที่ปรึกษาใหความรวมมือเปนอยางดีในการดําเนินกิจกรรมโฮมรูม 2. นักศึกษาไดใกลชิดครูที่ปรึกษา และครูที่ปรึกษาใหคําปรึกษาไดเปนอยางดีและทั่วถึง

จุดท่ีตองพัฒนา

1. ควรมีการจัดทําแผนการจัดกิจกรรมโฮมรูมทุกชั้นป อยางตอเนื่อง

ขอกําหนดท่ี 3.1

จัดทําระบบการดูแลใหคําปรึกษาผูเรียนอยางตอเน่ืองและมีประสิทธิภาพ

ตัวบงช้ีท่ี 23 จํานวนคร้ังของการจัดบริการตรวจสารเสพติดใหกับผูเรียน

1. ความตระหนัก

ปจจุบันสารเสพติดมักระบาดในหมูวัยรุน โดยเฉพาะนักเรียนนักศึกษา ทําใหประสบปญหาการเรียนไมจบหลักสูตร ซึ่งจะมีผลกระทบตอครอบครัวและประเทศชาติ ทางงานโครงการพิเศษจึงไดจัดทําโครงการตรวจสอบสารเสพติดของนักเรียนนักศึกษาของวิทยาลัยฯ เพื่อจะไดเฝาระวังปองกัน และแกไขไมใหนักเรียนนักศึกษาติดสารเสพติด 2. ความพยายาม

การดําเนินงาน

การดําเนินงานตรวจสอบสารเสพติดของนักเรียนนักศึกษา ทางโครงการพิเศษซึ่งรับผิดชอบโครงการโดยตรง ไดบันทึกเสนอหลักการและวิธีดําเนินงาน ใหวิทยาลัยฯ เห็นชอบและอนุมัติการตรวจสอบสารเสพติด เพื่อหากลุมเส่ียงของนักเรียนนักศึกษา โดยวิธีการคัดกรองพฤติกรรมของนักเรียนนักศึกษา และจัดเปนกลุมเส่ียงและกลุมปกติ กรณีกลุมเส่ียงใหนําไปตรวจปสสาวะเพื่อหาสารเสพติด (ยาบา) ณ ศูนยวิทยาศาสตรการแพทย สงขลา โดยอาจารยที่ปรึกษาเปนผูดําเนินการ และสงผลการคัดกรองตามแบบฟอรมการตรวจสารเสพติดใหงานปกครองรวบรวมและสรุปผล

Page 68: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

68

3. ผลสําเร็จ

การตรวจสอบสารเสพติดของนักเรียนนักศึกษาใชวิธีคัดกรองโดยอาจารยที่ปรึกษานั้น ทําการคัดกรองทุกชั้นป ทุกคน ปละ 1 คร้ัง จากนักศึกษา 1,029 คน คิดเปนรอยละ 100 ครูที่ปรึกษาดําเนินการคัดกรองตามหลักเกณฑอยางละเอียด ผลปรากฏวาไมมีนักเรียนนักศึกษาเกี่ยวของกับสารเสพติดชนิดรุนแรง จุดเดนของตัวบงช้ี

ครูที่ปรึกษาใหความรวมมือในการคัดกรองนักศึกษาเปนอยางดี ทําใหไมมีผูเรียนเกี่ยวของกับสารเสพติดรายแรง จุดท่ีตองพัฒนา

1. ควรดําเนินการตรวจสอบสารเสพติดใหบอยคร้ังข้ึน โดยการสุมตรวจเปนระยะ หรือเม่ือพบวานักศึกษามีแนวโนมที่จะเกิดความเส่ียง

2. คาใชจายในการดําเนินงานควรมีการจัดงบประมาณสนับสนุน หรือแจงผูปกครองใหมีการสนับสนุนเทาที่จําเปน ขอกําหนดท่ี 3.1

จัดทําระบบการดูแลใหคําปรึกษาผูเรียนอยางตอเน่ืองและมีประสิทธิภาพ

ตัวบงช้ีท่ี 24 รอยละของผูเรียนที่ออกกลางคันเม่ือเทียบกับแรกเขา

1. ความตระหนัก

การออกกลางคันของนักศึกษาเปนส่ิงที่เกิดข้ึนในทุกสถานศึกษา เนื่องจากนักศึกษาบางคนมีปญหาที่แตกตางกัน จนบางคร้ังทําใหไมสามารถศึกษาไดตลอดจนจบหลักสูตรตามเกณฑที่กําหนดไว ดังนั้นวิทยาลัยฯ จึงตระหนักในความสําคัญในการเขามามีสวนในการแกไขปญหาตาง ๆ ของนักศึกษา ทั้งในเร่ืองผลการเรียนไมใหต่ํากวาเกณฑการประเมินในแตละปการศึกษา ตลอดจนชวยแกไขปญหาอ่ืน ๆ เพื่อใหนักศึกษาไดมีการศึกษาเลาเรียนไดตลอดจนจบหลักสูตร 2. ความพยายาม

จากขอตระหนักขางตน วิทยาลัยฯ ไดเล็งเห็นความสําคัญดังกลาว จึงไดมีการจัดกิจกรรมโครงการตาง ๆ ในการชวยแกไขปญหา เพื่อไมใหนักศึกษาออกกลางคัน โดยไดนําระบบชวยเหลือผูเรียน เพื่อจะไดเปนสวนหนึ่งในการแกปญหาอ่ืน ๆ ทั้งในดานการเรียนและปญหาสวนตัว

Page 69: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

69

3. ผลสําเร็จ

ในปการศึกษา 2551 มีนักศึกษาทุกระดับชั้นในจํานวนแรกเขาทั้งส้ิน 1,029 คน มีจํานวนนักศึกษาออกกลางคัน จํานวน 249 คน คิดเปนรอยละ 24.19 ดังรายละเอียดตามตารางที่ 3.13 ซึ่งผลการประเมินอยูใน ระดับดี

จุดเดนของตัวบงช้ี

วิทยาลัยฯไดนําระบบดูแลชวยเหลือผูเรียนเขามาชวยดูแลนักศึกษา จุดท่ีตองพัฒนา

1. ควรมีการประชาสัมพันธการจัดการเรียนรูในกลุมนักศึกษาโครงการสรางและพัฒนาเกษตรกรรุนใหม เพื่อสรางความเขาใจตั้งแตการรับสมัครเพื่อชวยในการตัดสินใจเขาเรียนของนักศึกษา และลดการออกกลางคันของนักศึกษา 2. ควรจัดชวงเวลาการมอบตัวเขาเรียนของนักศึกษาใหมใหเหมาะสม เนื่องจากนักศึกษามีทางเลือกในการเขาศึกษาไดหลายสถาบัน มีการสมัครและมอบตัวไวหลายแหง แตไมมาเขาเรียน ทําใหจํานวนผูเขาเรียนมีตัวเลขไมสอดคลองกับความเปนจริง

Page 70: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

70

ตารางที่ 3.13 แสดงแบบบันทึกการออกกลางคันของนักศึกษา ปการศึกษา 2551

ที่มา:งานทะเบียน

ชั้นป / สาขาวิชา

จํานวน นศ.

ลงทะเบียน

จํานวน นศ. ปจจุบัน

จํานวน นศ. ออกกลางคัน

รวม รอยละ

เพาะเล้ียงสัตวน้ํา 137 76 61 เพาะเล้ียงสัตวน้ํา(เกษตรกรรุนใหม)

162 87 75

แปรรูปสัตวน้ํา 37 25 12

ปวช.1

แปรรูปสัตวน้ํา(ทวิภาคี) 19 16 3

151

42.53

เพาะเล้ียงสัตวน้ํา 92 81 11 แปรรูปสัตวน้ํา 42 31 11

ปวช.2

แปรรูปสัตวน้ํา(ทวิภาคี) 33 26 7

29

17.36

เพาะเล้ียงสัตวน้ํา 68 66 2 ปวช.3 แปรรูปสัตวน้ํา 45 40 5

7 6.19

เพาะเล้ียงสัตวน้ํา 126 100 26 แปรรูปสัตวน้ํา 28 22 6 แปรรูปสัตวน้ํา PFP 20 17 3 แปรรูปสัตวน้ํา สยาม 15 14 1

ปวส.1

การควบคุมเรือประมง 21 15 6

42

20.00

เพาะเล้ียงสัตวน้ํา 125 114 11 แปรรูปสัตวน้ํา 32 30 2 แปรรูปสัตวน้ํา PFP 13 7 6 การควบคุมเรือประมง 14 13 1

20

10.86

ปวส.2

รวม 1,029 780 249 249 24.19

Page 71: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

71

ขอกําหนดท่ี 3.2

จัดกิจกรรมสงเสริมดานวิชาการ คุณธรรม จริยธรรม และคานิยมท่ีดีงามในวิชาชีพ รวมท้ังดานบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ

ตัวบงช้ีท่ี 25 จํานวนคร้ังและประเภทของกิจกรรมที่สงเสริมดานวิชาการ คุณธรรม จริยธรรม คานิยมที่ดีงามในวิชาชีพ รวมทั้งดานบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ

1. ความตระหนัก

การเรียนการสอนและการจัดการศึกษาในยุคปจจุบัน จําเปนตองมีการเรียนรูทางดานวิชาการ และการเสริมสรางทักษะในการดําเนินชีวิต ซึ่งสถานศึกษาไดจัดกิจกรรมหลายดานใหแกผูเรียน เชน กิจกรรมสงเสริมดานวิชาการ สงเสริมคุณธรรมและคานิยมที่ดีงามในวิชาชีพ ตลอดจนการพัฒนาบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ โดยเปาหมายของการดําเนินกิจกรรมตองการพัฒนาใหผูเรียนพัฒนาความรู ทักษะประสบการณ และการสงเสริมใหเปนคนดี สามารถอยูและทํางานรวมกับบุคคลอ่ืน ๆ ไดอยางมีความสุข 2. ความพยายาม

การดําเนินงาน

วิทยาลัยฯ โดยงานกิจกรรมนักศึกษาไดมีการจัดประชุมวางแผน เสนอโครงการ / กิจกรรม และกําหนดใหมีการจัดกิจกรรมทุกวันพฤหัสบดี และจัดกิจกรรมในวันสําคัญตาง ๆ โดยกิจกรรมที่จัดจะสอดคลองครบทั้งดานวิชาการ สงเสริมคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่ดีงามในวิชาชีพ 3. ผลสําเร็จ

ไดมีการจัดกิจกรรม จําแนกเปน แผนกวิชาเพาะเลี้ยงสัตวนํ้า 1) กิจกรรมสงเสริมวิชาการ จํานวน 21 กิจกรรม 2) กิจกรรมสงเสริมคุณธรรม-จริยธรรม จํานวน 9 กิจกรรม 3) กิจกรรมสงเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพมนุษยสัมพันธ จํานวน 11 กิจกรรม รวมทั้งส้ิน 41 กิจกรรม แผนกวิชาแปรรูปสัตวนํ้า 1) กิจกรรมสงเสริมวิชาการ จํานวน 19 กิจกรรม 2) กิจกรรมสงเสริมคุณธรรม-จริยธรรม จํานวน 6 กิจกรรม 3) กิจกรรมสงเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพมนุษยสัมพันธ จํานวน 7 กิจกรรม รวมทั้งส้ิน 32 กิจกรรม

Page 72: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

72

แผนกวิชาควบคุมเรือประมง 1) กิจกรรมสงเสริมวิชาการ จํานวน 5 กิจกรรม 2) กิจกรรมสงเสริมคุณธรรม-จริยธรรม จํานวน 5 กิจกรรม 3) กิจกรรมสงเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพมนุษยสัมพันธ จํานวน 6 กิจกรรม รวมทั้งส้ิน 16 กิจกรรม สรุปทุกแผนกวิชาไดจัดกิจกรรมครบทั้ง 3 ดาน คิดเปนรอยละ 100 ผลการประเมินอยูใน ระดับดี

จุดเดนของตัวบงช้ี

1. ผลการจัดกิจกรรมทุกดานอยูในระดับดี 2. กิจกรรมที่จัดมีหลากหลายรูปแบบ

จุดท่ีตองพัฒนา ควรเพิ่มกิจกรรมดานการพัฒนาบุคลิกภาพใหมากข้ึน

Page 73: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

73

ขอกําหนดท่ี 3.3

จัดกิจกรรมสงเสริมการอนุรักษสิ่งแวดลอม วัฒนธรรม ประเพณี และทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

ตัวบงช้ีท่ี 26 จํานวนคร้ังและประเภทของกิจกรรมที่สงเสริมการอนุรักษส่ิงแวดลอมวัฒนธรรมประเพณี และทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

1. ความตระหนัก

ส่ิงแวดลอมเปนทรัพยากรรวมกันซึ่งทุกคนมีสิทธิ์ที่จะไดใช ไมมีผูใดผูหนึ่งเปนเจาของโดยเฉพาะ ประชาชนทั้งประเทศเปนเจาของรวมกัน ทุกคนมีสิทธิเทาเทียมกันตามกําลังความสามารถและเงินทุนของแตละคน เม่ือเปนเชนนี้หากมีการใชประโยชนจากส่ิงแวดลอมมากเกินไปจะสงผลใหส่ิงแวดลอมเส่ือมโทรมลงไดหากไมมีการแกไขและดูแลรักษาใหถูกตองและทันเหตุการณ วิทยาลัยประมงติณสูลานนทเปนสถานศึกษาที่มีหนาที่ใหการศึกษาแกนักศึกษาและชุมชน มีหนาที่ ในการปลูกจิตสํานึกและปลูกฝงในเ ร่ืองวัฒนธรรม ประเพณี และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 2. ความพยายาม

การดําเนินงาน

วิทยาลัยฯ ไดสงเสริมใหมีการจัดกิจกรรมสงเสริมการอนุรักษส่ิงแวดลอมวัฒนธรรม ประเพณ ี และทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมในหลายกิจกรรม เชน การจัดกิจกรรมทางดานสงเสริมการอนุรักษส่ิงแวดลอม โครงการปลูกตนไมประสานสัมพันธศิษยเกา - ศิษยปจจุบัน และครู - อาจารย เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถฯ โครงการสงเสริมทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม เชน กิจกรรมวันไหวครู กิจกรรมอบรมมารยาทไทย กิจกรรมถวายเทียนพรรษา และนอกจากนี้ยังมีกิจกรรมอ่ืน ๆ อีกหลายกิจกรรม 3. ผลสําเร็จ

ไดมีการจัดกิจกรรม จําแนกเปน แผนกวิชาเพาะเลี้ยงสัตวนํ้า 1) กิจกรรมสงเสริมการอนุรักษส่ิงแวดลอม วัฒนธรรม /ประเพณี จํานวน 10 กิจกรรม 2) กิจกรรมสงเสริมทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม จํานวน 7 กิจกรรม 3) กิจกรรมอ่ืนๆ จํานวน 33 กิจกรรม รวมทั้งส้ิน 50 กิจกรรม

Page 74: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

74

แผนกวิชาแปรรูปสัตวนํ้า 1) กิจกรรมสงเสริมการอนุรักษส่ิงแวดลอม วัฒนธรรม /ประเพณี จํานวน 6 กิจกรรม 2) กิจกรรมสงเสริมทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม จํานวน 6 กิจกรรม 3) กิจกรรมอ่ืนๆ จํานวน 25 กิจกรรม รวมทั้งส้ิน 37 กิจกรรม แผนกวิชาควบคุมเรือประมง 1) กิจกรรมสงเสริมวิชาการ จํานวน 5 กิจกรรม 2) กิจกรรมสงเสริมคุณธรรม-จริยธรรม จํานวน 6 กิจกรรม 3) กิจกรรมสงเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพมนุษยสัมพันธ จํานวน 10 กิจกรรม รวมทั้งส้ิน 21 กิจกรรม

ในการดําเนินกิจกรรมทั้ง 2 ดาน มีนักศึกษาในทุกแผนกวิชาเขารวมกิจกรรมครบทุกแผนกวิชาคิดเปนรอยละ 100 ผลการประเมินอยูใน ระดับดี จุดเดนของตัวบงช้ี

สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมสงเสริมการอนุรักษวัฒนธรรมประเพณี การทํานุบํารุงศิลปะอยางตอเนื่อง จุดท่ีตองพัฒนา

1. ควรหางบประมาณมาปรับปรุงพื้นที่แหลงเรียนรูปาชายเลนเพิ่มข้ึน เพื่อเปนแหลงเรียนรูของนักเรียนในจังหวัดสงขลา

2. ควรสงเสริมกิจกรรมทางดานศิลปวัฒนธรรมประเพณ ี เพิ่มมากข้ึน

Page 75: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

75

มาตรฐานท่ี 4 การบริการวิชาชีพสูสังคม

ขอกําหนด 4 สถานศึกษาควรมีการบริการวิชาชีพสูสังคม ดังน้ี

ขอกําหนดท่ี 4.1

บริการวิชาชีพท่ีเหมาะสมตามความตองการของชุมชนสังคม องคกร ท้ังภาครัฐและเอกชนเพื่อการพัฒนาประเทศอยางตอเน่ือง

ตัวบงช้ีท่ี 27 จํานวนและประสิทธิผลของกิจกรรม / โครงการ ที่ใหบริการวิชาชีพและสงเสริมความรูในการพัฒนาชุมชนและทองถิ่นและกิจกรรม / โครงการฝกทักษะวิชาชีพเพื่อการประกอบอาชีพขอประชาชน

ตัวบงช้ีท่ี 28 รอยละของงบประมาณในการจัดกิจกรรม / โครงการที่ใหบริการวิชาชีพและสงเสริมความรูในการพัฒนาชุมชนและทองถิ่นและกิจกรรม / โครงการฝกทักษะวิชาชีพเพื่อการประกอบอาชีพของประชาชนตองบประมาณทั้งหมด

1. ความตระหนัก วิทยาลัยประมงติณสูลานนท ตั้งอยูใกลกับทะเลสาบสงขลา ชุมชนโดยรอบสถานศึกษาสวนใหญประกอบอาชีพทําการประมง รายไดหลักของครอบครัวข้ึนอยูกับทรัพยากรธรรมชาติในทะเล ซึ่งมีความไมแนนอน วิทยาลัยฯ ซึ่งมีศักยภาพในการจัดการเรียนการสอนดานการประมง จึงไดนําความรูเกี่ยวกับวิทยาการ เทคโนโลยีทางการประมงในหลายรูปแบบ เชน การเพาะเล้ียงสัตวน้ําชนิดตาง ๆ เทคโนโลยีการแปรรูปสัตวน้ํา ไปเผยแพรใหกับชาวบานและชุมชน เพื่อใหมีรายไดแนนอนและเพิ่มข้ึน สําหรับคนที่ยากจนไมมีรายไดก็สามารถนําไปประกอบอาชีพได ทั้งนี้ วิทยาลัยฯ ไดดําเนินใหความรูควบคูกันไปทั้งแกผูประกอบอาชีพและเยาวชนทั่วไป รวมถึงนักศึกษาใหไดมีความรูดานการประมง โดยวิทยาลัยฯ ไดจัดกิจกรรมในรูปแบบที่หลากหลาย 2. ความพยายาม

การดําเนินงาน วิทยาลัยฯ ไดสํารวจทรัพยากรในทองถิ่น ศักยภาพ และความตองการของชุมชนในพื้นที่จังหวัดสงขลา พรอมกับการสํารวจทรัพยากรและศักยภาพของวิทยาลัยฯ เพื่อจัดกําหนดกิจกรรมโครงการใหเปนไปตามความตองการของชุมชน และตามศักยภาพของวิทยาลัยฯ โดยมีจุดมุงหมายเพื่อสงเสริมความรูแกชุมชน เพื่อรวมพัฒนาทองถิ่น โดยจะดําเนินการรวมไปกับการจัดการเรียนการสอนของวิทยาลัยฯ ซึ่งกิจกรรม / โครงการที่จัดทําข้ึนมีรูปแบบหลากหลาย เชน การทําส่ือเผยแพร

Page 76: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

76

ความรู การใหความรู / ดูงาน / ฝกปฏิบัติ การทําสารคดีเกษตรเผยแพรทางส่ือโทรทัศน กิจกรรมการใหบริการความรูแกบุคคลทั่วไป โครงการสถานแสดงพันธุสัตวน้ํา โครงการโรงเรียนในโรงงาน การใหการฝกอบรม แนะนํา รวมแกไขปญหากับกลุมชุมชนผูประกอบอาชีพทําการประมง เชน โครงการอาชีวะเพื่อแกไขปญหาความยากจน โครงการฝกอบรมวิชาชีพเกษตรกรรมหลักสูตรระยะส้ัน การใหความรูดานอาชีพ เพื่อเปนทางเลือกแกผูยากจนหรือผูไมมีรายไดนําไปประกอบอาชีพ เชน โครงการอบรมอาชีพ (108 อาชีพ) การปลูกฝงเยาวชนใหมีความรูและเห็นความสําคัญของการประมง เพื่อนําไปใชในชีวิตประจําวันใหมีความเปนอยูดีข้ึน เชน โครงการขับเคล่ือนหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืน โครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน เม่ือดําเนินงานตามกิจกรรม / โครงการแลวไดประเมินผลของการดําเนินการตามกิจกรรม / โครงการเพื่อรวบรวมขอเสนอแนะ มาปรับปรุงการดําเนินการกิจกรรม / โครงการในปตอไป 3. ผลสําเร็จ วิทยาลัยประมงติณสูลานนท ไดจัดกิจกรรมและดําเนินโครงการเพื่อใหบริการวิชาชีพและสงเสริมความรูในการพัฒนาชุมชนและทองถิ่น ประจําปการศึกษา 2551 ดังนี้

1. โครงการอาชีวะเพื่อแกไขปญหาความยากจน อาชีวศึกษาสงขลา ไดดําเนินการ 1.1 อบรม 108 อาชีพ จํานวน 9 คร้ัง มีผูเขารับการอบรม จํานวน 1,099 คน

ใชงบประมาณ 15,000 บาท 1.2 อบรมกลุมอาชีพ จํานวน 2 กลุมอาชีพ มีผูเขารับการอบรม 123 คน

ใชงบประมาณ 81,600 บาท 2. โครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืน ไดดําเนินการดังนี้

2.1 อบรมใหความรูโรงเรียนในสังกัด สพฐ. จํานวน 8 โรงเรียน มีผูเขารวมโครงการทั้งครูและนักเรียน 1,030 คน ใชงบประมาณ 117,527 บาท

2.2 โรงเรียนที่ไดรับบริการไดแก 1) โรงเรียนชุมชนวัดควนมีด 2) โรงเรียนวัดแหลมพอ 3) โรงเรียนบานคลองทาแตง 4) โรงเรียนวัดปาขาด 5) โรงเรียนอนุบาลทาสะอาน 6) โรงเรียนวัดสวางอารมณ 7) โรงเรียนวัดเปรมศรัทธา 8) โรงเรียนบานดินลาน

Page 77: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

77

3. โรงการฝกอบรมวิชาชีพเกษตรกรรมระยะส้ัน ไดดําเนินอบรมการดังนี้

รายช่ืออาชีพฝกอบรม สถานที่ฝกอบรม ระยะเวลา จํานวนผูเขา รับการฝกอบรม

งบประมาณ

1.การผลิตใบพัดตีน้ําแบบสไปรอล

สหกรณเพาะเล้ียงสัตวน้ําปากพยูน อ.ปากพะยูน จ. สงขลา

3-7 มีนาคม 51 45 37,701.44

2. การผลิตปุยชีวภาพ /การเล้ียงปลาดุก/การผลิตบอแกส็ชีวภาพ

โรงเรียนบานคลองนกกระทุง อ.บางกลํ่า จ.สงขลา

23-27 มิ.ย. 51 49 35,440.50

3. การเล้ียงปลาดุกในบอพลาสติก

หมู 6 ต.ปากรอ อ.สิงหนคร จ.สงขลา

21-25 ก.ย. 51 44 33,500.00

4. การเล้ียงปลาดุกและกบในบอพลาสติก

โรงเรียนบานยางงาม อ.บางกลํ่า จ. สงขลา

26 ส.ค. 51 35 36,330.45

รวมท้ังสิ้น 173 42,972.45

4. โครงการขับเคล่ือนหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไดนอมนําแนวคิดหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงไปใชในการจัดทําแผนงานโครงการ ตาม

ยุทธศาสตรที่ 1 การพัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยดําเนินการดังนี้

1) จัดเปนนโยบายใหครูจัดทําแผนการเรียนรูแบบบูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สูการเรียนการสอน

2) โครงการงานฟารมภายใตหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3) โครงการอบรมหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใหกับนักศึกษา 4) โครงการรณรงคสงเสริมประชาธิปไตยในสถานศึกษา 5) โครงการศึกษาวิจัย การบริหารการฝกอบรมวิชาชีพภายใตหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

กรณีศึกษา: โครงการอาชีวะเพื่อแกปญหาความยากจน

Page 78: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

78

5.โครงการชีววิถี เพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน สามารถสรุปผลการดําเนินงานไดดังนี้ 1. ดําเนินการจัดทําโครงการตามแนวพระราชดํารัสเศรษฐกิจพอเพียง โดยปรับปรุงพื้นที่ดินเปร้ียวใหสามารถใชปลูกพืชผักและไมผลได 2. ปรับปรุงบอเล้ียงสัตวน้ําของโครงการฯ โดยใชปูนขาว ปุยคอก และจุลินทรียน้ํา 3. จัดทําแปลงสาธิตเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ของโครงการ 4. จัดทําบอเล้ียงปลาขนาดเล็ก ใชสําหรับเล้ียงปลาดุกในพื้นที่ของโครงการ 5. ดําเนินการสรางคอกไก จํานวน 1 หลัง ในพื้นที่ของโครงการ 6. ดําเนินการผลิตจุลินทรียชีวภาพใหเพียงพอ เพื่อตอบสนองตอการนําไปใชในการดําเนินกิจกรรมของงานฟารมของวิทยาลัยฯ 7. ใหบริการฝกอบรมใหกับเกษตรกร นักศึกษา และนักเรียนจากสถานศึกษาอ่ืนตลอดจนประชาชนผูสนใจทั่วไป 8. ใหบริการจุลินทรีย และแนะนําวิธีการใชประโยชนจากจุลินทรียใหกับพนักงานของ วิทยาลัยฯในการนําไปใชทําความสะอาดอาคาร หองน้ําหองสวม และโรงงานอุตสาหกรรม ผลการดําเนินมี 5 โครงการ 23 กิจกรรม ผลการประเมินอยูใน ระดับดี งบประมาณในการดําเนินการจัดกิจกรรม / โครงการที่ใหบริการวิชาชีพและสงเสริมความรูในการพัฒนาชุมชนและทองถิ่น และกิจกรรม / โครงการฝกทักษะวิชาชีพเพื่อการประกอบอาชีพของประชาชน รวมทั้งส้ิน 259,099.00 บาท คิดเปนรอยละ 0.65 ของงบดําเนินการทั้งหมด 39,832,753.09 บาท ผลการประเมินอยูใน ระดับดี จุดเดนของตัวบงช้ี 1. วิทยาลัยฯ มีความพรอมในการแกชุมชนและไดใหบริการวิชาชีพแกชุมชน และทองถิ่นอยางตอเนื่อง ตรงตามความตองการของชุมชน 2. มีการสรางองคความรูใหมใหเกิดข้ึนในชุมชนอยูเสมอ 3. ใหบริการวิชาชีพแกบุคคลหลากหลายกลุม 4. การดําเนินการโครงการ / กิจกรรม มีการบูรณาการนักศึกษาของวิทยาลัยฯ เขารวมดวย จุดท่ีตองพัฒนา

เพิ่มความรวมมือกับสวนราชการทองถิ่นในหลากหลายพื้นที ่

Page 79: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

79

ขอกําหนด 5 สถานศึกษาควรมีการจัดการเกี่ยวกับนวัตกรรมและการวิจัย ดังน้ี

ขอกําหนดท่ี 5.1

สงเสริม สนับสนุนใหมีการสราง และพัฒนานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงงานท่ีนําไปใชในการพัฒนาการเรียนการสอน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ

ตัวบงช้ีท่ี 29 จํานวนนวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ งานวิจัย และโครงงานที่นําไปใชประโยชนในการพัฒนาการเรียนการสอน การประกอบชีพ และ/หรือการพัฒนาชุมชน ทองถิ่น และประเทศ ซึ่งนําไปสูการแขงขันในระดับชาติ

1. ความตระหนัก

การจัดทํานวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ งานวิจัย และโครงงาน จัดเปนกระบวนการเรียนรูที่สงเสริมใหผูเรียนไดใชความรูความสามารถในการคิดริเร่ิมสรางสรรค และวิเคราะห เพื่อใชเปนแนวทางในการแกปญหาในการปฏิบัติงานอาชีพ และเกิดเปนองคความรูใหม วิทยาลัยประมงติณสูลานนทไดเล็งเห็นความสําคัญดังกลาว จึงไดสงเสริมสนับสนุนใหครูและนักศึกษาในแตละสาขาวิชาไดมีการจัดทําชิ้นงาน / ผลงานในรูปแบบตาง ๆ ดังกลาว เพือ่นําไปสูการพัฒนาการเรียนการสอน การประกอบอาชีพ พัฒนาชมุชนและประเทศชาติ และนําไปสูการแขงขันระดับชาต ิ2. ความพยายาม

การดําเนินงาน จากการที่สถานศึกษาไดเล็งเห็นความสําคัญของการจัดทํานวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ งานวิจัยและโครงงาน จึงไดมีนโยบายสงเสริมสนับสนุนใหครูผูสอนและนักศึกษาในแตละสาขาวิชาไดมีการจัดทําจัดทํานวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ งานวิจัย และโครงงาน และใหงานที่เกี่ยวของจัดทําโครงการสงเสริมและพัฒนาการทําวิจัยเชิงปฏิบัติการ โดยในปการศึกษา 2551 ไดสงครูผูสอนวิชาโครงการเขารวมอบรมเชิงปฏิบัติการการวิจัยทางการประมง เพื่อสรางทักษะวิจัยใหแกครู อันจะกอใหเกิดองคความรูใหมในการพัฒนาการเรียนการสอนทางวิชาชีพ 3. ผลสําเร็จ ผลจากการที่วิทยาลัยประมงติณสูลานนทไดสงเสริมสนับสนุนใหครูและนักศึกษาในแตละสาขาวิชาไดมีการจัดทํานวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ งานวิจัย และโครงงานอยางตอเนื่อง สงผลใหเกิดผลงานวิจัยของนักศึกษาทั้งระดับ ปวช. และ ปวส. ในทุกสาขาวิชาที่เปดสอน จํานวน 74 เร่ือง ซึ่งผลงานของนักศึกษาแยกตามระดับชั้นและสาขาวิชาที่เปดสอนดังตารางที่ 3.14 โดยมีผลสัมฤทธิ์อยูใน ระดับดี

Page 80: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

80

ตารางที่ 3.14 แสดงผลงานของนักศึกษาแยกตามระดับชั้นและสาขาวิชาที่เปดสอน ปการศึกษา 2551

จํานวน (เรื่อง) ระดับช้ัน

สาขาวิชา

นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย/โครงงาน

รวม

หมายเหตุ

เพาะเล้ียงสัตวน้ํา 13 13 แปรรูปสัตวน้ํา 10 10

ปวช. รวม 23 23

ระดับ ปวช. ผานตามเกณฑอยางนอยสาขาวิชาละ 2 เร่ือง/ปการศึกษา

เพาะเล้ียงสัตวน้ํา 28 28 แปรรูปสัตวน้ํา 8 8 การควบคุมเรือประมง

6 3 9

ครู-ผูบริหาร 6 6

ปวส.

รวม 6 68 74

ระดับ ปวส. ผานตามเกณฑอยางนอยสาขาวิชาละ 8 เร่ือง/ปการศึกษา

รวมทั้งสิ้น 74

จุดเดนของตัวบงช้ี

1. ครูผูสอนไดรับการสงเสริมและสนับสนุนใหมีการจัดทํานวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ และงานวิจัยอยางตอเนื่อง โดยไดมีโอกาสเขาอบรมเชิงปฏิบัติการวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมสําเร็จรูป การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาการเรียนการสอนเพื่อสรางทักษะวิจัยใหแกนักศึกษาอาชีวศึกษา ทําใหครูผูสอนมีทักษะในการทําวิจัยหรือพัฒนางานวิจัยใหมีคุณภาพสูงข้ึน 2. ครูผูสอนวิชาโครงการไดใหความรวมมือเปนอยางดีในการปฏิบัติตามนโยบายจากสํานักคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มุงเนนใหการสอนวิชาโครงการของสถานศึกษาอยูในรูปแบบของการฝกวิจัย จึงไดมีการจัดทําโครงการ / โครงงานที่เปนรูปแบบการวิจัยหรือการทดลองมากยิ่งข้ึน จุดท่ีตองพัฒนา 1. วิทยาลัยฯ ควรมีโครงการจัดอบรมเกี่ยวกับเทคนิคและกระบวนการในการทําวิจัยรูปแบบตาง ๆ อยางตอเนื่อง เพื่อเปนการกระตุนความสนใจ และพัฒนางานวิจัยใหมีคุณภาพดีข้ึน 2. วิทยาลัยฯ ควรขอความรวมมือใหครูผูสอนวิชาอ่ืน ๆ นอกเหนือจากวิชาโครงการ ไดจัดทําชิ้นงาน / ผลงานที่สามารถนําทักษะของกระบวนการวิจัย / การทดลอง มาเปนสวนหนึ่งในกระบวนการ

Page 81: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

81

เรียนรูแบบบูรณาการ ซึ่งจะกอใหเกิดผลงานหรือนวัตกรรมที่เปนองคความรูใหมของนักศึกษาในแตละสาขาวิชาเพิ่มมากข้ึน

3. ครูมีภาระงานมากทําใหมีเวลาในการทํางานวิจัยนอย

ขอกําหนดท่ี 5.2

จัดสรรงบประมาณในการสราง พัฒนา และเผยแพรนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัยและโครงงานท่ีนําไปใชในการพัฒนาการเรียนการสอน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ

ตัวบงช้ีท่ี 30 รอยละของงบประมาณที่ใชในการสราง พัฒนา และเผยแพร นวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ งานวิจัย และโครงงาน ตองบประมาณทั้งหมด

1. ความตระหนัก

วิทยาลัยฯ ไดเล็งเห็นความสําคัญของการจัดทํานวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ งานวิจัย และโครงงาน ของครูผูสอนและนักศึกษา จึงไดมีการจัดสรรงบประมาณที่ใชในสงเสริม สนับสนุนในการสราง พัฒนา และเผยแพรผลงานในรูปแบบตาง ๆ ตามโครงการที่กําหนดไวในแผนงบประมาณประจําป รวมทั้งการสนับสนุนคาใชจายในการเขาอบรมเชิงปฏิบัติการ การเขารวมการนําเสนอผลงานของครูและนักศึกษาในโอกาสตาง ๆ ที่มีการจัดการประชุมทางวิชาการทั้งหนวยงานภายในและภายนอก 2. ความพยายาม

การดําเนินงาน สถานศึกษาไดรับจัดสรรเงินงบประมาณจากสํานักนโยบายและแผนอาชีวศึกษา ในการสงเสริมสนับสนุนการจัดทําผลงาน นวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ งานวิจัย และโครงงาน รวมถึงการเผยแพร โดยใหงานวิจัยและพัฒนาฯ และครูผูสอนจัดทําโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ไดแก โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทําวิจัยทางสังคมศาสตร โครงการจัดทําผลงานและการนําเสนอผลงานในรูปแบบตาง ๆ โครงการส่ิงประดิษฐ ซึ่งวิทยาลัยฯ ไดจัดสรรเงินเพื่อสนับสนุนในทุกโครงการที่เกี่ยวของกับสงเสริม สนับสนุน การจัดทําผลงานและการเผยแพรผลงาน 3. ผลสําเร็จ วิทยาลัยประมงติณสูลานนท ไดจัดสรรงบประมาณในการสงเสริม สนับสนุนการจัดทําผลงานและการเผยแพรนวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ งานวิจัย และโครงงาน ตามโครงการที่กําหนดไวในแผนงบประมาณประจําป 2551 ซึ่งงานที่เกี่ยวของไดดําเนินการตามโครงการตาง ๆ แลวมีงบประมาณที่ใช

Page 82: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

82

จริง เปนเงิน 420,356.57 บาท จากงบดําเนินการ 39,832,753.09 บาท คิดเปนรอยละ 1.05 ซึ่งผลสัมฤทธิ์อยูใน ระดับ ดี

จุดเดนของตัวบงช้ี

วิทยาลัยฯ ไดสนับสนุนการทํางานวิจัยตาง ๆ โดยจัดหาแหลงทุนในการทํางานวิจัย ส่ิงประดิษฐ อันกอใหเกิดผลงานวิจัย ส่ิงประดิษฐใหม ๆ ที่เปนประโยชนทั้งในดานการพัฒนาการเรียนการสอน การประกอบอาชีพพัฒนาชุมชนและประเทศชาติตอไป จุดท่ีตองพัฒนา 1. ควรมีการกระตุน หรือสรางแรงจูงใจในการจัดทําผลงานของครูใหมากยิ่งข้ึน อีกทั้งตองลดภาระงานของครูทีมี่ศักยภาพในการทําวิจัยลงบาง เพื่อใหมีเวลาที่เอ้ืออํานวยตอการจัดทํานวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ งานวิจัย และโครงงาน เพิ่มข้ึน 2. วิทยาลัยฯ ควรขอความรวมมือใหครูผูสอนในสาขาวิชาตาง ๆ ไดใหนักศึกษาจัดทําโครงการ/ โครงงาน / ส่ิงประดิษฐ ในการจัดกระบวนการเรียนรูใหมากข้ึน เพื่อดําเนินการใหสอดรับกับแผนการจัดสรรงบประมาณในการสนับสนุนการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมใหมากข้ึน

Page 83: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

83

ขอกําหนดท่ี 5.3

จัดการเผยแพรขอมูลเกี่ยวกับการสรางและพัฒนานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงงาน ท่ีนําไปใชในการพัฒนาการเรียนการสอน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ

ตัวบงช้ีท่ี 31 จํานวนคร้ังและชองทางการเผยแพรขอมูลขาวสารเกี่ยวกับนวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ งานวิจัย และโครงงาน ที่นําไปใชในการพัฒนาการเรียนการสอน ชุมชน สังคม และประเทศชาต ิ

1. ความตระหนัก

การเผยแพรผลงาน ขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการสรางและพัฒนานวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ งานวิจัย และโครงงาน ที่นําไปใชในการพัฒนาการเรียนการสอน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ เปนภารกิจหลักประการหนึ่งที่วิทยาลัยฯ ไดเล็งเห็นความสําคัญ เนื่องจากเปนการแสดงถึงศักยภาพ และคุณภาพในการจัดการศึกษาของวิทยาลัยฯ และเปนการนําขอมูลขาวสารหรือองคความรูใหมทีเ่กิดจากการสรางและพัฒนานวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ งานวิจัย และโครงงาน ใหเปนประโยชนตอการพัฒนาการเรียนการสอน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ นอกจากนี้ยังเปนการสรางชื่อเสียงและประชาสัมพันธวิทยาลัยฯ ใหเปนที่รูจักของบุคคลภายนอกมากยิ่งข้ึน 2. ความพยายาม

การดําเนินงาน

วิทยาลัยฯ ไดมีการสงเสริมสนับสนุนในการเผยแพรผลงานพัฒนานวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ งานวิจัย และโครงงาน ที่นําไปใชในการพัฒนาการเรียนการสอน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ โดยใหงานที่เกี่ยวของจัดทําโครงการในการนําเสนอผลงานและเผยแพรผลงานในรูปแบบตาง ๆ ไดแก การใหผูดําเนินงานวิจัยทั้งครูผูสอนและนักศึกษาเขารวมการนําเสนอผลงานนวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ งานวิจัย และโครงงาน ในการประชุมวิชาการในโอกาสและระดับตาง ๆ ที่จัดโดยหนวยงานภายในและภายนอกอยางตอเนื่องตลอดปการศึกษา 3. ผลสําเร็จ ครูผูสอนและนักศึกษาวิทยาลัยประมงติณสูลานนท ไดมีโอกาสเขารวมการนําเสนอผลงานนวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ งานวิจัย และโครงงาน ในการประชุมวิชาการในโอกาสและระดับตาง ๆนักศึกษาไดมีการนําเสนอผลงานวิจัยในการจัดประชุมวิชาการ อกท. ทั้งในระดับภาค และระดับชาติ ทั้งภาคบรรยาย ภาคโปสเตอร การจัดนิทรรศการวิชาการ ส่ิงประดิษฐของคนรุนใหม ซึ่งนักศึกษาไดรับรางวัลชนะเลิศ และรองชนะเลิศ หลายรางวัล เปนที่ความภาคภูมิใจของสถานศึกษา นอกจากนี้

Page 84: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

84

ยังไดมีการจัดสงผลงานวิจัยของครูไปยังหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของหลายหนวยงาน เพื่อเปนการเผยแพรองคความรูใหมใหเปนประโยชนแกการพัฒนาการเรียนการสอน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ และวิทยาลัยฯ ยังไดรับการเผยแพรผลงานวิชาการ / โครงการทางส่ือโทรทัศนอีกหลาย ๆ เร่ือง นับเปนผลสัมฤทธิ์ที่ดียิ่งในการเผยแพรผลงานของวิทยาลัยฯ สําหรับขอมูลการเผยแพรผลงานของวิทยาลัยประมงติณสูลานนท รวมทั้งส้ิน 53 เร่ือง เปนจํานวน 53 คร้ัง โดยมีชองทางการเผยแพร 5 ชองทาง ไดแก ทาง website การนําเสนอในการประชุมสัมมนา การจัดบอรดนิทรรศการ เอกสารรายงานการวิจัย โดยมีผลสัมฤทธิ์อยูใน ระดับดี จุดเดนของตัวบงช้ี

ผลงานของครูและนักศึกษามีโอกาสไดเผยแพรขอมูลเกี่ยวกับการสรางและพัฒนานวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ งานวิจัย และโครงงาน หลายคร้ัง หลากหลายชองทาง และมีโอกาสเขารวมการแขงขันในระดับภาคและระดับชาต ิจนไดรับรางวัลชนะเลิศ และรองชนะเลิศหลายคร้ัง จุดท่ีตองพัฒนา

1. ควรสงเสริม สนับสนุนใหมีการเผยแพรผลงานอยางตอเนื่อง ทั้งการเขารวมการนําเสนอผลงานในการประชุมทางวิชาการของหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ และการจัดทําส่ือเผยแพรในลักษณะตาง ๆ ใหหลากหลายชองทางใหมากข้ึน

2. สนับสนุนงบประมาณในการทําวิจัย การฝกอบรม ใหมากข้ึน

Page 85: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

85

มาตรฐานท่ี 6 ภาวะผูนําและการจัดการ

ขอกําหนดท่ี 6.1 ใชภาวะผูนําและการมีวิสัยทัศนของผูบริหาร ในการผสมผสานความรวมมือของ

บุคลากรในสถานศึกษาและหนวยงานหรือบุคคลภายนอก ใหเขามามีสวนรวมในการจัดการศึกษา

ตัวบงช้ีท่ี 32 ระดับคุณภาพการบริหารงานของผูบริหารที่สอดคลองกับแผนยุทธศาสตร และการมีสวนรวมของประชาคมอาชีวศึกษาดวยความโปรงใส ตรวจสอบได

1. ความตระหนัก

“วิทยาลัยประมงติณสูลานนทเปนองคกรแหงการเรียนรูที่มีระบบบริหารจัดการตามหลัก ธรรมาภิบาล พรอมทั้งมุงม่ันพัฒนาผูเรียนใหมีความเปนเลิศทางวิชาชีพประมง ควบคูกับคุณธรรม สูสังคมอยางยั่งยืน” เปนวิสัยทัศนที่เกิดข้ึนจากการมีสวนรวมของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา ผานการวิเคราะหขอมูลที่เกี่ยวของ ไมวาจะเปนความตองการดานนโยบายของรัฐ ผูมีสวนไดสวนเสีย และดานธุรกิจ รวมทั้งขอมูลที่ไดจากการวิเคราะหความพรอมและศักยภาพขององคกร อยางไรก็ตามการจะนําพาองคกรใหกาวไปสูจุดหมายปลายทางนั้น ตองการผูบริหารที่มีความรูความสามารถ ประสบการณ และมีความเขาใจในบทบาทของการบริหารจัดการองคกร ที่มุงผลสัมฤทธิ์ใหเกิดแกตัวผูเรียนเปนสําคัญ โดยการผสมผสานความรวมมือของบุคลากรภายในสถานศึกษา ตลอดจนหนวยงาน สถานประกอบการ และชุมชนที่เกี่ยวของ เพื่อจะไดรวมกันวางแผนการดําเนินงานอยางเปนระบบในการบริหารจัดการองคกร เพื่อใหเกิดการพัฒนาทั้งในสวนของบุคลากร การจัดกระบวนการเรียนรู ตลอดจนองคประกอบอ่ืน ๆ ที่สนับสนุนกระบวนการพัฒนา อันจะนําไปสูประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน และคุณภาพของผูเรียนในที่สุด 2. ความพยายาม

การดําเนินงาน 2.1 สถานศึกษามีคําส่ังแตงตั้งคณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา และคําส่ังมอบหมายภาระงานในหนาที่ ซึ่งเปนผลใหการดําเนินงานตางๆขององคกรประสบผลสําเร็จตามวัตถุประสงค

2.2 สถานศึกษามีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่เกิดจากการมีสวนรวมของบุคลากร มีความสอดคลองกับวิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงคการประกันคุณภาพ นโยบายของสอศ. ยุทธศาสตร

Page 86: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

86

จังหวัด ตลอดจนศักยภาพและบริบทของสถานศึกษาและสามารถนําไปสูการปฎิบัติไดอยางเปนรูปธรรม

2.3 สถานศึกษาไดขยายความรวมมือและเปดโอกาสใหผูที่มีสวนเกี่ยวของทุกฝาย ทั้งภายใน และภายนอกองคกรเขามามีบทบาทสําคัญในการพัฒนาหลักสูตร พัฒนาการจัดการเรียนรู โดยเฉพาะอยางยิ่งการฝกทักษะ ประสบการณภายใตสถานการณจริง สงผลใหผูเรียนไดรับการพัฒนาสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค สอดคลองตรงตามความตองการของตลาดแรงงานและมาตรฐานอาชีพ

2.4 สถานศึกษามีการบริหารจัดการองคกรดวยระบบคุณภาพและจัดทําคูมือระบบคุณภาพของแตละระบบเพื่อเปนกรอบ/แนวทาง ในการปฎิบัติงานของบุคลากรใหเปนมาตรฐานเดียวกัน ซึ่งทุกคนมีสวนรวมเปนคณะกรรมการดําเนินงานของทุกระบบตามศักยภาพและความรับผิดชอบในหนาที่ ทั้งนี้ ในการดําเนินงานตามวิธีการมาตรฐานในระบบ กําหนดใหมีการนิเทศ/ติดตาม/แลกเปล่ียนเรียนรู/การรายงานผลการดําเนินงานและการประเมินผล เพื่อการพัฒนาปรับปรุง แกไขวิธีการมาตรฐานอยางตอเนื่อง เปนการเพิ่มประสิทธิภาพการปฎิบัติงานในภาพรวมทั้งองคกร ซึ่งสงผลโดยตรงตอสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงคของผลผลิตสถานศกึษาในที่สุด

2.5 สถานศึกษามีการจัดวางระบบควบคุมภายในเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพประสิทธิผลของการปฎิบัติงาน รวมทั้งมีความโปรงใสและสามารถตรวจสอบได มีการประเมิน/ปรับปรุง แผนการควบคุมภายในและรายงานผลการควบคุมภายในตามกําหนดเวลา เปนผลใหการปฎิบัติภาระงานทุกฝายมีประสิทธิภาพมากข้ึน เกิดประสิทธิผลตามวัตถุประสงค

2.6 สถานศึกษาไดแตงตั้งคณะกรรมการดําเนินงานพัฒนาหลักสูตรระดับปริญญาตรีสายปฎิบัติการ จํานวน 3 หลักสูตร 5 สาขาวิชา เพื่อรองรับโครงการจัดตั้งสถาบันการอาชีวศึกษาประมง โดยเปดโอกาสใหหนวยงานภาครัฐ/เอกชนและสถานประกอบการที่เกี่ยวของ รวมเปนที่ปรึกษา/แสดงความคิดเห็นเพื่อใหไดหลักสูตรที่เหมาะสม สอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน และสามารถนํามาใชในการผลิตบุคลากรสายปฎิบัติการดานวิชาชีพประมง ไดอยางมีประสิทธิภาพ

2.7 บุคลากรในองคกรทุกฝายไดรับการพัฒนาองคความรู ทักษะประสบการณอยางตอเนื่อง และหลากหลาย ทําใหสามารถปฎิบัติงานสอน และภาระงานตามหนาที่ที่ไดรับมอบหมายไดอยางมีประสิทธิภาพและเกิดผลดีตอผูเรียนโดยตรง

Page 87: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

87

3. ผลสําเร็จ

วิทยาลัยฯ ไดมีการดําเนินงานครบทุกดาน ผลการประเมินอยูใน ระดับด ีจุดเดนของตัวบงช้ี

1. มีรูปแบบการบริหารองคกรที่มุงเนนคุณภาพ พัฒนา /ปรับปรุงรูปแบบหลากหลาย ตามศักยภาพขององคกร และสภาวการณปจจุบัน 2. มีการพัฒนาปรับปรุงวิธีการมาตรฐานของระบบคุณภาพอยางตอเนื่อง รวมทั้งการทบทวน แผนยุทธศาสตร แผนปฎิบัติการประจําป การประชุมสัมมนาผลการดําเนินงาน ซึ่งเกิดข้ึนจากความรวมมือของบุคลากรทุกคน ในการแสดงความคิดเห็นทุกข้ันตอน รวมทั้งแผนการนิเทศติดตามและการประเมินผลการปฎิบัติงาน นําไปสูการพัฒนาคุณภาพขององคกรไดอยางยั่งยืน 3. สถานศึกษาไดรับความรวมมือเปนอยางดียิ่ง จากหนวยงาน / สถานประกอบการ และชุมชน ในหลากหลายรูปแบบ โดยมุงผลสัมฤทธิ์ที่ตัวผูเรียนเปนสําคัญ จุดท่ีตองพัฒนา

การกํากับติดตาม/ประเมินผลการดําเนินงานตามวิธีการมาตรฐานของระบบคุณภาพในสถานศึกษา ตลอดจนการดําเนินงานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตางๆ

Page 88: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

88

มาตรฐานท่ี 6 ภาวะผูนําและการจัดการ ขอกําหนดท่ี 6.2

จัดระบบการดูแลบุคลากรของสถานศึกษาดานคุณธรรม จริยธรรม ตามจรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพ

ตัวบงช้ีท่ี 33 รอยละของบุคลากรในสถานศึกษาที่สามารถปฏิบัติตามจรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพไดอยางถูกตอง เหมาะสม

1. ความตระหนัก คณะผูบริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาของวิทยาลัยฯ ทุกคน มีใบประกอบวิชาชีพครู ปฏิบัติตามขอบังคับของคุรุสภาวาดวยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ พุทธศักราช 2548 อยางถูกตองเหมาะสม ไมปรากฏวาบุคลากรคนใดกระทําความผิดและถูกสอบสวนทางวินัย วิทยาลัยฯ ไดประเมินเล่ือนข้ันเงินเดือนใหบุคลากรทุกคน สวนครูจางสอน ปฏิบัติหนาที่ดวยความรับผิดชอบ มีการจางสอนตอเนื่องมากกวา 1 ภาคเรียน 2. ความพยายาม การดําเนินงาน 1. วิทยาลัยฯ ไดเผยแพรจรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพ เพื่อสรางความรูความเขาใจแนวทางการปฏิบัติตนใหแกบุคลากรของวิทยาลัยฯ 2. วิทยาลัยฯ ไดประเมินผลการปฏิบัติตามจรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพของบุคลากรอยางสมํ่าเสมอ 6 เดือน/คร้ัง เพื่อนิเทศ ติดตาม การปฏิบัติงานของบุคลากรในรูปแบบคณะกรรมการอยางเปดเผย ตรวจสอบได 3. บุคลากรของวิทยาลัยฯ ปฏิบัติตามจรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพไดอยางถูกตอง เหมาะสมทุกคน 4. ไมปรากฏวาบุคลากรของวิทยาลัยฯ รายใดกระทําความผิดและถูกสอบสวนทางวินัย 3. ผลสําเร็จ

บุคลากรของวิทยาลัยฯ ปฏิบัติตามจรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพไดอยางถูกตองเหมาะสมทุกคน มีจํานวน 65 คน คิดเปนรอยละ 100 ผลการประเมินอยูใน ระดับดี

Page 89: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

89

จุดเดนของตัวบงช้ี บุคลากรทางการศึกษาทุกคนมีใบประกอบวิชาชีพครู และปฎิบัติตามขอบังคับคุรุสภาวาดวยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2548 ไดอยางถูกตองเหมาะสม ขอกําหนดท่ี 6.3

การจัดระบบสารสนเทศและการจัดการความรูเพื่อการพัฒนาสถานศึกษาอยางเหมาะสม

ตัวบงช้ีท่ี 34 ระดับคุณภาพของการจัดระบบสารสนเทศ และการจัดการความรูของสถานศึกษา

1. ความตระหนัก

สถานศึกษามีการจัดทําขอมูลพื้นฐาน เชน ขอมูลผูเรียน บุคลากร งบประมาณ อาคารสถานที่ หลักสูตรและโปรแกรมการเรียน ครุภัณฑ มีระบบบริหารจัดการขอมูลที่เปนปจจุบันอยางมีประสิทธิภาพ และการจัดการความรูของสถานศึกษา เพื่อพัฒนาสถานศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ 2. ความพยายาม

การดําเนินงาน

สถานศึกษามีการจัดระบบสารสนเทศ และการจัดการความรูของสถานศึกษา ดังนี ้1) มีขอมูลพื้นฐานเพื่อการตัดสินใจที่เปนปจจุบนั 2) มีระบบการบริหารจัดการขอมูลที่เหมาะสมและมีผูรับผิดชอบ 3) มีระบบฐานขอมูลทั้งหมดที่ประสานกันเปนเครือขายของสถานศึกษา 4) มีการประเมินประสิทธิภาพและความปลอดภัยของระบบการบริหารจัดการขอมูล 5) มีการปรับปรุงระบบการบริหารจัดการขอมูลอยางตอเนื่อง

3. ผลสําเร็จ

การจัดระบบสารสนเทศและการจัดการความรูของสถานศึกษาปฏิบัติไดสําเร็จครบ 5 ขอ ผลการประเมิน อยูใน ระดับด ี จุดเดนของตัวบงช้ี

มีระบบขอมูลพื้นฐานและมีผูรับผิดชอบ

Page 90: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

90

จุดท่ีตองพัฒนา

พัฒนาระบบฐานขอมูลประสานกับเครือขายของสถานศึกษาและจัดระบบประเมินประสิทธิภาพและความปลอดภัยของการบริหารจัดการขอมูลใหชัดเจนมากข้ึน

Page 91: บทที่ 1 ภาพรวมของสถานศึกษา · พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ... 1 กุมภาพันธ

รายงานผลการประเมินตนเอง

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท

91